ป ที 2 ฉ บั บ ที 3 : ก ร ก ฎ า ค ม - กั น ย า ย น 2 5 6 3 ISSN : 2697-5238 (ONLINE) ISSN : 1686-0748 (PRINT) วารสาร ค ว า ม ร่ ว ม มื อ กั บ ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ THE BULLETIN ON INTERNATIONAL COOPERATION OF THE MINISTRY OF EDUCATION กระทรวงศึ กษาธิการ รอบรูมรดกโลก รอบรั้วตางประเทศ นานาทรรศนะ บทความแปล สํา นั ก ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ สํา นั ก ง า น ป ลั ด ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร WWW.BIC.MOE.GO.TH
สำนักควำมสมั พันธต์ ่ำงประเทศ สำนักงำนปลัดกระทรวงศึกษำธิกำร ถนนรำชดำเนินนอก ดุสิต กรุงเทพฯ 10300 โทร 0 2628 5646 ต่อ 122 – 124 โทรสำร 0 2281 0953 www.bic.moe.go.th
วารสาร จความร่วมมอื กับตา่ งประเทศ ากบรรณาธิการ ตง้ั แตท่ ศวรรษหลงั ปี 1970 (พ.ศ.2513) โลกได้ก้าวเข้าสู่ยุคที่เรียกว่า “ยุคสารสนเทศ (information age) เป็นยุคที่ข้อมูลสารสนเทศ มีความสาคัญอย่างมากต่อการเปล่ียนแปลงในหลาย ๆ ด้าน ท้ังการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ ให้มีการพัฒนาการตามทันโลกท่ีเปลี่ยนไป โดยเฉพาะการติดต่อส่ือสาร จากเดิมท่ีใช้เวลานานกว่าจะสง่ จดหมายหรือโทรเลขหากนั ได้ แตใ่ นช่วงเวลาดังกลา่ วสื่อวิทยุและโทรทัศน์ ถือว่าเป็นสื่อหลักที่เข้าถึงและติดต่อสื่อสารกันได้มากที่สุด ทาให้ประชาคมโลกหันมาให้ความสนใจต่อบทบาทของการ ส่ือสาร ท่ีมีความสาคัญต่อการดารงชีวิต และสังคมความเป็นอยู่ หลายประเทศต่างออกมาเรียกร้องให้มีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารอย่างเสรี กว้างขวางและสมดุลมากข้ึน ดังน้ันภายหลังปี พ.ศ.2523 จึงมีความพยายามในการจัดวางระเบียบข่าวสารและการส่ือสารของโลก แนวใหม่ เพ่ือลดความไม่สมดุลทางด้านนี้ลงทีละน้อย มีการพูดถึงประเด็นการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร ไปจนถึงการเก็บรักษาข้อมูล แต่การสื่อสารต่าง ๆ ก็ยังอยู่ในวงจากัด ในขณะที่การพัฒนาด้านข้อมูลและการสื่อสารมีมาอย่างต่อเน่ืองจนมาถึงยุคท่ีเรียกว่า “โลกาภิวัฒน์” ทาให้เกิดกระแสการแพร่กระจายของข้อมูลข่าวสารไปทั่วโลกไม่ว่าจะอยู่ ณ จุดใด สามารถรับรู้ ติดต่อสัมพันธ์ หรอื รับผลกระทบจากสิ่งต่าง ๆ ทีเ่ กดิ ขน้ึ ได้อย่างรวดเร็ว และกว้างขวางขึน้ โลกในยุคปจั จุบันนี้ถอื เปน็ ยคุ สาคญั และท้าทายอย่างมากหรอื ยคุ ดิจิทัล เน่ืองจากมีการรับรู้และส่งตอ่ ขอ้ มูลขา่ วสารได้อย่างเสรี ถอื เป็น ยุคของทางดว่ นข้อมูลทก่ี ้าวหน้ามาก เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารมีบทบาทที่สาคัญในด้านการเพิ่มประสิทธิภาพการทางาน ผู้ที่มีข้อมูลและสามารถหาข้อมูลได้ก่อนผู้อ่ืนจะได้เปรียบในทุกด้าน ทาให้ทุกภาคส่วนไม่ว่าจะเป็นภาคการศึกษา ภาครัฐ หรือภาคธุรกิจต่างหันมาให้ความสนใจและใช้ประโยชน์จากระบบข้อมูลสารสนเทศ โดยเฉพาะในเร่ืองระบบการบริหารจัดการ สารสนเทศ การใช้คอมพิวเตอร์เพื่อศึกษาค้นคว้าหาความรู้ การแลกเปล่ียนความคิดเห็นผ่านระบบเครือข่ายต่าง ๆ รวมไปถึง การซื้อขาย และแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ จึงทาให้มีความจาเป็นที่จะต้องหันมาให้ความสาคัญกับเรื่องการเก็บรวบรวม สารสนเทศอย่างเป็นระบบ การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ รวมถึงความปลอดภัยบนโลกไซเบอร์มากยิ่งขึ้น เน่ืองจากข้อมูลต่าง ๆ ที่มกี ารหล่งั ไหลอยใู่ นโลกอนิ เทอรเ์ น็ตและออนไลน์มีจานวนมหาศาล ไร้ข้อจากัดและพรมแดน เนื้อหาของวารสารฉบับน้ีได้มีการคัดสรรบทความมาจากวารสารยูเนสโกคูริเยฉบับประจาเดือนมกราคม - มีนาคม 2563 ซึ่งแสดง ให้เห็นถึงบทบาทของส่ือวิทยุในมุมมองใหม่ ซึ่งหลายๆ คน อาจคิดว่าล้าสมัยไปแล้วในโลกยุคดิจิทัล รวมถึงนานาทรรศนะด้านการรู้ เท่าทันสื่อ สารสนเทศและดิจิทัล และโครงการความร่วมมือระดับนานาชาติในสาขาสื่อสารมวลชนของยูเนสโกด้วย นอกจากนี้ ยังมีความร่วมมือด้านต่างประเทศท่ีสาคัญของกระทรวงศึกษาธิการที่น่าสนใจหลายด้านให้ติดตามในรอบรั้ว ต่างประเทศและ ไมพ่ ลาดกับบทความประจาฉบับเกี่ยวกับมรดกโลก เร่อื ง “ถ้าเขาหยนุ กงั ...มรดกโลกด้านพทุ ธศาสนาในประเทศจีน” ท่านผู้อ่านสามารถติดตามอ่านวารสารความร่วมมือกับต่างประเทศของกระทรวงศึกษาธิการทั้งปัจจุบัน และย้อนหลังได้ท่ี เว็บไซต์ สานักความสัมพันธ์ต่างประเทศ สานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ www.bic.moe.go.th
วารสารความรว่ มมอื กบั ตา่ งประเทศ ปที 2 ฉบบั ที 3 ประจําเดอื นกรกฎาคม – กนั ยายน 2563 รอบรมู้ รดกโลก 1 ถ้ําเขาหยนุ กงั ...มรดกโลกดา นพทุ ธศาสนาในประเทศจนี โดย สาวติ รี สวุ รรณสถติ ย รอบรวั ตา่ งประเทศ 5 การปรบั เปลย่ี นบทบาทของไทยในการใหค วามชว ยเหลอื ทางวชิ าการ และการศกึ ษา โดย สมทรง งามวงษ 8 การประชมุ คณะกรรมการบรหิ ารองคก ารยเู นสโก ครง้ั ท่ี 209 (209th Session of the Executive Board) โดย รชั นนิ ท พงศอ ดุ ม สปุ ราณี คํายวง 12 การจดั ทําแผนงาน โครงการ และงบประมาณของยเู นสโกฉบบั ใหม โดย รชั นนิ ท พงศอ ดุ ม สปุ ราณี คาํ ยวง 15 การจดั การศกึ ษาในชว งโควดิ -19 ของภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต โดย ฐติ ิ ฟอกสนั เทยี ะ พมิ พว รชั ญ เมอื งนลิ 22 ทนุ ศกึ ษาตอ ประเทศญปี่ นุ ระดบั วทิ ยาลยั เทคนคิ และฝก อบรมวชิ าชพี สาํ หรบั นกั ศกึ ษาไทย โดย กนกวรรณ แกวน ถนิ่ ภู จติ รลดา จนั ทรแ หยม
วารสารความรว่ มมอื กบั ตา่ งประเทศ ปที 2 ฉบบั ที 3 ประจําเดอื นกรกฎาคม – กนั ยายน 2563 นานาทรรศนะ 23 การรเู ทา ทนั สอ่ื และสารสนเทศกบั มมุ มองของเยาวชน โดย กสุ มุ า นวพนั ธพ มิ ล 26 โครงการสารนเิ ทศเพอ่ื ปวงชน (INFORMATION FOR ALL PROGRAMME: IFAP) โดย กลุ สมุ า นวพนั ธพ มิ ล 30 บทบาทประเทศไทยในโครงการนานาชาตดิ า นการพฒั นาการสอ่ื สาร (INTERGOVERNMENTAL COUNCIL FOR THE DEVELOPMENT OF COMMUNICATION - IPDC) โดย กวี จงกจิ ถาวร 34 การรเู ทา ทนั ดจิ ทิ ลั เพอ่ื สง เสรมิ การเรยี นรตู ลอดชวี ติ ในชมุ ชน โดย พรทพิ ย เยน็ จะบก บทความแปล 38 จากบทบรรณาธกิ าร แปลโดย พศิ วาส ปทมุ ตุ ต รงั ษี 39 พอดคาสต: วทิ ยแุ ปลงโฉม แปลโดย นชุ นาฏ เนตรประเสรฐิ ศรี 42 รายการวทิ ยุ \"ราดโิ ออมั บลู านเต\" : คลงั แหง เรอื่ งราวของชาวละตนิ อเมรกิ นั แปลโดย พศิ วาส ปทมุ ตุ ต รงั ษี 44 เสยี งทมี่ องไมเ หน็ แปลโดย นชุ นาฏ เนตรประเสรฐิ ศรี 46 ผหู ญงิ กบั วทิ ย:ุ คลนื่ ความถท่ี ต่ี รงกนั แปลโดย นชุ นาฏ เนตรประเสรฐิ ศรี 49 มารก ทลั ลี ผเู ปน ตาํ นานสอื่ วทิ ยขุ องอนิ เดยี แปลโดย พศิ วาส ปทมุ ตุ ต รงั ษี 52 บรู ก นิ าฟาโซ: เสพตดิ วทิ ยุ แปลโดย จงจติ อนนั ตค ศู รี 53 เฮเลน แพงกเ ฮริ ส ต: \"แนวคดิ สตรนี ยิ มอยใู นสายเลอื ดของฉนั \" แปลโดย เสาวรส มติ ราปย านรุ กั ษ
ร อ บ รู้ ม ร ด ก โ ล ก ถ้ำเขำหยุนกัง... มรดกโลกดา้ นพทุ ธศาสนา ในประเทศจนี โดย สาวิตรี สุวรรณสถิตย์ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะอนุกรรมการมรดกโลกทางวัฒนธรรม และกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยมรดก โลก ภาพผเู้ ขียนหนา้ พระพุทธรปู ภายในคูหาถา้ แห่งหนง่ึ ที่หยุนกัง พุ ท ธ ศ า ส น า เ ผ ย แ พ ร่ เ ข้ า ม า ถ้าเขาหยุนกัง (Yungang Caves) หรือ “ยุหวินกังฉือคู” (Yúngāng Shíkū) อยู่ห่าง ในประเทศจีนตั้งแต่เมื่อใด ยังไม่ปรากฏชัด จากเมืองต้าถงไปทางทิศตะวันตกประมาณ แต่เช่ือแน่กั นว่าคงจะ เผย แพร่เ ข้ามา 16 กิ โ ล เ ม ต ร ตั้ ง อ ยู่ ใ น ม ณ ฑ ล ฉ่ า น ซี ท า ง เ ส้ น ท า ง ก า ร ค้ า โ บ ร า ณ ที่ เ ช่ื อ ม โ ย ง เปน็ “วดั ถา้ คูหา” ขนาดใหญ่ที่พระภิกษุและ ต้ังแต่เมืองต่าง ๆ ในอาณาจักรโรมัน ศิลปินจีนนับถือพุทธศาสนาได้ช่วยกันสรรค์ อาณาจักรในตะวันออกกลาง และอินเดีย สร้างไว้ในยุคทองของศาสนาพุทธในจีนนาน กับอาณาจักรจีนโบราณ ท่ีมีนครฉางอาน กว่า 2,000 ปีมาแล้ว และเป็นศูนย์กลาง เป็นเมืองหลวง เส้นทางน้ีมีทั้งเส้นทางบก วัฒนธรรมโบราณด้วย “ถ้าเขาหยุนกัง” และเส้นทางทะเล รู้จักกันในนาม “เส้นทาง เกิดจากการเจาะลึกด้วยฝีมือช่างแกะสลัก สายไหม” (The Silk Road) เป็นที่นิยม ลึ ก เ ข้ า ไ ป ใ น ห น้ า ผ า ข อ ง ภู เ ข า หิ น ท ร า ย ใช้กันในหมู่พ่อค้านานาชาติมาตั้งแต่ 200 ปี ชื่อ อู่โจวชาน (Wǔzhōushān) ท่ีทอดยาว ก่อนคริสตกาล ผู้ที่เดินทางไปมาโดยใช้ ตามแกนตะวันออก-ตะวันตก ขนานกับ เส้นทางสายไหมน้ี มิใช่จะมีแต่พ่อค้าวาณิช แมน่ า้ อู่โจวประมาณ 1 กิโลเมตร จนเกิดเป็น จากดินแดนต่าง ๆ ที่นากองคาราวานสินค้า ปฏิมากรรมถ้าคูหาจานวนมากถึง 252 คูหา จากเมืองน้อยใหญ่เท่านั้น แต่ยังมีผู้ทาหน้าท่ี เปน็ ถ้าขนาดใหญ่มีความสาคัญมาก 45 คูหา เผยแผ่ความคิด ความเชื่อ หรือความรู้ และสาคัญรองลงมา 209 ถ้า ภายในแต่ละ คูหา มีการแกะสลักเนื้อหินเป็นพระพุทธ ความเจริญจากดินแดน ปฏมิ ากรรมและพระโพธิสัตว์ยักษ์และเทพยดา ต่าง ๆ ร่วมเดินทางบน นกและสัตว์ต่าง ๆ และเป็นแท่นบูชา เส้นทางนี้ด้วย ฉะน้ันจึงมี โ ดย สลัก แ บบนู นสูง บ้าง ลอ ย ตัวบ้า ง การสร้างวัดพุทธข้ึนตาม มีจานวนมากถึง 51,000 องค์ กับเป็น ถ้าต่าง ๆ บนเส้นทาง วัด เ ล็ ก ๆ สาห รั บบูช าอี ก 2 5 2 แ ห่ ง โ อ เ อ ซิ ส ข อ ง ส า ย ไ ห ม ประติมากรรมมีขนาดใหญ่ต้ังแต่ 17 เมตร เ ช่ น ถ้ า พ ร ะ พุ ท ธ รู ป จนถึงเล็กสุดสูงเพียง 2-3 เซนติเมตร พั น อ ง ค์ ที่ ตุ น ห ว ง บ า ง แ ห่ ง ก็ ว า ด ภ า พ สี แ บ บ จิ ต ร ก ร ร ม (Ten Thousand Buddha บนผนังถ้า ประติมากรรมบางองค์ก็เขียน Grottos - Mogao Caves, สีสวยงาม รูปแบบของศิลปะเป็นแบบจีน at Dunhuang) เปน็ ตน้ แต่สะท้อนอิทธิพลจากอินเดีย เปอร์เซียและ กรีก รวมพ้ืนที่ทั้งหมดที่มีการตกแต่ง แ ผ น ที่ แ ส ด ง เ ส้ น ท า ง ดว้ ยศลิ ปกรรมอยู่ 18,000 ตารางเมตร การเผยแผ่พระพุทธศาสนา จากอินเดยี ไปยงั ดินแดนต่าง ๆ ในสมยั โบราณ 1 วารสารความรว่ มมอื กับตา่ งประเทศ กรกฎาคม-กนั ยายน 2563
ร อ บ รู้ ม ร ด ก โ ล ก มีหลักฐานว่าถ้าคูหาท่ีหยุนกังน้ี เร่ิมสร้าง แผนผังพืนทีอ่ นุรักษเ์ ขาถา้ หยุนกังชนั ในและพืนท่ีปกปอ้ งรอบนอก ในสมยั ราชวงศเ์ วย่ ตอนเหนือ (มีรายละเอียด ในเอกสาร Wèi Shū) ประมาณคริสต์ศตวรรษ ในรัชสมัยก่อนหน้าน้ี จักรพรรดิไท่อู่ต้ี ประวัติการอนุรักษ์ก่อนเสนอขึ้น บัญชี ที่ 5 และมาเสร็จสิ้นในคริสต์ศตวรรษท่ี 6 (Tàiwǔ Dì, 424-452 AD) ไม่สนับสนุน มรดกโลกวัดถ้าคูหาหยุนกังนี้ เป็นแนวเขา ในช่วงนั้นเมือง “ต้าถง” ได้รับสถาปนา พุทธศาสนา มองพระภิกษุพุทธว่าเป็นภัย อยู่กลางแจ้ง และเจาะสกัดเป็นช่องเป็นห้อง ใ ห้ เ ป็ น น ค ร ห ล ว ง ข อ ง จี น ภ า ย ใ ต้ ทางการเมือง จึงได้ลงโทษปราบปราม เปิดเข้าไปมากมาย จึงถูกกระทบด้วยแดด “ ร า ช ว ง ศ์ เ ว่ ย ” ที่ เ ป็ น ค น ท า ง เ ห นื อ พระภิกษุและพุทธศาสนิกชนอย่างโหดร้าย ลม ฝนและฝุ่นมานานนับพันปี ดังนั้น พูดภาษาเติร์ก นับถือพุทธศาสนา และ รนุ แรง จึงมีการสึกกร่อนไปไม่น้อยทีเดียว ในสมัย ส นั บ ส นุ น ใ ห้ ส ร้ า ง วั ด พุ ท ธ จ า น ว น ม า ก ต่ อ ม า ใ น ส มั ย จั ก ร พ ร ร ดิ เ ห วิ น เ ฉิ ง ต้ี จึ ง มี ราชวงศ์เหลียว (Liáo Dynasty) มีหลักฐาน ถ้าพิจารณาประวัติศาสตร์พุทธศาสนาในจีน การฟื้นฟูพุทธศาสนาข้ึนใหม่ และได้ มี ว่ามีความพยายามในช่วงปี ค.ศ. 1049- ในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที่ 5 นั้นจะเห็นว่า การก่อสร้างถ้าคูหาท่ีหยุนกั งต่อเน่ือง 1060 ท่ีจะป้องกันหยุดยั้งการสึกกร่อน ใ น ช่ ว ง ดั ง ก ล่ า ว มี ก า ร แ พ ร่ ก ร ะ จ า ย ข อ ง อย่างใหญ่โต ประณีตงดงาม ประหน่ึง ของปฏิมากรรมถ้าคูหาท่ีหยุนกัง ต่อมา ค ว า ม เ ชื่ อ ท า ง พุ ท ธ ศ า ส น า เ ข้ า ม า ใ น จี น จ ะ อุ ทิ ศกุ ศลบูช าบ ร ร พบุรุ ษช าว พุ ท ธ ในราชวงศ์ชิง (Qīng Dynasty) เกิดอัคคีภัย มากแลว้ และยงั มกี ารแปลคัมภีร์พุทธศาสนา ท่ีได้สังเวยชีวิตไปในยุคก่อนน้ันด้วย ศิลปะ ข้ึ นในปี ค .ศ. 1 6 2 1 ทา ให้ ต้อ ง สร้ า ง จาก ต้นฉ บับภ า ษา บาลีหรื อ สันสก ฤ ต ทห่ี ยุนกัง จึงเปน็ การประสมประสานระหว่าง ปฏิมากรรมจานวนหนึ่งขึ้นทดแทนจนถึง เ ป็ น ภ า ษ า จี น จ า น ว น ม า ก แ ล้ ว ด้ ว ย ความเชื่อทางพุทธศาสนาและลัทธิบูชาบรรพ สมัย สาธาร ณรั ฐประ ชาชนจี นจึง ได้ มี ซ่ึงพระภิกษุฟาเหียนจากจีนก็ได้เดินทาง บรุ ษุ ด้งั เดมิ ของจนี ดว้ ย การ ดาเ นิ นการ ปก ป้อ ง โบร า ณ แ ห่ ง นี้ จาริกธรรมเข้าไปอินเดีย เม่ือกลับมาถึง ตอ่ มาในรัชสมัยจักรพรรดิในราวปี ค.ศ. 460 โดยการประกาศห้ามมิให้มีการสร้างเสริม ประเทศจีนและก็ได้เขียนหนังสือบันทึก และในสมัยของเซ่ียวเหวินต้ี (Xiàowén Dì, ตอ่ เตมิ โดยไม่ได้รบั อนญุ าต การเดนิ ทางไปยงั อาณาจกั รพุทธภูมเิ สร็จแล้ว 471-499) จึงย้ายเมืองหลวงจาก “ต้าถง” ปัจจุบันนี้มีการสารวจและจัดแบ่งถ้าคูหา ตั้งแต่ปี ค.ศ. 415 ดังน้ันความรู้และ ไปอยู่ที่ “ล่ัวหยาง” จึงมีการก่อสร้างวัดถ้า ที่หยุนกังออกเป็น ก) กลุ่มถ้าทางทิศ จินตภาพเก่ียวกับพุทธภูมิและพุทธศิลป์ ทลี่ ่ัวหยางอกี แห่งหนงึ่ ดว้ ย ตะวันออก สร้างเป็นสถูปเจดีย์เป็นส่วนใหญ่ ในต่างแดน โดยเฉพาะในอินเดีย คงจะ ข) กลุ่มถ้าตอนกลาง ประกอบด้วยห้อง แพร่กระจายออกไปกว้างขวางในจีนมากแล้ว ด้านหน้าและคูหาด้านใน ประดิษฐาน ในช่วงน้ัน องค์พุทธปฏิมาสาคัญ ๆ จานวนมาก และ ถ้าหยุนกังนั้น เดิมเรียกกันว่า “วัดถ้า บนฝาผนังถ้าตลอดจนบนเพดานถ้าก็ยังสลัก ถานเย่า” ตามช่ือหัวหน้าภิกษุชาวพุทธ เป็นปฏิมากรรมทั้งแบบนูนต่า นูนสูง และ ผู้ริเร่ิมโครงการ ดังปรากฏว่า มีถ้าคูหา ลอยตัว ค) กลุ่มถ้าด้านตะวันตก มีคูหา ท่ีโดดเด่นเป็นพิเศษอยู่ 5 ห้องติดต่อกัน ขนาดกลางและขนาดเล็ก และแท่นทบี่ ูชาอยู่ ที่มีลักษณะการออกแบบและ ควบคุม การสร้างประติมากรรมอย่างเหมาะเจาะ สวยงาม และมีเอกภาพ โดยมีหลักฐาน ว่ า เ ป็ น ฝี มื อ ข อ ง พ ร ะ ภิ ก ษุ ผู้ น า ช า ว พุ ท ธ ในท้องถ่ินนามว่า “ถานเย่า” (Tányào) ซ่ึงเป็นผู้เสนอแนะพระจักรพรรดิเหวินเฉิงต้ี (Wénchéng Dì) ให้สร้างวัดถา้ คูหาข้ึน ท่ี ภู เ ข า แ ห่ ง น้ี แ ล ะ ไ ด้ เ ป็ น ผู้ ค ว บ คุ ม การดาเนินการตั้งแต่แรกเริ่มใน ค.ศ. 453 ใช้เวลา 50 ปีจงึ แลว้ เสรจ็ ภาพถ่ายจากด้านนอกเขาถ้าหยุนกัง เห็นสัณฐานของภูเขา ในปี ค.ศ. 1961 สภาแห่งรัฐได้ออกกฎหมาย ที่มกี ารขดุ เจาะเปน็ หอ้ งคูหาหรือเป็นถ้าจา้ นวนมาก เข้าไปในเนอื ภเู ขา ปกป้องค้มุ ครองแหลง่ ถ้าหยนุ กังรวมท้ังแหล่ง โบราณสถานอื่นเป็นกลุ่มแรก ๆ หลังจากนั้น ยั ง ไ ด้ มี ป ร ะ ก า ศ ข อ ง เ ท ศ บ า ล เ มื อ ง ต้ า ถ ง เพ่ือการคุ้มครองและดูแลบริหารจัดการ ถ้าคูหาหยุนกังโดยเฉพาะ หลังจากน้ัน ยังมีการจัดทาแผนแม่บทการสงวนรักษา ถ้าหยุนกังออกมา เพ่ือให้การดาเนินการ ทางกฎหมายเป็นสามารถดาเนินการมีผล เปน็ รปู ธรรมขน้ึ อีกด้วย วารสารความรว่ มมอื กับตา่ งประเทศ กรกฎาคม-กนั ยายน 2563 2
ร อ บ รู้ ม ร ด ก โ ล ก นอกจากน้ี ยังได้มีการจัดตั้งองค์กรพิเศษขึ้น นอกจากนี้ สถาบันเก็ตต้ี (Getty) ยังได้ช่วย ส่วนในดา้ นการอนรุ ักษ์และบรหิ ารจัดการน้ัน เรียกช่ือว่า “สถาบันวิจัยถ้าหยุนกั ง” สนับสนนุ การวิจยั เก่ียวกับปัญหาการอนุรักษ์ พบว่าพื้นที่ทั้งหมดเป็นกรรมสิทธ์ิของรัฐบาล ประกอบด้วยทีมดาเนนิ การดา้ นอนุรักษ์ และ ในระยะยาวและการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่จีน จีนตามกฎหมาย และได้ประกาศเป็นแหล่ง ตรวจติดตาม ประกอบด้วยทีมงานวิชาชีพ อีกด้วย การประเมินเป็นมรดกโลก รัฐบาล มรดกสาคัญของจีนในระดับชาติ มีกฎหมาย ท่ีทางานปกป้องรักษาและตรวจติดตาม จี น ไ ด้ จั ด ท า ร า ย ล ะ เ อี ย ด เ ส น อ เ ป็ น แ ฟ้ ม คุ้มครองมาต้ังแต่ปี ค.ศ.1997 อีกท้ังเปิดให้ ประจาอยู่ที่หยุนกัง ทางานติดต่อกันมา เอกสาร Yungang Grottoes, Datong City, นักท่องเที่ยวต่างชาติเดินทางเข้าชมได้ตั้งแต่ 60 ปี ก่อนจะมีความพร้อมที่จะเสนอขอข้ึน Shanxi Province ไปยังศูนย์มรดกโลกในปี ค.ศ. 1983 ได้รับความสนใจพอ ๆ กับ เป็นมรดกโลก ในระยะต่อมายังมีการดาเนิน ค.ศ. 2000 เพื่อขอให้พิจารณาถ้าเขาหยุนกัง พระราชวังต้องห้าม กาแพงเมืองจีน และ โครงการดูแลปรับปรุงสิ่งแวดล้อมในระดับ ครอบคลุมพื้นที่มรดก (Property Area) วั ด ถ้ า ตุ น ห ว ง บ น เ ส้ น ท า ง ส า ย ไ ห ม ชุมชนโดยรอบถ้าหยุนกังอีกด้วย ทั้งนี้ อยู่ 348.75 เฮคตาร์ และยังมีพื้นท่ีกันชน การกาหนดเขตมรดกโลกมีความรอบคอบ ทางการของจีนได้ระมัดระวังท่ีจะแก้ไข (Buffer Zone) โดยรอบอีก 846.81 เฮคตาร์ คือกาหนดไว้ทั้งพ้ืนที่เหนือพื้นดินและพื้นท่ี ปัญหาการเส่ือมโทรมผุกร่อนท่ีได้ศึกษาและ ICOMOS ได้ส่งคณะเดินทางมาประเมิน ใต้ดิน เพ่ือป้องกันการขุดเจาะทาเหมือง ระบุไว้ในแผนบริหารจัดการ เช่น ดูแล คุณค่า ณ ถ้าหยุนกังแล้วมีความเห็นว่า ถ่านหินใต้ดินด้วย เน่ืองจากบริเวณพื้นท่ี เรือ่ งนา้ ซมึ ขังใต้ดินและการผุกร่อนจากลมฝน ถ้า เ ขาหยุนกั ง เป็นอนุ สร ณ์สถ าน ทาง โดยรอบเป็นเหมืองถ่านหนิ เกือบท้ังหมด เป็นต้น นอกจากน้ียังใช้มาตรการกั้นรั้ว พุ ท ธ ศ า ส น า ท่ี โ ด ด เ ด่ น ด้ า น ศิ ล ป ะ นอกจากน้ีมีประวัติการอนุรักษ์ท่ีบันทึกไว้ เป็นระยะห่างพอประมาณหน้าถ้าบางแห่ง สถ า ปั ตย ก ร ร ม ถ้ าด้ วย ฝี มือ พร ะ ภิ ก ษุ มาตั้งสมัยราชวงศ์ถัง โดยมีการสร้างใหม่ เพ่อื ป้องกันนักทอ่ งเท่ยี วไม่ใหเ้ ข้าไปใกล้ และ ชาวชานซี นับเป็นยุคท่ีพุทธศิลป์ในถ้า ทดแทนส่ิงท่ีถูกไฟไหม้และมีการสร้างวัด ปิดบางถ้าเป็นระยะ ๆ เพื่อฟื้นฟูบูรณะ เขามีความรุ่งเรืองเป็นยุคที่สอง นอกจากนี้ 10 วัด (Ten Temples of the Yungang) เมอื่ จาเป็น ประติมากรรมท่ีถ้าหยุนกังยังเป็นสัญลักษณ์ ในบริเวณหน้าถ้าในคริสต์ศักราชที่ 11 ของอานาจทางการเมืองของจักรพรรดิจีน แต่วัดเหล่านี้ถูกไฟไหม้ในศตวรรษต่อมา ท่ีสาคัญหลายพระองค์ด้วย จึงได้เสนอแนะ แ ล ะ มีห ลัก ฐ า น ว่า ใ น ร า ช ว ง ศ์เ ห ลีย ว ให้คณะกรรมการมรดกโลกมีมติประกาศ (Liáo Dynasty) และจิน (Jīn Dynasty) ใ ห้ ถ้ า เ ข า ห ยุ น กั ง เ ป็ น ม ร ด ก โ ล ก มีการอนุรักษ์พระพุทธรูปและประติมากรรม ด้านวัฒนธรรมในปี ค.ศ. 2001 สาหรับ อนื่ ๆ 1,876 องค์ กับหอ้ งคูหา ทางเดิน และ เกณฑ์คุณค่าความโดดเด่นเป็นสากลน้ัน ประตู และในราชวงศ์ชิงก็ยังมีการก่อสร้าง ICOMOS เสนอว่ามีคุณค่าได้ครบเกณฑ์ ทพี่ กั และทาสพี ระพุทธรปู หลายองค์ด้วย (Criteria) ทางด้านวัฒนธรรม 4 ข้อ คือ ข้อที่ i, ii, iii, และ iv และมีบูรณภาพ กับความเปน็ ของจริงครบถ้วน 3 วารสารความรว่ มมอื กับตา่ งประเทศ กรกฎาคม-กนั ยายน 2563
ร อ บ รู้ ม ร ด ก โ ล ก มีการจัดการทางวิชาการท่ีดี คือมีการต้ัง ห น่ ว ย ง า น พิ เ ศ ษ ใ น ด้ า น ก า ร ติ ด ต า ม ดาเนินการวิชาการอนุรักษ์ ช่ือ Yungang Grottoes Institute of Shanxi ต้ังแต่ ปี ค.ศ. 1952 มีการแบ่งระดับความเข้มงวด ด้าน ก า ร อ นุ รั ก ษ์ เ ป็น สา มส่ว น ไ ด้แ ก่ ส่วนในสุด คือ 1) ส่วนภายในบริเวณถ้าคูหา แ ล ะ ส่ิ ง ก่ อ ส ร้ า ง ใ น ส มั ย ร า ช ว ง ศ์ ห มิ ง แ ล ะ พื้ น ท่ี ด้ า น ห น้ า ข อ ง ถ้ า เ ข า แ ล ะ ลุ่ ม น้ า 2) ส่วนพ้ืนท่ีรอบนอกท่ีควบคุมห้ามไม่ให้ มกี ารกอ่ สรา้ ง 3) พ้ืนที่กันชนโดยรอบรวมท้ัง บริเวณด้านเหนือและด้านใต้ของแม่น้าด้วย ท้ังนี้มีการออกกฎหมายสาหรับแต่ละพ้ืนที่ ทางดา้ นวัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม และผังเมือง ท่ีควบคุมความหนาแน่น ความสูง เนื้อหา รูปแบบ และขนาดของการก่อสร้างและ การตั้งท่ีอย่อู าศยั ควบคู่ไปด้วย ส่วนการวิเคราะห์เปรียบเทียบนั้น หยุนกัง ขอ้ กังวลห่วงใยเก่ยี วกับถ้าเขาหยนุ กงั เปรียบเทียบได้กับวัดเขาถ้าแบบพุทธศาสนา ท้ังในประเทศจีนเองและในประเทศอินเดีย อยา่ งไรก็ดี คณะกรรมการมรดกโลกก็ยังมีข้อ ศรีลังกา และเกาหลี ท่ีได้ขึ้นเป็นมรดกโลก ห่วงใยในปัญหาบางประการและมอบหมาย แ ล้ ว สรุ ป ได้ ว่า วั ดพุ ทธ ที่ เ ป็ นถ้ า คู ห า ให้รัฐบาลจีนติดตามดูแลเป็นพิเศษ เช่น ในประเทศจีนท่ีได้ข้ึนบัญชีมรดกโลกน้ัน ใ น เ รื่ อ ง ก า ร ท า เ ห มื อ ง ถ่ า น หิ น ใ น พ้ื น ที่ มี ลั ก ษ ณ ะ ท่ีแ ป ล ก แ ต ก ต่ า ง จ า ก วั ดถ้ า ใกล้เคียงเขตมรดกโลก ทาให้เกิดสภาวะฝุ่น ในประเทศเอเชียอ่ืน ๆ เนื่องจากวัดถ้าในจีน ควันมาก แม้ว่าทางการของจีนจะได้ป้องกัน ส่วนใหญ่ต้ังอยู่บนเส้นทางการค้าโบราณ ด้ ว ย ก า ร ท า เ ข ต อ นุ รั ก ษ์ แ ล ะ เ ข ต กั น ช น ส่ ว น ใ ห ญ่ จ ะ มี อ า ยุ เ ริ่ ม ต้ น ป ร ะ ม า ณ โดยรอบและควบคุมการใช้พ้ืนท่ีใต้ดินด้วย คริสต์ศตวรรษท่ี 4 แต่จะส้ินสุดในเวลา ก็ตาม นอกจากน้ี เขาหินทรายที่ขุดเจาะเป็น ตา่ งกัน และแสดงการผสมผสานอิทธิพลจาก ถ้าคูหา มีชั้นช่องห้องหับจานวนมาก และ วัฒนธรรมของประเทศต่าง ๆ ที่หลากหลาย ตงั้ อยู่กลางที่โล่งแจ้งไม่ไกลจากแม่น้า ย่อมมี เข้ากับวัฒนธรรมเดิมของจีน แต่ถ้าหยุนกังนั้น ความเสี่ยงจากดินฟ้าอากาศท่ีเปลี่ยนแปลง มีความพเิ ศษแตกต่างไปอกี เพราะเป็นจดุ หักเห และจากภัยธรรมชาติ เช่น การเกิดปัญหา สาคั ญ ข อ ง วั ฒน ธร ร มวั ดถ้ า จี น ด้วย เ ห ตุผ ล การหินถล่มทลาย การไหลซึมของน้าเข้ามา หลายประการ คือเร่ิมต้นในกลางคริสต์ศตวรรษ ในบริเวณคูหาเขาหิน การร้าวแยกของถ้า ท่ี 5 ดังนั้นสถานการณ์ในประวัติศาสตร์จีน เป็นต้น ตลอดจนการส่งเสริมการท่องเท่ียว ก็เปล่ียนไปมาก การตบแต่งทางศิลปะ จานวนมากที่เข้ามาในพื้นที่พร้อม ๆ กัน สะท้อนอิทธิพลของเผ่าถ้ัวป๋า (Tuòbá) ซ่ึงรัฐบาลท้องถิ่นของจีนก็ดูแลเร่ืองเหล่าน้ี ผู้ ก่ อ ต้ั ง ร า ช ว ง ศ์เ ว่ ย ต อ นเ หนื อ ท่ี ย้ า ย อยา่ งใกลช้ ดิ เมืองหลวงมาอยู่ท่ีต้าถง และนาแนวคิด สาหรับการท่องเที่ยวน้ัน ขณะน้ี ยังอยู่ ศิลปะวัดถ้ามาจากเอเชียกลางและอินเดีย ต่ากว่าเป้าหมายท่ีพึงประสงค์มาก ท้ังนี้ ผ่านรฐั คนั ธาระ ท า ง ก า ร ท้ อ ง ถ่ิ น จึ ง มี ก า ร จั ด ก า ร แ ส ด ง การร้องเพลงและง้ิว เพ่ือสร้างและนาเสนอ เรือ่ งราวเกยี่ วกบั พระภิกษถุ านเย่า ผู้ก่อสร้าง วัดถ้าหยุนกัง เปิดให้ชมฟรี เพ่ือดึงดูด นักท่องเที่ยวดว้ ย ( ข อ บ คุ ณ ภ า พ ป ร ะ ก อ บ ทั้ ง ห ม ด จ า ก คุณปองพล อดิเรกสาร แห่งรายการโทรทัศน์ “สุดหล้าฟ้าเขียว”) เอกสารอ้างอิง 1. บันทึกการเดินทางของผเู้ ขยี น 2. เอกสารศนู ย์มรดกโลก THE YUNGANG GROTTOES, China 3. DATONG AND THE YUNGANG GROTTOES, Article (PDF Available) in Environmental Earth Sciences 72(8):3079-3088 · October 2014 4. Variable temperature and moisture conditions in Yungang Grottoes, China, and their impacts on ancient sculptures, available on line. 5. Carswell, James O. Written and Unwritten: A New History of the Buddhist Caves at Yungang, University of British Columbia Press, 1988. Vancouver. วารสารความรว่ มมอื กบั ตา่ งประเทศ กรกฎาคม-กันยายน 2563 4
ร อ บ ร้ั ว ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ การปรับเปล่ียนบทบาทของไทย ในการให้ความช่วยเหลือทางวิชาการ และการศึกษา โดย สมทรง งามวงษ์ 1 © ภาพจากสานกั งานรัฐมนตรี การใหค้ วามชว่ ยเหลือทางเศรษฐกิจและวิชาการแก่ต่างประเทศ จนกระท่ังประเทศไทยประสบปัญหาทางเศรษฐกิจในปี พ.ศ. เป็นกลไกสาคญั ประการหนึ่งในการดาเนินความร่วมมือระหว่าง 2540 จึงได้มีการปรับลดงบประมาณลงมา แต่ยังคงให้ ประเทศ ซ่ึงเป็นหลักการท่ีประเทศพัฒนาได้ใช้เป็นแนวทาง ความสาคัญแก่ประเทศเพ่ือนบ้านเป็นลาดับแรก สาหรับกลไก ในการสง่ เสริมความรว่ มมอื เพื่อการพัฒนาของประเทศที่ยังก้าว กา ร ด า เ นิ นง า น จ ะ มี ค ณ ะ กร ร ม ก า ร นโ ย บ า ย ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ไ ม่ ทั น สั ง ค ม โ ล ก แ ล ะ ยั ง เ ผ ชิ ญ กั บ ปั ญ ห า ด้ า น ต่ า ง ๆ ทางเศรษฐกิจและวิชาการกับต่างประเทศ ซึ่งแต่งต้ังขึ้นตามมติ ท้ังทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ซึ่งส่งผลให้ประชาชน คณะรฐั มนตรีเมือ่ วนั ที่ 19 มกราคม 2536 (รัฐบาลนายอานันท์ ของประเทศมีความยากจน ลาบาก หิวโหย และขาดแคลน ปันยารชุน) โดยมีกรมความร่วมมือระหว่างประเทศเป็น ปจั จัยการดารงชีวติ หนว่ ยงานรบั ผิดชอบ (กรมความรว่ มมือระหว่างประเทศเดิมคือ ประเทศไทยได้ขยับฐานะจากประเทศท่ีเคยเป็น ผู้รับ กรมวิเทศสหการ สังกัดสานักนายกรัฐมนตรี ต่อมาเม่ือมี ความช่วยเหลือมาเป็นประเทศผู้ให้ความช่วยเหลือ โดยเฉพาะ การปฏิรูปหน่วยงานราชการในปี พ.ศ. 2547 ได้เปล่ียนเป็น เมื่อได้มีการประกาศนโยบายเปลี่ยนสนามรบเป็นสนามการค้า สานักงานความร่วมมือเพ่ือการพัฒนาระหว่างประเทศ ซ่ึงถือเปน็ นโยบายท่ีสาคัญของรฐั บาลไทย (ปี พ.ศ. 2531) ทาให้ หรือ สพร. สังกัดกระทรวงการต่างประเทศ และได้เปล่ียนเป็น มี ก า ร ป รั บ เ ป ลี่ ย น บ ท บ า ท ข อ งไ ท ย ใ น เ ว ที ต่ า งป ร ะ เ ท ศ แ ล ะ กรมความร่วมมอื ระหว่างประเทศในปจั จุบนั ) เพมิ่ งบประมาณสาหรับการใหค้ วามชว่ ยเหลือต่างประเทศสูงข้ึน โดยเฉพาะการจัดลาดับโครงการที่มีความสาคัญให้แก่ประเทศ เพื่อนบา้ น ซ่ึงงบประมาณดังกลา่ วได้ปรบั สงู ขนึ้ แบบขัน้ บนั ได 1 ผ้อู านวยการสานักความสัมพนั ธต์ า่ งประเทศ สานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 5 วารสารความรว่ มมอื กับตา่ งประเทศ กรกฎาคม-กนั ยายน 2563
ร อ บ ร้ั ว ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ การดาเนินนโยบายความร่วมมือทางเศรษฐกิจและวิชาการ เม่ือเดือนมีนาคม 2563 ท่ีผ่านมา กระทรวงการต่างประเทศได้ ในช่วงระยะแรก ได้เน้นการใหค้ วามช่วยเหลือเพอ่ื การพัฒนาแก่ จัดประชุมคณะกรรมการนโยบายความร่วมมือทางเศรษฐกิจ ตา่ งประเทศใน 3 สาขาหลัก ได้แก่ การศึกษา การเกษตร และ แล ะวิชา การ กับ ต่ างปร ะเ ทศ คร้ั งที่ 1/ 2563 โด ย มี การสาธารณสุข ดังน้ัน กระทรวงศึกษาธิการจึงมีโอกาสจัดส่ง รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศเป็นประธาน และ ผู้แทนเข้าไปมีส่วนร่วมในการพิจารณากิจกรรม/โครงการท่ีจะ ผู้แทนจาก 22 หน่วยงานเข้าร่วมการประชุมเพื่อวางแนวทาง ให้ความร่วมมือช่วยเหลือประเทศเพื่อนบ้านต้ังแต่เร่ิมต้น ขั บ เ ค ล่ื อ น ค ว า ม ร่ ว ม มื อ เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ท้ังการพิจารณาคาร้องขอทุนการศึกษา ทุนฝึกอบรมหลักสูตร เชิงบูรณาการในรูปแบบทีมประเทศไทย เพ่ือให้ตอบสนอง ต่าง ๆ การพิจารณาคาขอโครงการที่สาคัญ ๆ การดาเนิน ผลประโยชนข์ องประเทศได้อย่างแท้จริง ซ่ึงท่ีประชุมได้ร่วมกัน โครงการในประเทศเพ่ือนบ้าน การจัดส่งผู้เชี่ยวชาญไปสารวจ พิจารณาทิศทางและแนวโน้มของความร่วมมือเพื่อการพัฒนา ข้อมูลพ้ืนฐานทางการศกึ ษา การให้คาปรึกษาและข้อเสนอแนะ ต่าง ๆ ของไทย โดยจะขยายขอบเขตการดาเนินงานจากเดิม รวมทั้งการจัดส่งผู้เช่ียวชาญไปติดตามผลการดาเนินงาน และ ที่มุ่งประเทศเพื่อนบ้านเป็นหลักไปสู่ทุกภูมิภาค และ เป็นวิทยากรฝึกอบรม ท้ังนี้ โครงการที่กระทรวงศึกษาธิการ จากรูปแบบการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในรูปทุนการศึกษาและ ดาเนินงานในประเทศเพ่ือนบ้านท่ีสาคัญ ๆ ได้แก่ โครงการ ฝึกอบรมไปสู่โครงการพัฒนาระยะยาว (Project-Based) พัฒนาห้องสมุดวิทยาลัยครูบ้านเก่ิน โครงการพัฒนาห้องสมุด มากข้ึน สาหรับสาขาความร่วมมือท่ีมีปริมาณมาก เช่น วทิ ยาลยั ครหู ลวงพระบาง โครงการพฒั นาโรงเรียนเทคนิคแขวง การเกษตร การสาธารณสุข การศึกษา ประเทศไทยจะพัฒนา เวยี งจนั ทน์ หรอื ศูนยอ์ าชวี ศกึ ษาเมอื งโพนโฮง โครงการก่อสร้าง Best Practice และสร้างความเป็นเลิศในระดับภูมิภาคและ สนามกีฬาโรงเรียนมัธยมสมบูรณ์บ้านฮ่องค้า และโครงการ ระดับโลกต่อไป และมีแนวโน้มไปสู่การเสริมสร้างการพัฒนา พฒั นาสอื่ อิเลก็ ทรอนิกส์เพื่อการเรียนการสอนระดบั มัธยมศกึ ษา เศรษฐกิจมากข้ึน โดยจะมีการบูรณาการระหว่างหน่วยงาน ตอนปลายใน สปป. ลาว โครงการพัฒนาศูนย์อาชีวศึกษาเมือง ภายในประเทศ และเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วม ตูเลียม เมืองนาดิน โครงการวิทยาลัยเกษตรกรรมบักไต และ มากข้ึน รวมท้ังเผยแพร่การประยุกต์ใช้หลักปรัชญาของ โครงการพัฒนาโรงเรียนเพ่ือเด็กเก่งเมืองฮาทินในเวียดนาม เศรษฐกจิ พอเพียงเพ่ือเป็นแนวทางการพัฒนาที่ย่ังยืน (SEP for ร ว ม ทั้ งส นับ ส นุน กา ร ด า เ นิ นโ ค ร งก า ร พ ร ะ ร า ชท า น SDGs Partnership) ของไทยไปสู่ต่างประเทศ นอกจากน้ี ความช่วยเหลือแก่ราชอาณาจักรกัมพูชา ตามพระราชดาริ จะสนับสนนุ ความรว่ มมอื จากลักษณะทวิภาคีไปสู่ไตรภาคี และ สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จเทพรัตนราชสุดาฯ เป็นระดบั ภูมภิ าค (Regional Approach) มากขึน้ ดว้ ย สยามบรมราชกุมารี ในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน ทิศทางและแนวโน้มของการดาเนินงานความ ร่วมมือ ข อ ง ส ถ า บั น เ ท ค โ น โ ล ยี ก า ป ง ส ปื อ แ ล ะ ส ถ า บั น เ ท ค โ น โ ล ยี เ พ่ื อ ก า ร พั ฒ น า ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ข อ ง ไ ท ย ท่ี จ ะ ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด กาปงเฌอเตียล ประสิทธิภาพแ ละประ สิทธิผล มากข้ึนน้ัน กร ะทรวง ก า ร ด า เ นิ น น โ ย บ า ย ซ่ึ ง ผ ล ก า ร ด า เ นิ น ง า น ใ น ช่ ว ง เ กื อ บ การต่างประเทศจะแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ จานวน 2 คณะ สามทศวรรษทผ่ี า่ นมาส่งผลใหก้ ารพฒั นาของประเทศเพอ่ื นบ้าน ได้แก่ คณะอนุกรรมการด้านเศรษฐกิจและคณะอนุกรรมการ มีความก้าวหน้าเป็นอย่างมาก โดยในปัจจุบันการ ให้ ด้านสังคม โดยมีอธิบดีหรือรองอธิบดีกรมความร่วมมือระหว่าง ความร่วมมือช่วยเหลือได้มีการปรับเปล่ียนการดาเนินงานจาก ประเทศเป็นประธาน พร้อมกันน้ีจะมีการจัดทาแผนปฏิบัติ รปู แบบการเสนอคาขอทนุ การศกึ ษา ทุนฝกึ อบรม และโครงการ การบูรณาการความร่วมมือเพ่ือการพัฒนาระหว่างประเทศ ตา่ ง ๆ เปน็ รปู แบบของแผนพัฒนาระยะสนั้ และระยะยาว ซึ่งจะ ของไทย เพ่อื เปน็ กรอบแนวทางการดาเนินงานให้สอดคล้องกับ ก่อใหเ้ กิดผลสาเรจ็ อยา่ งเป็นรูปธรรมได้มากกว่า และสอดคล้อง เป้าหมายและผลประโยชน์ของไทยอย่างรอบด้าน และ กบั รปู แบบของการพัฒนาที่เป็นสากล ตอบสนองสถานการณ์ปัจจุบันไดอ้ ย่างเหมาะสม © ภาพจากกระทรวงการตา่ งประเทศ วารสารความรว่ มมอื กบั ตา่ งประเทศ กรกฎาคม-กันยายน 2563 6
ร อ บ ร้ั ว ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ทิศทางและแนวโน้มของการดาเนินงานความ ร่วมมือ ข้อมูลจากกระทรวงการต่างประเทศระบุว่า ปัจจุบัน เ พื่ อ ก า ร พั ฒ น า ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ข อ ง ไ ท ย ที่ จ ะ ก่ อ ใ ห้ เ กิ ด ประเทศไทยอยใู่ นสถานะประเทศที่มีรายได้ปานกลางที่ประสบ ประสิทธิภาพแ ละประ สิทธิผล มากข้ึนน้ัน กร ะทรวง ความสาเร็จมีความก้าวหน้าในด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การต่างประเทศจะแต่งต้ังคณะอนุกรรมการ จานวน 2 คณะ และเศรษฐกิจท่ีสามารถแบ่งปันกับประเทศอ่ืน ๆ ในฐานะ ได้แก่ คณะอนุกรรมการด้านเศรษฐกิจและคณะอนุกรรมการ หุ้นส่วนเพื่อการพัฒนา หรือ Partner for the Goals ด้านสังคม โดยมีอธิบดีหรือรองอธิบดีกรมความร่วมมือ ตามเป้าหมายท่ี 17 ของเป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืน ระหว่างประเทศเป็นประธาน พร้อมกันน้ีจะมีการจัดทา ของสหประชาชาติ (SDGs) โดยในปี พ.ศ. 2561 การให้ แผนปฏิบัติการบูรณาการความร่วมมือเพ่ือการ พัฒนา ความช่วยเหลือของประเทศไทย (Official Development ระหว่างประเทศของไทย เพ่อื เปน็ กรอบแนวทางการดาเนินงาน Assistance - ODA) มีมูลค่ารวม 4,561.78 ล้านบาท แบ่งเป็น ให้สอดคล้องกับเป้าหมายและผลประโยชน์ของ ไทย เงนิ บริจาคให้องค์การระหว่างประเทศ จานวน 2,452.32 ล้านบาท อย่ า ง ร อบ ด้ า น แ ล ะ ต อ บ ส นอ งส ถา น กา ร ณ์ ปั จ จุ บั น คิดเป็นร้อยละ 54 เป็นเงินให้เปล่าและความ ร่วมมือ ได้อย่างเหมาะสม ทางวิชาการจานวน 1,662.45 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 36 และเงนิ กูจ้ านวน 447.01 ล้านบาท คดิ เป็นรอ้ ยละ 10 7 วารสารความรว่ มมอื กับตา่ งประเทศ กรกฎาคม-กนั ยายน 2563
ร อ บ ร้ั ว ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ การประชุมคณะกรรมการบริหาร องค์การยูเนสโก ครั้งที่ 209 209th Session of the Executive Board โดย ก า ร ป ร ะ ชุ ม ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ห า ร รชั นินท์ พงศ์อดุ ม 1 องค์การยูเนสโก คร้ังที่ 209 จัดขึ้น สุปราณี คายวง 2 ระหว่างวันท่ี 29 มิถุนายน - 10 กรกฎาคม 2563 ณ องค์การยูเนสโก ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ไ ด้ รั บ เ ลื อ ก ต้ั ง ใ ห้ ด า ร ง ต า แ ห น่ ง ส ม า ชิ ก ค ณ ะ สานักงานใหญ่ กรุงปารีส สาธารณรัฐ ฝร่ังเศส เป็นการประชุมรูปแบบปกติ กรรมการบริหารองค์การยูเนสโก (Executive Board) โดยมติจากที่ประชุม จากัดจานวนผู้เข้าประชุมประเทศละ สมัยสามัญของยูเนสโก คร้ังที่ 40 (40th Session of the General Conference) ไม่เกนิ 2 คน อนั เนื่องมาจากสถานการณ์ เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2562 มีวาระ 4 ปี (พ.ศ. 2562-2566) ในนามกลุ่ม การแพร่ระบาดโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา เอเชีย-แปซิฟิก (6 ท่ีน่ัง) ร่วมกับอัฟกานิสถาน คีร์กีซสถาน เมียนมา 2019 (โควิด-19) และมีการถ่ายทอดสด ปากีสถาน และเกาหลีใต้ คณะกรรมการบริหารฯ ถือเป็นกลไกหน่ึงท่ีมี ผ่าน Webcast ของยูเนสโก ในส่วน ความสาคัญในการบริหารงานของยูเนสโก มีหน้าที่ในการตรวจสอบ ของประเทศไทย รัฐมนตรีว่าการ การบริหารโครงการฯ การดาเนินกิจกรรมท้ัง 5 สาขา ได้แก่ การศึกษา กระทรวงศึกษาธิการในฐานะประธาน วิทยาศาสตร์ วัฒนธรรม สังคมศาสตร์ และส่ือสารมวลชน การจัดสรร ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร แ ห่ ง ช า ติ ว่ า ด้ ว ย งบประมาณ การเสริมสร้างศักยภาพบุคลากร รวมถึงการพิจารณาข้อมติ การศกึ ษา วทิ ยาศาสตร์ และวัฒนธรรม ต่าง ๆ ก่อนที่จะเสนอผู้อานวยการใหญ่องค์การยูเนสโกและท่ีประชุม แห่งสหประชาชาติ (ยูเนสโก) ซ่ึงเป็น สมัยสามัญ (General Conference) คณะกรรมการบริหารฯ ประกอบด้วย ผู้แทนหลักของไทยในคณะกรรมการ สมาชิกจานวน 58 ประเทศ จากภูมภิ าคตา่ ง ๆ มกี ารประชมุ ปลี ะ 2 ครั้ง บริหารฯ ได้มอบให้เอกอัครราชทูต ณ กรุงปารีส ในฐานะผู้แทนถาวรไทย 1 นักวเิ ทศสัมพันธ์ชานาญการ ประจาองค์การยูเนสโกและรองผู้แทน 2 ผ้อู านวยการกลุม่ ความร่วมมอื กับองค์การระหว่างประเทศ ถ า ว ร ไ ท ย ป ร ะ จ า อ ง ค์ ก า ร ยู เ น ส โ ก เข้ารว่ มการประชมุ ดงั กลา่ ว วารสารความรว่ มมอื กับตา่ งประเทศ กรกฎาคม-กนั ยายน 2563
ร อ บ รั้ ว ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ นางสาวดุรยิ า อมตววิ ัฒน์ ประเดน็ ทสี่ าคญั จากการประชมุ คณะกรรมาธิการตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ รองปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร การประชุมคณะกรรมการว่าด้วยอนุสัญญาและ ในฐานะเลขาธกิ ารคณะกรรมการแห่งชาติวา่ ด้วยการศกึ ษาฯ สหประชาชาติ ข้อเสนอแนะ (Committee of Conventions and Recommendations - CR) เป็นการพิจารณาข้อร้องเรียน ในกรณีท่ีมีการไม่ปฏิบัติตามพันธกรณีหรือหน้าท่ีของรัฐ สมาชกิ ตามอนุสัญญาหรือตราสารระหว่างประเทศอื่น ๆ ในกรอบยูเนสโก ท้ังน้ีไทยเป็นสมาชิกคณะกรรมการ CR วาระปี พ.ศ. 2563-2564 ข้อร้องเรียนในการประชุม ค ร้ั ง น้ี ส่ ว น ใ ห ญ่ เ ก่ี ย ว ข้ อ ง กั บ ข้ อ ก ล่ า ว ห า ค ว า ม ขั ด แ ย้ ง ทางการเมือง การสร้างความแตกแยกในสังคม ความมั่นคงของรัฐ ซ่ึงส่วนใหญ่ยูเนสโกได้ขอให้รัฐบาล ประเทศที่ถูกร้องเรียนให้ข้อมูลเพ่ิมเติมเพื่อนากลับมา พจิ ารณาในการประชมุ คราวต่อไป พธิ ีเปิดอยา่ งเปน็ ทางการจดั ขึ้นเมือ่ วนั ที่ 2 กรกฎาคม 2563 โดยประธานคณะกรรมการบริหารฯ (H.E. Mr. Agapito Mba Mokuy) เป็นผู้กล่าวเปิด จากนั้นผู้อานวยการใหญ่ องค์การยูเนสโก (Madam Audrey Azoulay) กล่าวรายงาน การดาเนินงานของยูเนสโกที่ผ่านมา และมติจากท่ีประชุม สมัยสามัญของยูเนสโกและคณะกรรมการบริหารองค์การ ยูเนสโกครั้งล่าสุด และการกล่าวถ้อยแถลงของประเทศ สมาชิก ซึ่งนายศรัณย์ เจริญสุวรรณ เอกอัครราชทูต ณ กรุงปารีส ได้กล่าวถ้อยแถลงในนามของรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงศึกษาธิการ เก่ียวกับสถานการณ์โควิด-19 ในประเทศไทย ผลกระทบจากการแพร่ระบาดต่อโรงเรียน การนาเทคโนโลยีดา้ นการส่ือสาร (ICT) รวมถึงระบบดิจิทัล และปัญญาประดิษฐ์ (AI) มาใช้ในช่วงสถานการณ์ดังกล่าว ค ว า ม ท้ า ท า ย เ กี่ ย ว กั บ ค ว า ม เ ห ลื่ อ ม ล้ า ใ น ก า ร เ ข้ า ถึ ง เทคโนโลยีเหล่าน้ัน การใช้โอกาสจากวิกฤตนี้เพ่ือพัฒนา ระบบการศึกษาให้สอดคล้องกับบริบทชีวิตวิถีแบบใหม่ (New Normal) เชน่ การฝกึ อบรมดา้ น ICT แกค่ รูและนักเรียน การส่งเสริมให้เด็กมีความรู้ เร่ืองผลกระทบของโควิด -19 ทั้งในมิติทางสังคมและเศรษฐกิจ รวมถึงการสนับสนุน บทบาทของยเู นสโกในการสง่ เสรมิ ให้รัฐบาลประเทศต่าง ๆ เผชิญหน้ากับปัญหาท้าทายนี้ผ่านกิจกรรมและโครงการ ได้แก่ การเรียนทางไกล การใช้วิทยาการแบบเปิด (Open Science) และการแบ่งปนั ความรแู้ ละวฒั นธรรม เป้าหมาย วาระปี ค.ศ. 2030 การพัฒนาท่ีย่ังยืน (2030 Agenda for Sustainable Development) การเป็นพลเมืองโลก (Global Citizenship Education) ซึง่ จะนาไปสู่การพฒั นา อนาคตของการศกึ ษาภายใต้แนวคิด Learning to Become ด้วย 9 วารสารความรว่ มมอื กบั ตา่ งประเทศ กรกฎาคม-กนั ยายน 2563
ร อ บ ร้ั ว ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ การประชุมคณะกรรมาธิการว่าด้วยโครงการและ นายปราโมทย์ ดว้ งอ่ิม ความร่วมมือกับองค์กรอ่ืน ๆ (Programme and รองผแู้ ทนถาวรไทยประจ้าองค์การยูเนสโก External Relations Commission - PX) มีวาระ ท่ีเกี่ย วข้องกับกิจ กรรม /โคร งการ /ยุทธศาสต ร์ การประชุมคณะกรรมาธิการว่าด้วยงบประมาณและ การดาเนินงานในรายสาขา โดยมีประเด็นที่สาคัญ เช่น การบริหาร (Financial and Administrative การส่งเสริมยูเนสโกในฐานะเป็นองคก์ ารหลกั ทีร่ บั ผดิ ชอบ Commission - FA) และการประชุมร่วมของ PX และ เป้าหมายที่ 4 ของการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDG 4 - Education FA มวี าระทเี่ กยี่ วข้องกบั งบประมาณ การบริหารจัดการ 2030) การนาเสนอแนวคิดใหม่ในการจัดการศึกษาและ ทรัพยากรบุคคล การรายงานข้อมูลสถานะและ การเรียนรูส้ าหรบั อนาคตเพ่อื ตอบสนองต่อปัญหาท้าทาย กระบวนการทบทวนและฟ้ืนฟูของศูนย์/สถาบันภายใต้ ในโลกปัจจุบัน ภายใต้ข้อริเร่ิมอนาคตของการศึกษา ยูเนสโก เช่น เป้าหมายในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ (The Futures of Education Initiatives) การรายงาน ด้านงบประมาณท่ีต้องการเพิ่มงบประมาณ และ ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า ต า ม ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ช่ ว ง ค ร่ึ ง แ ผ น การระดมทนุ จากทุกภาคส่วน (Resource Mobilization ด้านอาชีวศึกษา เทคนิค และการอบรม (UNESCO Strategy for 2020-2021) การปฏริ ปู การทางานภายใต้ Strategy for Technical and Vocational Education ระบบของสหประชาชาติ ซึ่งเน้นความสาคัญกับ and Training - TVET 2016-2021) การสนับสนุน โครงสร้างการทางานในระดับภูมิภาค (Repositioning การดาเนินงานและปรับปรุงกลไกของอุทยานธรณีโลก of the United Nations Development System) (UNESCO Global Geoparks) การพัฒนาและปรับปรุง ยุทธศาสตร์ด้านบุคลากรทั้งการพัฒนาศักยภาพและ ทิศทางการดาเนินงานโครงการ Slave Route Project สภาพแวดล้อมการทางาน (Human Resources และส่งเสริมเรื่อง International Decade for People Management Strategy for 2017-2022) วาระ of African Descent (2014-2025) การส่งเสริม เก่ียวกับอนาคตของสถาบัน IBE หรือ Future of the การดาเนินงานของ “UNESCO Strategy for Action International Bureau of Education (IBE) ซ่ึงเป็น on Climate Change” ให้สอดคล้องกับข้อตกลง สถา บั นด้ า นกา ร ศึ กษา นา นา ชา ติป ร ะ เภ ทท่ี 1 COP21 Paris Agreement และ United Nations ของยูเนสโก ต้ังอยู่ท่ีกรุงเจนีวา สมาพันธรัฐสวิส อยู่ใน Framework Convention on Climate Change ระหว่างการปรับเปลี่ยนเพ่ือพัฒนาสถาบันให้ มี ( U N F C C C ) ก า ร บู ร ณ า ก า ร ข้ า ม ส า ข า กั บ โ ค ร ง ก า ร ความสอดคล้องเช่อื มโยงระหวา่ งการศึกษากับเป้าหมาย ในสาขาต่าง ๆ ของยูเนสโก และแผนการดาเนินงาน การพัฒนาที่ยั่งยืน รวมถึงหลักสูตร อย่างไรก็ตาม ส า ห รั บ ป ร ะ เ ท ศ ก า ลั ง พั ฒ น า ท่ี เ ป็ น เ ก า ะ ข น า ด เ ล็ ก เน่ืองจากมีข้อเสนอจากสาธารณรัฐประชาชนจีนให้มี (Small Island Developing States - SIDS) เป็นตน้ สานกั งาน IBE 2 แห่ง ทก่ี รุงเจนีวาและนครเซยี่ งไฮ้ภายใต้ แนวคิด One Institute with Two Locations ดังน้ัน นายศรัณย์ เจริญสุวรรณ ยูเนสโกจึงมีมติให้มีการต้ังคณะทางานเพ่ือหารือเรื่อง เอกอัครราชทูต ณ กรงุ ปารสี ดังกลา่ วตอ่ ไป ในฐานะผูแ้ ทนถาวรไทยประจ้าองค์การยูเนสโก วารสารความรว่ มมอื กับตา่ งประเทศ กรกฎาคม-กนั ยายน 2563 10
ร อ บ รั้ ว ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ในส่วนของวาระเร่ืองการพัฒนาแอฟริกา (Global Priority Africa) นั้น แม้ว่า Madam Audrey Azoulay จะเป็นโครงการท่ีก่อต้ังมาต้ังแต่ปี 2532 และอยู่ในแผนยุทธศาสตร์ระยะกลาง ผู้อา้ นวยการใหญ่องค์การยเู นสโก ของยูเนสโก (เอกสาร 34 C/4) ทั้งนี้ 30 ปีท่ีผ่านมา ยังมีปัญหาท้าทาย อยู่มากมาย ดังน้ัน ในการประชุมสมัยสามัญคร้ังท่ี 40 เม่ือปี 2562 ประเทศ น อ ก จ า ก น้ี ยั ง มี ว า ร ะ เ ร่ื อ ง สมาชิกได้เสนอว่า ขอให้ดาเนินการเรื่อง Priority Africa เป็นความจริง ผ ล ก ร ะ ท บ ข อ ง โ ค วิ ด - 1 9 โดยมีความร่วมมือท้ังในกรอบของ 2030 Agenda for Sustainable ต่ อ โ ค ร ง ก า ร แ ล ะ กิ จ ก ร ร ม Development และ African Union’s Agenda 2063: The Africa We Want ของยเู นสโก โดยสรา้ งความม่ันใจ รวมถึงยังคงเป็นวาระการพัฒนาระดับโลกในแผนยุทธศาสตร์ระยะกลาง 2022- ว่าการแพร่ระบาดจะไม่กระทบ 2029 (เอกสาร 41 C/4) การสร้างความชัดเจนในการจัดสรรงบประมาณและ กับการดาเนินโครงการ และ การดาเนินโครงการ โครงสร้างการดาเนินงาน โปรแกรมแต่ละสาขา และ ก า ร เ ต รี ย ม ค ว า ม พ ร้ อ ม รั บ มื อ การตระหนกั ถงึ การระบาดโรคโควิด-19 ในภูมภิ าคน้ี ภายหลงั การแพรร่ ะบาด 11 วารสารความรว่ มมอื กบั ตา่ งประเทศ กรกฎาคม-กนั ยายน 2563
ร อ บ ร้ั ว ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ กแลาะรงจบัดปทราะแมผานณงขาอนงโยคูเรนงสกโากรฉบับใหม่ โดย รชั นนิ ท์ พงศ์อดุ ม 1 สุปราณี คายวง 2 ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย เ ป็ น ส ม า ชิ ก องค์ กา ร ศึ กษา วิ ทย า ศ า ส ต ร์ โดยมีระยะเวลาของการดาเนินงานตามแผน 8 ปี แผนยุทธศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ หรือยูเนสโกมากว่า 70 ปี ฉบับปัจจุบันอยู่ในห้วงระหว่าง พ.ศ. 2557-2564 (ค.ศ. 2014- (เข้าร่วมต้ังแต่ พ.ศ. 2492) โดยกระทรวงศึกษาธิการในฐานะ 2021) หรือเรียกว่า เอกสาร 37 C/4 ซึ่งมาจากการเห็นชอบ สานักเลขาธิการคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยยูเนสโก ทาหน้าที่ ตามมติท่ีประชุมสมัยสามัญของยูเนสโก คร้ังท่ี 37 เมื่อเดือน เ ป็ น ห น่ วย งา น กล า งป ร ะ ส า น ค วา ม ร่ ว ม มื อ ร ะ ห ว่า ง ห น่ ว ย งา น พฤศจิกายน พ.ศ. 2556 แผนยุทธศาสตร์ดังกล่าว นอกจากเน้น ในประเทศ สานกั งานยูเนสโกระดบั ภูมิภาค ประเทศสมาชิกต่าง ๆ บ ท บ า ท ข อ ง ยู เ น ส โ ก ต า ม พั น ธ กิ จ เ รื่ อ ง ก า ร ส ร้ า ง สั น ติ ภ า พ และยูเนสโก สานักงานใหญ่ ในการดาเนินกิจกรรมและโครงการ การขจัดความยากจน และเป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืนแล้ว ใหส้ อดคล้องกบั ยุทธศาสตร์ แผนงาน และงบประมาณของยูเนสโก ยังให้ความสาคัญกับความร่วมมือระหว่างเครือข่ายต่าง ๆ มาโดยตลอด ทั้งน้ี ทิศทางการดาเนินงานของยูเนสโกกาหนดไว้ สานักงานระดับภูมิภาคและระบบสหประชาชาติด้วย นอกจากนี้ ในเอกสารหลัก 2 ฉบับ ได้แก่ แผนยุทธศาสตร์ระยะกลาง ยังได้กาหนดให้การพัฒนาแอฟริกา (Africa) และความเสมอภาค และโครงการและงบประมาณ ระหว่างหญิงชาย (Gender) เป็นวาระระดับโลกที่ต้องบูรณาการ แผนยุทธศาสตร์ระยะกลาง (The Medium-Term Strategy) ไปยังกจิ กรรมและโครงการของยูเนสโก (Global Priorities) หรือ เอกสาร C/4 เป็นกรอบการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์ โครงการและงบประมาณ (The Programme and Budget) วิสัยทัศน์ และโครงการท่ีองค์การยูเนสโกกาหนดไว้ตามพันธกิจ หรือ เอกสาร C/5 เป็นแผนที่กาหนดรายละเอียดกิจกรรมและ ขององค์การใน 5 สาขา คือ การศึกษา วิทยาศาสตร์ วัฒนธรรม โครงการ รวมถึงผลลัพธ์ที่คาดหวังของแต่ละสาขางาน ตามบริบท สังคมศาสตร์ และสอื่ สารมวลชน ของแผนยุทธศาสตร์ระยะกลาง โดยโครงการจะได้รับการกาหนด เป็นระยะเวลา 4 ปี ส่วนงบประมาณจะพิจารณาจัดสรรทุก 2 ปี ซึ่งทั้งโ ค ร งกา ร แล ะ งบป ร ะ มา ณ ดังกล่ าวจ ะ ได้ รั บ กา ร เ ห็น ชอบ จากมตทิ ่ปี ระชมุ สมยั สามัญทุก 4 ปี และ 2 ปี ตามลาดับ 1 นักวิเทศสมั พันธ์ชานาญการ 2 ผูอ้ านวยการกลุม่ ความรว่ มมอื กับองคก์ ารระหวา่ งประเทศ วารสารความรว่ มมอื กับตา่ งประเทศ กรกฎาคม-กนั ยายน 2563 12
ร อ บ รั้ ว ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ในปี 2564 เป็นปีที่ครบกาหนดแผนยุทธศาสตร์ รวมถึง การประชุมหารือออนไลน์ระดับอนุภูมิภาคระหว่างสานัก โครงการและงบประมาณฉบับปัจจุบัน ดังน้ัน ยูเนสโก เลขาธกิ ารคณะกรรมการแห่งชาตวิ า่ ด้วยยเู นสโกเพ่ือจดั เตรียม จึงจัดเตรียมร่างยุทธศาสตร์ระยะกลาง (เอกสาร 41 C/4) ร่างยุทธศาสตร์ โครงการ และงบประมาณของยูเนสโก ระหว่างปี 2565 - 2572 (ค.ศ. 2022-2029) และร่างโครงการ (Sub-Regional Online Consultation of National Commissions และงบประมาณ (เอกสาร 41 C/5) ระหว่างปี 2565 - 2568 for UNESCO on the Preparation of the Draft Medium- (ค.ศ. 2022 - 2025) เพื่อเสนอต่อผู้อานวยการใหญ่ Term Strategy for 2022-2029 (41 C/4) and the Draft องค์การยเู นสโก ทีป่ ระชุมคณะกรรมการบรหิ ารองค์การยเู นสโก Programme and Budget for 2022-2025 (41 C/5 จัดข้ึน (The Executive Board) และการประชุมสมัยสามัญ ระหว่างวันที่ 24 - 25 มิถุนายน 2563 ซึ่งร่วมจัดโดยสานักงาน ของยูเนสโก (General Conference) ครั้งท่ี 41 ในช่วงปลายปี ยูเนสโก กรุงเทพฯ ปักก่ิง และจาการ์ตา (ถ่ายทอดการประชุม 2564 ตามลาดับ โดยกระบวนการเร่ิมจากประเทศสมาชิก จากสานักงานยูเนสโก กรุงเทพฯ) โดยมีผู้แทนสานักเลขาธิการ ต อ บ แ บ บ ส อ บ ถา ม เ พื่ อส่ ง ใ ห้ ยู เ น ส โ ก ด า เ นิ น ก า ร ร ว บ ร ว ม คณะกรรมการแห่งชาติฯ ประเทศต่าง ๆ ในอนุภูมิภาคจานวน ตั้งแต่ช่วงต้นปี 2563 จากน้ันเป็นการประชุมหารือท้ังในระดับ 14 ประเทศ และสานักงานยูเนสโกระดับประเทศและภูมิภาค อนุภาค ภูมิภาค และระดับโลกตลอดช่วงปี 2563 - 2564 จานวน 6 แหง่ เข้ารว่ มการประชุมฯ อย่างไรก็ตาม เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 มีผลให้หลายการประชุมถูกเล่ือนออกไป หรือเปล่ียนรูปแบบ เปน็ ออนไลนแ์ ทน การประชุมวันท่ี 24 มิถุนายน 2563 เป็นการพิจารณา ท่ามกลางสถานการณ์ดังกล่าว ทุกประเทศควรให้ความสาคัญ ร่างเอกสาร 41 C/4 โดยมีนางสาวดุริยา อมตวิวัฒน์ กับการประสานความร่วมมือเป็นหนึ่งเดียว ในส่วนของ รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ในฐานะเลขาธิการ เป้าหมายการพัฒนาท่ีย่ังยืนนั้น ยูเนสโกยังคงเป็นองค์การหลัก ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร แ ห่ ง ช า ติ ว่ า ด้ ว ย ยู เ น ส โ ก ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ของสหประชาชาติในการดาเนินการตามเป้าหมายท่ี 4 เป็นประธาน วาระสาคัญของร่างยุทธศาสตร์ฯ ประกอบด้วย (สรา้ งหลกั ประกันว่าทกุ คนมกี ารศึกษาที่มีคุณภาพอย่างครอบคลุม พันธกิจ บทบาทและหน้าที่ของยูเนสโกตาม ธรรมนูญ และเท่าเทียม และสนับสนุนโอกาสในการเรียนรู้ตลอดชีวิต - ขององค์การ ซึ่งยังคงเน้นการสร้างสันติภาพ ขจัดความยากจน SDG4: Ensure inclusive and equitable quality education การพัฒนาที่ย่ังยืน และบทบาทของยูเนสโกในฐานะเป็น and promote lifelong learning opportunities for all) คลังแห่งวิชาการ โดยมีข้อเสนอแนะเพิ่มเติมเร่ืองการส่งเสริม และเป้าหมายอื่น ๆ ท่ีได้รับการเลือกเบื้องต้นให้มีความสาคัญ จิตวิญญาณของความเป็นน้าหน่ึงใจเดียวกันและการแบ่งปัน รองลงมา เช่น SDG5, 6, 11, 13, 14, 15 และ 16 ระหว่างมนุษยชาติ (To promote solidarity on shared humanity) ดา้ นยทุ ธศาสตร์และแผนปฏิบัติการข้ามสาขาหรือสหสาขาวิชา เพ่ือให้สามารถรองรับปัญหาท้าทายของโลกได้ โดยเฉพาะ ประเทศสมาชิกสนบั สนุนการดาเนินงานที่เช่ือมโยงกับทุกสาขา การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ที่เกี่ยวเนื่องกับการเรียนรู้ตลอดชีวิต การเปลี่ยนแปลง ทม่ี ผี ลกระทบต่อด้านการศกึ ษา วฒั นธรรม และการทอ่ งเที่ยว สภาพภูมิอากาศ การเสริมสร้างการหารือระหว่างวัฒนธรรม เพื่อสันติภาพ และการกาหนดมาตรฐานทางจริยธรรม ด ้า น ด ิจ ิท ัล เ พื ่อ ล ด ก า ร เ ห ลื ่อ ม ล้ า ก า ร เ ข ้า ถ ึง เ ท ค โ น โ ล ยี สารสนเทศ (Digital Divide) การศึกษาเพ่ือการพัฒนา ที่ยั่งยืน (Education for Sustainable Development - ESD)แ ล ะ ก า ร ใ ช้ป ร ะ โ ย ช น์จ า ก แ ห ล่ง ที่ขึ้น ท ะ เ บีย น ตามเกณฑ์ต่าง ๆ ของยูเนสโกเพื่อส่งเสริมเป้าหมาย SDG เช่น มรดกโลก อุทยานธรณี และพื้นที่สงวนชีวมณฑล นอกจากนี้ ยังให้ความสาคัญกับสิทธิของกลุ่มคนชายขอบ เ ช ่น ช น พื ้น เ ม ือ ง ค น พ ิก า ร ก า ร ส ่ง เ ส ร ิม ม ร ด ก ทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนพื้นเมือง การดาเนินโครงการ อย่างเป็นรูปธรรม การเสนอประเทศพัฒนาน้อย ที่สุด ในเอเชียให้เป็นประเด็นท้าทายของโลก ความขัดแย้ง ทางศาสนา เป็นต้น 13 วารสารความร่วมมอื กบั ต่างประเทศ กรกฎาคม-กนั ยายน 2563
ร อ บ รั้ ว ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ การประชุมวันที่ 25 มิถุนายน 2563 เป็นการพิจารณา โครงการ Management of Social Transformation ร่างเอกสาร 41 C/5 โดยมี Dr. Shamsiah Zuraini Kanchanawati (MOST) การศึกษาด้านอนาคตศาสตร์ (Futures Literacy) เลขาธิการคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยยูเนสโก เนอการา การรู้เท่าทันสื่อ (Media Literacy) วัฒนธรรมที่จับต้องได้ บรูไนดารุสซาลาม เป็นประธาน ที่ประชุมได้พิจารณาและ และไม่ได้ (Tangible and Intangible Heritage) เครือข่าย ให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับโครงการและงบประมาณ ท้ัง 5 สาขา เมืองสร้างสรรค์ (Creative Cities) การเสริมบทบาท ของยูเนสโก ได้แก่ การศึกษา วิทยาศาสตร์ วัฒนธรรม เยาวชนภายใต้เครือข่าย Associated School Project – ASP สั ง ค ม ศ า ส ต ร์ แ ล ะ สื่ อ ส า ร ม ว ล ช น ร ว ม ถึ ง แ ผ น ง า น เป็นต้น นอกจากนี้ จากสถานการณ์การแพร่ ระบาด ด้านสมุทรศาสตร์ ซึ่งหลายประเทศเน้นย้าความสาคัญ ของโควิด-19 และปัญหาความขัดแย้งที่เกิดขึ้นท่ัวโลก ของการศึกษา การส่งเสริมเรื่องความเข้าใจอันดีระหว่าง ประเทศไทยสนับสนนุ การดาเนินงานภายใต้โครงการการศึกษา วัฒนธรรม ไม่เผยแพร่ความเชื่อหรือทัศนคติท่ีผิด การเน้นย้า เพอื่ การพัฒนาท่ียง่ั ยนื และการศึกษาเพอื่ ความเป็นพลเมืองโลก บ ท บ า ท ข อ งยู เ น ส โ ก ใ น เ ร่ื อ ง ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ (Global Citizenship Education) เพื่อรับมือกับเหตุการณ์ และเป็นแหล่งข้อมูลทางวิชาการ นอกจากนี้ ยังมีประเด็น ในปัจจุบัน ท้ังน้ี ประเทศไทยได้น้อมนาปรัชญาของเศรษฐกิจ เกย่ี วกับความร่วมมือทงั้ ภายในและภายนอกยเู นสโก เพอ่ื ให้เกดิ พอเพยี งของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช การแลกเปล่ียนประสบการณ์ การใช้ทรัพยากรร่วมกัน เ ป็ น แ น ว ท า ง ใ น ก า ร ด า เ นิ น ชี วิ ต เ พื่ อ ใ ห้ ส า ม า ร ถ รั บ มื อ กั บ โดยเฉพาะความร่วมมือระหว่างสานักงานภูมิภาค การทางาน สถานการณ์ในปัจจุบันได้ และยินดีท่ีจะแลกเปลี่ยนแนวปฏิบัติ เป็นเครอื ขา่ ยและครอบครัวยูเนสโก (UNESCO Family) ที่ดีดังกล่าวเพื่อส่งเสริมเยาวชนผ่านกลไก เช่น เครือข่าย ASP ขอ้ คิดเห็นของประเทศไทยเกี่ยวกับร่างเอกสาร 41 C/4 และ ต่อไป เอกสาร 41 C/5 นั้น เห็นว่าสถานการณ์โลกปัจจุบัน อย่างไรก็ตาม แผนงาน โครงการ และงบประมาณ ยังต้อง มีการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วและคาดเดาไม่ได้ ยูเนสโก นามาพิจารณาให้เหมาะสมและสอดคล้องกับแผนงานประเทศ ควรจัดลาดับความสาคัญในการดาเนินงานตามหน้าที่และ และบริบทการดาเนินงานต่าง ๆ ดังน้ัน หน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ภาร กิจให้ส อดค ล้องกับ ทรัพยา กรท่ีมีอยู่ อย่ างจ ากัด จึงมสี ว่ นอยา่ งมากทจ่ี ะรว่ มกาหนดทิศทางการดาเนนิ งานภายใต้ ให้ความสาคัญกับบทบาทความร่วมมือระหว่างประเทศและ กรอบยูเนสโกในอนาคต การสร้างสันติภาพอย่างเข้มแข็ง เสริมสร้าง ศักยภาพ ของบุคลากรให้สอดคล้องกับความต้องการในระดับประเทศ การสานต่อการดาเนินงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายการพัฒนา สหประชาชาติหรือ 2030 Agenda for Sustainable Development อีกท้ังยังสนับสนุนการดาเนินงานท้ัง 5 สาขา ของยูเนสโกภายใต้โปรแกรมต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นแหล่งท่ีขึ้น ทะเบียนตามเกณฑ์ประเภทต่าง ๆ ของยูเนสโก (UNESCO D e s i g n a t e d S i t e s ) ชี ว จ ริ ย ธ ร ร ม ( B i o e t h i c s ) วารสารความรว่ มมอื กบั ตา่ งประเทศ กรกฎาคม-กันยายน 2563 14
ร อ บ รั้ ว ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ กใานรชจ่วัดงโกคาวริดศ-ึก1ษ9า ของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดย ฐิติ ฟอกสันเทียะ 1 พิมพ์วรัชญ์ เมืองนลิ 2 การระบาดในวงกว้างของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ ดังนั้น เพื่อให้ประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โควิด-19 ส่งผลกระทบต่อการจัดการศึกษาในภูมิภาคเอเชีย ได้ร่วมกันแลกเปล่ียนแนวทางการเตรียมความพร้อมในการเปิด ตะวันออกเฉียงใต้อย่างมาก แต่ละประเทศต่างได้รับผลกระทบ สถานศึกษาในช่วงสถานการณ์โควิด-19 สานักงานเลขาธิการ จากมาตรการต่าง ๆ ที่ใช้ในการควบคุมโรค อย่างเช่น การกักตัว องค์การรัฐมนตรีศึกษาแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ซีมีโอ) การปิดเมืองหรือปิดประเทศ ซ่ึงส่งผลให้ในท่ีสุดแล้วต้องมีการปิด จึ ง จั ด ก า ร ป ร ะ ชุ ม รั ฐ ม น ต รี ศึ ก ษ า ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ส ม า ชิ ก ซี มี โ อ สถานศกึ ษาเพ่ือควบคมุ การระบาดของโควิด-19 นักเรียนในเอเชีย เพอ่ื รบั มือกบั สถานการณ์โควิด-19 (SEAMEO Ministerial Policy ตะวันออกเฉียงใต้จานวนกว่า 247 ล้านคนที่ต้องเรียนหนังสือ e-Forum on COVID-19 Response - SMPeF) ในลักษณะ จ า ก ที่ บ้ า น เ นื่ อ ง จ า ก รั ฐ บ า ล มี น โ ย บ า ย ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ ป ร ะ ช า ช น การสัมมนาออนไลน์ เม่ือเดือนมิถุนายน 2563 โดยในการประชุม เว้นระยะห่างทางสังคมและหลีกเลย่ี งการออกนอกบา้ นโดยไม่จาเปน็ ครั้งนี้ รัฐมนตรีศึกษาของแต่ละประเทศได้ร่วมแลกเปล่ียน โดยปกติแล้ว โรงเรียนและสถานศึกษาเป็นสถานท่ีที่มีนักเรียน ประสบการณเ์ ก่ียวกบั การเตรยี มการรบั มือการระบาดของโควิด-19 อยู่รวมกันจานวนมาก จึงมีความเส่ียงสูง หากมีการจัดการเรียน โดยเฉพาะการปิดสถานศึกษาการประเมินผลการเรียนและ การสอนแล้วมีระบบการจัดการท่ีไม่ดี ก็อาจจะมีการแพร่ระบาด การกลับมาเปิดเรยี นใหมอ่ กี ครั้ง ของเช้ือโควิด-19 ได้ในกลุ่มเด็ก มาตรการในการเปิดเรียนจึงมี ความสาคัญมากในการควบคุมการระบาด การวางแผนเปิดเรียน จึงต้องมั่นใจว่า สามารถควบคุมไม่ให้เกิดการระบาดของโรค ในเดก็ นกั เรยี นได้ 1 นกั วิเทศสัมพันธ์ปฏบิ ตั ิการ 2 ผูอ้ านวยการกลุม่ สารสนเทศตา่ งประเทศ 15 วารสารความรว่ มมอื กับตา่ งประเทศ กรกฎาคม-กนั ยายน 2563
ร อ บ ร้ั ว ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ประเด็นคาถามหลักของการประชุมท่ีว่า ประเทศสมาชิกซีมีโอมีการเตรียมการอย่างไรในการบริหารจัดการระบบ การศกึ ษาที่ตอ้ งหยุดชะงกั ไปจากการระบาดของโควดิ -19 มีแนวปฏิบตั ิท่ีดแี นวทางใดทจี่ ะนามาปรับใชใ้ นชว่ งเวลาวกิ ฤต เช่นน้ีได้ และอนาคตของการจัดการศึกษาจะเป็นอย่างไรหลังจากที่ปัญหาโควิด-19 คลี่คลายลง เป็นเร่ืองที่ทุกประเทศ ต้องให้ความสาคัญ บทความนี้ผู้เขียนขอสรุปประเด็นจากการนาเสนอของรัฐมนตรีศึกษาแต่ละท่าน เพื่อให้ทราบ เร่อื งราวและความเป็นไปในการจดั การศึกษาในชว่ งโควิด-19 ของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้โดยสังเขป (เอกสารฉบับเตม็ สามารถศกึ ษาได้จาก Website: www.seameo.org) มาเลเซยี มาเลเซียเช่ือว่า ทุกฝ่ายควรเรียนรู้ที่จะเผชิญกับความไม่แน่นอน ดร. Radzi Jidin ของสภาวะทรี่ ฐั จาต้องหยดุ การจดั การเรียนการสอนซง่ึ นบั เป็นเรอ่ื ง รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธกิ ารของมาเลเซีย ท่ีไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน และควรให้สาคัญกับการศึกษาทางเลือก และประธานสภารฐั มนตรีศกึ ษาแหง่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ - สภาซเี มค ดิจิทัลแพลตฟอร์ม นวัตกรรมใหม่ ๆ ท่ีจะเป็น ทางออก ในการแก้ปัญหากลุ่มผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษา การกลับมา มาเลเซียวางแผนการเปิดโรงเรียนโดยจะใช้ มาตรการ เปดิ เรียน และนโยบายในอนาคต ความปลอดภัยท่ีเข้มงวดเพื่อความปลอดภัยของนักเรียนและ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารมาเลเซยี ได้ใหค้ รกู วา่ 440,000 คน เปล่ียนไป คนในชุมชน นอกจากน้ี ยังจะแสวงหารูปแบบการประเมินผล ใช้รูปแบบการศึกษาทางเลือก ซึ่งส่วนใหญ่ก็คือการให้นักเรียน ท่ีเป็นองค์รวมมากยิ่งข้ึนเพ่ือใช้วัดผลการเรียนของนักเรียนในช่วง เรียนจากที่บ้าน การเปล่ียนแปลงดังกล่าวส่งผลกระทบต่อทั้งครู ที่ต้องมีการปิดเรียน และจะมีการออกแบบบทเรียนตามผล ผู้ปกครองและนักเรียนซ่ึงต้องมีอุปกรณ์ดิจิทัลและต้องสามารถใช้ การเรียนรู้ของนักเรียน การเกิดโรคระบาดใหญ่ทาให้ทุกฝ่าย อุปกรณ์ได้เป็นอย่างดี มาเลเซียมีการใช้แพลตฟอร์มการเรียนรู้ ตอ้ งปรับตัว ต้องประเมนิ ความพร้อมของประเทศในการตอบสนอง แบบดิจิทัล เช่น Google Classroom แทนการสอนในชั้นเรียน ต่อภาวะวิกฤติซึ่งส่งผลให้ต้องมีการประเมินคุณค่า กลไก ปกติมาตั้งแต่ปี 2019 ปัจจุบัน ครูในมาเลเซียกว่า 90% และ ในการฟื้นฟปู ระเทศจากภาวะวกิ ฤติทีม่ อี ยใู่ นปจั จบุ นั เสียใหม่ นักเรียนกว่า 59% ใช้แพลตฟอร์มดิจิทัลในการเรียนการสอน ส่วนปัญหาผู้ด้อยโอกาสทางการศึกษานั้น มาเลเซียก็ไม่ได้ละเลย โดยให้ความสาคัญกับการแก้ปัญหาความเหลื่อมล้า ให้โอกาสและ สนับสนนุ เดก็ ทีด่ ้อยโอกาสกลบั มาเข้าเรยี น วารสารความรว่ มมอื กับตา่ งประเทศ กรกฎาคม-กันยายน 2563 16
ร อ บ รั้ ว ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ สงิ คโปร์ สิงคโปร์นั้นมองว่า การปิดโรงเรียนเป็นระยะเวลานานอาจส่งผล กระทบให้นักเรียนเรียนรู้ได้ช้ากว่าที่ควรจะ เป็น สิงคโปร์ ใ ช้ ม า ต ร ก า ร ห ล า ย อ ย่ า ง เ พื่ อ ใ ห้ ก า ร ก ลั บ ม า เ ปิ ด เ รี ย น มีความปลอดภัย เช่น การสวมใส่หน้ากากอนามัย การเว้น ระยะห่างทางสังคม การเหล่ือมเวลาเข้าและเลิกเรียน และ การลดความแออัดของชั้นเรียน ความท้าทายหลักสาหรับนโยบาย ด้ า น ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น โ ร ง เ รี ย น ข อ ง สิ ง ค โ ป ร์ ก็ คื อ ต้ อ ง ท า ใ ห้ ผู้ปกครอง รวมถึงคนในชุมชนไว้วางใจในมาตรการต่าง ๆ ของกระทรวงศึกษาธิการ ในส่วนของปัญหาผู้ด้อยโอกาส ทางการศึกษานั้น สิงคโปร์ได้เปิดตัวโครงการสาหรับผู้ด้อยโอกาส โดยปรับใช้หลักการ “Circuit Breaker” เพ่ือให้โรงเรียน รฐั มนตรวี ่าแกลาะรนกราอรยงะปOทรรnะวgธงYศานeกึ สษKภาuธาnซิกgีาเมรคของสิงคโปร์ เปน็ สถานที่กลมุ่ นกั เรียนผู้ด้อยโอกาสสามารถเข้าถงึ ได้ หากมองในแง่ดี การระบาดของโควิด-19 ก็อาจเปิดโอกาสให้การปรับเปล่ียนบางอย่างเกิดข้ึนได้ เช่น การมุ่งเน้น การพัฒนาเร่ืองการศึกษาทางเลือกมากย่ิงข้ึน ผู้เรียนมีความเป็นส่วนตัวเพิ่มมากข้ึน สามารถกาหนดเวลา เรียน และความเร็วในการเรียนรู้แต่ละบทเรียนได้ตามความสะดวก ซ่ึงจะช่วยส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้สึกอยากเรียนรู้ ได้อีกด้วย ในช่วงของการปิดเมืองหรือล็อกดาวน์นักเรียนจะมีโอกาสได้ทบทวนบทบาทของตนเองต่อ ชุมชน ท่ีตนอาศัยอยู่ อีกท้ังยังสามารถเรียนรู้ท่ีจะแสดงความเห็นอกเห็นใจและให้การสนับสนุนผู้ที่ต้องปฏิบัติงาน อย่างหนักในการต่อสู้กับการระบาด สิงคโปร์ต้องสร้างแรงผลักดันในด้านบวกให้เกิดข้ึนระหว่างการล็อก ดาวน์ และเสริมสร้างความสัมพันธ์ในรูปแบบหุ้นส่วนที่ดีกับผู้ปกครองของนักเรียน สิงคโปร์ไม่ต้องการให้โควิด -19 ทาลายความกา้ วหนา้ ทางการศกึ ษาทส่ี ัง่ สมมาเปน็ เวลายาวนาน บรูไน ดารสุ ซาลาม บรูไน ดารสุ ซาลามตอบสนองการแพร่ระบาดอย่างทันท่วงที ด้วยการเปล่ียนมาใช้แนวทางการเรียนการสอนแบบใหม่ ซึ่ ง ค า นึ ง ถึ ง ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ข อ ง ผู้ เ รี ย น ม า ก่ อ น กระทรวงศึกษาธิการบรูไน ดารุสซาลาม มีคาสั่งให้ ปิดภาคเรียนท่ี 1 เร็วข้ึนกว่ากาหนดและเม่ือเปิดเรียน ในภาคเรียนท่ี 2 ก็ให้โรงเรียนจัดการเรียนการสอน ในรูปแบบผสม คือ การเรียนออนไลน์ เรียนท่ีบ้านและ การเรียนทางไกล โดยนักเรียนท่ีไม่สามารถเข้าถึงห้องเรียน Dato Seri Setia Awang Hj Hamzah bin Hj Sulaiman ออนไลน์ได้จะให้เรียนที่บ้านเป็นหลัก ในภาคเรียนที่ 2 นี้ รัฐมนตรีว่าการกะทรวงศึกษาธกิ ารของบรูไน ดารสุ ซาลาม นักเรียนจะมาเรียนที่โรงเรียน 50% ส่วนนักเรียนที่เหลือ จะเรยี นโดยใชร้ ูปแบบการเรยี นการสอนแบบอืน่ บรไู น ดารุสซาลามแบ่งกล่มุ เปา้ หมายในการดาเนินการเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ ครูและผู้นาโรงเรียน นักเรียน ผู้ปกครอง และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอ่ืน ๆ โดยได้มีการนาแนวคิดและข้อริเร่ิมต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับกลุ่มเป้าหมายทั้ง 4 กลุ่ม มาเป็นแนวทางในการรับมือกับสถานการณ์โควิด-19 เช่น แผนสารองในการดาเนินการ แนวทางการจัดการเรียน การสอนแบบออนไลน์และแบบใช้บ้านเป็นฐานการเรียนรู้ แนวทางด้านสุขอนามัยและการเว้นระยะห่างทางสังคม การปรับเปล่ียนหลักสูตรให้มีความเหมาะสมกับสถานการณ์ และการเสริมสร้างศักยภาพของครูและผู้นาโรงเรียน เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีการเปล่ียนรูปแบบการเรียนรู้ไปเป็นการศึกษาทางเลือก มีการส่งชุดการเรียนรู้ (EduPack) ให้แก่นักเรียนโดยตรงท่ีบ้าน และจัดให้มีการใช้ศูนย์รับส่งอาหารของโรงเรียนเพื่อแจกจ่ายอาหารให้แก่นักเรียน โดยไม่คิดคา่ ใช้จา่ ย 17 วารสารความรว่ มมือกับตา่ งประเทศ กรกฎาคม-กนั ยายน 2563
ร อ บ รั้ ว ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ กัมพชู า กัมพูชาปิดโรงเรียนทุกแห่งและเร่ิมผลิตเนื้อหาการเรียนรู้ ดร. Hang Chuon Naron ในรูปแบบดิจิทัลสาหรับจัดการเรียนการสอนและจัดเตรียม รัฐมนตรวี า่ การกะทรวงศึกษาธกิ าร เยาวชนและการกีฬาของกัมพชู า แพลตฟอร์มการเรียนรู้อิเล็กทรอนิกส์ในทันที มีการใช้ Facebook YouTube และโซเชยี ลมเี ดียอนื่ ๆ เปน็ แพลตฟอร์ม สาหรับจัดการเรียนการสอนในช่วงที่มีการหยุดเรียน หลังจากน้ัน ก็เร่ิมถ่ายทอดรายการโทรทัศน์ ดิจิทัล เพื่อการเรียนรู้สาหรับผู้เรียนในพ้ืนท่ีห่างไกล โดยเฉพาะ ผู้เรียนท่ีไม่สามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้ กัมพูชา มีแนวปฏิบัติที่ดีในการบริหารจัดการ คือ การส่ือสาร กับบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน และผู้ปกครองเก่ียวกับ โควิด-19 จัดต้ังศูนย์การศึกษาดิจิทัล สร้างความสมดุล ระหว่างแพลตฟอร์มดิจิทัลและซอฟแวร์สาหรับการเรียน อิเล็กทรอนิกส์โดยใช้ Google Suite และ Google App ส่วนนักเรียนที่ไม่มีอินเทอร์เน็ตก็ให้ใช้การศึกษาทางไกล และเปลี่ยนมาบรหิ ารจดั การโรงเรียนดว้ ยระบบดจิ ิทัล การเปดิ โรงเรียนในกมั พูชานัน้ จะมกี ารดาเนินการเป็น 3 ระยะ ระยะท่ี 1 จะอนุญาตให้โรงเรียน 10-15 แห่งท่ีสามารถ ปฏิบัติตามมาตรฐานทางสาธารณสุขกลับมาจัดการเรียนการสอนทั้งที่โรงเรียนและแบบอิเล็กทรอนิกส์ได้ ระยะท่ี 2 จะเป็นการเปดิ โรงเรยี นมัธยม และระยะสุดท้ายจะเปดิ โรงเรียนท่เี หลือทง้ั หมด อนิ โดนเี ซีย อนิ โดนีเซยี ใชก้ ารจดั การศกึ ษาทง้ั แบบออนไลน์และออฟไลน์ สนับสนุนให้ผู้สอนใช้ระบบวีดีโอคอนเฟอร์เรนซ์ เอกสาร ดิจิทัล และเทคโนโลยีออนไลน์อื่น ๆ ในการสอน กระทรวงศึกษาธิการและวัฒนธรรมอินโดนีเซียได้ร่วมมือ กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องในการขอขยายโควตา การเข้าใช้อินเทอร์เน็ต ส่ือการเรียนและเน้ือหาบทเรียน ออนไลน์ได้โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย นอกจากน้ี อินโดนีเซีย ยั ง ไ ด้ อ อ ก อ า ก า ศ ร า ย ก า ร เ พื่ อ ก า ร ศึ ก ษ า ท า ง โ ท ร ทั ศ น์ เพ่ือลดช่องว่างในการเข้าถึงการศึกษาของกลุ่มนักเรียน ท่ีอาศัยอยู่ในพื้นท่ีห่างไกล และเพื่อสนับสนุนการเปิดเรียน ในปีการศึกษา 2020 - 2021 อินโดนีเซียได้ตรากฎหมาย ว่าด้วยแนวทางการจัดการเรียนการสอน ระหว่าง ศ. ดร. Ainun Na’im ผแู้ ทนนาย Nadiem Anwar Makarim ช่วงโควิด-19 เพื่อเป็นการบูรณาการการทางานร่วมกัน รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธิการและวัฒนธรรมของอนิ โดนีเซีย ระหวา่ งกระทรวงต่าง ๆ ด้วย ในส่วนของการเปิดเรียนนั้น 94% ของนักเรียนในอินโดนีเซียกระจายอยู่ในโรงเรียนใน 429 เขตซึ่งยังไม่สามารถ เปิดการเรียนการสอนในโรงเรียนแบบปกติได้ โรงเรียนเหล่าน้ีจะจัดการเรียนการสอนแบบทางไกลโดยใช้ช้ันเรียน ออนไลน์และวิธีอื่น ๆ ที่เหลืออีก 6% ประกอบด้วยโรงเรียนใน 85 เขตที่สามารถเปิดให้มีการเรียนท่ีโรงเรียนตามปกติ ได้แลว้ แตย่ งั คงตอ้ งปฏิบัติตามมาตรการทางสาธารณสขุ อยา่ งเขม้ งวด สาหรบั ระดับมหาวทิ ยาลยั จะจดั การเรยี นการสอน ในรายวิชาท่ีเป็นทฤษฎีต่าง ๆ ทางออนไลน์ ส่วนวิชาท่ีต้องมีการลงมือปฏิบัติจะเลื่อนไปดาเนินการใน ตอนท้าย ภาคการศกึ ษา วารสารความรว่ มมอื กบั ตา่ งประเทศ กรกฎาคม-กันยายน 2563
ร อ บ รั้ ว ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ สปป. ลาว สปป. ลาวได้ปิดโรงเรียนไปแล้วก่อนหน้าที่จะมีการตรวจพบผู้ติดเช้ือคนแรก การปิดโรงเรยี นสง่ ผลให้นักเรียนและนักศึกษา 1,708,501 คน ได้รับผลกระทบ โดยตรง กระทรวงศึกษาธิการและการกีฬาของสปป. ลาว ได้จัดต้ังคณะทางาน เพื่อรองรับการดาเนินมาตรการต่าง ๆ เก่ียวกับโควิด-19 โดยให้ความสาคัญ ใน 2 ประเด็น คือ 1) การดูแลความปลอดภัยของนักเรียน ครูและเจ้าหน้าท่ี ที่ปฏิบัติงานด้านการศึกษา 2) การกระตุ้นและส่งเสริมให้สถานศึกษา จัดการเรียนการสอนด้วยวิธีการใหม่ ๆ โดยพิจารณาความเป็นไป ได้ จากแนวทางการจัดการเรียนการสอนทางไกลและออนไลน์ นอกจากน้ี ยังจัดต้ังช่องโทรทัศน์ทางการศึกษาผ่านทางดาวเทียมและออกอากาศรายการ โทรทัศนเ์ พือ่ การศึกษาเพอื่ ใหก้ ารจัดการศึกษาไมห่ ยดุ ชะงักในช่วงลอ็ กดาวน์ สปป. ลาวได้ปรับเปลี่ยนไปใช้การเรียนทางไกลโดยให้ผู้เรียนสามารถเรียนอยู่ท่ีบ้าน ครูต้องให้การบ้านนักเรียนทุกสัปดาห์โดยใช้โทรทัศน์และรายการ วิทยุ ท่ีได้รับการพัฒนาเพื่อการเรียนทางไกลโดยเฉพาะ สปป. ลาวมีแนวปฏิบัติที่ดี หลายประการ เช่น ใช้การสื่อสารดิจิทัลและ ICT ร่วมกับวิธีการสอนรูปแบบปกติ นาง Sengdeuane Lachanthaboune และพัฒนาวิธีการเรียนการสอนทางเลือกหลากหลายวิธีสาหรับนักเรียน รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศึกษาธกิ ารและการกฬี าของ สปป. ลาว ทอี่ าศยั อยใู่ นพน้ื ทีท่ ีม่ ีบรบิ ทแตกต่างกัน เมียนมา เมียนมาไดเ้ ตรียมดาเนินมาตรการและข้อริเริ่มต่าง ๆ ในการรับมือกับโควิด-19 หลายประการ เช่น การพัฒนาแผนฟ้ืนฟูในระยะส้ัน ระยะกลาง และระยะยาว สาหรับรับมือกับสถานการณ์โควิด -19 การพัฒนาแผนฟื้นฟูสาหรับ ภาคการศึกษา การเร่ิมการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัยในเดือนมิถุนายน การเตรียมเปิดการเรียนการสอนข้ันพ้ืนฐานควบคู่ไปกับ กระบวนการ ด้านสาธารณสุขและความปลอดภัย รวมถึงมาตรการป้องกันสาหรับโรงเรียน ในเดือนกรกฎาคม ดร. Myo Thein Gyi ในส่วนของการเตรียมความพร้อมในการเปิดเรียนน้ัน รัฐบาลเมียนมาจะจัดหา รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธิการของเมยี นมา หนังสือแบบเรียน แบบฝึกหัด เคร่ืองเขียนให้แก่นักเรียนโดยไม่มีค่าใช้จ่าย รวมถึงการจัดหาอุปกรณ์ป้องกันการแพร่ระบาดของโควิด -19 เช่น หน้ากากอนามัย กระจังป้องกันใบหน้า (Face shield) และเคร่ืองวัดอุณหภูมิ ให้แก่โรงเรียนด้วย นอกจากน้ียังจัดพื้นท่ีสาหรับล้างมือและอุปกรณ์ป้องกัน ส่วนบุคคล (PPE) สาหรับโรงเรียนท่ีมีผู้ป่วยโควิด-19 เป็นจานวนมาก ส่วนโรงเรียนเอกชนสามารถพิจารณาเลือกได้ว่าจะเปิดทาการเรียนการสอน ตามปกติ เปิดเรียนโดยสลับจานวนนักเรียนหรือเวลาเรียน หรืออาจ ลด เวลาเรียนลงเหลอื สัปดาหล์ ะ 3 วนั ก็ได้ นอกเหนือจากมาตรการในข้างต้นแล้ว เมียนมาจะนาวิธีการเรียนการสอนรูปแบบใหม่เข้ามาปรับใช้เพื่อลด ผลกระทบ จากการปิดเรียน เช่น การใช้ส่ือวีดีทัศน์ออกอากาศทางโทรทัศน์ทางการศึกษา Myanmar Digital Education Platform (MDEP) และ DBE Box สาหรับนักเรียนท่ีไม่สามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ต รวมถึงจัดหาเครื่องคอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต เพ่ือมอบให้แก่โรงเรียน และจดั สมั มนาออนไลน์สาหรับครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา 19 วารสารความรว่ มมอื กบั ต่างประเทศ กรกฎาคม-กันยายน 2563
ร อ บ รั้ ว ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ฟลิ ิปปนิ ส์ ดร. Leonor Magtolis Briones รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธิการของฟลิ ิปปนิ ส์ ความท้าทายอนั ใหญ่หลวงของฟิลปิ ปินส์คือการบริหารจัดการนักเรียน ครู และ บุคลากรทางการศึกษาที่ได้รับผลกระทบจากการล็อกดาวน์ซ่ึงมี อยู่ รวมถึงจะนาวิธกี ารเรยี นรู้ทางไกลแบบผสมผสาน เปน็ จานวนมากถึงเกือบ 30 ล้านคน กระทรวงศึกษาธิการฟิลิปปินส์อยู่ระหว่าง ม า ใ ช้ ท้ั ง บ ท เ รี ย น ท่ี มี ก า ร จั ด พิ ม พ์ แ ล ะ การปรับปรุงคุณภาพการศึกษาในช่วงท่ีเริ่มมีการระบาดของโควิด -19 ในลักษณะออนไลน์ โดยการจัดส่งไปยังบ้าน จึ ง ไ ด้ จั ด ท า แ ผ น เ ต รี ย ม ค ว า ม พ ร้ อ ม ใ น ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ โ ด ย ใ ช้ ห ลั ก ฐ า น ของนักเรียนหรือใหม้ ารับสอ่ื การเรยี น ณ สถานท่ี เชิงประจักษ์เป็นฐานเพ่ือรับมือกับการระบาดของโควิด-19 และยังมีการจัดทา ท่ีได้ตกลงกันไว้ สื่อการเรียนเหล่านี้จะช่วย ยุทธศาสตร์การสื่อสารความเส่ียงที่อาจเกิดข้ึนในบริบทของความหวาดกลัว ส นั บ ส นุ น ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น ส า ห รั บ นั ก เ รี ย น ความไมแ่ นน่ อนและขอ้ มูลต่าง ๆ ท่ีอาจมมี ากเกนิ ความจาเป็นดว้ ย ท่ี มี ข้ อ จ า กั ด ใ น ก า ร เ ข้ า ถึ ง อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต ฟิลิปปินส์มีการจัดทาแผนเตรียมความพร้อมในการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน และสื่อดิจิทัล นอกจากนี้ นักเรียนยังสามารถ (Basic Education Learning Continuity Plan - BE-LCP) ซึ่งจะนามาใช้เป็น เข้าถึงส่ือการเรียนรู้ออนไลน์ต่าง ๆ ได้ทาง แนวทางในการจัดการศึกษาในช่วงเหตุการณ์วิกฤตพร้อม ๆ กับดูแลสุขอนามัย เว็บไซต์ DepEd Commons ซ่ึงมีผู้ติดตามกว่า ความปลอดภัยและความเป็นอยู่ของนักเรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษา 8 ล้านคนแล้ว ส่วนสื่อการเรียนการ สอน ไปด้วย หลักการ BE-LCP ประกอบด้วย การปกป้องสขุ ภาพ ความปลอดภยั และ ทางโทรทัศน์และวิทยุจะยังคงมีการดาเนินการ ความเปน็ อยทู่ ด่ี ีของนกั เรยี น ครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา จากการแพร่ระบาด จดั ทาอยเู่ ช่นกนั ของโควิด-19 ดาเนินการจัดการศึกษาให้มีความต่อเน่ือง จัดการ ดูแล ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ใ น ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ส ถ า น ศึ ก ษ า ที่ ต้ อ ง มี ก า ร ร ว ม ก ลุ่ ม ของนักเรียนและครู โดยไม่ละเลยประเด็นเรอ่ื งความเท่าเทียม ฟิลิปปินส์เปิดโรงเรียนอีกครั้งในเดือนสิงหาคม และจะร่วมมือกับหุ้นส่วน ในการขอรับบริจาคอุปกรณ์การเรียนที่มีความจาเป็นในการช่วยให้นักเรียน สามารถเข้าถึงสื่อการเรียนออนไลน์ได้ กระทรวงศึกษาธิการยังมีแผนการ ในการจัดระเบียบด้านการเงินและการจัดซื้อจัดจ้างเพ่ือให้การจ่ายเงินเดือน และคา่ จ้างของบุคลากรของกระทรวงศกึ ษาธกิ ารไม่หยดุ ชะงัก ไทย ประเทศไทยมองเห็นโอกาสในชว่ งสถานการณ์ระบาดของโควดิ -19 ซงึ่ จะนาไปสู่ การปฏิรูปการศึกษา โดยไทยจะนาโมเดล การศึกษายกกาลังสอง (Thailand Education Ecosystem - TE2S) มาใช้ในการพัฒนาบุคลากร ทางการศึกษาเพื่อรองรับการเปล่ียนแปลงในยุคเทคโนโลยีดิจิทัล การสร้าง ทักษะการเรียนรตู้ ลอดชีวติ และทักษะในศตวรรษที่ 21 โดยให้นักเรียนมีทักษะ ทสี่ อดคล้องกบั ความต้องการของโลกและความเปลี่ยนแปลงท่ีรวดเร็วจากปัจจัย ภายนอก การเสริมสรา้ งสมรรถนะของครูเพอื่ พฒั นาศกั ยภาพของนักเรียนแต่ละ คนให้สูงที่สุด การร่วมมือกับภาคเอกชนในการสร้างนักออกแบบการศึกษา (Education Designer) การสร้างแพลตฟอร์มด้านการศึกษาเพื่อ ความเปน็ เลิศ แผนการพัฒนารายบุคคล และการลดช่องว่างทางการศึกษาของ กลมุ่ ด้อยโอกาส นายณฏั ฐพล ทปี สุวรรณ ในส่วนของการเปิดภาคเรียนนั้น โรงเรียนรัฐบาลกว่า 30,000 แห่ง รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศกึ ษาธิการ ได้เล่ือนการเปิดเรียนจากเดือนพฤษภาคม 2563 เป็นวันที่ 1 กรกฎาคม 2563 นอกจากน้ี ได้มีทดลองการจัดเรียนการสอนผ่านระบบการเรียนทางไกลและ การออกอากาศทางทีวีดิจิทัล 17 ช่อง โดยในอนาคตจะมีการพัฒนาเน้ือหารายการจากครูผู้ที่เป็นนักออกแบบการศึกษา และบรษิ ัทสตาร์ทอพั ท้งั นี้ ในการเปิดภาคเรียน สถานศึกษาจะตอ้ งปฏิบัติตามมาตรการความปลอดภัยของกระทรวงสาธารณสุข และให้แต่ละโรงเรียนพิจารณาการจัดการเรียนการสอนตามบริบทความเหมาะสมของพ้ืนท่ี โดยในช่วงท้ายยังเน้นย้าอีกว่า การจัดการเรียนการสอนในรูปแบบเดิมไม่เหมาะสมกับการสภาพการณ์ในศตวรรษท่ี 21 ซ่ึงต้องการระบบการศึกษาท่ีมี ความยืดหยนุ่ และสามารถตอบสนองต่อปัจจัยต่าง ๆ ได้ แนวคิดดังกล่าวสอดคล้องกับมุมมองในการจัดการศึกษาท่ีมุ่งตอบสนอง ความตอ้ งการของผูเ้ รยี นแตล่ ะคนเพื่อใหส้ ามารถพัฒนาตนเองได้อย่างเต็มศกั ยภาพ วารสารความรว่ มมอื กบั ตา่ งประเทศ กรกฎาคม-กันยายน 2563
ร อ บ ร้ั ว ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ตมิ อร์ เลสเต กระทรวงศึกษาธิการ เยาวชนและการกีฬาของติมอร์ เลสเต ได้ส่ังให้หยุดการเรียนการสอน ทันทีเป็นเวลา 1 สัปดาห์ภายหลังจากตรวจพบผู้ป่วยโควิด-19 รายแรก และหลังจากน้ัน รัฐบาลก็ได้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินซ่ึงส่งผลให้มีการระงับการจัดการเรียนในชั้นเรียน แ บ บ ป กติ ต า ม ส ถิ ติ แ ล้ วใ น ค รั วเ รื อนของ ชา วติ ม อ ร์ เ ล ส เ ต มี เ พี ย ง 65 % ที่มีเคร่ืองรับโทรทัศน์ 82% มีอินเทอร์เน็ตใช้ และอีก 90% มีโทรศัพท์มือถือ นอกจากนั้น ประมาณ 60% ของนักเรียนอาศัยอยู่ในพื้นท่ีท้ังห่างไกลและทุรกันดารยังไม่เคย เรียนดว้ ยรปู แบบทางไกลมากอ่ น อยา่ งไรก็ดี กระทรวงศึกษาธกิ ารจงึ ได้ออกอากาศรายการ การศึกษา “Eskola Ba Uma” ที่มีเน้ือหาสาหรับนักเรียนระดับก่อนวัยเรียนและ ประถมศกึ ษาท้ังทางโทรทัศนแ์ ละวิทยุ ติมอร์ เลสเต ได้รับความช่วยเหลือจาก UNICEF ในการนาสื่อการเรียนต้ังแต่ระดับ นาง Dulçe de Jesus Soares ก่อนวัยเรียนจนถึงระดับประถมศึกษาลงบนเว็บไซต์ “Learning Passport” เพื่อให้ รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศึกษาธกิ าร เยาวชน นกั เรียนสามารถเข้าถึงสอ่ื การเรียนเหลา่ น้ไี ด้ และได้จัดทาแอปพลเิ คชัน Eskola Ba Uma ใน Google Play นอกจากนี้ครอบครัวท่ีไม่มีอินเทอร์เน็ตหรือโทรทัศน์ยังสามารถใช้ และการกีฬาติมอร์เลสเต บริการข้อความส้ัน (SMS) ในการรับการบ้านหรืองานท่ีครูมอบหมายให้ทาในชั้นเรียนได้ นอกจากน้ี กระทรวงศึกษาธิการยังได้ส่งหนังสือและสิ่งตีพิมพ์ไปยังพ้ืนที่ ห่างไกล เพือ่ ใหเ้ ข้าถงึ กลมุ่ ผเู้ รียนทม่ี คี วามเปราะบางและตอ้ งมีการดูแลเป็นพิเศษอกี ด้วย ในส่วนของการเตรยี มการเปดิ เรียนนั้น กระทรวงศกึ ษาธิการติมอร์ เลสเต จะดาเนินการให้มีน้าและสถานท่ีสาหรับล้างมือ หน้ากากอนามัย การเว้นระยะห่างทางสังคม การทาความสะอาดโรงเรียน สถานทีท่ งิ้ ขยะที่มคี วามปลอดภัย ขอ้ มลู และหลกั สูตรเก่ียวกับโควิด-19 สาหรับครู และนักเรยี น ทั้งน้ี ติมอร์ เลสเตมองวา่ โควดิ -19 จะเปดิ โอกาสใหม้ ีการเข้าถึงและขยายส่ือการเรียนแบบออนไลน์ รวมถึงการสร้างห้องสมุด ดิจทิ ัลระดบั ชาติ เวยี ดนาม กระทรวงศึกษาธิการและการฝึกอบรมเวียดนามได้ปรับเวลาเรียนและหลักสูตร เพ่ือให้มีความเหมาะสมกับสถานการณ์ช่วงโควิด-19 โดยเน้นการเปลี่ยนผ่านไปสู่ รูปแบบการเรียนการสอนแบบดิจิทัล ครูจะสอนโดยใช้ระบบออนไลน์และนักเรียน ก็จะแบ่งปันส่ือการเรียนต่าง ๆ ทางออนไลน์เช่นกัน แต่หากนักเรียนไม่มีอุปกรณ์ ดิจทิ ัลหรือเครอื่ งรับโทรทัศนก์ ็จะไดร้ บั ใบงานทดแทน ศ. ดร. Phung Xuan Nha สาหรับการเปิดโรงเรียนนั้น เวียดนามได้เตรียมมาตรการในการรองรับการจัด รฐั มนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร การศึกษาที่มีคุณภาพไว้แล้ว ประการแรก รัฐบาลจะจัดการศึกษาที่มีคุณภาพ ให้แก่นักเรียนทุกคนโดยคานึงถึงแนวทางการเว้นระยะทางสังคม ประการที่สอง และการฝกึ อบรมเวียดนาม รัฐบาลจะให้ความสาคัญกับนักเรียนกลุ่มท่ีมีปัญหาและไม่สามารถกลับมาเรียนได้ โดยจะพยายามหาช่องทางให้นักเรียนเหล่านี้กลับเข้าสู่ระบบการศึกษาอีกคร้ัง นอกจากนี้แล้ว กระทรวงศึกษาธิการเวียดนามยังมีการดาเนินโครงการที่ให้ การสนับสนุนนักเรียนอีกหลายโครงการ เช่น Vietnam Student Forum ซึ่งเป็น โค ร ง ก าร จั ด ทาส่ื อท่ีมี เ นื้อห า ก าร เ รี ย น รู้เ พื่อเ สริ ม ส ร้ างทัก ษ ะ ทา งด้ า น วิ ชา ก า ร ให้แกน่ กั เรียนในชว่ งลอ็ กดาวน์ จากการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ของรัฐมนตรีศึกษาทั้ง 11 ประเทศเห็นได้ว่า การระบาดของโควิด-19 นับเป็นวิกฤติการณ์รูปแบบใหม่ ซึ่งสง่ ผลกระทบตอ่ ทกุ ภาคส่วนอยา่ งท่ีไมเ่ คยปรากฏมาก่อน โดยเฉพาะกับภาคการศกึ ษา แตอ่ ย่างไรก็ตาม สภาวะดังกล่าวก็ช่วยเปิดโอกาส ให้ทุกคนที่เก่ียวข้องได้มีเวลาคิดทบทวนเร่ืองการปฏิรูปการศึกษา เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงซ่ึงจะนาไปสู่ความเท่าเทียม และ ความรับผิดชอบรว่ มกนั หนงึ่ ในหนทางทีจ่ ะชว่ ยใหท้ ัง้ 11 ประเทศในเอเชียตะวนั ออกเฉยี งใตส้ ามารถก้าวขา้ มผา่ นวกิ ฤติการณ์ทางการศกึ ษา รูปแบบใหม่ในคร้ังนี้ได้ ก็คือการผนึกกาลังดาเนินงานในรูปแบบการเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือและการเป็นพันธมิตร การ ปรับเปล่ียน มาใช้ลักษณะการเรียนอเิ ล็กทรอนิกส์ หรอื e-Learning ให้มากขน้ึ และเสริมสรา้ งความเป็นหน่งึ เดียวกนั ของกลุ่มประเทศสมาชกิ ข้อมลู : SEAMEO Ministerial Policy e-Forum on COVID-19 Response: Report of Proceedings 2020 Published by: Southeast Asian Ministers of Education Organization SEAMEO Secretariat 920 Sukhumvit Road, Phara Khanong, Khlong Toei, Bangkok 10110, Thailand Phone: +66 (0) 23910144 Fax: +66 (0) 23812587 e-mail: [email protected] Website: www.seameo.org 21 วารสารความรว่ มมือกบั ต่างประเทศ กรกฎาคม-กันยายน 2563
ร อ บ ร้ั ว ต่ า ง ป ร ะ เ ท ศ ทุนศึกษาต่อ ระดับอนุปริญญา ณ ประเทศญ่ีปุ่น สาหรับนักเรียน/นักศึกษาไทย รัฐบาลญ่ีปุ่น ได้มอบทุนศึกษาต่อในระดับอนุปริญญา โดย กนกวรรณ แกว่นถิน่ ภู 1 แก่นักเรยี น นักศึกษาไทยเป็นประจาทุกปี โดยกระทรวงศึกษาธิการ จิตรลดา จันทร์แหยม 2 และสถานเอกอัครราชทูตญี่ปุ่นประจาประเทศไทยร่วมกัน ดาเนินการรับสมัครและคัดเลือกนักเรียน/นักศึกษาของไทย ทั้งนี้ ทุนการศึกษาประเภทดังกล่าวเป็นทุนแบบให้ เปล่า ท่ีสาเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่าและ และครอบคลุมค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ให้แก่ผู้รับทุน ประกอบด้วย มีผลการเรียนเฉลี่ยต้ังแต่ 3.00 ขึ้นไป สมัครสอบแข่งขัน ค่าเล่าเรียนตลอดหลักสูตร ค่าใช้จ่ายรายเดือน ประมาณ เพ่อื รับทุนการศกึ ษาต่อระดับอนุปริญญาจากกระทรวงศกึ ษาธิการ เดือนละ 117,000 เยน และค่าบัตรโดยสารเคร่ืองบินไป-กลับ วัฒนธรรม กีฬา วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (MEXT) ระหว่างประเทศไทยและญป่ี นุ่ ประเทศญ่ีปุ่น จานวน 2 หลักสูตร ได้แก่ ที่ผ่านมามีนักเรียน/นักศึกษาไทยได้ให้ความสนใจและสมัคร เข้ารว่ มสอบแขง่ ขนั ชิงทนุ การศกึ ษาเป็นจานวนมาก ปีละประมาณ 200-300 คน โดยมีการเปิดรับสมัครในช่วงเดือนพฤษภาคม และจัดสอบข้อเขียนช่วงเดือนมิถุนายนของทุกปี ซ่ึงผู้สมัคร สามารถเลอื กสนามสอบได้แห่งใดแห่งหนึง่ จาก 4 แห่ง ท่กี าหนดไว้ ได้แก่ กรุงเทพฯ จังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดขอนแก่น และ จังหวัดสงขลา โดยหลังจากน้ันจะมีการจัดสอบสัมภาษณ์ผู้สอบ ผ่านข้อเขียนโดยสถานเอกอัครราชทูตญี่ปุ่นประจาประเทศไทย และกระทรวงศึกษาธิการฯ ญ่ีปุ่น เป็นผู้พิจารณา คัดเลือก และอนุมัติให้ทุนในขั้นตอนสุดท้าย ท้ังนี้ ในทุกปีจะมีผู้ท่ีมีความรู้ ความสามารถผ่านเกณฑ์ที่กาหนดและได้รับคัดเลือกให้รับ ทุน โดยเฉล่ียในหลักสูตรละ 8-10 คน โดยผู้รับทุนมีกาหนดการ เดนิ ทางไปศึกษาต่อ ณ ประเทศญีป่ ุ่นในเดือนเมษายนของปีถดั ไป ทุนการศึกษาดังกล่าวมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนและส่งเสริม ใ ห้ นั ก ศึ ก ษ า ต่ า ง ช า ติ ไ ด้ เ ข้ า ศึ ก ษ า ใ น ห ล า ก ห ล า ย ส า ข า วิ ช า เช่น Mechanical Engineering, Electrical and Electronic Engineering และ Architecture เป็นต้น โดยเปิดโอกาสให้เข้า ศึกษาต่อในวิทยาลัยเทคนิคและวิทยาลัยด้านวิชาชีพที่มีชื่อเสียง หรือวิทยาลัยโคเซ็น (KOSEN) ของประเทศญ่ีปุ่น ซึ่งปัจจุบัน มจี านวน 51 แหง่ ท่ัวประเทศ โดย KOSEN เป็นสถาบนั ทม่ี ่งุ หมาย ผลิตวิศวกรและนักนวัตกรรมเทคโนโลยีช้ันสูงระดับ โลก ของประเทศญี่ปุ่น มีระบบการจัดการเรียนการสอนที่เป็น เอกลักษณ์ ซึ่งผู้ท่ีจบการศึกษาจาก KOSEN จะมีทักษะด้านต่าง ๆ ที่ครบถ้วน และเป็นท่ีต้องการของบริษัทช้ันนาและตลาดแรงงาน ของญี่ปุ่นในการรับเข้าทางานในอัตราส่วน 1 คนต่อบริษัทกว่า 30 แหง่ 1 นักวเิ ทศสัมพันธ์ชานาญการ 2 ผอู้ านวยการกล่มุ ความร่วมมือทวภิ าคี วารสารความรว่ มมอื กับตา่ งประเทศ กรกฎาคม-กันยายน 2563
นานาทรรศนะ การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ โดย กสุ ุมา นวพันธพ์ ิมล 1 ในโลกปัจจุบันน้ีเร่ืองของการรู้เท่าทันส่ือและสารสนเทศถือว่าเป็น เรอ่ื งทม่ี บี ทบาทและความสาคัญสาหรับทุกคน คนท่ีมีความรู้ด้านสื่อและ มีข้อมูลมากเท่าไหร่จะยิ่งทาให้มีอานาจในการตัดสินใจได้มากข้ึน ทาให้หน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภาครัฐบาลและผู้กาหนดนโยบายจาเป็นต้อง ให้ความสาคัญในเรื่องการรู้เท่าทันส่ือและสารสนเทศ หรือท่ีเรียกว่า Media and Information Literacy (MIL) ในขณะเดียวกันก็ต้องสร้าง ความเชื่อมั่นให้แก่ประชาชนว่าจะให้ความเคารพเรื่องของข้อมูลส่วนตัว ดั ง นั้ น อ ง ค์ ก ร ท้ั ง ภ า ค รั ฐ แ ล ะ เ อ ก ช น จึ ง ต้ อ ง ใ ห้ ค ว า ม เ ค า ร พ ใ น ข้ อ มู ล ค ว า ม เ ป็ น ส่ ว น ตั ว ข อ ง ป ร ะ ช า ช น อ ย่ า ง แ ท้ จ ริ ง แ ล ะ ค ว ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ในการสร้างความตระหนกั รใู้ นเร่ืองนใ้ี นหม่ปู ระชาชนด้วย องค์การยูเนสโกได้เริ่มทาการศึกษาวิจัยเก่ียวกับการรู้เท่าทันส่ือและ สารสนเทศในมุมมองของเยาวชนในบริบทของความเป็นส่วนตัว ตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2558 โดยแบ่งการศึกษาออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มเยาวชน และกลุ่มโรงเรียน ครู ผู้ฝึกสอน ผู้เช่ียวชาญ ซึ่งทาหน้าที่เป็นผู้ถ่ายทอด ความรู้ความเข้าใจในเรอื่ งน้ี ในการดาเนินการในส่วนแรกนั้นได้มีจัดการอบรมและวิจัยให้แก่เยาวชน อายุระหว่าง 14-25 ปี จานวน 2,300 คนใน 100 ประเทศ มีเยาวชน ที่ตอบแบบสอบถามจานวน 1,735 คน เกี่ยวกับทัศนคติและการปฏิบัติ ตั ว ใ น เ ร่ื อ ง ท่ี เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ข อ ง ข้ อ มู ล ส่ ว น ตั ว แ ล ะ การใช้ขอ้ มลู ออนไลน์ รวมถึงความรู้เกยี่ วกบั ส่อื และสารสนเทศ 1 นักวเิ ทศสัมพันธ์ชานาญการพเิ ศษ 23 วารสารความรว่ มมือกับตา่ งประเทศ กรกฎาคม-กนั ยายน 2563
นานาทรรศนะ ซึ่งเยาวชนส่วนใหญ่ต่างให้ความสาคัญเก่ียวกับ “ เ รื่อ งข อง กา ร รู้เ ท่า ทันสื่อแ ล ะ ส า ร ส น เ ท ศ เรื่องข้อมูลส่วนตั ว โดยกว่า 90% ต่างให้ หรือ MIL เป็นชุดทักษะความสามารถที่ช่วย ความสาคญั ความรคู้ วามเข้าใจในการใช้สอ่ื ออนไลน์ ใ ห้ป ร ะ ช า ช น ส า ม า ร ถ เ ข้า ถึง เ รีย ก ดู อย่างปลอดภัย การเพิ่มศักยภาพให้แก่ตัวเอง ทา้ ความเข้าใจ ประเมินผล และใช้เพื่อสร้าง ในด้านการใช้ข้อมูล ส่ือและเทคโนโลยี ทั้งน้ี แ ล ะ แ บ ่ง ป ัน ข ้อ ม ูล เ นื อ ห า ผ ่า น สื ่อ ต่ า ง เ ห็ น ว่ า ภ า ค รั ฐ มี สิ ท ธิ ท่ี จ ะ รู้ ข้ อ มู ล ส่ ว น ตั ว ในทุกรูปแบบ โดยใช้เครื่องมือต่าง ๆ ที่มีอยู่ หา ก นั่นห มา ย ถึงกา รส ร้ างค วาม ป ลอด ภั ย อย่างมีวิจารณญาณ มีจริยธรรม และ ทางออนไลน์ และควรเปิดให้มีการใช้อินเทอร์เน็ต มีประสิทธิผล โดยปราศจากการควบคุมจากรัฐบาลหรือธุรกิจ ” ขนาดใหญ่ ใ น ส่ ว น ท่ี ส อ ง จ ะ มุ่ ง เ น้ น ไ ป ที่ ป ร ะ เ ด็ น เ กี่ ย ว กั บ ปร ะเ ด็ นเ ร่ือ ง เกี่ ยว กั บข้ อมู ล สา รส นเท ศแ ล ะก าร สื่ อส า ร การรู้เท่าทันส่ือและสารสนเทศท่ัวโลก ซึ่งมีผู้ให้ เปน็ เร่ืองท่ีมมี านานกวา่ ศตวรรษแล้ว ไม่ว่าจะเป็นการสอ่ื สาร ความสนใจในประเด็นทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับความเช่ือมโยง ระหว่างกันแบบตัวต่อตัว การเล่าเร่ือง การ ส่ือสาร กับการสอนในเร่ืองนี้จานวน 231 คน ซ่ึงมี ด้วยตัวอักษร ไปจนถึงการมีห้องสมุด ซ่ึงต่อมาภายหลัง ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ใ น ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ที่ มี ได้มีการพัฒนาเป็นรูปแบบออกไปเป็นสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ความแตกต่างกันออกไป ตั้งแต่ระดับวิทยาลัยและ จนมาถึงยุคของการสื่อสารในลักษณะออนไลน์ และ มหาวิทยาลัย 14% นักการศึกษาท่ีทางาน ในรูปแบบเสมือนจริง การให้ความสาคัญในประเด็น เกี่ยวกับการจัดการศึกษาให้แก่เด็กตกหล่น 9% ด้านข้อมูลส่วนตัวจึงมีมาก่อนการก่อกาเนิดของเทคโนโลยี ภาคประชาสังคมทั้งองค์กรเอกชนและไม่แสวงหา ดิจิทัล อย่างไรก็ตามการส่ือสารออนไลน์ แบบเสมือนจริง ผลกาไร 17% และกลุ่มอ่ืน ๆ ท่ีเป็นโรงเรียน และผ่านเทคโนโลยีมือถือ เป็นสิ่งที่ไม่สามารถจับต้องได้ ระดบั ประถมและมัธยมอีก 6% ประกอบกบั การแปลงขอ้ มูลความรตู้ า่ ง ๆ เปน็ รปู แบบดิจทิ ลั ไ ด้ เ พิ่ ม ขึ้ น ท า ใ ห้ ป ร ะ เ ด็ น ใ น เ ร่ื อ ง ข้ อ มู ล ส่ ว น ตั ว “ ค้าว่า การรู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ หรือ จึงทวีความสาคัญขึ้นตามลาดับด้วย ข้อมูลท้ังหลายไม่ว่า Media and Information Literacy (MIL) จะเปน็ ขอ้ มูลสว่ นตัว หรอื ข้อมูลองค์กรสามารถหาได้ง่ายขึ้น เป็นค้าที่ถูกพัฒนาขึนมาในช่วงปี พ .ศ. ในโลกออนไลน์ ทาให้เราสามารถรวบรวม วิเคราะห์ และ 2550 เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลง แบง่ ปนั ส่งิ เหล่านั้นได้มากขึ้น การเขา้ ถึงขอ้ มูลตา่ ง ๆ กท็ าได้ และพัฒนาการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ รวดเร็วข้ึน ดังนั้นข้อมูลสารสนเทศและการ สื่อสาร แ ล ะ ก า ร สื ่อ ส า ร ซึ ่ง จ ะ มุ ่ง เ น ้น ไ ป ท่ี จึงเป็นเร่ืองท่ีมีความจาเป็นต้ังแต่ในระดับบุคคล หน่วยงาน ค ว า ม เ ชื ่อ ม โ ย ง แ ล ะ ล ัก ษ ณ ะ ทั ่ว ไ ป ที ่ม ีอ ยู่ และองค์กรขนาดใหญ่ การติดต่อสื่อสารในรูปแบบออนไลน์ ในสองค้านีซึ่งมีความเกี่ยวข้องและทับซ้อน ทาให้การเข้าถึงข้อมูลส่วนตัวสามารถทาได้อย่างไม่จากัด กันอยู่เสมอและมีมากขึนเร่ือย ๆ ... ในทางกลับกันองค์กรเหล่าน้ีก็ต่างพยายามท่ีจะปกป้อง ” ข้อมูลของตนเอง หากพิจารณาถึงสิทธิในเรื่องที่เกี่ยวข้อง กับอินเทอร์เน็ตแล้วจึงมีประเด็นกว้าง ๆ ที่จะต้องทา ความเข้าใจ ซึ่งการเข้าถึงข้อมูลส่วนบุคคลอย่างไม่จากัด เป็นประเดน็ หนง่ึ ทค่ี วรนามาวิเคราะหแ์ ละอภิปรายในเชิงลึก โดยคานึงถึงบริบทของการพัฒนาที่ยั่งยืน รวมถึงประเด็น ทางสังคมและประชาธิปไตยต่าง ๆ ท้ังเร่ืองเสรีภาพ ในการแสดงออกทางออนไลน์ การรวบรวม การเก็บรักษา และการป้องกันข้อมูล การใช้คาพูดท่ีแสดงออก ถึง ความเกลยี ดชัง และหลกั การกากับดแู ลอนิ เทอร์เน็ต รวมถึง แนวคิดความเป็นสากลของอินเทอร์เน็ต (Internet Universality) นอกจากน้ียังมีการเน้นย้าถึงความสาคัญ ของสทิ ธิมนุษยชน การเปดิ กวา้ ง การเข้าถึงและการมีส่วนร่วม ข อ ง ผู้ มี ส่ ว น ไ ด้ ส่ ว น เ สี ย ใ น เ รื่ อ ง ก า ร ตั ด สิ น ใ จ เ ก่ี ย ว กั บ อินเทอรเ์ นต็ วารสารความรว่ มมอื กบั ตา่ งประเทศ กรกฎาคม-กันยายน 2563
นานาทรรศนะ ความเข้าใจในเรื่องสิทธิท้ังออนไลน์และออฟไลน์ โดยหลัก ในท้ายท่ีสุดแล้วผลการศึกษาวิจัยนี้จึงมีเป้าหมายเพ่ือให้ แ ล้ ว คื อ ก า ร ท า ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ว่ า ข้ อ มู ล แ ล ะ ก า ร สื่ อ ส า ร ข้อเสนอแนะด้านแนวคิดและการพัฒนา นโยบาย ได้ถูกสร้าง ถูกวิเคราะห์ แจกจ่าย ประยุกต์ และนาไปใช้ ที่จะนาไปสู่การส่งเสริมความรู้ความเข้าใจในเรื่องของ ได้อย่างไร รวมถึงวิธีการสร้างรายได้ผ่านส่ือต่าง ๆ การรเู้ ทา่ ทันส่อื และสารสนเทศหรือ MIL ในขณะเดียวกัน ซึ่งเง่อื นไขท้ังหมดเหล่านี้สามารถนาไปสู่การพัฒนาที่ย่ังยืนได้ ก็ช่วยส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกคนในการแสดงออก ในขณะ ที่ความ เข้าใจ เร่ือง ความเ ป็นส่วน ตัว แล ะ ทง้ั ในรปู แบบออนไลน์และออฟไลนเ์ พือ่ นาไปสู่การพัฒนา การมีส่วนร่วมอย่างแข็งขันในประเด็นเหล่าน้ีนั้นจาเป็น ที่ยั่งยืนและเสรีภาพ รวมท้ังให้เกิดความรู้ความเข้าใจ ต้องมีทักษะการคิดวิเคราะห์ หรือที่เรียกว่า “Privacy ในประเด็นท่ีมีความซับซ้อนในระหว่างการรู้เท่าทันส่ือ Competency” ในระดับท่ี เรียกได้ว่า เป็นส่วน หน่ึ ง แ ล ะ ส า ร ส นเ ทศ แ ล ะ เ รื่ อง ค วา ม เ ป็ น ส่ วน ตั ว ว่ า ของทักษะด้าน MIL แมว้ า่ แนวคิดในเรื่องความเป็นส่วนตัวน้ัน มคี วามแตกตา่ งกนั อยา่ งไร จะแยกออกจากเร่ือง MIL แต่ทักษะหลายด้านท่ีจาเป็น ในการปกป้องข้อมูลความเป็นส่วนตัวส่วนของบุคคลก็ถือ “จ า ก ก า ร ศึก ษ า ค รั ง นี ค้า ว ่า เป็นทักษะหนึ่งของ MIL ซึ่งรวมถึงความสามารถ \"ความเป็นส่วนตัว (Privacy)\" ในการเรยี กรอ้ งสิทธิในความเป็นส่วนตัวของบุคคลใดบุคคล แ ส ด ง ถ ึง ค ว า ม จ้ า เ ป ็น หนึ่งหรือการรู้ว่าข้อมูลที่คนใดคนหน่ึงแชร์น้ันควรมีวิธีการ ใ น ก า ร ป ก ป ้อ ง แ ล ะ จ้ า ก ัด ก า ร ในการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลน้ันอย่างไร ข้อมูล เ ข ้า ถ ึง ข ้อ ม ูล ส ่ว น บ ุค ค ล ความเป็นส่วนตัวเป็นปัญหาท่ีมีการหยิบยกข้ึนมาพิจารณา ของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง” อย่างใกล้ชิดจากผู้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้องท้ังหลายท่ีมีความสนใจ ” ในประเด็นเร่ืองความเปน็ พลเมืองโลก ในขณะเดียวกันทกุ ๆ คน รวมถงึ เยาวชนจาเป็นตอ้ งมสี มรรถนะด้าน MIL ไม่ว่าจะเป็น ความรู้ ทักษะ และทัศนคติ เพื่อช่วยให้เขามีความเข้าใจ วิธีการเข้าถึงและใช้ข้อมูลอย่างถูกต้อง วิธีการที่พวกเขา จะยินยอมให้ใช้ข้อมูลทั้งโดยรู้ตัวและไม่รู้ตัว การอานวย ความสะดวกในการเข้าถึงน้ี และผลกระทบท่ีอาจเกดิ ขน้ึ (ข้อมูลอ้างอิงจากงานศึกษาวิจัยขององค์การยูเนสโก เร่ือง Survey on Privacy in Media and Information Literacy with Youth Perspective) 25 วารสารความรว่ มมือกบั ตา่ งประเทศ กรกฎาคม-กันยายน 2563
นานาทรรศนะ โครงการสารนิเทศเพ่ือปวงชน (Information for All Programme: IFAP) โดย กสุ ุมา นวพันธ์พิมล 1 โครงการสารนิเทศเพ่ือปวงชน (Information for All คณะกรรมการฯ จะทาหน้าท่ีในการพิจารณากลั่นกรองข้อเสนอ Programme: IFAP)เป็นโครงการภายใต้กรอบงาน โครงการต่าง ๆ แนะนาแนวปฏิบัติท่ัวไป ประเมินความสาเร็จ ด้านส่ือสารมวลชนขององค์การยูเนสโก ก่อตั้งข้ึนเมื่อปี สง่ เสริมการมสี ว่ นรว่ มของรฐั สมาชิกและสนับสนนุ ความพยายาม พ.ศ. 2544 โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือจัดให้มีเวทีอภิปราย ในการระดมทุนของรัฐสมาชิก ซึ่งในการประชุมคณะกรรมการฯ และแลกเปล่ียนนโนบายและแนวทางการดาเนินงานระหว่าง จ ะ มี ก า ร เ ลื อ ก ผู้ แ ท น จ า ก ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร เ ข้ า ร่ ว ม ประเทศ ในเรื่องท่ีเก่ียวข้องกับการเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารและ เป็นคณะกรรมการบริหาร (Bureau) ของสภา จานวน 6 คน องค์ความรู้ต่าง ๆ ซ่งึ ในการดาเนินงานจะมีการตงั้ คณะกรรมการ จาก 6 ประเทศ และจะทาหน้าท่ีเป็นประธานคณะทางาน สภาระหว่างรัฐบาลว่าด้วยโครงการสารนิเทศเพื่อปวงชน ทั้ง 6 ด้าน ท่ีเกี่ยวข้องกับงานด้านสารนิเทศเพ่ือปวงชน มุ่งเน้น (Intergovernmental Council for IFAP) เพื่อทาหน้าที่ การพัฒนาข้อมูลข่าวสาร สารสนเทศ เพื่อให้ประชาชนทั่วโลก ในการวางแผนและขับเคลื่อนการดาเนินงาน ซึ่งมีองค์ประกอบ สามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารท่ีมีคุณภาพอย่างท่ัวถึงโดยสะดวก ท้ังส้ิน 22 คน ท่ีมาจากการเลือกต้ังระหว่างรัฐ สมาชิก อันจะนาไปสู่การเสริมสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ ตาม ในระหว่างการประชมุ สมัยสามัญขององคก์ ารยูเนสโก สิทธิมนุษยชน และให้ความสาคัญกับประเด็นหลัก 6 ด้าน ประกอบดว้ ย 1) ด้านข้อมูลสารสนเทศเพ่ือการพฒั นา (Information for Development) 2) ดา้ นการรู้เท่าทนั สารสนเทศ (Information Literacy) 3) ด้านจริยธรรมทางข้อมลู สารสนเทศ (Information Ethics) 4) ด้านการเก็บรวบรวมและอนุรกั ษส์ ารสนเทศ (Information Preservation) 5) ด้านการเข้าถงึ ข้อมลู สารสนเทศได้อยา่ งสะดวกเทา่ เทยี ม (Information Accessibility) 6) ด้านพหภุ าษาในออนไลน์ (Multilingualism in Cyberspace) 1 นักวเิ ทศสัมพันธช์ านาญการพเิ ศษ วารสารความรว่ มมอื กับตา่ งประเทศ กรกฎาคม-กันยายน 2563
นานาทรรศนะ โ ค ร ง ก า ร นี้ เ ป็ น โ ค ร ง ก า ร ท่ี จ ะ ช่ ว ย เ ส ริ ม ส ร้ า ง สั ง ค ม เ พ่ื อ น า ไ ป สู่ ก า ร บ ร ร ลุ เ ป้ า ห ม า ย ก า ร พั ฒ น า ท่ี ยั่ ง ยื น แห่งความรู้ หรือ สงั คมอดุ มปญั ญาด้วยการใช้ประโยชน์ ของสหประชาชาติ (UN Sustainable Development จากเทคโนโลยีสารสนเทศ (ICTs) เพื่อการเข้าถึงข้อมูล Goals หรือ SDGs) ผลสัมฤทธ์ิของการประชุม WSIS ข่าวสาร ความรู้ และการจัดเก็บอย่างเป็นระบบ และการนาเสนอข้อมติเกี่ยวกับการจัดทา Roadmap อาทิ การเสรมิ สร้างศกั ยภาพความเขม้ แข็งใหป้ ระชาชน ไปสู่การทบทวนการดาเนินงานในระรอบ 20 ปี ผ่านการนาผลสัมฤทธขิ์ องการประชุมสุดยอดระดับโลก ของการประชุม WSIS ในปี พ.ศ. 2568 ท่ีมุ่งเน้น ว่าด้วยสารสนเทศ (World Summit on the Information การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการพัฒนาท่ีย่ังยืน Society: WSIS) ไปปฏิบัติ โดยให้ความสาคัญ ทั้งในเรื่อง Internet of Thing: IoT (อินเทอร์เน็ต กับการให้ความรู้ และนาหลักการรู้เท่าทันสื่อและ ในทุกส่ิง) 2 Blockchain (ระบบโครงขา่ ยธรุ กรรมออนไลน)์ 3 สารสนเทศไปใช้เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ท้ังน้ีองค์การ และ Big Data (ข้อมูลขนาดใหญ่)4 ในเรื่อง ยู เ น ส โ ก ไ ด้ ข อ ใ ห้ รั ฐ ส ม า ชิ ก เ ข้ า ม า มี ส่ ว น ร่ ว ม ข้ อ เ ส น อ แ น ะ ใ น ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม แ ล ะ ก า ร ใ ช้ พ หุ ภ า ษ า ในการให้ความช่วยเหลือและสนับสนุนการดาเนินงาน และการเข้าถึงโลกไซเบอร์ (2003 Recommendation ตามข้อเสนอของท่ีประชุมสุดยอดระดับโลกว่าด้วย concerning the Promotion and Use of Multilingualism สารสนเทศ (World Summit on the Information and Universal Access to Cyberspace) จะเน้น Society: WSIS) โดยร่วมกันกาหนดและใช้ตัวช้ีวัด พัฒนาการเข้าถึงสื่อออนไลน์แบบเปิดกวา้ ง และมีอิสระ ทเ่ี ปน็ สากลด้านอินเทอร์เน็ตของยูเนสโก (IUIs) ภายใต้ ในการเข้าถึงพหุภาษาและข่าวสาร ทั้งนี้ ข้อริเร่ิม กรอบแนวคดิ ROAM (X) การรบั รองนโยบายการเขา้ ถงึ ได้ถูกนามาใช้ในการส่งเสริมนวัตกรรม การอานวย ข้อมูลข่า วสาร รวมถึงการสร้ างควา ม ร่วมมื อ ความสะดวกในการเข้าถึง การส่งข้อมูลและเผยแพร่ กับนานาชาติในการพัฒนาท่ีเน้นความเป็นมนุษย์ ข้อมูลดิจิทัล ตลอดจนมี การจัดตั้งสถาบันเพื่อ จริยธรรมด้านปัญญาประดิษฐ์ และการสร้างสังคม การประเมนิ ผล ส่งเสริมภาษาพน้ื เมอื งและชนกลุ่มน้อย อดุ มปญั ญาทค่ี รอบคลมุ ถึงคนทกุ คน นอกเหนือจากภาษาประจาชาติดว้ ย 27 วารสารความรว่ มมอื กับตา่ งประเทศ กรกฎาคม-กนั ยายน 2563
นานาทรรศนะ สาหรับในส่วนของประเทศไทยได้ดาเนินโครงการสารนิเทศเพื่อปวงชนผ่านคณะกรรมการฝ่าย สื่อสารมวลชน ของคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการศึกษาฯ สหประชาชาติ (ยูเนสโก) มีอธิบดีกรมประชาสัมพันธ์เป็นประธาน ตลอดระยะเวลาท่ีผ่านมาประเทศไทยได้เข้าไปมีบทบาทสาคัญในการเข้าร่วมเป็นกรรมการใน คณะกรรมการสภา ระหว่างรัฐบาลว่าด้วยโครงการสารนิเทศเพื่อปวงชน (Intergovernmental Council for the Information for All Programme: IFAP) มาอย่างต่อเนื่อง โดยครั้งล่าสุดได้รับการเลือกต้ังในเป็นกรรมการในการประชุมสมัย สามัญ ของยูเนสโก คร้ังที่ 40 มีผลทาให้ประเทศไทยมีวาระในการดารงตาแหน่งระหว่างปี 2562 - 2566 ซ่ึงจะมีบทบาท ในการกาหนดแนวทางการดาเนินงานของคณะกรรมการ IFAP ในช่วง 4 ปีข้างหน้า โดยเฉพาะการให้การสนับสนุน การดาเนินงานของยูเนสโกในประเด็นท่ีเป็นผลสืบเนื่องจากการประชุมสุดยอดระดับโลกว่าด้วยสารสนเทศ (World Summit on the Information Society: WSIS) ที่ยอมรับการนาเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ ICT มาใช้ เพ่ือบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืนของสหประชาชาติ (UN Sustainable Development Goals หรือ SDGs) จากการดาเนนิ งานท่ผี ่านมาของประเทศไทยไดส้ ะทอ้ นความพยายามของยูเนสโกในการเปล่ยี นแปลงจากสังคมสารสนเทศ ไปสสู่ งั คมแห่งความรู้ การเขา้ ถึงขอ้ มลู ข่าวสาร เชน่ การขบั เคลอื่ นโครงการประเทศไทย 4.0 ทม่ี ่งุ เนน้ การใหค้ วามสาคญั ในการขับเคล่ือนเรือ่ งการรู้เท่า การพัฒนาประเทศด้วยนวัตกรรม โดยเทคโนโลยี ทันส่ือและสารสนเทศในกลุ่มส่ือมวลชนและ ดิจิทัลผ่าน “โครงการเน็ตประชารัฐ” หรือ ประชาชน โดยภาครัฐร่วมกับองค์กร “โครงการอินเทอร์เน็ตหมู่บ้าน” (Village วิชาชีพส่ือในประเทศ จัดทาคู่มือ “แนวทาง Internet Broadband) ที่ได้รับรางวัลชนะเลิศ การปฏิบัติงานของสื่อสารมวลชนในภาวะวิกฤติ: ระดับโลก “The World Summit on the จริยธรรมของสื่อ” เพ่ือเป็นแนวปฏิบัติในการทา Information Society (WSIS)” จากสหภาพ หนา้ ที่ในภาวะวกิ ฤตไิ ด้อยา่ งถกู ตอ้ งและปลอดภัย โทรคมนาคมระหวา่ งประเทศ (ITU) ประจาปี 2562 โดยไทยเป็นประเทศแรกในภูมิภาคอาเซียน ที่รเิ ร่ิมจดั ทาคู่มอื ดังกล่าว กา ร ส นับส นุนการ ใช้ ตั วช้ี วัด ท่ีเป็ น ส า กล ด้ า น อินเ ทอร์ เ น็ต ของยู เ น ส โ ก ( Internet การแปลและจัดทาคู่มือสาหรับการศึกษาและ Universality Indicators: IUIs) ภายใต้กรอบ การฝึกอบรมด้านวารสารศาสตร์ เร่ือง “วารสาร แนวคิด ROAM (X) โดยเป็นหนึ่งในสามประเทศ ศาสตร์ ขา่ วลวง และการบิดเบอื นขอ้ มลู ขา่ วสาร” ที่ได้ทดลองใช้ตัวช้ีวัดน้ีตั้งแต่ปี 2561 ผ่านการ ของยูเนสโก (Handbook for Journalism มสี ว่ นร่วมของภาครฐั ภาคเอกชน ภาคการศึกษา Education and Training: Journalism, ‘Fake และภาคประชาสงั คม อยา่ งตอ่ เน่อื ง News,’ & Disinformation) เป็นภาษาไทย ในรูปแบบ e-Book เพ่ือส่งเสริมการรู้ เท่าทันสื่อ และการรับมือข่าวลวงเพ่ือให้ สื่อมวลชน บุคลากรทางการศึกษา นักเรียน นักศึกษา และ ประชาชนทั่วไปนาไปใช้ วารสารความรว่ มมอื กบั ตา่ งประเทศ กรกฎาคม-กนั ยายน 2563
นานาทรรศนะ ทั้งน้ีคณะกรรมาธิการสภาฯ ของยูเนสโก ได้ร่วมกันกาหนดเป้าหมายและกลยุทธ์ ในการดาเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์ด้วยการส่งเสริมให้ประเทศสมาชิกเข้า มา มีส่วนร่วมในการดาเนินการมากขึ้น แสวงหาความร่วมมือระดับนานาชาติร่วมถึง การหาทุนเพื่อนามาสนับสนุนการดาเนินงานให้บรรลุตามภารกิจ โดยที่ผ่านมา ก า ร ด า เ นิ น ง า น จ ะ เ น้ น เ รื่ อ ง ท่ี เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ก า ร ใ ช้ อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต แ ล ะ เ ย า ว ช น การจัดทากรอบแผนปฏบิ ตั ิการ “สรา้ งพลังเยาวชน คนหนุ่มสาวเพื่อเสริมสร้างสันติสุข (Empowering Youth to Build Peace: Youth 2.0-Building Skill, Bolstering Peace)” การสร้างทักษะ และส่งเสริมสันติภาพ โดยได้กาหนด เป้าหมาย การดาเนินงานไว้ 4 ด้าน ได้แก่ เสริมสร้างศักยภาพของคณะกรรมการ IFAP ระดับชาติ เพื่อให้สามารถมีส่วนร่วมในการกาหนด เป้าหมาย การดาเนนิ งานในระดบั ชาตไิ ดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ พัฒนาความร่วมมือกับสถาบัน องค์กรระหว่างประเทศ ทั้งในระดับภูมิภาคและนานาชาติในการ ดาเนิน กจิ กรรมต่าง ๆ สนับสนุนให้ประเทศสมาชิกบูรณาการ นโยบาย ของยู เนส โกเ ข้าในยุทธศาส ตร์ด้ าน ส ารส นเทศ ของแต่ละประเทศ ฝึกอบรมระดับนโยบายในการใช้รูปแบบตามนโยบาย สังคมสารสนเทศ เคร่ืองมือและทรัพยากรต่าง ๆ ของยูเนสโก (ข้อมูลอ้างอิงจาก: เว็บไซต์องค์การยูเนสโก www.unesco.org) 2 การทีอ่ ุปกรณ์อิเล็กทรอนกิ สส์ ามารถเช่ือมต่อหรือสง่ ข้อมูลถงึ กนั ได้ดว้ ยเครอื ข่ายอนิ เทอร์เน็ตเพอ่ื แลกเปล่ยี นและแบง่ ปันข้อมูลได้ 3 ระบบโครงขา่ ยในการเกบ็ บญั ชธี รุ กรรมออนไลน์ ซ่งึ มลี กั ษณะเปน็ เครือขา่ ยใยแมงมุมทเี่ กบ็ สถิตกิ ารทาธรุ กรรมทางการเงนิ และสนิ ทรพั ย์ ชนิดอื่น ๆ อีกในอนาคตโดยไม่มีตัวกลาง 4 ขอ้ มูลที่มีขนาดใหญ่ทุกชนดิ ทีอ่ ยใู่ นองค์กรของเราไมว่ า่ จะเปน็ ขอ้ มูลองค์กร ขอ้ มลู ลกู ค้า พฤตกิ รรมผ้บู ริโภค ไฟล์เอกสารตา่ ง ๆ ท่ีเก่ียวขอ้ ง ท้ังหมด รวมไปจนถงึ รูปภาพ URLs ลงิ คต์ า่ ง ๆ ทเ่ี กบ็ ไว้ ฯลฯ ท่มี ปี รมิ าณมากจนกระทงั่ ซอฟต์แวร์ปกตทิ วั่ ไปไมส่ ามารถรองรับการเกบ็ ขอ้ มลู หรือประมวลผลได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ 29 วารสารความรว่ มมอื กบั ตา่ งประเทศ กรกฎาคม-กนั ยายน 2563
นานาทรรศนะ บทบาทประเทศไทย ในโครงการนานาชาติ ด้านการพัฒนาการส่อื สาร (Intergovernmental Council for the Development of Communication - IPDC หรอื ไอพีดซี ี) โดย กวี จงกิจถาวร 1 1 กรรมการผ้ทู รงคณุ วุฒิในคณะกรรมการฝา่ ยส่อื สารมวลชนของคณะกรรมการแหง่ ชาตวิ า่ ดว้ ยการศึกษาฯ สหประชาชาติ วารสารความรว่ มมอื กับตา่ งประเทศ กรกฎาคม-กนั ยายน 2563
นานาทรรศนะ โครงการนานาชาตดิ า้ นการพฒั นาการส่ือสาร (Intergovernmental Council for the Development of Communication - IPDC หรือ ไอพีดีซี) เป็นโครงการย่อยภายใต้งานด้านสื่อสารมวลชน ขององค์การยูเนสโก ก่อต้ังเม่ือปี พ.ศ. 2523 มีกลไกดาเนินงาน ในรูปแบบสภาระหว่างรัฐบาล เพ่ือขับเคลื่อนให้เกิดการหารือ แ ล ะ ส่ ง เ ส ริ ม ก า ร พั ฒ น า ก า ร สื่ อ ส า ร ต ล อ ด จ น ม า ต ร ฐ า น ด้านส่ือสารมวลชน ผ่านการดาเนินงานของคณะกรรมการ ซึ่งประกอบดว้ ยผ้แู ทนจากประเทศสมาชิก จานวน 39 คน และเลือก ผู้ แ ท น จ า ก ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร เ ข้ า ร่ ว ม เ ป็ น ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร บ ริ ห า ร (Bureau) ของสภาฯ จานวน 8 คน จาก 8 ประเทศ ในการประชุมไอพีดีซีทุกครั้งที่ผ่านมา ประเทศไทยมีบทบาทสูง ในการผลักดันโครงการต่าง ๆ ที่ประเทศสมาชิกส่งเข้ามาพิจารณา ในแต่ละโครงการเพ่ือขอทุนสนับสนุน โดยเฉพาะอย่างย่ิงโครงการ เพิ่มศักยภาพและประสิทธิภาพของสื่อมวลชนใน ประเทศ ที่กาลังพัฒนาและกลุ่มอาเซียน ปีที่ผ่านมาประเทศไทยได้ผลักดัน ค ว า ม พ ร้ อ ม ใ น ก า ร ส นั บ ส นุ น โ ค ร ง ก า ร ท่ี มุ่ ง ไ ป ใ น ท า ง ก า ร ส ร้ า ง องค์ความรู้และการเข้าถึงข้อมูลต่าง ๆ ผ่านทางอินเทอร์เน็ต โดยเฉพาะการดาเนินงานตามตัวชี้วัดการพัฒนา (Internet Universality Indicators: IUIs) และการรณรงคต์ ่อตา้ นข่าวลวงและ การบิดเบือนข่าวสารในส่ืออินเทอร์เน็ต นอกจากนี้ประเทศไทย ยั ง ใ ห้ ค ว า ม ส า คั ญ ต่ อ ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ค ว า ม ป ล อ ด ภั ย ข อ ง นั ก ข่ า ว รวมทัง้ การปฏริ ูปและการพัฒนาสือ่ สารมวลชนใหม้ ีคุณภาพมากขน้ึ ในช่วงน้ี บทบาทของประเทศไทยยิ่งมนี ัยยะสาคญั เพราะได้รับเลือก เข้าไปอยู่ในคณะกรรมการบริหาร (Bureau) ชุดใหม่ มี 8 ประเทศ โดยประเทศสวีเดน ได้รับเลือกเป็นประธานคณะกรรมการบริหาร มีวาระการดารงตาแหน่ง 4 ปี เอลซัลวาดอร์ ลิทัวเนีย และลิเบีย ไดร้ บั เลือกเป็นรองประธาน ผู้แทนจากประเทศแซมเบีย ได้รับเลือก เป็นผบู้ ันทึกการประชุม ส่วนประเทศไทย ไนจีเรีย และเนเธอร์แลนด์ ได้รับเลือกให้ดารงตาแหน่งกรรมการบริหาร มีวาระ 2 ปี ท้ังน้ี คณะก รรมก า รบริหา รชุดนี้ยังต้องมีก า รปรึก ษา หา รือ ใน ประเด็น ต่าง ๆ ท่ีประเทศสมาชิกหยิบยกขึ้นมา รวมท้ังมีการประเมินผลงาน ภายใต้แผนงานของไอซีดีพี และยังต้องพิจารณาและรับรอง แผนปฏิบัติงานรวมทั้งก ารช่วยเหลือระดมทุนเข้า มา ใน โครงก า ร เพ่ือสนบั สนนุ งบประมาณขององค์การยเู นสโก ประเทศไทยได้ให้เงิน สนบั สนุนผ่านโครงการน้เี ป็นจานวน 1,000 เหรยี ญสหรัฐ 31 วารสารความรว่ มมือกับต่างประเทศ กรกฎาคม-กนั ยายน 2563
นานาทรรศนะ ก า ร ดาเ นิน ง า น ต าม ตัว ชี้วัด ก าร พัฒ น า สื่อ อิน เ ท อ ร์เ น็ต เพ่ือตอบสนองนโยบายน้ี รัฐบาลไทย จึงได้ดาเนินการพัฒนา (Internet Universality Indicators: IUIs) โครงข่ายอินเทอร์เน็ตความเร็วสูงให้ครอบคลุมทั่วประเทศ หรือ ประเทศไทยเห็นชอบกับตัวชี้วัดนี้ เพราะสามารถสร้างความเข้าใจ “เน็ตประชารัฐ” เข้าถึงระดับชุมชน โดยตั้งเป้าหมายที่จานวน ที่ชัดเจนเก่ียวกับสภาพแวดล้อมด้านอินเทอร์เน็ตในระดับชาติ 24,700 หมู่บ้าน และจัดให้มีจุดให้บริการอินเทอร์เน็ตแบบไร้สาย เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายการพัฒนาส่ือได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ โดยไม่คิดค่าใช้จ่ายกับผู้ใช้บริการอย่างน้อยหมู่บ้านละ 1 จุด ยังสามารถนามาใช้ประเมินในส่วนที่สัมพันธ์กับ หลักการ เ พ่ื อ ส ร้ า ง ค ว า ม เ ท่ า เ ที ย ม แ ล ะ ท่ั ว ถึ ง ใ น ก า ร เ ข้ า ถึ ง อิ น เ ท อ ร์ เ น็ ต โรม (ROAM) 4 ประการขององค์การยูเนสโก หลักการพัฒนา ความเร็วสูงของประชาชน เพื่อการเข้าถึงข้อมูลที่จาเป็นสอดคล้อง สื่ออินเทอร์เน็ตของยูเนสโกที่เรียกว่า “โรม” (ROAM) มุ่งเน้น กับหลักสิทธิมนุษยชน และหลัก 4 ประการของการพัฒนาสื่อ ใน 4 ประเด็นสาคญั ไดแ้ ก่ ที่เรยี กสัน้ ๆ ว่า “โรม” (ROAM) โครงการนี้ประสบความสาเร็จเกิน R – that the Internet is based on human Rights อินเทอรเ์ นต็ เป้าหมายทตี่ ัง้ ไว้ โดยปัจจุบนั มีหมู่บ้านเน็ตประชารัฐจานวน 27,700 หมบู่ า้ นท่วั ประเทศ อย่บู นพ้นื ฐานของสิทธมิ นษุ ยชน นอกจากน้ี นโยบายเกี่ยวกับดิจิทัลเทคโนโลยีน้ัน ไทยยังให้ O – that it is Open อนิ เทอร์เนต็ ต้องเปดิ กว้าง ความสาคญั ทงั้ การพัฒนาโครงข่ายพืน้ ฐาน ควบคู่ไปกบั การพฒั นาคน A – that it should be Accessible to all ทุกคนต้องสามารถ ให้มีทักษะเหมาะสมกับโลกยุคดิจิทัลท้ังการใช้อินเทอร์เน็ต และ การใช้ข้อมูลข่าวสารในโลกออนไลน์อย่างสร้างสรรค์และรู้เท่าทัน เข้าถงึ อนิ เทอรเ์ นต็ ได้ และ ข ณ ะ เ ดี ย ว กั น ยั ง ไ ด้ ป รั บ ก า ร ด า เ นิ น ง า น ข อ ง ห น่ ว ย ง า น ภ า ค รั ฐ M – that it is nurtured by Multi-stakeholder participation เป็น e-Government โดยให้บริการภาครัฐผ่านเครือข่าย อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ เพิ่มการเข้าถึงบริการ อินเทอรเ์ นต็ ตอ้ งได้รับการทะนบุ ารงุ จากการมสี ว่ นร่วมของกลุ่ม ของภาครัฐ เสริมสร้างความโปร่งใสของการดาเนินงานของภาครัฐ ผู้มสี ่วนไดส้ ่วนเสียที่หลากหลาย สนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชน และทาให้หน่วยงานของรัฐ รับผดิ ชอบตอ่ ประชาชนมากขึน้ ในการประชุมคณะกรรมการในปีท่ีแล้ว ประเทศไทยได้เน้นประเด็น ในชว่ งท่ีประเทศไทยทาหน้าท่ีประธานอาเซียนในปี 2562 ได้นาเอา เกี่ยวกับก า รใช้อิ นเท อ ร์เน็ตเพ่ือ ก ารพัฒนาแ ละเพิ่มอ งค์ ควา มรู้ หลักการพัฒนาสื่อและตัวชี้วัดการพัฒนาสื่ออ่ืน ๆ ไปผลักดัน เป็นพิเศษ โดยยกตัวอย่างโครงการเน็ตประชารัฐที่รัฐบาลไทยกาลัง ในภูมิภาคอาเซียนแล้ว อินโดนีเซียได้ให้ความสนใจต่อโครงการนี้ ดาเนินการอยู่ ผู้แทนไทยไดช้ ี้แจงถึงนโยบายท่ีจะนาพาประเทศกา้ วสู่ สมาชกิ อาเซยี นอ่ืน ๆ กาลงั เฝ้าดูและตดิ ตามหลักการนี้อยู่ “ไทยแลนด์ 4.0” ซ่ึงเปลี่ยนเศรษฐกิจแบบเดิมไปสู่เศรษฐกิจ ที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม (Value-Based Economy) เพื่อเสริม วารสารความรว่ มมอื กบั ตา่ งประเทศ กรกฎาคม-กันยายน 2563 รากฐานของประเทศให้เขม้ แขง็ และเพ่ิมขีดความสามารถการแข่งขัน โ ด ยยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ส า คั ญ คื อ ก า ร พั ฒ นา โ คร ง ส ร้ า ง พ้ื น ฐ า น ดิ จิ ทั ล ให้มีประสิทธิภาพสูงครอบคลุมท่ัวประเทศที่ทุกคนเข้าถึงได้ (Accessible) มีความพร้อมใช้ (Available) และอยู่ในราคาท่ีจ่ายได้ (Affordable)
นานาทรรศนะ การรณรงค์ต่อต้านข่าวลวงและการบิดเบือนข่าว ประเทศไทยเป็นประเทศเดียวในอาเซียนที่ได้แปล คู่มือ สาหรั บก า ร ศึก ษา แ ละ ก า รฝึ ก อบร มด้า นวา ร สา รศ า สต ร์ เรื่อง “วารสารศาสตร์ ข่าวลวง และการบิดเบือนข้อมูลข่าวสาร” ของยูเนสโก (Handbook for Journalism Education and Training: Journalism, ‘Fake News,’ & Disinformation) เป็นภาษาไทยในรูปแบบ e-Book โดย กรมประชาสัมพันธ์ ซึ่งนาไป ขยายผลด้วยการจัดงานเปิดตัวคู่มือดังกล่าวร่วมกับภาคีเครือข่าย และนาเนอ้ื หาไปประยกุ ตใ์ ช้ในเวทีตา่ ง ๆ ตัวอย่างท่ีเห็นได้ชัดคือ การสัมมนาเยาวชน “ส่ือสร้างสรรค์ เท่าทันสื่อ” ระหว่างวันที่ 26-28 กุมภาพันธ์ 2563 นอกจากน้ัน ยังกิจกรรมการผลิตคลิปวิดีโอส้ันภาษาไทยอธิบายเนื้อหาคู่มือฯ ทั้ง 7 หน่วยการเรียนรู้ เพ่ือนามาเผยแพร่ทางสื่อออนไลน์และ ส่ืออ่ืน ๆ ของ กปส. โดยมุ่งหวังให้สื่อมวลชน นักเรียน นักศึกษา และประชาชนไทยได้นาไปใช้เป็นแนวทางในการประกอบอาชีพ การศึกษา และการดาเนินชวี ิตอย่างรู้เทา่ ทนั สือ่ ตอ่ ไป เกี่ยวกบั หลักการในเร่ืองส่งเสริมประสทิ ธภิ าพสอ่ื สารมวลชนเพ่ือเพิ่ม องค์ความรู้อย่างทั่วถึง ประเทศไทยยึดม่ันในหลักการท่ีองค์การ ยูเนสโกยึดถือ โดยมุ่งเน้นประเด็นหลัก ๆ ท่ี Information for All Programme หรือ IFAP ใหค้ วามสาคัญ ซง่ึ มที ัง้ หมด 6 ด้าน ได้แก่ การรู้เทา่ ทัน การเกบ็ รวบรวม ขอ้ มลู สารสนเทศ ประเทศไทยสามารถนาหลักการ องค์ความรู้สากลเหล่านี้มาปรับ สารสนเทศ อนุรักษส์ ารสนเทศ เพอ่ื การพฒั นา และดาเนินการเพ่ือประโยชน์แก่ประเทศ อาทิ การขับเคลื่อน (Information (Information for ดา้ นการรู้เท่าทันสื่อ ซ่ึงสอดคล้องกับภารกิจของหน่วยงานรัฐต่าง ๆ Literacy) (Information Development) เ ช่ น ก ร ม ป ร ะ ช า สั ม พั น ธ์ ภ า ย ใ ต้ แ ผ น ป ฏิ รู ป ป ร ะ เ ท ศ โครงการพหภุ าษา Preservation) ด้านสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยเชื่อมโยง ออนไลน์ ผ่านคณะอนุกรรมการประชาสัมพันธ์แห่งชาติด้านต่างประเทศ (Multilingualism in IFAP คณะกรรมการฝ่ายส่ือสารมวลชนของยูเนสโก รวมท้ังจัดทาคลิป Cyberspace) ประชาสัมพันธ์การรู้เท่าทันส่ือ และนาผลการดาเนินงานรายงาน ใหค้ วามสาคญั ต่อยูเนสโก มที ัง้ หมด 6 ดา้ น บทบาทประเทศไทยที่กล่าวถึงข้างต้นเป็นเพียงส่วนหนึ่งเท่าน้ัน ในแต่ละปีกิจกรรมเก่ียวกับการพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพ จริยธรรมทาง ส่ือสารมวลชนมีมากมาย ประเทศไทยพร้อมสมาชิกอาเซียน ขอ้ มูลสารสนเทศ จะขับเคลื่อนทุกประเด็นในกรอบของไอพีดีซีให้บรรลุเป้าหมาย (Information ผ่านการประชุมคณะกรรมการฝ่ายส่ือสารมวลชนของยูเนสโก และเช่ือมโยงกบั กรอบความรว่ มมอื อาเซยี นดา้ นข้อมลู ขา่ วสาร Ethics) การเข้าถงึ ขอ้ มูลสารสนเทศ ได้อยา่ งสะดวกเทา่ เทยี ม (Information Accessibility) 33 วารสารความรว่ มมอื กับต่างประเทศ กรกฎาคม-กันยายน 2563
นานาทรรศนะ การรู้เท่าทัน ดิจิทัลเพ่ื อส่งเสริม การเรียนรู้ตลอดชีวิตในชุมชน โดย พรทิพย์ เย็นจะบก 1 ผศ. ดร. พรทิพย์ เยน็ จะบก การติดตั้งภูมิคุ้มกันส่ือดิจิทัลจึงเป็นเร่ืองสาคัญสาหรับทุกเพศทุกวัย ทั้งเด็ก เยาวชน คนวัยทางาน และผู้สูงอายุ ดังน้ันการสร้างทักษะ ที่ ม า แ ล ะ ค ว า ม สา คั ญ ในการรู้เท่าทันส่ือให้แก่สมาชิกในชุมชน เพ่ือให้สมาชิกสามารถ เมื่อโลกดิจิทัลเข้ามามีบทบาทกับสมาชิกในชุมชนอย่างหลีกเล่ียง ใช้ประโยชน์จากข้อมูลต่าง ๆ ในโลกดิจิทัลได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ได้ ท้ังในเร่ืองการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ การเข้าถึง และปลอดภยั เพื่อสง่ เสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิตของสมาชิกในชุมชน ข้อมูลการศึกษา ตลอดจนการค้นคว้าหาข้อมูลต่าง ๆ รวมถึง และสามารถนาข้อมูลต่าง ๆ มาพัฒนาตนเอง สังคม และชุมชน การสนับสนุนให้ประชาชนเข้าถึงเทคโนโลยีโดยภาครัฐ เพ่ือลด จึงถอื เปน็ เรือ่ งท่คี วรใหค้ วามสาคญั ความเหลื่อมล้า และสร้างความเท่าเทียมในการเข้าถึงเทคโนโลยี โครงการ “การรู้เท่าทันดิจิทัลเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต” เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน สมาชิกในชุมชน Digital Literacy Training in Empowering Lifelong Learning จึงมีโอกาสในการใช้สื่อออนไลน์ตลอดเวลา จึงทาให้สื่อดิจิทัล in Digital Community ด้วยการสนับสนุนของ UNESCO มี อิ ท ธิ พ ล ใ น ก า ร ใ ช้ ชี วิ ต ข อ ง ค น ใ น ชุ ม ช น ม า ก ข้ึ น ก ว่ า แ ต่ ก่ อ น ในโครงการ PP Participation Programme จึงถือเป็นหนึ่ง โ ล ก อ อ น ไ ล น์ เ ป็ น โ ล ก ที่ ทุ ก ค น ส า ม า ร ถ เ ข้ า ถึ ง แ ล ะ ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ ในเครื่องมือท่ีมีความสาคัญในการพัฒนาทักษะของสมาชิกในชุมชน ได้อย่างไร้ขีดจากัด มีท้ังข้อมูลที่เป็นประโยชน์และเป็นโทษ ทุกช่วงวัยในการเรียนรู้ตลอดชีวิต เน่ืองจากประเทศไทย คนท่ีไม่มีภูมิคุ้มกันจะใช้ส่ือไปในทางท่ีผิดแล้วนาไปสู่ ผลเสีย อยู่ในช่วงเวลาท่ีต้องเผชิญกับสถานการณ์การเปลี่ยนผ่านที่สาคัญ ทัง้ ต่อตนเอง ครอบครวั และสงั คม ทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง เทคโนโลยีพลังงานและสิ่งแวดล้อม ศูนย์ดิจิทัลชุมชน มีบทบาทในการพัฒนาชุมชนด้วยการเป็น อย่างรวดเร็วและรุนแรง พร้อมกับการปรับตัวเข้าสู่เศรษฐกิจและ แ ห ล่ ง ก า ร เ รี ยน รู้ ต า ม อั ธ ย า ศั ย แ ล ะก า ร เ รี ย น รู้ ต ล อ ด ชี วิ ต ใ ห้ กั บ ระเบียบใหมข่ องโลก ท่นี บั วันจะซับซ้อนยิ่งขึ้น การติดต้ังความรู้และ ประชาชนในชุมชน การเป็นศูนย์กลางของชุมชนในการประชุมและ ทักษะในการดาเนินชีวิตในโลกดิจิทัล ด้วยการรู้เท่าทันส่ือดิจิทัล การทากิจกรรมในประเด็นเกี่ยวกับการให้ข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ให้แก่สมาชิกในชุมชน ซ่ึงเป็นหน้าท่ีสาคัญประการหนึ่ง ของหมบู่ า้ น และมีบทบาทในการส่งเสริมใหม้ ีการรวมตัวกันของกลุ่ม ของศูนย์ดิจิทัลชุมชนนอกเหนือจากการให้บริการเพื่อการบริการ อาชพี ต่าง ๆ เพ่ือขับเคล่ือนเศรษฐกิจและสังคมดิจิทัล และกิจกรรม เข้าถึงข้อมูลต่าง ๆ ตามบทบาทหน้าท่ีขององค์การ UNESCO การส่งเสรมิ ธรุ กิจชมุ ชนผ่านส่อื ดจิ ทิ ลั ของกลุม่ วสิ าหกจิ ชมุ ชนต่าง ๆ ด้วยเชน่ กัน 1 ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร., กรรมการในคณะกรรมการฝ่ายสอื่ สารมวลชนของคณะกรรมการแหง่ ชาตวิ ่าดว้ ยการศกึ ษาฯ สหประชาชาติ วารสารความรว่ มมอื กับตา่ งประเทศ กรกฎาคม-กันยายน 2563
นานาทรรศนะ แ น ว ท า ง ก า ร อ บ ร ม ก า ร รู้ เ ท่ า ทั น ดิ จิ ทั ล ก า ร ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ เ กิ ด ก า ร รู้ เ ท่ า ทั น ดิ จิ ทั ล ส า ห รั บ ดิ จิ ทั ล ชุ ม ช น น้ั น ข อ ง ศู น ย์ ดิ จิ ทั ล ชุ ม ช น จะพัฒนาทักษะการรู้เท่าทันดิจิทัลท้ัง 5 ด้านท่ีได้พัฒนาข้ึน ด้วยบทบาทหน้าท่ีที่สาคัญของศูนย์ดิจิทัลชุมชนในการพัฒนาชุมชน เพ่ือให้เหมาะสมกับชุมชน เพ่ือการสร้างความเข้าใจในการใช้สื่อ เข้มแข็งน้ัน การสร้างสรรค์องค์ความรู้เพ่ือพัฒนาชุมชนดิจิทัล ดิจิทัลอย่างปลอดภัย ตลอดจนสามารถสร้างสรรค์สื่อ ดิจิทัล ท่ีรู้เท่าทันดิจิทัลจึงถือเป็นพันธกิจสาคัญอีกหน่ึง ประการ โดยใช้ประโยชนจ์ ากองค์ความรชู้ ุมชนในแตล่ ะทอ้ งถิ่น ไดแ้ ก่ ของการจัดต้ังศูนย์ดิจิทัลชุมชน เนื่องจากการให้บริการของศูนย์น้ัน เปรียบเสมือนช่องทางในการนาชุมชนไปสู่โลกของข้อมูล ข่าวสาร 1. การเข้าถึง (Access) หมายถึงการค้นหาและการใช้สื่อ ต่าง ๆ ที่ยากจะควบคุมได้ ซึ่งการเข้าถึงข้อมูลที่มากมายเหล่านี้ และเทคโนโลยีอยา่ งมที ักษะและใช้ข้อมูลข่าวสารท่ีเหมาะสม อาจนาสมาชิกของชุมชนไปสู่ความเสี่ยงต่าง ๆ ในโลกดิจิทัล และสาคัญตอ่ ผูอ้ นื่ ท่ีมีอยู่มากมาย ทั้งน้ีแนวทางในการอบรมการรู้เท่าทันดิจิทัล 2. การวิเคราะห์และประเมิน (Analyze and Evaluate) โดยศนู ย์ดิจิทลั ชมุ ชนเพื่อการสร้างสรรค์องค์ความรู้เพ่ือพัฒนาชุมชน คือความเข้าใจเน้ือหาสารและการใช้การคิด วิพากษ์ ดิจิทัลรู้เท่าทันส่ือควรเป็นแนวทางที่สอดคล้องกับ ประเด็น เพ่ือวิเคราะห์คุณภาพของสาร ความน่าเช่ือถือ และ ท่ีครอบคลมุ ท้งั 10 ดา้ น ดังน้ี ความคิดเห็น รวมทั้งการพิจารณาถึงผลกระทบท่ีอาจจะ เกิดขนึ้ หรือผลท่จี ะตามมาของเนือ้ หาสาร 1) การสร้างทักษะชมุ ชนรเู้ ท่าทันดจิ ทิ ัล 3. การสร้างสรรค์ (Create) คือการสร้างสรรค์เนื้อหาและ 2) การใช้สื่อดิจิทัลเพ่ือสร้างสรรค์องค์ความรู้ในการรวมตัว ความมั่นใจในการแสดงออกทางความคิดของ ตนเอง โดยตระหนักถึงวัตถุประสงค์ ผู้ชม ผู้ฟัง และ เทคนิค เพ่ือพฒั นาชุมชนเข้มแขง็ ในการสรา้ งสรรค์ 3) การใช้ส่ือดิจิทัลเพื่อสร้างสรรค์องค์ความรู้ด้านการประกอบ 4. การมีส่วนร่วม (Participation) คือ การนาสื่อดิจิทัล มาประยุกต์ใช้อย่างมีความรับผิดชอบทางสังคม และ อาชีพอุตสาหกรรมและหตั ถกรรม มจี รยิ ธรรมเพ่ือการสรา้ งการมีส่วนร่วมในเชงิ บวก ทัง้ ในชุมชน 4) การใช้ส่ือดิจิทัลเพ่ือสร้างสรรค์องค์ความรู้ด้านสุขภาพและ สงั คม และประเทศชาติ การแพทยแ์ ผนไทย 5. การขับเคลื่อน (Act) คือการทางานส่วนตนและส่วนรวม 5) การใช้สื่อดิจิทัลเพ่ือสร้างสรรค์องค์ความรู้ด้านผลิตภัณฑ์ เพื่อแบ่งปันความรู้และช่วยแก้ปัญหาในระดับครอบครัว การทางาน ชุมชน รวมถึงการมีส่วนร่วมในฐานะสมาชิก ท่ีโดดเดน่ ของชุมชนท้องถ่ิน ภูมภิ าค และประเทศชาติ 6) การใช้สอื่ ดิจิทลั เพอ่ื สรา้ งสรรค์องคค์ วามรดู้ า้ นภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ 7) การใชส้ อื่ ดจิ ทิ ัลเพือ่ สร้างสรรคอ์ งคค์ วามรู้ดา้ นการท่องเทยี่ ว 8) การใช้ส่ือดิจิทัลเพื่อสร้างสรรค์องค์ความรู้ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดล้อม 9) การใชส้ ่อื ดิจิทัลเพื่อสรา้ งสรรคอ์ งค์ความรู้ด้านศิลปะ วัฒนธรรม และภาษา 10) การเฝา้ ระวงั สือ่ ดจิ ิทลั ที่ไมป่ ลอดภัย 35 วารสารความรว่ มมือกบั ต่างประเทศ กรกฎาคม-กนั ยายน 2563
นานาทรรศนะ ภาพที่ 1 แบบจา้ ลองแนวทางการอบรมการรู้เทา่ ทันดจิ ิทัลของศูนยด์ ิจิทัลชุมชน ความเปน็ พลเมอื งดจิ ทิ ัล (Digital Citizenship) ความเป็นพลเมืองดิจทิ ัลทคี่ าดหวัง (Expected Digital Citizen) พลเมืองดิจิทัล เป็นการศึกษาด้านนิสัย (Character Education) ได้แก่ พลเมืองท่ีใช้ประโยชน์จากบริบททางดิจิทัลเพื่อความอยู่รอด ในเครือข่ายสังคมออนไลน์ ในศตวรรษที่ 21 เราควรให้ความสาคัญ ในสังคม มีความพร้อมท่ีจะเรียนรู้ตลอดชีวิต โดยรู้จักรับผิดชอบ กับการใช้สื่อและบริโภคอย่างมีวิจารณญาณ เราใช้ส่ือเพื่อให้ข้อมูล ตระหนักรู้ รจู้ ักคดิ มีอัตลกั ษณ์ของตนเองและช่วยรักษาค่านิยมหลัก ข่าวสาร เพื่อกาหนดแนวทางการแสดงความคิดเห็น เพื่อติดต่อ ของสังคมไทย มีส่วนร่วมทางสังคมเพ่ือประโยชน์สาธารณะ และ กับชุมชนและเพ่ือทาให้คนอ่ืนได้ยินเสียงของเรา ดังน้ันรูปแบบ กล้าแสดงออกเพ่ือความยุติธรรมในสังคม ทั้งนี้คุณลักษณะ ของพลเมืองดิจิทัลจึงประกอบด้วยสิทธิและความรับผิดชอบ ของพลเมืองดิจิทัล (Characteristics of Digital Citizen) การมสี ่วนรว่ ม ความผกู พัน บรรทดั ฐานทางพฤติกรรมและความรู้สึก ไดแ้ ก่ มีอตั ลกั ษณ์ที่ดี มจี ติ สาธารณะ มีความรูพ้ ื้นฐานทางเทคโนโลยี เป็นสมาชิกส่วนหนึ่ง การจะทาได้เช่นนั้นจาเป็นต้องสร้างทักษะ มี ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ต่ อ ก า ร ก ร ะ ท า ข อ ง ต น เ อ ง บ น โ ล ก ดิ จิ ทั ล ด้านการรู้เท่าทันส่ือ สารสนเทศและดิจิทัลควบคู่ไปด้วยเสมอ รู้จักสิทธิของตนเองและเคารพสิทธิของผู้อ่ืน และมีจริยธรรม เพ่ือจะสามารถรู้และใช้สิทธิในฐานะผู้บริโภค สมาชิกของชุมชนดิจิทัล ในการดาเนินชวี ิตในโลกดิจิทัลน่ันจึงหมายถึงการอบรมการรู้เท่าทัน พลเมืองของรัฐและในฐานะท่ีเป็นมนุษย์ ดิจิทัลจะเกิดผลเพ่ือการพัฒนาคนในชุมชนให้เป็นพ ลเมือ ง ดิจิทัล ได้อย่างมีประสิทธภิ าพขน้ึ ปรบั ตวั ได้ 1. 12. สื่อสารกับผอู้ นื่ ได้อยา่ งมี มคี วามคิดสร้างสรรค์ 2. ประสิทธิภาพ มศี ักยภาพ 3. 13. มคี วามพร้อมในการ มีความเชือ่ ม่ัน 4. ประกอบอาชพี กลา้ แสดงออก 5. 14. ทางานร่วมกับผอู้ น่ื ได้ สนใจเรยี นรู้ 6. 15. รู้สกึ เปน็ สว่ นหน่ึง มคี วามรู้ 7. ของสังคม พร้อมทจี่ ะเรยี นรตู้ ลอดชวี ติ 8. 16. มคี วามรับผิดชอบตอ่ ตนเอง มคี วามคดิ ใหม่ ๆ และ 9. ใช้เทคโนโลยที ที่ นั สมยั และสงั คม 12. มีสว่ นรว่ มในชมุ ชน (ร่วมวางแผน รกั ษาความเป็นทอ้ งถ่นิ 10. วิเคราะห์ วพิ ากษ์ วิจารณ์ 11. ร่วมกิจกรรม รว่ มรบั ประโยชน์) 13. ยอมรับการเปลยี่ นแปลง อย่างสรา้ งสรรค์ (ทางเทคโนโลยแี ละทางสงั คม) ภาพท่ี 2 ทกั ษะต่าง ๆ ของผูท้ ม่ี คี วามร้เู ทา่ ทันดิจิทัล วารสารความรว่ มมอื กบั ตา่ งประเทศ กรกฎาคม-กันยายน 2563
นานาทรรศนะ ภาพกิจกรรม อา้ งองิ จาก: รายงานโครงการ “Digital Literacy Training in Empowering Lifelong Learning in Digital Community” (การอบรมการรู้เท่าทนั ดจิ ิทลั เพ่ือส่งเสรมิ การเรียนรตู้ ลอดชวี ิตในดิจทิ ลั ชมุ ชน) ทนุ UNESCO: โครงการ PP (Participation Programme) พ.ศ. 2562 ดาเนินการโดย ผศ.ดร. พรทิพย์ เย็นจะบก และ ดร. ชวพร ธรรมนิตยกุล 37 วารสารความรว่ มมอื กับต่างประเทศ กรกฎาคม-กันยายน 2563
จากบทบรรณาธิการวารสารคูรเิ ย ในส่วน ของคูรเิ ยฉบบั นี้รว่ มเฉลิมฉลอง วนั วทิ ยสุ ำกลซงึ่ กำหนดขนึ้ ในวนั ท่ี กมุ ภำพนั ธ ์ ของทกุ ปี โดย อกั เนส ์ าร์ด์ สารั ตถ ะ ขอ ง วันวิทยุสาก ลปี 2 0 2 0 คื อ เป็นเร่ืองสาคัญท่ีสื่อวิทยุจะต้องสะท้อนภาพ แปลโดย พศิ วรส ปทุมุตต์ ์ ั ี ความหลากหลาย ซึ่งยังคงเป็นประเด็นร้อนอยู่ ของผู้ฟังให้มีความแม่นยามากข้ึนเน่ืองเพราะ เน่ืองเพราะสัดส่วนกลุ่มสตรี ชนกลุ่มน้อย และ ค ว า ม ห ล า ก ห ล า ย ท า ง วิ ท ยุ เ ป็ น หั ว ใ จ เ ด๋ี ย วนี้ วิ ทยุ เ ป็ นสิ่ ง ล้า ส มัย ไ ป แ ล้ ว หรื อ เ ป ล่ า ? ผู้พิการที่เก่ียวเน่ืองกับการออกอากาศยังคง ของการเผยแพรข่ ่าวสารท่ีถกู ต้องและเป็นอิสระ นี่ คื อ เ ว ล า ท่ี ค ว ร ก ล บ ฝั ง ส่ื อ ช นิ ด น้ี ซ่ึ ง เ ข้ า ม า ไม่เป็นที่น่าพอใจ จริงอยู่ที่ว่าเราก้าวมาได้ไกล นอกจ ากน้ี วิทยุ ยังเ ป็นช่อ งทาง นาเสนอ ใ น บ้ า น เ รื อ น ข อ ง เ ร า น า น เ กื อ บ ร่ ว ม ศ ต ว ร ร ษ แ ล้ ว นั บ จ า ก วั น ท่ี ผู้ ร า ย ง า น ข่ า ว ผู้ ห ญิ ง ต้ อ ง ค ว า ม คิ ด เ ห็ น จ า ก วั ฒ น ธ ร ร ม ต่ า ง ๆ แล้วหรือไม่? ยังห่างไกลความเป็นจริงมาก หลีกทางใหผ้ ชู้ ายมานั่งอา่ นรายงานของพวกเธอ ท่ีหลากหลาย ซึ่งเป็นหลากฐานของการคิด จริ ง อ ยู่ ท่ีว่ าวิ ท ยุท รา น ซิส เต อ ร์ใ นยุ ค เก่ าจ ะ ดู อ อ ก อ า ก า ศ แ ท น เ พ ร า ะ เ สี ย ง ผู้ ช า ย ถู ก ม อ ง วเิ คราะหแ์ บบใช้วจิ ารณญาณ พ้นสมัยไปแล้ว แ ละวันวานขอ งการ ฟัง ว่าน่าเช่ือถือมากกว่า ทว่าปัญหาท้าทายน้ี ในช่วงหลายปีเมื่อไม่นานมาน้ี แม้ส่ือวิทยุ จากเคร่ืองวิทยุโดยตรงก็ดูเหมือนจะจบส้ินลง ก็ยงั คงอยู่กับเรา จะผ่านวิวัฒนาการมาพอสมควร แต่ก็ยังคง ด้วยเช่นกัน ทว่าวิทยุได้เริ่มปรับเปล่ียนสู่ การขาดแคลนสถิติในหลาย ๆ ประเทศทาให้ เป็นเสียงท่ีอยู่เคียงข้างความสันโดษของเรา ระ บบ ดิจิทั ลแ ล้ว ปัจ จุ บันผู้ฟัง มัก จะ ฟัง ไ ม่ ส า ม า ร ถ ว า ด แ ผ น ท่ี โ ล ก เ กี่ ย ว กั บ ซึง่ ไม่มีสงิ่ ใดจะเข้ามาแทนที่ได้ เสียงที่ฟังราวกับ จากโทรศัพท์มือถือ หรือไม่ก็คอมพิวเตอร์พอ ๆ ความหลากหลายในสื่อวิทยุได้ แต่ ข้อมูล ว่ากาลังพูดกับเราคนเดียวเท่านั้น แม้ว่า กับท่ีฟังจากเคร่ืองส่งวิทยุ หรืออาจจะมากกว่า เ ท่ า ที่ มีอ ยู่ ใ น ปัจ จุ บั น ก็ ฉ า ย ภ าพ ใ ห้ เ ห็น ไ ด้ ชั ด ในความเป็นจริงจะเป็นการพูดกับคนหมู่มาก ด้วยซ้า ปัจจัยหลักที่ทาให้เกิดการแปลงโฉม ในปี 2018 ท่ีฝรั่งเศส มีผู้หญิงทาหน้าที่กระจาย ก็ตาม ท่ามกลางโลกที่ถูกรุกรานจากจอภาพ ส่ือวิทยุ คือการผลิต ‘พอดคาสต์’ หรือรายการ เสียงทางวิทยุ 37% (CSA, 2019) ส่วนผู้หญิง “ คุ ณ ป ร ะ โ ย ช น์ ป ร ะ ก า ร ห น่ึ ง ข อ ง วิ ท ยุ ในรูปแบบผู้ฟังขอมา บางคร้ังบาง คราว ท่ีเป็นแขกรับเชิญทางด้านการเมืองทางวิทยุ ซ่ึ ง มี ลัก ษณ ะ ย้ อ นแ ย้ ง ก็ คื อ วิท ยุ ไม่ ได้ มี เ ร า ก็ ส า ม า ร ถ ดู ร า ย ก า ร วิ ท ยุ ไ ด้ ห า ก มี คิดเป็น 23% และ 37% เป็นสตรีผู้เช่ียวชาญ การนาเสนอภาพ” น่ีคือข้อสังเกตในบท การบันทึกภาพเคลื่อนไหวรายการน้ัน ๆ แล้ว ทางด้านสหราชอาณาจักรขณะที่เจ้าหน้าท่ี บ ร ร ณ า ธิ ก า ร จ า ก ว า ร ส า ร คู ริ เ ย ข อ ง ยู เ น ส โ ก โพสต์ลง อิ นเ ทอ ร์ เ น็ต ฝ่าย ผู้ฟัง วิทยุ ก็ มี ในสถานีวิทยุเป็นผู้หญิงถึง 51% แต่มีแค่ 36% ฉบับเดือนกมุ ภาพนั ธ์ 1997 ว่าด้วยเรื่องวิทยุ วิวัฒนาการเช่นกัน จากในอดีตท่ีเคยน่ังฟังวิทยุ เท่านั้นที่มีตาแหน่งสูง (Ofcom, 2019) มาดู จากเคร่ืองรับเฉย ๆ มาบัดนี้ผู้ฟังสามารถ ทาง ฟาก สหรั ฐอเ มริก าบ้าง ในปี 2017 สารดังกล่าวยังคงความเป็นจริงในปัจจุบัน มีส่วนร่วมในรายการ หรือแม้แต่ช่วยปรับแต่ง มีบุคลากรท่ีมาจากภูมิหลังชนกลุ่ม น้อ ย “อันที่จริงคุณภาพหลัก ๆ ของภาพบนจอทีวี รายการผ่านการแสดงความคิดเห็นทางส่ือ เพียง 11% เท่านั้นที่ทางานอยู่ในห้องข่าว ซึ่งดูเหมือนจริงมากกลับกลายเป็นข้อด้อยหลัก โซเชียล ทางวิทยุ (RTDNA และการสารวจห้องข่าว เ พ ร า ะ ไ ป ฉุ ด ร้ั ง จิ น ต น า ก า ร แ ล ะ ส ม ร ร ถ น ะ ดังน้ันวิทยุจึงเป็นสื่อท่ีแตกต่างไปจากเดิมมาก โดยมหาวิทยาลัยฮอฟสตรา, 2018) ของเราในการถอยออกมาขบคิดไตร่ตรอง” แ ต่ ก็ ไ ด้ รั บ ก า ร พั ฒ น า จ น มี ก า ร เ ฉ ลิ ม ฉ ล อ ง บทบรรณาธิการระบุต่อไปว่า “ขณะท่ีเรารับฟัง วันวิทยุสากลในวันท่ี 13 กุมภาพันธ์ของทุกปี ข่าวเช้าทางวิทยุ เราจาเป็นต้องฟังจากเสียง เร่ิมการประกาศวันวิทยุสากลในปี 2011 ล้วน ๆ โดยปราศจากภาพ เพ่ือให้กลายเป็น เพ่ือเตือนใจเราถึงบทบาทสาคัญของส่ือวิทยุ สิ ท ธ์ิ ข อ ง เ ร า ใ น ก า ร ตี ค ว า ม ค ว า ม ห ม า ย ข อ ง ท่ีสามารถเข้าถึงผู้ฟังได้กว้างไกลแม้ในพ้ืนท่ี เหตกุ ารณต์ า่ ง ๆ ทัว่ โลกดว้ ยตวั ของเราเอง” ห่างไกลทุรกันดาร หรือในสถานการณ์ฉุกเฉิน นับต้ังแต่เปิดตัววันวิทยุสากล ยูเนสโกได้อาศัย วิทยุเป็นส่อื หลักในการดาเนินพันธกิจท่ีเก่ียวกับ ก า ร ป ลู ก ฝั ง เ ส รี ภ า พ ใ น ก า ร แ ส ด ง อ อ ก แ ล ะ การส่งผ่านแนวคดิ อยา่ งเสรที ั่วท้งั โลก ยูเนสโกจัดหารายการให้สถานีวิทยุต่าง ๆ ทั่วโลก รวมท้ังส่งเสริมแคมเปญกระจาย ข่าวสารผ่านวิทยุ เช่น แคมเปญนาเสนอข้อมูล เรื่องไวรัสซิก้า (Zika) ในลาตินอเมริกาและ แคริบเบยี นในปี 2016 ซ่งึ ยังคงนาเสนอต่อเน่ือง จนถึงปัจจบุ นั นอกจากนย้ี เู นสโกยังจัดฝึกอบรม การออกอากาศและรายงานข่าวทางวิทยุ เช่น ทจ่ี ดั ใหก้ ลุ่มผ้ลู ภ้ี ยั เยาวชนชาวซีเรียในเลบานอน ต้ังแต่ปี 2014 ยิ่งไปกว่าน้ัน ยัง ส่งเสริม การสร้างสถานีวิทยุชุมชน หรือการออกอากาศ ภายหลังการเกดิ ภยั พบิ ตั ิทางธรรมชาติ วารสารความรว่ มมอื กบั ตา่ งประเทศ กรกฎาคม-กนั ยายน 2563
พอดคาสต์: วทิ ยแุ ปลงโฉม กำรใชเ้ สีย ง บอ กเล่ำที่พฒั น ำรูปแ บบใหม่ทำใ หพ้ อ ดคำส ต ์ ไม่เพียง เติม ล ม หำ ยใ จเ ฮือ กให ม่ใ หว้ ิทยุ ใ น ชวั่ เว ล ำ ไ ม่กี่ปี มนั ค่อย ๆ ขยำยตวั เป็ นธุรกิจระดบั โลก สรำ้ งสื่อโสตแนวใหม่ ที่กระชบั สำยใยกบั ผูฟ้ ังไดแ้ นบแน่ นยิ่งขึน้ โดย โซานั แม็คฮิวจ ์ วิ ถี ใ ห ม่ ใ น ก า ร ใ ช้ พ ลั ง ข อ ง เ สี ย ง แปลโดย นุ ชนรฏ เนต์ป์ะเส์ฐิ ศ์ การพัฒนาสองด้าน ด้านหน่ึงคือเทคโนโลยี วิทยุสามารถสร้างบรรยากาศใกล้ชิดสนิทสนม กับอี ก ด้านคื อวัฒนธร ร ม ช่วย ผลัก ดันใ ห้ กับผู้ฟังได้มากยิ่งกว่าวิธีการสื่อสารอื่นใด ตั้งแต่ ต ล า ด พ อ ด ค า ส ต์ ก ล า ย เ ป็ น ธุ ร กิ จ ร ะ ดั บ โ ล ก แรก ๆ ในช่วงทศวรรษ 1930 ประธานาธิบดี สมาร์ตโฟนท่ีบริษัท Apple ผลิตขายในปี 2012 แฟรงคลิน ดี. รูสเวลต์ ของสหรัฐฯ ก็เคยอาศัย บรรจุแอปพลิเคชันพอดคาสต์ไว้เป็นระบบจัดเก็บ พลังความสามารถของส่ือชนิดนี้จัดรายการ ไ ฟ ล์ เ สี ย ง ซ่ึ ง ป ร า ก ฏ ว่ า เ ป็ น ท่ี นิ ย ม ข อ ง ผู้ ฟั ง “คุยข้างเตาผิง” (Fireside Chats) ส่งสารผ่าน พอดคาสต์ ความเปล่ียนแปลงทางวัฒนธรรม คล่ืนวิทยุในยามเย็นถึงชาวอเมริกันท่ัวประเทศ อยา่ งมโหฬารอันทาให้คนนับล้าน ๆ รู้จักรายการ อย่างต่อเน่ือง (ตั้งแต่ปี 1933 ถึง 1944) แบบพอดคาสต์ไปท่ัวน้ันเกิดขึ้นในปี 2014 แต่ในช่วงหลัง ๆ น้ีการจัดทารายการในรูปแบบ เมื่อทีมผลิตรายการวิทยุอิสระในนิวยอร์กจัดทา พอดคาสต์ซ่ึงขยายตัวออกไปก็ช่วยเร่งคุณสมบัติ รายการพอดคาสตอ์ อนไลน์ชุด Serial ซ่ึงบอกเล่า อนั นา่ ทง่ึ ของวทิ ยุให้ดังจนสุดเสยี ง ขา่ วเจาะแนวสืบสวนเป็นตอน ๆ อย่างน่าติดตาม เรื่องนมี้ ีเหตุผลอธบิ ายได้สองข้อ คือปกติคนทั่วไป มักใส่หูฟังเปิดพอดคาสต์ฟังเป็นส่วนตัว ซ่ึงทาให้ พอดคาสต์ชุด Serial ปีแรกเสนอเรื่องจริงท่ีจับใจ ผ้จู ดั รายการสง่ เสียงพดู ถึงหผู ฟู้ ังได้โดยตรง สภาพ ผู้ฟังให้เฝ้าติดตามรับฟังต่อเนื่องทุกสัปดาห์ เช่นน้ันวางเงื่อนไขสมบูรณ์แบบให้ผู้จัดกับผู้ฟัง เป็นเรื่องราวของอัดนัน เซด ผู้ถูกศาลตัดสินว่า รายการรู้สึกผูกพันกัน พอดคาสต์ไม่เหมือนวิทยุ ฆาตกรรมแฮ มิน ลี เพื่อนร่วมชั้นมัธยมปลาย ซึ่งผู้จัดรายการต้องเจอปัญหาผู้ฟังชอบหมุน ซึ่งเป็นแฟนเกา่ ของตน ท่ีเมืองบัลติมอร์ในสหรัฐฯ เปล่ียนคล่ืนอยู่เรื่อย แค่ขยับนิ้วหน่อยเดียว เม่ือปี 1999 ต่อมาในปี 2000 คณะลูกขุน ก็เปล่ียนช่องรับฟังได้แล้ว แต่คนจัดรายการ ท่ีศาลแขวงบัลติมอร์ลงมติว่าเซดกระทาผิดจริง พอดคาสต์มั่นใจได้ว่าคนฟังอยากฟังรายการท่ีตน ขณ ะ น้ันเ ข าอ ายุ 1 8 ปีแ ละ ยัง คง รับ โ ทษ จัดแน่ ทาให้ผู้จัดรู้สึกผ่อนคลายเป็นตัวเองได้ จาคกุ ตลอดชีวติ เรื่อยมา ตามสบายจริง ๆ ซ่ึงย่ิงทาให้รู้สึกเชื่อมโยงถึงกัน มากข้ึนไปอีก ผู้ฟังบางรายบอกว่าการหา แต่ซาราห์ โคนิก ผู้จัดรายการพอดคาสต์ชุดนี้ พ อ ด ค า ส ต์ ช่ อ ง ใ ห ม่ ท่ี ถู ก ใ จ เ จ อ ก็ เ ห มื อ น กั บ ซ่ึงเพียรโทรศัพท์สัมภาษณ์ เซดในเรือนจา ได้เพื่อนคนใหม่ สื่อยักษ์ใหญ่ของสหรัฐฯ อย่าง โดยละเอียดเพ่ือนาเร่ืองมาเสนอในรายการ แอปพลิเคชัน iTunes ของบริษัท Apple อันเป็น ตั้ ง ข้ อ ส ง สั ย เ กี่ ย ว กั บ ก า ร ตั ด สิ น ค ดี ดั ง ก ล่ า ว แ พ ล ต ฟ อ ร์ ม พ อ ด ค า ส ต์ ข น า ด ใ ห ญ่ ที่ สุ ด นั้ น ตลอด 12 ตอนท่ีนาเสนอเร่ืองน้ี โคนิกพยายาม มีพอดคาสต์ให้เลือกฟังถึงกว่า 700,000 ช่อง เฟ้นหาหลักฐานประกอบอย่างถี่ถ้วน โดยตาม จึงเทา่ กบั มเี พ่อื นใหพ้ บเจอมากมาย สัมภาษณผ์ ู้เกี่ยวข้องกบั คดนี ห้ี ลายราย พอดคาสต์เร่ิมต้นขึ้นง่าย ๆ เม่ือปี 2004 ในสถานะนวัตกรรมด้านเทคโนโลยี ซึ่งโดยมาก โคนิกซ่งึ ไดร้ บั รางวัลมากมาย รวมถึงรางวัลพีบอดี้ สถานีวิทยุต่าง ๆ จะใช้บันทึกรายการเก็บไว้ (Peabody Award) ซ่งึ มอบใหร้ ายการพอดคาสต์ แลว้ เปดิ ใหผ้ ู้ฟังเข้าไปดาวน์โหลดทางอินเทอร์เน็ต เป็นคร้ังแรก บังเอิญพบเส้นทางใหม่ที่ยกระดับ ได้ตามสะดวก ชื่อเรียกพอดคาสต์ (Podcast) พลังของเสียงข้ึนไปอีก แม้จะยึดรายการข่าว เองก็สะท้อนลักษณะน้ัน เบน แฮมเมิสลีย์ ทั่วไปเป็นพื้นฐาน แต่ลีลาของรายการชุด Serial นั ก จั ด ร า ย ก า ร แ ล ะ นั ก ข่ า ว ส า ย เ ท ค โ น โ ล ยี ก็ไม่เหมือนรายการใดที่เคยหาฟังได้ทางวิทยุ ชาวบริติชเป็นผู้คิดช่ือน้ีขึ้นโดยไม่ตั้งใจ เขาหยิบ ประการแรกสุดคือ เธอพูดคุยในรายการ ช่ือ iPod (เคร่ืองเล่นพกพาที่ Apple คิดผลิตขึ้น เหมอื นกับวา่ ผู้ฟงั เป็นเพอ่ื นร่วมแสวงหาความจริง ให้ผู้ใช้ดาวน์โหลดไฟล์เสียงได้) ไปผสมกับคาว่า ไปกับเธอ ทาให้เครือข่ายส่ือสังคมต่าง ๆ Broadcast (ออกอากาศ) น า ไ ป ถ ก เ ถี ย ง กั น ต่ อ อ ย่ า ง คึ ก คั ก Serial จึงกลายเป็นรายการฮิตติดลมบนในชั่วพริบตา 39 วารสารความรว่ มมอื กบั ตา่ งประเทศ กรกฎาคม-กนั ยายน 2563 ยอดดาวน์โหลดพุ่งสูงถึง 5,000,000 ครั้ง ภายในเดอื นแรก
ค ว า ม นิ ย ม ร า ย ก า ร ชุ ด Serial ก ร ะ ตุ้ น ใ ห้ ไม่เหมือนวิทยุซ่ึงผู้จัดรายการ พอดคาสต์เฟ่ืองฟูขึ้นทันทีเม่ือค่ายส่ือต่าง ๆ ต้องเจอปัญหาผู้ฟงั ชอบเปล่ียนคล่ืน แข่งกันลอกเลียนความสาเร็จของรายการนี้ แค่ขยับน้ิวหน่อยเดียวก็เปล่ียน เป็นแถว เกิดรายการพอดคาสต์ซ่ึงเสนอ ช่องรับฟงั ได้แล้ว ผู้จัดรายการ เ ร่ื อ ง อ า ช ญ า ก ร ร ม ท่ี เ กิ ด ข้ึ น จ ริ ง ต า ม ม า อี ก นั บ ไ ม่ ถ้ ว น ที่ ท า ไ ด้ ดี ม า ก ไ ด้ แ ก่ ร า ย ก า ร พอดคาสต์มั่นใจว่าผู้ฟงั อยากรับฟงั In The Dark ซ่ึงเรียงร้อยเรื่องราวได้ชวนติดตาม รายการท่ีตนจัดแน่ และบางคร้งั กเ็ ปดิ โปงกรณีท่ตี ดั สินคดผี ิดพลาด รายการนี้เห็นผลตอบรับทันที คนวัยหนุ่มสาวรุม ในอินเดียนั้น รายการพอดคาสต์ก็ขยายตัว วั ฒ น ธ ร ร ม ส มั ย นิ ย ม สมัครรับฟังพอดคาสต์ฟรีรายการนี้กันมากมาย รวดเร็วผ่านเครือข่ายต่าง ๆ อาทิ IVM Podcasts เร่ืองสัพเพเหระ และข่าวสาร ภายในเวลา 2 ปี The Daily แต่ละตอนมียอด รายการ The India Explained Podcast ดาวน์โหลดรับฟังถึง 2,000,000 ครั้ง จากนั้น ซึ่งรับประกันว่านาเสนอ “ข้อมูลสด ๆ ว่าด้วย นับแต่นั้นก็เกิดรายการพอดคาสต์ เพ่ิมขึ้น ในเดอื นกันยายน 2019 ก็ทะยานถึงจุดหมายใหม่ สารพัดส่ิงท่ีเป็นอินเดียแท้ ๆ” ได้รับความนิยม หลายแนวหลากรูปแบบ อาทิ รายการประเภท คอื ยอดดาวน์โหลดรวมท้ังสิ้น 1,000 ลา้ นครัง้ อย่างล้นหลาม แถบตะวันออกกลางมีพอดคาสต์ พูดคุยซึ่งผู้จัดแสดงความคิดเห็นสั้น ๆ คม ๆ ประมาณ 400 รายการ พอดคาสต์แนวนาเสนอ ในประเด็นหลักที่คนท่ัวไปสนใจอยู่ รายการแนวนี้ แม้ในช่วงห้าปีท่ีผ่านมาสหรัฐฯ และแวดวงคนใช้ ข้อวิตกกังวลชื่อรายการ Eib (ภาษาอาหรับ ไม่ต้องลงทุนมาก เพียงแต่ผู้จัดรายการต้องสร้าง ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ จ ะ ค ร อ บ ง า ต ล า ด พ อ ด ค า ส ต์ แปลว่า น่าอาย) ซ่ึงผลิตจากกรุงอัมมาน ประเทศจอร์แดน สายสัมพันธ์กับผู้ฟังเก่ง บวกกับเลือกประเด็น แ ต่ แ น ว โ น้ ม ดั ง ก ล่ า ว ก็ เ ริ่ ม จ ะ เ ป ลี่ ย น ไ ป แ ล้ ว สารวจชีวิตคนธรรมดาท่ัวไป ตลอดจนข้อห้าม เด่น ๆ ซึ่งดึงดูดผู้ฟัง หัวข้อท่ีรายการหยิบยก เมื่อเดือนมีนาคม 2019 บริษัทเทคโนโลยีโสต ทางสงั คม วฒั นธรรม และศาสนา มาคุยก็สัพเพเหระเช่นกัน มีท้ังแนวผู้หญิงคุยกัน ช่ื อ Voxnest ร า ย ง า น ว่ า จ า น ว น ผู้ รั บ ฟั ง อย่างรายการ Call Your Girlfriend ซึ่งมัก พอดคาสต์ขยายตัวสูงที่สุดในแถบลาตินอเมริกา ส่วนผู้ฟังในจีนมักชอบรับฟังรายการเสียงแบบ เปิดอกพูดคุยกันอย่างเฮฮา “สาหรับเพ่ือนซ้ี โดยเฉพาะอย่างย่ิงในประเทศชิลี อาร์เจนตินา ที่แตกต่างออกไป โดยจ่ายเงินเล็กน้อยเพ่ือฟัง ทางไกลทุกหนแห่ง ” ส่วนรายการชวนหัว เปรู และเมก็ ซิโก รายการ “ให้ความรู้” เพื่อการศึกษา หรือติดตาม ว่าด้วยการเป็นพ่ออย่าง Podfathers ก็มุ่ง แพลตฟอร์มเสียงแบบตอบโต้ได้ทันที อย่างเช่น เจาะกลมุ่ ผฟู้ ังเพศชายเป็นหลกั ท้ังน้ีเห็นได้จากความสาเร็จของรายการราดิโอ รายการ Himalaya ซึ่งผู้ฟัง 600 ล้านคนได้ร่วม รูปแบบหนึ่งท่ีพบท่ัวไปคือ การจัดให้นักข่าวย่อย อัมบูลานเต้ (ดูหน้า 42) ท่ีเป็นพอดคาสต์ ร้องเพลงและพูดคุยเรื่องครอบครัว หรือรับฟัง ข่าวรอบสัปดาห์ในท่วงทานองสบาย ๆ ไม่เป็น แนวเล่าข่าวด้วยภาษาสเปนรายใหญ่ท่ีสุดในโลก หนังสือเสียงด้วยกัน รายการ Gushi FM ที่ได้ ทางการ หลายรายการเน้นให้ผู้ฟังรู้สึกเป็นกันเอง ร ว ม ทั้ ง ผ ลิ ต ร า ย ก า ร เ ป็ น ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ ซึ่ ง จั ด แรงบันดาลใจจากรายการต่าง ๆ ของอเมริกา เหมือนคนวงใน เช่น รายการนิตยสารออนไลน์ ที่สถานีวิทยุแห่งชาติ (National Public Radio เช่น This American Life นาเสนอเรื่องราว Slate’s Political Gabfest ในสหรัฐฯ หรอื NPR) ในสหรฐั ฯดว้ ย ซึ่งคนจีนธรรมดาสามัญจากหลากหลายพ้ืนเพ ส่วนรายการ Le Nouvel Esprit Public ในฝร่ังเศสก็ใช้วิธีคล้ายกัน แต่แขกรับเชิญ เปน็ ผบู้ อกเลา่ ใ น ร า ย ก า ร นี้ จ ะ เ ป็ น พ ว ก ปั ญ ญ า ช น ท่ี คุ้ น ห น้ า ในสังคม ดาเนินรายการโดยฟิลิป เมเยอร์ นักข่าว รุ่นเก๋าซึ่งเร่ิมจัดทารายการพอดคาสต์หลังจาก รายการวทิ ยุของเขาถกู ปดิ ไป พอดคาสต์แนววัฒนธรรมสมัยนิยมก็แพร่หลาย รวดเร็ว เช่น Eyes on Gilead พอดคาสต์ สัญชาติออสเตรเลียซ่ึงเสนอเน้ือหาเกี่ยวกับ รายการโทรทัศน์ยอดนิยมอย่าง A Handmaid’s Tale รายการสัมภาษณ์ทางวิทยุก็แปลงร่าง เป็นพอดคาสต์ได้ดีเช่นกัน ตัวอย่างที่ได้รับ ความนิยมมากคือ The Joe Rogan Show ซึ่ ง ด า ว ต ล ก ช า ว อ เ ม ริ กั น ผู้ น้ี เ ชิ ญ เ ห ล่ า ค น ดั ง มากมายมาสัมภาษณใ์ นรายการ สอ่ื มวลชนจับสังเกตได้ไวว่าพอดคาสต์มีศักยภาพ ในการขยายวงผู้รับสื่อ เมื่อปี 2017 หนังสือพิมพ์ รายวัน The New York Times เริ่มจัดทา พอดคาสต์ชื่อ The Daily รายการเล่าข่าว ซึ่งโฆษณาว่า “ฟังข่าวแบบน้ีสิใช่” จัดโดย มคิ าเอล บาร์บาโร นกั ข่าวสายการเมืองของไทมส์ ใช้สูตรง่าย ๆ คือเลือกข่าวใหญ่ประจาวันนั้น มาเสนอสักเร่ืองสองเร่ือง แล้วอาศัยฝีมือช่าชอง ของนักข่าว 1,300 คนท่ีทางานให้หนังสือพิมพ์ ฉบับนบี้ อกเลา่ ความรู้รอบดา้ นที่เกยี่ วพันกับข่าวน้ัน พ อ ด ค า ส ต์ ข่ า ว ร า ย ก า ร นี้ ใ ช้ ลี ล า พู ด คุ ย แบบกันเองตามสบายควบคู่ไปกับเสียงประกอบ ทสี่ รา้ งสรรค์ วารสารความรว่ มมอื กบั ตา่ งประเทศ กรกฎาคม-กันยายน 2563
ร า ย ก า ร พ อ ด ค า ส ต์ มี บ ท บ า ท เ ป็ น เ ค รื่ อ ง มื อ วันวิทยุโลก ซึ่ ง อ า จ ใ ช้ ดึง คนใ ห้ มาร วมตัวกั นได้ดีมาก การจะผลิตพอดคาสต์ท่ีดึงดูดให้ผู้ฟังมีส่วนร่วม ทาไมวันวิทยุสากลจึงเป็นวาระสาคัญ ? ไ ด้ น้ั น จ า เ ป็ น ต้ อ ง รู้ ซึ้ ง ถึ ง แ ก่ น แ ท้ ใ น ก า ร ผ ลิ ต รายการเสียง รวมทั้งเข้าใจว่าจะใช้เสียงเป็นสื่อ วิทยุสหประชาชาติเร่ิมออกอากาศเม่ือวันท่ี 13 กุมภาพันธ์ 1946 ได้อย่างไร เม่ือมีความรู้เช่นนี้พร้อมแล้วใคร ๆ จึงเป็นธรรมดาท่ีจะเลือกใช้วันดังกล่าวเป็นวาระเฉลิมฉลองสื่อวิทยุ ก็จัดรายการพอดคาสต์ได้แทบทั้งน้ัน ข้อนี้ ท่ีประชุมสมัชชาสมัยสามัญของยูเนสโกเม่ือปี 2011 ได้ประกาศให้มีวันวิทยุ เอ้ืออานวยให้สังคมได้ยินเสียงของคนชายขอบ สากลตามที่ประเทศสเปนริเร่ิมเสนอเป็นวาระ ในปีถัดมาสมัชชาใหญ่ เช่น คนกลุ่มน้อยในทางการเมืองหรือศาสนา สหประชาชาติก็ลงมติรับรองอย่างเป็นเอกฉันท์ โดยประกาศให้เป็นวันสากล กลุ่มเพศทางเลือก (LGBQTI) กลุ่มคนพิการ ของสหประชาชาติ คนสูงอายุ และอนื่ ๆ ทาไมจึงต้องมีวันระลึกถึงวิทยุ? ก็เพราะวิทยุเป็นสื่อต้นทุนต่าซ่ึงนิยมใช้กัน ปัจจุบันน้ีกลุ่มชุมชน องค์กรพัฒนาเอกชน ท่วั ไป สามารถเข้าถงึ พืน้ ท่ีทุรกนั ดารห่างไกลอย่างท่สี ดุ และผู้คนซ่ึงด้อยโอกาส กลุ่มนักกิจกรรม และสถาบันสารพัด ต่างก็คิด มากท่ีสุด คล่ืนวิทยุยังใช้งานได้แม้ยามท่ีใช้ส่ืออ่ืนไม่ได้เลย เพ่ือจะสื่อสาร ผลิตรายการพอดคาสต์ข้ึนเผยแพร่ อย่างเช่น ในยามฉุกเฉิน หรือเพ่ือติดตามสถานการณ์ภัยธรรมชาติ ถึงท่ีสุดแล้ววิทยุ พ อ ด ค า ส ต์ ข อ ง อ ง ค์ ก ร ม ะ เ ร็ ง อ อ ส เ ต ร เ ลี ย ก็คือส่ือท่ีสามารถโอบรับการพัฒนาด้านเทคนิคได้เต็มที่ เช่นการ ใช้ (Cancer Council of Australia) เน้นให้ข้อมูล บรอดแบนด์และการถ่ายทอดเสียงแบบดิจิทัล (Digital Audio Broadcasting และการสนับสนุน ตลอดจนนาเสนอผลงานวิจัย หรือ DAB) รวมทง้ั ปรับใช้กับอปุ กรณ์เคลอ่ื นที่ต่าง ๆ ได้ดี เ ด่ น ๆ ข อ ง ม ห า วิ ท ย า ลัย ศ า ลฎี ก า ข อ ง วัตถุประสงค์ของวันวิทยุสากลคือมุ่งกระตุ้นให้คนท่ัวไป ตระหนัก รั ฐ วิ ก ต อ เ รี ย ใ น อ อ ส เ ต ร เ ลี ย ก็ ท า พ อ ด ค า ส ต์ ถึงความสาคัญของวิทยุ และสนับสนุนให้ผู้กาหนดนโยบายใช้ วิทยุ แนวบุกเบิกซ่ึงเรียกได้ว่า “แหวกแนวและ สร้างช่องทางเข้าถึงข้อมูล และมุ่งส่งเสริมความร่วมมือในหมู่ผู้ผลิตรายการ ทา้ ทาย” โดยมงุ่ ทาให้ระบบยตุ ิธรรมโปร่งใสย่ิงข้ึน ท่วั โลก คือรายการ Gertie’s Law ที่นับเป็นพอดคาสต์ วัตถุประสงค์ดังกล่าวบรรลุผลเป็นอย่างดี วันวิทยุสากลถือเป็นวันสากล ยอด นิย ม (ซ่ึ งผู้เ ขีย นเ ป็นผู้ผลิตท่ี ปรึ กษา ของสหประชาชาติซ่ึงได้รับความนิยมมากที่สุดวันหน่ึง สถานีวิทยุหลายร้อย ของรายการ) ซ่ึงให้บรรดาผู้พิพากษาพูดคุย แห่งทั่วโลกต่างร่วมฉลองวันน้ีกันทุกปี เว็บไซต์ทางการสาหรับวันน้ีมีผู้กด แลกเปลย่ี นเร่อื งงานท่ีทา เข้าชมเฉล่ียปีละกว่า 100,000 ครั้ง หลังจากประเด็นเร่ืองความเสมอภาค ในโลกอันวุ่นวายด้วยข้อมูลผิดเพ้ียน และ ทางเพศ (ปี 2014) เยาวชน (ปี 2015) และกีฬา (ปี 2018) ประเด็นหลัก ความไม่ไว้วางใจสื่อ ความน่าเชื่อถือของรายการ ทว่ี ันวิทยุสากล 2020 เลือกใช้ก็คือเรอ่ื งความหลากหลาย พอดคาสต์เปิดโอกาสให้อย่างแสนพิเศษ ต้ังแต่ ใช้บอกเล่าเร่ืองแนวสืบสวนเจาะลึก และ มุ่งแสวงหาความเป็นธรรมในสังคม ไปจนถึง ใช้สร้างความโปร่งใส ความไว้วางใจ และ การหลอมรวมคนในสงั คมเขา้ ด้วยกัน โซบนั แม็คฮิวจ์ เป็นทั้งนักเขียน นักประวัติศาสตร์ มุขปาฐะ และผู้ผลิตรายการพอดคาสต์ เธอเป็น รองศาสตราจารย์ประจาภาควิชาวารสารศาสตร์ ของมหาวทิ ยาลัยวอลลองกอง ประเทศออสเตรเลีย ร่วมอานวยการผลิตพอดคาสต์แนวเล่าเร่ืองระดับ รางวัลหลายรายการ รวมทั้ง Phoebe’s Fall, Wrong Skin และ The Last Voyage of the Pong Su 41 วารสารความร่วมมอื กับต่างประเทศ กรกฎาคม-กันยายน 2563
รายการวทิ ยุ “ราดโิ ออัมบลู านเต้”: คขอลงังชแหาว่งลเราื่อตงินรอาวเมริกัน โลโกร้ ายการราดโิ ออมั บลู านเต้ รายการ กูรูชำวโคลอมเบียละเมิดทำงเพศผูห้ ญิงหลำยสิบคนขณะแสรง้ ทำ ว่ำ ในรูปแบบพอดคาสต์จดั จาหน่ายแต่เพยี ง รกั ษำโรคใหพ้ วกเธอ นักเขียนหญิงชำวคิวบำหวนคิดถึงอดีตวัยเยำว ์ ผูเ้ ดยี วโดย ของเธอในกรุงฮำวำนำ นักดำรำศำสตรส์ มัครเล่นผูส้ ำมำรถถ่ำยรูป ซึง่ เป็นองค์กรด้านสอื่ ทีไ่ ม่แสวงผลกาไร กำรเกิดปรำกฏกำรณ์ซูเปอรโ์ นวำ กำรระเบิดของดำวฤกษจ์ น เกิด ของสหรฐั อเมรกิ า แสงเจิดจำ้ มหำศำล ไวไ้ ดจ้ ำกระเบียงบำ้ นของเขำในเมืองโรซำรโิ อ อำรเ์ จนตนิ ำ เรอื่ งรำวดงั กล่ำวเป็ นเพยี งส่วนหนึ่งของเรอื่ งอนั หลำกหลำย สมั ภรีณ์ ครโ์ไ์นร แกเ์โ์ ที่ถูกนำมำเล่ำออกอำกำศในรำยกำรรำดิโอ อัมบูลำนเต ้ ซงึ่ ใหบ้ รกิ ำร โดย ลูเซย อเิ กลเซยส คนุ ทส ์ ยูเนสโก ในรูปแบบพอดคำสตใ์ นภำษำสเปนมำนำนถึง ปี แลว้ โดยจัดเต็ ม แปลโดย พศิ วรส ปทุมุตต์ ์ ั ี ในดำ้ นจินตนำกำร และควำมทุ่มเท เพื่อเพิ่มจำนวนผูฟ้ ังอยู่ตลอดเวลำ คำโรไลนำ แกเรโร หนึ่งในผูร้ ว่ มก่อตงั้ บอกเล่ำพนั ธกจิ ของกำรออกอำกำศ คุณได้ไอเดียรายการ ราดิโอ อัมบูลานเต้ ในรปู แบบใหม่ใหเ้ รำฟัง มาจากไหน? เมอื่ 8 ปีท่แี ล้ว แดเนียล อลาร์กงกับฉันยังพานัก ในตอนนั้นคุณกาลังคิดถึงผู้ฟังชาวลาติโน ท า ไ ม คุ ณ ถึ ง เ ลื อ ก ใ ช้ รู ป แ บ บ ร า ย ก า ร แ บ บ อยู่ที่ซานฟรานซิสโก เขาเป็นนักเขียนส่วนฉัน ซ่ึ ง ก็ คื อ ผู้ อ พ ย พ ท่ี อ า ศั ย อ ยู่ ใ น ส ห รั ฐ อ เ ม ริ ก า พอดคาสต์ แทนการออกอากาศทางวิทยุ เป็นผู้ส่ือข่าว เขาเป็นคนเปรู ฉันเป็นคน ทพ่ี ดู ภาษาสเปนใชห่ รอื ไม่? แบบดงั้ เดิม? โคลอมเบีย เราอพยพมาด้วยเหตุผลที่ต่างกัน ตอนที่ฉันย้ายมาอยู่ที่อเมริกากว่า 20 ปีมาแล้ว แรกเริ่มเลย พวกเราก็คือผู้ฟังวิทยุธรรมดา ๆ แต่เราทั้งคู่ต่างมีสายใยผูกพันกับภูมิภาคลาติน มันเหมือนกับว่าฉันหยุดการเป็นคนโคลอมเบีย ท่ี ไ ม่ รู้ เ ล ย ว่ า อุ ต ส า ห ก ร ร ม ส่ื อ วิ ท ยุ เ ข า ทา ง า น อเมริกากับวัฒนธรรมที่พวกเราเติบโตข้ึนมา แล้วกลายมาเป็นคนลาตินอเมริกา ฉันมีเพ่ือน กันอย่างไร เราเร่ิมด้วยการหาแหล่งเงินทุน นั่นคือ วัฒนธรรมของพ่อแม่เราและภาษาสเปน โคลอมเบียไม่มากเหมือนเมื่อก่อน เพ่ือน ๆ สาหรับโครงการของเราท่ีอเมริกา แล้วจึงรู้ว่า เราทั้งคู่มักจะวิจารณ์รูปแบบท่ีครองตลาดสถานี มาจากชิลี อาร์เจนตินา เวเนซูเอลา เปอร์โตริโก ไม่มีท่ีว่างสาหรับสถานีวิทยุถ่ายทอดสดอีกแล้ว วิ ท ยุ ส า ธ า ร ณ ะ ภ า ค ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ ท่ี นี่ และลาติโนที่เกิดในอเมริกา เป็นการ เปิด และก็ไม่มีใครจะให้เงินทุนเราเพ่ือการน้ีด้วย ในสหรัฐอเมริกา เรามองว่าเป็นอะไรที่อยู่ย้ังยืน โลกทัศน์ใหม่ให้กับฉัน การปะทุทางวัฒนธรรม ฉับพลันทันใด เราก็มองออกว่าอนาคตคือโลก ย ง แ ละ มีก า ร บอ ก เ ล่าเ รื่ อ ง ร าวจ าก ปา ก อันหลากหลายในอเมริกาทาให้ฉันตระหนักว่า ดิจิทัล หากรายการราดิโออัมบูลานเต้ของเรา ของตัวละครเอง เราชอบรูปแบบนี้จริง ๆ และ ฉันรู้เ ร่ืองเ ก่ียวกับลาตินอ เมริก าไม่มากอ ย่าง ท่ี จะมผี ู้รบั ฟงั ก็จะต้องออกมาในรูปแบบสอื่ ดจิ ทิ ลั รู้สึกเสียใจว่าไม่มีรายการคล้าย ๆ แบบน้ี ฉันเคยคิด ฉันเลยมีไอเดียท่ีจะนาเสนอเนื้อหา ในภาษาของเราเลย เนื้อหาภาษาสเปนสาหรับ ที่ไม่ใช่สาหรับผู้อพยพเท่านั้น แต่เป็นข้อเท็จจริง คุณสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้ฟังของคุณอย่างไร? พวกเราในอเมริกามีคุณภาพไม่ดีนัก ดังน้ัน เก่ียวกับความเป็นอยู่ที่น่ี เพราะลึก ๆ แล้ว ทุ ก วั น นี้ เ ป็ น ไ ป ไ ม่ ไ ด้ ที่ คุ ณ จ ะ ล ะ เ ล ย เ พิ ก เ ฉ ย พวกเราจึงลงเอยด้วยการบริโภคเนื้อหาและส่ือ พวกเรามองว่าสหรัฐอเมริกาเป็นประเทศลาติน กับผู้ฟังของคุณ โลกดิจิทัลเปิดช่องทางให้เกิด เป็นภาษาอังกฤษ ในเม่ือภูมิภาคลาตินอเมริกา อเมริกาอีกประเทศหนึ่ง ซ่ึงเต็มไปด้วยผู้คนที่พูด การปฏิสัมพันธ์แบบทันใจ ซึ่งอาจจะหายาก เป็นขมุ คลงั แห่งเร่ืองราวและนักเล่าเร่ือง เราเลย ภาษาสเปน กับการออกอากาศแบบเดิม ที่จริงเรามองผู้ฟัง คิดว่ามีความจาเป็นที่จะต้องเล่า เร่ืองราว ต้ังแต่แรกเลย เราต้องการให้เร่ืองราวของเรา ของเราไม่ใช่เป็นแค่ผู้ฟัง หากแต่เป็นชุมชน ความเป็นไปในรูปแบบน้ันบ้าง... จึงตัดสินใจ มีความดึงดูดความสนใจที่เป็นสากล เพื่อท่ี ของผู้ฟังท่ีจะไปบอกเล่ารายการของเราต่อไป จะสร้างรายการด้วยตวั เราเอง ทุกคนจะได้เชื่อมโยงเข้ากับตัวเองได้ ไม่ควร ยังเพ่ือนฝูงของพวกเขา และส่งคาติชมมา มี ป ร ะ เ ด็ น ท่ี น่ า จ ะ เ ป็ น ข่ า ว ม า ก จ น เ กิ น ไ ป ให้เราด้วย ผู้ฟังรู้สึกได้ว่าเขามีสิทธิ์มีเสียง หรือเป็นเรื่องเฉพาะท้องถ่ินมากไป ทว่าเรื่อง ในรายการ และสามารถเรียกร้องอะไร ๆ ได้ ท่ีเรานาเสนอจะต้องสนุกสนานพอที่จะทาให้ บางครั้งก็ช้ีให้เห็นความผิดพลาดของเราด้วย ผูฟ้ ังในเขตบรองซ์ในนิวยอร์กสนใจใคร่รู้เรื่องเล่า สรปุ คือเรามชี ่องทางสื่อสารโดยตรงกับผ้ฟู งั จากชิลี หรือทาให้ผู้ฟังจากโคลอมเบียรู้สึกเพลิน จนอยากติดตามเรอ่ื งราวจากกวั เตมาลา มาทารายการวทิ ยุกนั เถอะ ชุดภาพประกอบ โดยมาเรยี ลูเก้ ศลิ ปินชาวอารเ์ จนตนิ า ในวาระเฉลมิ ฉลองการผลติ รายการราดิโอ อมั บลู านเตค้ รบ ปี ในปี วารสารความรว่ มมอื กบั ตา่ งประเทศ กรกฎาคม-กันยายน 2563
ไอเดียท่ีสองเป็นโครงการระยะยาว เรากาลัง ม อ ง ห า โ อ ก า ส ด้ า น ท รั พ ย์ สิ น ท า ง ปั ญ ญ า จ า ก การสร้างหนังหรือละครซีรีส์ทางทีวี เราคิดว่า สักวันหนึ่งเร่ืองบางเร่ืองจากแคตตาล็อกของเรา อาจจะนามาใช้เป็นโครงเรื่องของนวนิยายหรือ บทละครซ่งึ จะทาใหเ้ ราไดร้ ับคา่ ลขิ สิทธิ์ คณุ คดั สรรเรอื่ งราวมาออกรายการอยา่ งไร? เรามองเร่ืองราวที่มาพร้อมกับตัวละครมากกว่า จะไปเลือกท่ีหัวข้อของเรื่อง หัวใจของการเล่า เรอ่ื งจะตอ้ งมีตอนต้นและตอนจบโดยต้องไม่เป็น การเล่าแบบตรง ๆ ท่ือ ๆ การที่เรามีผู้ฟังอยู่ทั่ว ทกุ มมุ โลกโดยเฉพาะในเมืองต่าง ๆ ของอเมริกา และลาตินอเมริกาแม้กระท่ังในกรุงลอนดอน เราจงึ ได้รับเรือ่ งเล่าเข้ามาตลอดท้งั ปี ชมรมผู้ฟั ง รายการราดิโออัม บู ลานเต้ ยกตัวอย่าง เช่น เรารู้ดีว่าเรื่องเกี่ยวกับผู้ค้า มีลักษณะคล้าย ชมรมหนังสือ ต่างกันทีเ่ ป็ น ยาเสพติดจะดึงดูดความสนใจจากผู้ฟังจานวนมาก การมารวมตวั กนั เพอื่ ฟังรายการออนไลน์เป็นตอน ๆ แต่คนอ่ืน ๆ ก็ทาเร่ืองพวกนี้แล้ว และ เรา ก็ไม่อยากให้ความสาคัญกับพวกคนช่ัว ๆ ด้วย เม่ือ 3 ปีก่อน เราจ้างผู้ส่ือข่าวชาวโคลอมเบีย ซ่ึงเป็นองค์กรด้านข่าวและส่ือท่ีไม่แสวงผลกาไร เราคิดว่าเราควรให้ความสนใจในเรื่องอ่ืน ๆ ช่ือฮอร์เฆ คาราบัลโญ มาทาหน้าที่บรรณาธิการ ให้ทาหน้าท่ีเป็นตัวแทนจัดจาหน่ายผลงาน จะดีกว่า ผู้ฟังช่ืนชอบเรื่องที่มีการบอกเล่าดี ด้านการขยายธุรกิจเพื่อส่งเสริมสัมพันธภาพ ของเราในรูปแบบพอดคาสต์แต่เพียงผู้เดียว มีหลาย ๆ ฉากและหลากหลายเสียง เป็นเรื่อง ร ะ ห ว่ า ง ร า ย ก า ร กั บ ชุ ม ช น ผู้ ฟั ง ข อ ง เ ร า โดยจ่ายค่าลิขสิทธ์ิให้เรา ทุก ๆ ปีเราจะจัดงาน ที่ทาให้ผู้ฟังสามารถสร้างมโนภาพตามเร่ือง ให้แข็งแกร่งย่ิงข้ึน ในการน้ีเราได้เปิดช่องทาง อีเวนต์และถ่ายทอดสดตามโรงภาพยนตร์/ ที่เช่ือมโยงพวกเขาสู่ภาพในวัยเยาว์ เรื่องที่ให้ ใหม่ ๆ ในการสอื่ สาร เช่น เปิดกลุ่มผ่านทางแอป โรงละคร แล้วนาเสนอรายการกับสมาชิก คุณค่ากับความใฝ่ฝันและความเพียรพยายาม WhatsApp เพ่ือสื่อสารกับกลุ่มผู้ฟังท่ีไฟแรง ทต่ี อ้ งการสนับสนุนรายการของเราเป็นประจา เราพบเจอเรื่องราวหลากหลายทุกวี่ทุกวัน ที่สุด ทาให้เราปรับแต่งผังรายการให้ดีย่ิงขึ้นได้ ตามส่ือ ทว่าในรายการของเรา เราสามารถเล่า ในขณะเดียวกันการสื่อสารกับผู้ฟังก็ยิ่งตรงจุด เมื่อไม่นานมานี้ เราพยายามจะผลิตสินค้า เรื่องพวกน้ีได้อย่างไม่ต้องเร่งรีบ เราสนุกกับ มากกว่าเดิม เมื่อไม่นานมาน้ี เราเพิ่งเปิดตัว ตัวใหม่ ๆ จากเน้ือหารายการของเราที่มีอยู่แล้ว การเจาะลึกลงไปในแต่ละเรื่อง ซ่ึงผู้ฟังก็ชื่นชอบ ‘ชมรมผู้ฟัง’ ซ่ึงคล้าย ๆ ‘ชมรมหนังสือ’ เพื่อเพ่ิมมูลค่า การผลิตใช้ทุนไม่มากและจะช่วย ตรงจุดนี้ เวลาในการผลิตแต่ละเรื่องเฉลี่ยแล้ว ท่ีต่างกันคือ เป็นการฟังจากรูปแบบพอดคาสต์ สร้างรายได้ให้เราจากแคตตาล็อก ตัวอย่างเช่น 6 เดอื น โดยผู้ฟังจะมารวมตัวกันเพ่ือฟัง เร่ืองราว ในต อ นนี้ เ ร าก า ลัง มอ ง หาแ หล่ ง ทา ร า ย ได้ เ พ่ิ ม คาถามสุดท้าย ซ่ึงน่าจะเป็นคาถามแรกก็คือ จากรายการของเราตอนหนึ่งผ่านทางออนไลน์ อีก 2 ช่องทางจากรายการ 150 ตอนที่มีอยู่แล้ว ทาไมรายการถงึ ชื่อ ราดโิ ออัมบลู านเต้? จากนั้นกม็ ีการวพิ ากษว์ จิ ารณ์ตามมา ในแคตตาลอ็ กของเรา คุณใช้โมเดลธุรกิจรูปแบบไหน ? แล้วคุณ ก้าวแรกของเรา คือการเปิดตัว แอป Lupa เราใช้เวลานานมาก ๆ กว่าจะเฟ้นหาชื่อรายการ ประคบั ประคองอยา่ งไรใหม้ นั ยั่งยืน? เพื่อช่วยผู้เรียนภาษาสเปนในระดับปานกลางถึง วิทยขุ องเราได!้ มันหมายถงึ คนขายของท่ีเข็นรถเร่ ระดับสูงสามารถฝึกภาษาได้จากการฟังรายการ ไปตามท้องถนน ซ่ึงใช้คาว่า ‘อัมบูลานเต้’ รายการราดิโออัมบูลานเต้เป็นโครงการท่ีต้องใช้ ของเรา ทั้งน้ีเพราะสัดส่วนผู้ฟังของเราจานวน พวกเขาปรากฏตัวอยู่ทุกแห่งตามเมืองในลาติน เงนิ มาก ปจั จบุ ันเรามบี ุคลากร 20 คน ท่ีไม่ได้ทา มากอยู่ในกลุ่มผู้เรียนภาษาสเปนในอเมริกาและ อเมริกา เป็นคนกล้าแกร่งไม่ยอมแพ้อะไรง่าย ๆ หน้าที่ผลิตข่าวหรือผลิตบทความจานวนเท่านี้ แคนาดา เราตื่นเตน้ กับโครงการนีม้ าก พวกเขาจะเดินไปตามพื้นที่สาธารณะทั่วทั้งเมือง เท่าน้ันชิ้นต่อวัน พวกเราผลิตรายการ 30 ตอน ด้วยความอุตสาหะ เรารู้สึกว่านี่คือภาพลักษณ์ ต่อปี ซ่งึ ไม่เยอะแต่ใช้เวลาในการผลิตนานเพราะ ท่ีสะท้อนตัวตนของพวกเราได้ดีย่ิง และ ต้องผ่านงานบรรณาธิการกิจอย่างพิถีพิถันและ เ ร า ก็ ชื่ น ช อ บ ไ อ เ ดี ย ข อ ง โ ล โ ก้ ที่ เ ป็ น ภ า พ ค น เข้มงวดมาก ๆ เราได้รับการสนับสนุนจากมูลนิธิ กาลังเขน็ วทิ ยุ 2-3 แห่ง และ 3 ปีที่ผ่านมาเราเซ็นสัญญากับ National Public Radio (NPR) ฉบั พลนั ทนั ใด เราก็มองออกวา่ อนาคต คือโลกดจิ ิทลั หากรายการราดิโอ อมั บลู านเตข้ องเราจะมีผรู้ บั ฟงั ก็จะต้องออกมาในรปู แบบสื่อดิจิทลั 43 วารสารความร่วมมอื กับต่างประเทศ กรกฎาคม-กันยายน 2563
เสียง ที่มองไม่เห็น เมื่อขำดภำพที่เป็ นรูปธรรมผูฟ้ ัง พยายามสรา้ งภาพในความคดิ คานึง ลั ก ษ ณ ะ เ ฉ พ า ะ ข อ ง บุ ค ค ล ซ่ึ ง เ ร า อ นุ ม า น จึง อ ำ ศัย พ ลัง ก ร ะ ตุ ้น ข อ ง เ สี ย ง จากเสียงท่ีได้ยินน้ันข้ึนอยู่กับ ลักษณะ จ ำ ก วิ ท ยุ ช ัก น ำ จิ ตใ ห ้ด ำ ดิ่ งไ ป เวลาฟังเสียงใครสักคน เราจะวาดภาพ ของเสยี งเป็นสว่ นใหญ่ ระดับหรือความสูงต่า กับเรือ่ งรำว แลว้ สรำ้ งภำพในหัว เจ้าของเสียงนัน้ ข้นึ มาในหัวตามลักษณะเสียง ของน้าเสียงจัดว่าสาคัญที่สุดในแง่การรับรู้ ทชี่ ว่ ยใหจ้ ดจอ่ กบั เนือ้ หำทไี่ ดย้ นิ ท่ีได้ยิน ในงานวิจัยซ่ึงโอลาตซ์ ลาร์เรีย และ ปกติเสียงสูงมักถูกโยงกับอารมณ์ด้านบวก ตวั ผู้เขยี นเองทาไว้ในปี 2013 จัดให้ผู้เข้าร่วม เช่น คร้ึมอกคร้ึมใจ ต่ืนเต้น หรือปีติยินดี โดย เอม็ มร โ์เดโ์ กลุม่ หนงึ่ รบั ฟงั เสียงอ่านข่าวทางวิทยุหลาย ๆ แ ต่ ก็ โ ย ง กั บ ค ว า ม ตื่ น ตั ว ซึ่ ง บ่ ง บ อ ก แปลโดย นุชนรฏ เนต์ป์ะเส์ฐิ ศ์ เสียง กับให้อีกกลุ่มหน่ึงฟังเสียงชุดเดียวกัน ความ ปร ะ ห ม่า หรื อ คว าม ห วา ดก ลั ว ภายหลังจากดูภาพถ่ายของบรรดาผู้จัด ด้วยเช่นกนั ก า ร ฟั ง เ สี ย ง นั ก จั ด ร า ย ก า ร ท า ง วิ ท ยุ รายการ ผู้เข้าร่วมร้อยละ 73 รายงานว่า เป็นประสบการณ์ที่กระตุ้นให้เกิดอารมณ์ รู ป ภ า พ ที่ เ ห็ น ส่ ง ผ ล ใ ห้ ต น ใ ช้ จิ น ต น า ก า ร เสยี งทุ้มต่าน่าเช่อื ถอื กว่า ค ว า ม รู้ สึ ก แ ล ะ ภ า พ นึ ก คิ ด ใ น หั ว ห ล่ั ง ไ ห ล ไดน้ อ้ ยลงเพราะถูกกาหนดดว้ ยภาพทไ่ี ด้เห็น อย่างต่อเนื่อง ทาให้ผู้ฟังสร้างภาพตัวบุคคล ผู้ฟังทั้งสองกลุ่มต่างก็จินตนาการภาพผู้จัด งานวิจัยของเราสรุปว่าผู้ฟังมักนึกคิดว่าเสียง และเร่ืองราวขึ้นในใจคร่าว ๆ โดยไม่รู้ตัว รายการ แต่ทาไม่เหมือนกัน กลุ่มท่ีได้ยิน แหลมสูงที่ได้ยินจากวิทยุสื่อ ความรู้สึก ย่ิงฟังแล้วนึกวาดภาพหรือความรู้สึกนึกคิด แต่เสียงน้ันร้อยละ 39 จะนึกวาดภาพรูปร่าง ตึงเครียด ห่างเหิน เย็นชา และอ่อนแอ ในหัวได้แจม่ ชัดมากเพยี งใด กระบวนการรับรู้ หน้าตาเจ้าของเสียง ส่วนผู้ฟังกลุ่มท่ีสองน้ัน ส่ ว น เ สี ย ง ทุ้ ม ต่ า มั ก ถู ก โ ย ง กั บ ค น ร่ า ง สู ง ของเจ้าตัวก็จะย่ิงเข้มข้นมากข้ึนเพียงนั้น เพียงร้อยละ 18.5 จะวาดภาพผู้จัดรายการ แข็งแรง ผมสีเข้ม แต่ปัจจัยสาคัญซึ่งถูกใจ เ สี ย ง ท่ี ไ ด้ ยิ น จ า ก วิ ท ยุ ส ร้ า ง ภ า พ ป ร ะ ทั บ ไ ว้ ในหัว กลุ่มท่ีไม่เห็นรูปผู้จัดรายการมีสมาธิ ผู้ฟังมากกว่าก็คือ เสียงทุ้มต่าให้ความรู้สึก ในควา มนึก คิ ด อั นปร ะก อ บด้วย ภ าพ ต้ังใจฟังมากกว่าเมื่อได้ฟังแต่เสียง ข้อสาคัญ น่าเชื่อถือ มีวุฒิภาวะ และมีพลังอานาจ ท่ี เ ป็ น ตั ว แ ท น ทั้ ง ท า ง ก า ย แ ล ะ ท า ง จิ ต ใ จ ยิ่งกว่าน้ันก็คือ กลุ่มน้ีจดจาข้อมูลท่ีฟังไปแล้ว ในการศึกษาข้อมูลโดยใช้ข่าววิทยุ ผู้ฟัง ของตัวผู้พดู และเน้ือหาสาระที่ถา่ ยทอด ไดม้ ากกว่า ใ ห้ ค ะ แ น น เ สี ย ง ทุ้ ม ต่ า ว่ า ฟั ง ส บ า ย หู ก ว่ า เวลาฟังวิทยุ คนจะรู้สึกว่าตัวเองไม่โดดเด่ียว ผู้ฟังอาศัยลักษณะของเสียงท่ีได้ยินเพ่ือสร้าง รวมทง้ั “สงบ ชักจงู ใจ และน่าเชือ่ ถอื กวา่ ” ผู้ฟัง รู้ สึก เ ช่ื อ มโ ย ง กั บผู้ พูดแ ล ะ จ ด จ่ อ ภาพข้ึนในหัว กระบวนการน้ีได้รับอิทธิพล เวลาได้ยินเสียงผู้จัดรายการ ผู้ฟังสามารถ กบั เนื้อหาท่ีฟัง ความรู้สึกเชื่อมโยงและจดจ่อ อย่างแรงกลา้ จากการฉายภาพเหมารวมแบบ คาดเดาบุคลิกลักษณะตลอดจนภาวะอารมณ์ เช่นนี้เกิดในระดับจิตใจ ผู้ฟังรู้สึกเพลิดเพลิน ท่ีสื่อใช้เชื่อมโยง โดยเฉพาะสื่อภาพยนตร์ ของเขาหรือเธอได้แม่นยาถึง 65% ท้ังน้ี ส บ า ย ใ จ โ ด ย ส ร้ า ง ส า ย สั ม พั น ธ์ แ น บ แ น่ น เช่น ตัวร้ายในภาพยนตร์มักพูดเสียงต่า ๆ ต า ม ข้ อ มู ล ง า น วิ จั ย ข อ ง นั ก จิ ต วิ ท ย า ชื่ อ กับผู้จัดรายการและมีส่วนร่วมกับเรื่องราว ห้วนกระด้าง ผู้ฟังใช้ขนบเหล่าน้ีสร้างภาพ เคลาส์ อาร์ เชอเรอร์ ซ่ึงตีพิมพ์ในวารสาร ในรายการ นึกคิดตามเสียงที่ได้ยิน ภาพในห้วงคิดคานึง Journal of Voice (ฉบับเดือนกันยายน ในการสร้างสายสัมพันธ์ดังกล่าว ผู้ฟัง มักคล้ายกับของผู้ฟังรายอ่ืน ๆ เกินกว่า 1995) เสยี งพดู เราบ่งบอกให้รู้บุคลิกลักษณะ มักอนุมานลักษณะของผู้จัดรายการไว้ในใจ จะถือได้วา่ เป็นความบังเอญิ ของเรา เชน่ คนท่ีพูดเร็วมาก ฟังแล้วมักรู้สึก ง า น วิ จั ย ร ะ บุ ว่ า ผู้ ฟั ง ส า ม า ร ถ ท า ย ทั้ ง นี้ ห ม า ย ค ว า ม ว่ า เ ว ล า ไ ด้ ยิ น เ สี ย ง ว่าเขาตื่นเต้นประหม่า หรือว่าเป็นพวกชอบ ลักษณะเฉพาะบางอย่างได้แม่น เช่น อายุ ผู้จัดรายการทางวิทยุ ใคร ๆ ก็จะนึกถึง แสดงออกชอบเข้าสังคม ส่วนคนที่พูดเสียง เพศสภาพ น้าหนัก และส่วนสูง แม้ว่า รูปลักษณ์ทางกายภาพทานองเดียวกันหมด ออ่ นเบากส็ อ่ วา่ เป็นคนขีอ้ าย สองขอ้ หลงั อาจจะเดายากหนอ่ ย ถ้าเขาพูดเสียงอ่อน ๆ แหลม ๆ เรามักวาด ภาพว่าเป็นคนตัวเล็ก ถ้าได้ยินเสียงทุ้มต่า เมือ่ ไม่เห็นภาพทีเ่ ป็ นรูปธรรม เร้าความรู้สึก เราก็มักนึกภาพเจ้าของเสียง ผู้ฟั งจึงอาศัยพลังกระตุ้นของเสียง ว่ า เ ป็ น ค น ห ล่ อ ส ว ย มี เ ส น่ ห์ แ ม้ ว่ า ทไี่ ดย้ นิ จากวทิ ยุ การเชื่อมโยงนี้จะไม่ตรงกับความเป็นจริง เสมอไป ด้วยเหตุนี้เวลาได้พบนักจัดรายการ วิทยุ ผู้ฟังหลายคนจึงประหลาดใจ เพราะ ตัวจริงมักต่างจากภาพลักษณ์ซ่ึงตนสร้างขึ้น ในความนึกคิดมาก วารสารความรว่ มมอื กบั ตา่ งประเทศ กรกฎาคม-กันยายน 2563
ผู้ฟงั สร้างภาพขึ้นในหัว 19 ตามลักษณะของเสียง ท่ีได้ยิน วิธีใช้เสียงก็ถ่ายทอดอารมณ์และความตั้งใจ ของผู้จัดรายการวิทยุเช่นกัน คือท่ีเรียกกันว่า ลีลาการพูด อันประกอบด้วยการขึ้นเสียงสูง ทอดเสียงต่า การเน้นเสียง ความเร็วช้า และ จังหวะเว้นช่วง สาหรับผู้จัดรายการวิทยุ กฎข้อแรกในประเด็นน้ีได้แก่ ควรเล่ียงลีลา ท่ีสุดโต่ง เช่น พูดเสียงระดับเดียวตลอดเวลา (แทบไมเ่ ปลยี่ นระดับเสียงเลย) หรือตอนท้าย ประโยคขึ้นเสียงสูงตลอด (ใช้เสียงสูง บ่อยมาก) การพูดด้วยน้าเสียงระดับเดียวตลอดส่งผล โดยตรงให้ผู้ฟังหมดความสนใจ ส่วนลีลา การพูดแบบตรงข้ามคือ ชอบเน้นเสียงสูง ตอนท้ายประโยคเป็นช่วง ๆ เสมอ ลีลา ที่ เ น้ น เ สี ย ง สู ง บ่ อ ย เ กิ น ค ว ร นี้ นิ ย ม ใ ช้ กั น แ พ ร่ ห ล า ย ใ น ห มู่ นั ก จั ด ร า ย ก า ร ข่ า ว แ ล ะ โฆษณาทางวิทยุ ลีลาที่ฟังคล้ายทานองเพลง ซ้าซากเช่นนี้มักใช้ไม่ค่อยได้ผล ฟังแล้วเกิด ความรู้สึกด้านลบ โดยเฉพาะถ้าเน้นเสียง สะเปะสะปะโดยไม่เกี่ยวเน่ืองกับเน้ือหาท่ีพูด หรือไมก่ ท็ าใหฟ้ งั เข้าใจยาก แทนท่ีจะใช้เสียงในลีลาสุดโต่งท้ังสองแบบนี้ ทางท่ีดีนักจัดรายการวิทยุควรสลับเปล่ียน ระดับเสียงให้หลากหลาย เช่น เริ่มประโยค ด้วยเสียงสูงเพ่ือดึงดูดให้ผู้ฟังสนใจ แล้วค่อย ลงทา้ ยด้วยเสียงตา่ เพ่ือเน้นยา้ ข้อมลู สาคญั การฝึกใช้น้าเสียงให้เหมาะเจาะจะช่วยให้ นักจัดรายการวิทยุสามารถสร้าง ภาพ ใ น ค ว า ม คิ ด ค า นึ ง ค ว า ม ป ร ะ ทั บ ใ จ ความต้ังใจ และอารมณ์ได้ตามท่ีต้องการ จ ะ ใ ห้ ผู้ ฟั ง ร า ย ก า ร นึ ก คิ ด ค ล้ อ ย ต า ม ไ ป เท่าท่ีผู้ฟังต้องทาคือผ่อนคลาย ปล่อยใจ ไ ป ต า ม น้ า เ สี ย ง อ บ อุ่ น ข อ ง ผู้ จั ด ร า ย ก า ร จากนั้นก็วาดภาพในหัว แล้วมีอารมณ์ ความรู้สกึ ตามเร่ืองราวน้นั ๆ ด้วยใจจดจอ่ เ อ ็ม ม ร โ ์ เ ดโ ์ เ ป็ น อ ำ จ ำ ร ย ส์ อ น เ รือ่ ง กำรสื่อสำรอยู่ที่มหำวิทยำลยั ปอมเปอูฟำบรำ ใ น เ มือ ง บ ำ ร เ์ ซโ ล น ำ ป ร ะ เ ท ศ ส เ ป น เธอเป็ นผูด้ ูแลหอ้ งทดลองจิตวิทยำสื่อของท่ีน่ัน รวมทง้ั สอนวิชำทกั ษะกำรส่ือสำรที่คณะบรหิ ำร จดั กำรบำรเ์ ซโลนำของ 45 วารสารความรว่ มมอื กับตา่ งประเทศ กรกฎาคม-Rกันaยdาiยoน:25S6t3ronger and more vibrant than ever
Search