การพัฒนาระบบก้าจดั ข้ีปลาสา้ หรบั บ้าบดั นา้ เสยี ในบ่ออนบุ าลปลานลิ ด้วยฟองอากาศระดับไมโครและนาโนเมตร นพัตธร อดุ ตงึ สิทธินนท์ ปิมปา ปรญิ ญานพิ นธน์ เี้ ปน็ ส่วนหน่งึ ของการศกึ ษาตามหลกั สูตรวศิ วกรรมศาสตรบัณฑติ สาขาวศิ วกรรมไฟฟา้ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา เชยี งราย ปกี ารศกึ ษา 2561
การพัฒนาระบบก้าจดั ข้ีปลาสา้ หรบั บ้าบดั นา้ เสยี ในบ่ออนบุ าลปลานลิ ด้วยฟองอากาศระดับไมโครและนาโนเมตร นพัตธร อดุ ตึง สิทธินนท์ ปิมปา ปรญิ ญานพิ นธน์ เี้ ปน็ ส่วนหน่งึ ของการศกึ ษาตามหลกั สูตรวิศวกรรมศาสตรบณั ฑติ สาขาวศิ วกรรมไฟฟา้ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลล้านนา เชียงราย ปกี ารศกึ ษา 2561
DEVELOPMENT OF WASTE WATER MANAGEMENT SYSTEM FOR TILAPIA NURSERY POND BY USING MICRO/NANO BUBBLES GENERATOR Mr.NAPATTHORN AUTTUENG Mr.SITTHINON PIMPA A PROJECT REPORT SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF THE REQUIREMENTS FOR THE DEGREE OF BACHELOR OF ENGINEERING PROGRAM OF ELECTRICAL ENGINEERING FACULTY OF ENGINEERING RAJAMANGALA UNIVERSITY OF TECHNOLOGY LANNA CHIANG RAI ACADEMIC YEAR 2018
ปริญญานพิ นธ์เรอื่ ง การพัฒนาระบบก้าจัดข้ีปลาส้าหรับบา้ บัดน้าเสียในบอ่ อนบุ าลปลานิล ดว้ ยฟองอากาศระดบั ไมโครและนาโนเมตร ชอ่ื นักศึกษา นายนพัตธร อุดตึง นายสิทธนิ นท์ ปิมปา หลักสตู ร วศิ วกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ า วศิ วกรรมไฟฟา้ คณะ วิศวกรรมศาสตร์ อาจารยท์ ี่ปรกึ ษา อาจารย์เพลนิ จันทรส์ ุยะ ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.รตั นาพร นรรตั น์ ปีการศึกษา อาจารย์ ดร.กรณุ า ใจนนถยี ์ 2561 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาเชียงราย อนุมัติให้ปริญญา นิพนธ์นี้เป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา วศิ วกรรมไฟฟา้ ……………………………………... ประธานหลกั สูตร วศ.บ. วศิ วกรรมไฟฟ้า (อาจารย์ เพลิน จนั ทรส์ ยุ ะ) คณะกรรมการสอบปรญิ ญานิพนธ์ ...................................................................... ประธานกรรมการ (ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.นพพร พชั รประกติ ิ) ............…………………………………………. กรรมการ (ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.วิวฒั น์ ทพิ จร) ...…………………………………………………….. กรรมการ (ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ วิเชษฐ ทิพย์ประเสริฐ) ..............…………………………………………. กรรมการ (ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ นติ พิ งษ์ สมไชยวงค)์ ลิขสิทธ์ขิ องคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา เชียงราย
ปริญญานพิ นธเ์ ร่ือง การพัฒนาระบบก้าจดั ขีป้ ลาส้าหรบั บ้าบัดน้าเสียในบ่ออนุบาลปลานิล ดว้ ยฟองอากาศระดับไมโครและนาโนเมตร ชอื่ นักศึกษา นายนพัตธร อดุ ตึง นายสทิ ธินนท์ ปิมปา หลักสูตร วศิ วกรรมศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ า วศิ วกรรมไฟฟ้า คณะ วิศวกรรมศาสตร์ อาจารยท์ ่ีปรกึ ษา อาจารย์เพลิน จนั ทรส์ ุยะ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.รัตนาพร นรรตั น์ ปีการศึกษา อาจารย์ ดร.กรณุ า ใจนนถีย์ 2561 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย อนุมัติให้ปริญญา นิพนธ์น้ีเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา วิศวกรรมไฟฟ้า คณะกรรมการสอบโครงงานวิศวกรรมไฟฟ้า (ต่อ) ......…………………………………………. กรรมการ (อาจารย์ ดร.อนุสรณ์ ยอดใจเพช็ ร) ..…..………………………………. กรรมการ (อาจารย์ ดร.อนนท์ นา้ อิน) ..........…………………………………………. กรรมการ (ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วฑิ รู ย์ พรมม)ี ………………………………………. กรรมการ (อาจารย์ นิคม ธรรมปัญญา) ลิขสทิ ธขิ์ องคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา เชียงราย
ปรญิ ญานพิ นธเ์ รอ่ื ง การพัฒนาระบบก้าจดั ขป้ี ลาส้าหรับบา้ บดั น้าเสยี ในบอ่ อนบุ าลปลานลิ ดว้ ยฟองอากาศระดับไมโครและนาโนเมตร ชอื่ นักศกึ ษา นายนพัตธร อุดตึง นายสทิ ธินนท์ ปมิ ปา หลกั สตู ร วิศวกรรมศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ า วิศวกรรมไฟฟา้ คณะ วศิ วกรรมศาสตร์ อาจารยท์ ่ปี รกึ ษา อาจารย์เพลนิ จนั ทรส์ ยุ ะ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รัตนาพร นรรตั น์ ปกี ารศกึ ษา อาจารย์ ดร.กรุณา ใจนนถยี ์ 2561 คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย อนุมัติให้ปริญญา นิพนธ์นี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา วิศวกรรมไฟฟา้ คณะกรรมการสอบโครงงานวิศวกรรมไฟฟ้า (ตอ่ ) ..…………………………………. กรรมการและอาจารยท์ ีป่ รึกษา (อาจารย์ เพลิน จนั ทรส์ ยุ ะ) ................…………………………………………. กรรมการและอาจารย์ท่ีปรกึ ษา (ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.รตั นาพร นรรตั น)์ ……………………………………… กรรมการและอาจารย์ท่ปี รึกษา (อาจารย์ ดร.กรุณา ใจนนถยี ์) ลิขสทิ ธิ์ของคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลลา้ นนา เชียงราย
ค กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยสาเร็จได้ด้วยความกรุณาของอาจารย์ที่ปรึกษาปริญญานิพนธ์ อาจารย์เพลิน จันทร์สุยะ และผศ.ดร.รัตนาพร นรรัตน์ และ ดร.กรุณา ใจนนถีย์ อาจารย์ท่ีปรึกษาร่วมจากคณะ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตรที่ให้ข้อคิดเห็นและคาแนะนาเกี่ยวกับการพัฒนาระบบไฟน์ บับเบ้ิลและดรัมฟิลเตอร์ ขอขอบคุณ อาจารย์รุ่งระวี ทองดอนเอ อาจารย์จากคณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีการเกษตร วิทยาเขตพิษณุโลก และคุณจานงค์ บุญเลิศ เจ้าของจานงค์ฟาร์ม อ.พาน จ.เชียงราย ที่ให้คาปรึกษาเกี่ยวกับการอนุบาลปลานลิ และการจัดการคุณภาพน้าระหว่างการเลีย้ งลกู ปลานิล ซ่งึ ผวู้ จิ ัยขอขอบพระคุณเปน็ อย่างสูง ณ โอกาสนี้ ขอขอบพระคุณ คณาจารย์สาขาวิศว กรรมไฟฟ้าและคณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีการเกษตร ทุกท่านที่ได้ถ่ายทอดความรู้ทักษะและประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์ ในการทาวิจยั ฉบับนี้ ขอขอบคุณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย ที่ได้อนุเคราะห์เวลา สถานท่ี ในการจัดทางานวิจยั ฉบับน้สี าเร็จลลุ ่วงไปดว้ ยดี ขอกราบขอบพระคุณบิดา มารดา ที่ได้มอบความรักความอบอุ่นและสนับสนุนผู้จัดทา ในการทางานวจิ ัยตลอดจนเพื่อนทุกคนที่ได้คอยช่วยเหลือให้กาลังใจและแลกเปลี่ยนความรู้ สนับสนุน การทาวจิ ยั จนสาเร็จลุลว่ งไปดว้ ยดี คณะผจู้ ัดทา นายนพัตธร อดุ ตงึ นายสิทธินนท์ ปมิ ปา
ข Project Title Development of Waste Water Management System for Tilapia Students Nursery Pond by Using Micro/nano Bubbles Generator Project Advisors Mr. Napatthorn Auttueng Mr. Sitthinon Pimpa Major Field Mr. Phlearn Jansuya Academic Year Assistant professor Dr. Rattanaporn Norarat Dr. Karuna Jainontee Electrical Engineering 2018 ABSTRACT This research has developed Drum Filter – Fine Bubbles Generator (DFFB) for waste water management in Nile Tilapia nursery pond. The objective of this study is whether DFFB system can affect the growth rate, survival rate and water quality in the fish pond compare with aeration system combine with conventional waste water treatment method (control). In this study, a high density (80 fishes/m2) of tilapia fly (0.30 gram) were cultured in a 2 meter-diameter plastic pond for 28 days. It was found that both systems can extend the water exchange in a fish pond to 2 weeks per time. However, the average daily growth rate and survival rate of DFFB system were higher than control system 1. 4 and 1. 2 times, respectively. In addition, we found that the turbidity and total dissolved solids ( TDS) of water in DFFB pond were lower than conventional system. Therefore, a Drum Filter – Fine Bubbles Generator ( DFFB) is a promising method for Tilapia nursery in the future. Keywords : Drum Filter, Tilapia Nursery, Fine Bubble Generator, Average Daily Growth Rate (ADG), Survival Rate, Dissolved Oxygen (DO)
ก ปรญิ ญานพิ นธ์เรอ่ื ง การพัฒนาระบบก้าจดั ข้ปี ลาส้าหรบั บา้ บดั นา้ เสียในบ่ออนุบาลปลานลิ ด้วยฟองอากาศระดับไมโครและนาโนเมตร ช่อื นกั ศกึ ษา นายนพตั ธร อดุ ตึง นายสิทธนิ นท์ ปิมปา อาจารยท์ ี่ปรกึ ษา อาจารยเ์ พลิน จันทรส์ ยุ ะ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รตั นาพร นรรตั น์ หลกั สูตร อาจารย์ ดร.กรุณา ใจนนถีย์ สาขาวิชา วศิ วกรรมศาสตรบณั ฑติ ปีการศึกษา วิศวกรรมไฟฟ้า 2561 บทคัดยอ่ งานวิจัยนี้ได้ท้าการพัฒนาระบบก้าจัดข้ีปลาเพื่อบ้าบัดน้าเสียส้าหรับการอนุบาลปลานิลด้วย ฟองอากาศละเอียด (Drum Filter - Fine Bubbles Generator, DFFB) โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือ เปรียบเทียบอัตราการเจริญเติบโต อัตราการรอดและคุณภาพน้าระหว่างบ่อที่ใช้ไฟน์บับเบ้ิล ร่วมกับดรัมฟลิ เตอร์ในการกา้ จัดของเสียแขวนลอยในน้า (DFFB) และบอ่ ทดลองควบคุมซ่ึงเติมอากาศ แบบหัวทรายและมีระบบบ้าบัดน้าแบบภูมิปัญญาของเกษตรกร (control) โดยทดลองเล้ียงลูกปลา ขนาดเฉลี่ย 0.30 กรัม ความหนาแน่น 80 ตัวต่อตารางเมตร ในบ่อพลาสติกเส้นผ่านศูนย์กลาง 2 เมตร เป็นเวลา 28 วัน ผลการวิจัยพบว่าการเล้ียงในระบบ DFFB และระบบควบคุมสามารถช่วยยืด ระยะการเปลี่ยนน้าได้นานขึ้นเป็น 2 สัปดาห์/คร้ัง อย่างไรก็ตาม พบว่าระบบ DFFB มีอัตราการ เจริญเติบโตเฉล่ียต่อวันและอัตราการรอดของลูกปลานิลสูงกว่าชุดทดลองควบคุม เป็น 1.4 เท่า และ 1.2 เท่า ตามล้าดับ นอกจากน้ียังพบว่าน้าในบ่อเล้ียงด้วยระบบ DFFB มีค่าปริมาณความขุ่น (Turbidity) และค่าปริมาณของแข็งในน้า (TDS) น้อยกว่าชุดควบคุม ดังนั้นระบบดรัมฟิลเตอร์ ร่วมกับเทคโนโลยีฟองอากาศละเอียดสามารถเป็นต้นแบบการอนุบาลปลานิลประสิทธิภาพสูงใน อนาคตได้ คาสาคัญ : ดรัมฟิลเตอร์, การอนุบาลปลานิล, เครื่องผลิตฟองอากาศละเอียด, อัตราการเจริญเติบโต เฉลีย่ ตอ่ วนั , อัตราการรอด, ปรมิ าณออกซิเจนท่ีละลายในน้า
สารบัญ ง บทคดั ย่อภาษาไทย หน้า บทคดั ย่อภาษาองั กฤษ กติ ติกรรมประกาศ ก สารบัญ ข สารบัญรูป ค สารบญั ตาราง ง ฉ บทท่ี 1 บทนา ซ 1.1 ความสาคญั และที่มา 1.2 วตั ถุประสงค์ของการวิจยั 1 1.3 สมมติฐานของการวิจยั 1 1.4 ขอบเขตของการดาเนนิ งานวิจยั 3 1.5 ประโยชน์ท่คี าดว่าจะไดร้ ับ 3 3 บทที่ 2 ทฤษฎีและงานวิจยั ที่เก่ยี วขอ้ ง 3 2.1 การเลีย้ งแบบหมนุ เวยี น 2.2 เทคโนโลยไี ฟนบ์ บั เบล้ิ 5 2.3 การอนบุ าลปลานลิ 5 2.4 การวดั ประสทิ ธิภาพของการเลีย้ งปลานิล 8 2.5 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 11 13 บทท่ี 3 วธิ ีการดาเนนิ งาน 15 3.1 การออกแบบและสรา้ งระบบดรมั ฟลิ เตอร์สาหรบั กาจดั ข้ปี ลา 3.2 การทดสอบระบบของดรัมฟิลเตอรก์ ่อนการเลีย้ งปลา 21 3.3 การอนบุ าลลกู ปลานลิ ในบอ่ ทดลอง 22 3.4 การทดสอบประสทิ ธภิ าพการทางานของระบบเตมิ อากาศ 30 33 บทที่ 4 ผลและอภิปราย 35 4.1 ผลการออกแบบและสรา้ งระบบดรัมฟลิ เตอร์สาหรับกาจัดขปี้ ลา 4.2 ผลการทดสอบระบบดรมั ฟิลเตอร์ 37 4.3 ผลการวดั คุณภาพน้าในการอนบุ าลปลานิลในบ่อทดลอง 37 38 43
สารบัญ (ต่อ) จ 4.4 ผลการวัดอตั ราการเจริญเติบโตและอัตราการรอดของลูกปลานลิ หน้า 47 บทท่ี 5 สรุปและขอ้ เสนอแนะ 5.1 สรปุ 50 5.2 ข้อเสนอแนะ 50 52 บรรณานกุ รม ภาคผนวก 56 ประวตั ผู้เขียน 58 69
ฉ สารบญั รูป หน้า รปู ที่ 1.1 ระบบกรองของเสยี แบบหมนุ เวียน 1 รูปท่ี 1.2 การอนุบาลปลานลิ ขนาดเล็ก 2 รูปท่ี 2.1 ระบบบ้าบัดน้าแบบหมนุ เวียน 5 รูปท่ี 2.2 ดรมั ฟิลเตอร์แบบ Outer feed 6 รปู ที่ 2.3 ดรมั ฟลิ เตอรแ์ บบ Inner feed 7 รูปท่ี 2.4 นิยามของฟองอากาศละเอียดไฟน์บบั เบิล 8 รูปที่ 2.5 ความสามารถคงตวั ของฟองอากาศแต่ละขนาด 9 รปู ท่ี 2.6 ระบบการทา้ งานของเครื่องไฟนบ์ บั เบิล 9 รูปที่ 2.7 การเทไขป่ ลาออกจากปากแม่ปลา 11 รปู ที่ 2.8 อุปกรณ์ทฟ่ี ักไข่ปลา 12 รูปท่ี 2.9 การอนุบาลปลาในบ่อซีเมนต์ 12 รูปท่ี 2.10 แผนผงั แสดงการอนบุ าลปลานลิ กรอบสีแดงคือระยะอนุบาล 13 รูปท่ี 2.11 สรปุ งานวจิ ยั ทเ่ี กยี่ วข้องของไฟน์บับเบิล 19 รูปที่ 2.12 สรุปงานวจิ ยั ท่เี กย่ี วข้องของระบบดรัมฟิลเตอรใ์ นการบ้าบัดน้าเสยี 20 รปู ที่ 3.1 ขันตอนการด้าเนนิ งาน 21 รูปท่ี 3.2 บล็อคไดอะแกรมแสดงการทา้ งานของดรมั ฟิลเตอร์ 22 รูปท่ี 3.3 การออกแบบโครงสร้างและระบบควบคมุ ระบบดรมั ฟลิ เตอร์สา้ หรบั ก้าจดั ขปี ลา 22 รปู ท่ี 3.4 บล็อกไดอะแกรมแสดงการทา้ งานของระบบ 23 รปู ที่ 3.5 ระบบการอนุบาลปลานลิ ด้วยน้าไฟน์บบั เบิลทา้ งานร่วมกับดรัมฟิลเตอร์ 24 รูปที่ 3.6 วงจรควบคุมระบบดรัมฟลิ เตอร์สา้ หรับอนุบาลปลานิลดว้ ยไฟนบ์ ับเบลิ 25 รปู ที่ 3.7 ติดตงั ฐานสา้ หรบั วางมอเตอร์และรางท่อล้าเลียงขีปลา 26 รปู ที่ 3.8 โรเตอรส์ กรีน 26 รูปที่ 3.9 รางลา้ เลียงขีปลา 27 รูปที่ 3.10 การทดรอบด้วยม่เู ล่ 27 รูปท่ี 3.11 หัวฉดี แรงดันสา้ หรับฉดี ลา้ งขปี ลา 28 รูปท่ี 3.12 เครอ่ื งตงั เวลาอัตโนมตั ิควบคมุ การท้างานของระบบดรัมฟิลเตอร์และปั๊มส้าหรับ 28 สรา้ งฟองอากาศละเอียด 30 รูปที่ 3.13 ชุดควบคุมระบบดรมั ฟลิ เตอร์ 31 รปู ที่ 3.14 การออกแบบระบบที่ 1 31 รปู ที่ 3.15 การออกแบบระบบท่ี 2 32 รปู ที่ 3.16 การออกแบบระบบท่ี 3 33 รูปท่ี 3.17 วัดคา่ พารามิเตอรจ์ ากเครอื่ งวัด
ช สารบญั รูป (ต่อ) หน้า รูปที่ 3.18 บ่อทดลองระบบ DFFB และระบบออกซิเจนหวั ทราย 34 รปู ที่ 3.19 จา้ นวนลกู ปลานิลขนาด 1 เซนติเมตร 35 รปู ท่ี 3.20 เครอ่ื งวัด Horiba Multi-parameter Water Quality Meters 36 รูปท่ี 3.21 การวดั การเจริญเตบิ โตของลูกปลานลิ 36 รูปที่ 4.1 ระบบดรัมฟิลเตอร์ ท่ตี ดิ ตงั ณ ถังบ้าบัดน้าของบอ่ ทดลองทีใ่ ช้ไฟน์บบั เบลิ 37 รปู ท่ี 4.2 จดุ วัดคณุ ภาพน้าของบ่อระบบ DFFB และบอ่ ระบบออกซิเจนหัวทราย 39 รปู ที่ 4.3 เปรียบเทยี บความข่นุ ของน้า (TURB) ของทงั 2 บอ่ ทดลอง 40 รูปที่ 4.4 เปรียบเทยี บของแขง็ ทีอ่ ย่ใู นน้า (TDS) ของทงั 2 บอ่ ทดลอง 41 รปู ที่ 4.5 ลกั ษณะของนา้ ในถงั บา้ บัดน้าทงั 3 ถัง 42 รปู ที่ 4.6 เปรียบเทียบค่าออกซเิ จนละลายในน้าระหว่างบ่อ DFFB และบอ่ หวั ทราย (control) 43 รปู ท่ี 4.7 เปรยี บเทียบคา่ ความขุ่นระหว่างบอ่ DFFB และบ่อหัวทราย (control) 44 รูปท่ี 4.8 เปรียบเทียบคา่ ของแขง็ ท่ีอยู่ในน้าระหวา่ งบ่อ DFFB และบ่อหัวทราย (control) 45 รปู ท่ี 4.9 เปรียบเทียบค่าการนา้ ไฟฟา้ ระหว่างบ่อ DFFB และบอ่ หวั ทราย (control) 46 รปู ท่ี 4.10 เปรยี บเทียบอัตราการรอดของลูกปลานิลใน 30 วนั 48 รปู ที่ 5.1 ระบบไฟนบ์ บั เบลิ แบบฉีดตรง 52 รปู ที่ 5.2 ระบบดรัมฟิลเตอร์ 52 รปู ท่ี 5.3 ระบบโซลา่ เซลล์ 53 รปู ท่ี 5.4 บ่อเลียงปลาแฟนซีคาร์ฟ และปลามังกร 54
สารบญั ตาราง ซ ตารางท่ี 2.1 งานวจิ ยั ทเี่ กย่ี วขอ้ งกับการพัฒนาระบบไฟน์บับเบล้ิ ในการประมง หน้า ตารางท่ี 2.2 งานวจิ ัยทีเ่ กย่ี วข้องกับการพัฒนาระบบดรมั ฟลิ เตอรใ์ นการบ้าบดั นา้ เสยี 15 ตารางที่ 3.1 การออกแบบการท้างานของระบบดรัมฟิลเตอร์ 17 ตารางที่ 4.1 เปรียบเทียบการท้างานของระดรมั ฟลิ เตอรท์ ั้ง 3 ระบบ 30 ตารางท่ี 4.2 การเปรียบเทียบการเจรญิ เตบิ โตของบ่อ DFFB และบ่อหัวทราย 38 47
บทท่ี 1 บทนำ 1.1 ควำมสำคญั และทมี่ ำของปัญหำ การเพาะเลีย้ งสัตวน์ ้ามีบทบาททางเศรษฐกจิ ท่ีต้องการน้าในปรมิ าณมากและก่อให้เกิดน้าเสีย ส่งผลกระทบต่อส่ิงแวดล้อม การจัดการน้าด้วยการบ้าบัดในรูปแบบต่างๆ อาทิ การบ้าบัดน้า แบบหมุนเวียนในการเลีย้ งปลานิลของจ้านงค์ฟาร์มและโรงเรือนของรัฐ Querétaro ประเทศเม็กซิโก [1] เปน็ แนวทางสา้ หรับน้าน้าหมุนเวียนกลบั มาใชไ้ ดอ้ ีก ดังรปู ที่ 1.1 การเลี้ยงปลานิลในอ้าเภอพาน จังหวัดเชียงราย นิยมเลี้ยงด้วยความหนาแน่นสูงในบ่อดิน ที่มีระบบน้าแบบเปิด ก่อให้เกิดความเสี่ยงในการตายของปลาสูงทั้งยังท้าให้แหล่งน้าเสื่อมโทรม จากน้าเสียจากบอ่ ปลาและสง่ ผลกระทบกับกจิ กรรมการใชป้ ระโยชน์จากแหล่งน้าอื่น ๆ อกี ดว้ ย รปู ที่ 1.1 ระบบกรองของเสียแบบหมุนเวียนของจ้านงค์ฟาร์ม อ.พาน จ.เชยี งราย โดยทั่วไปการเล้ียงปลานิลจะใช้เวลาประมาณ 7 เดือน เริ่มต้ังแต่การอนุบาลปลาไปจนถึง ข้ันตอนการจับปลาออกจากบ่อ การอนุบาลปลานิลให้แข็งแรงและคุณภาพดีจึงมีความส้าคัญ อย่างมาก เพราะวา่ เปน็ ขนั้ ตอนแรกในการเล้ยี งปลานิล ในปจั จุบนั การอนบุ าลปลานลิ เป็นหนึง่ อาชีพท่ี ได้รับความสนใจจากเกษตรกร เน่ืองจากปลาขนาดใบมะขามที่ได้รับการอนุบาลอย่างดี จะท้าให้ ลูกปลามีความแข็งแรงและสามารถมีอัตราการรอดก่อนจะเพาะเล้ียงในข้ึนตอนต่อไปจนถึงระยะที่ จบั ขายได้ อย่างไรก็ตามในชว่ งระยะเวลาการอนุบาลปลานลิ จาก ลกู ปลานิลทฟี่ กั เป็นตัวไปจนถึงระยะ อนุบาลใช้เวลาประมาณ 1 เดือน การสัมภาษณ์คุณจ้านงค์ บุญเลิศ,จ้านงค์ฟาร์ม อ.พาน จ.เชียงราย
2 สะท้อนให้เห็นว่าในการอนุบาลปลานิลจะมีการลดต้นทุนโดยปล่อยลูกปลาด้วยความหนาแน่นสูง จึงท้าให้มีการเติบโตช้าและอัตราการรอดเฉลีย่ เพียงประมาณ 80% ประกอบกับการขาดระบบบ้าบัด นา้ ในภาวะที่เกดิ ความขาดแคลน ส่งผลให้ลกู ปลานิลสามารถเกิดโรคและมีอตั ราการตายสูงข้นึ รูปที่ 1.2 การอนบุ าลปลานลิ ขนาดเล็ก (จา้ นงค์ฟารม์ อ.พาน จ.เชียงราย) นั ก วิ จั ย ช า ว ญี่ ปุ่ น ไ ด้ คิ ด ค้ น เ ท ค โ น โ ล ยี ไ ฟ น์ บั บ เ บ้ิ ล ห รื อ ก า ร ผ ลิ ต ฟ อ ง อ า ก า ศ ล ะ เ อี ย ด เมือ่ เปรยี บเทียบกับฟองอากาศธรรมดา พบวา่ ฟองอากาศนี้มขี นาดเล็กกว่า 1,000 – 1,000,000 เท่า ท้าให้สมบัติโดนเด่นของน้าที่มีฟองละเอียด ได้แก่ พื้นที่ผิวของอากาศจ้านวนมหาศาลท้าให้ มปี ระสิทธิภาพในการเพิ่มคา่ ออกซเิ จนในน้าและประจลุ บล้อมรอบฟองท้าใหก้ ารจับกบั สิ่งปฏิกูลต่างๆ ในน้าลอยขึ้นมาอยู่ด้านบนได้ดี ความหนาแน่นของฟองอากาศละเอียดที่สูงจึงสามารถคงตัวอยู่ ในใต้น้าได้นานท้าให้ปริมาณออกซิเจนระดับก้นบ่อและผิวน้ามีปริมาณใกล้เคียงกันคุณสมบัติทั้งหมด ส่งผลให้ความถี่ในการเปล่ยี นน้าลดลง อีกทงั้ ยงั ลดระยะเวลาในการเล้ยี งแตล่ ะรอบ เทคโนโลยีไฟน์บับเบ้ิลถูกใช้อย่างกว้างขวาง เช่น การเพาะเล้ียงสัตว์น้า การบ้าบัดน้าเสีย การเพาะลูกปลา เป็นต้น โดยใช้คุณสมบัติท่ีพิเศษท่ีเกิดจากการผลิตฟองอากาศละเอียด ซ่ึงมีพ้ืนที่ ผิวที่มีประจุล้อมรอบจึงเหมาะที่จะใช้ในการประมงเพ่ือช่วยให้สัตว์น้าแข็ งแรงและเจริญเติบโตเร็ว ศูนย์ความเป็นเลิศทางวิชาการพลาสมาแรงสูงและไฟน์บับเบิ้ลด้านการเกษตรและการประมงข้ันสูง (Center of excellence of high voltage, plasma and micro/nano bubble applications to advanced agriculture and aquaculture, RMUTL (COE.HVP&MNBA4)) มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลล้านนา เชียงใหม่ สามารถสร้างเครื่องไฟน์บับเบิ้ลซึ่งผลิตฟองอากาศละเอียด ที่มีประสิทธิภาพสูง โดยใช้วัสดุท่ีหาได้ท่ัวไปและลดการน้าเข้าวัสดุจากต่างประเทศ และมีเครือข่าย ในการใช้เครื่องไฟน์บับเบิ้ลในกิจกรรมทางการเกษตรกับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พ้ืนที่ต่างๆ ท้ังนี้พื้นท่ีเชียงรายได้น้าเทคโนโลยีไฟน์บับเบ้ิลมาใช้ส้าหรับเล้ียงปลานิล โดยมีการวิจัย ความเป็นไปได้ในการลดต้นทุนในการเพาะเลี้ยง ได้แก่ ระยะเวลาในการเล้ียง แรงงาน ทรัพยากรน้า ซง่ึ เริม่ ศึกษาตั้งแต่ พ.ศ. 2560 เปน็ ตน้ มา
3 การเลี้ยงปลาในห้องปฏิบัติการโดยใช้เครอ่ื งไฟน์บับเบ้ิลเพ่ือเติมอากาศเปรียบเทียบกับระบบ ปั๊มออกซเิ จนซึง่ เป็นแบบด้งั เดิมทีเ่ กษตรกรในอ้าเภอพานใชง้ านและพัฒนาระบบบ้าบัดน้าแบบสามถัง ส้าหรับเพิ่มคุณภาพน้าโดยการแยกสารแขวนลอยที่เกิดจากหลักการลอยตัวขึ้นบนผิวน้าของ ไฟน์บับเบิ้ลโดยการตักออกเองมีความยุ่งยากในการจัดการน้าเสีย และต้องการการจัดการเพื่อให้ เกิดความเป็นอัตโนมัติมากข้ึน [2] และเมื่อน้าไปใช้กับผู้ประกอบการในพ้ืนที่อ้าเภอพานซ่ึง มีการอนุบาลด้วยความหนาแน่นสูง ส่งผลให้ต้องเปลี่ยนถ่ายน้าบ่อยครั้งเพ่ือความอยู่รอดของลูกปลา [3] จากข้อจ้ากัดเบื้องตัน งานวิจัยน้ีจึงมีการศึกษาต่อยอดโดยออกแบบการก้าจัดขี้ปลาโดยใช้ เคร่ืองดรัมฟิลเตอร์ส้าหรับกรองข้ีปลาแบบอัตโนมัติ ท้างานร่วมกับบ่อบ้าบัดน้าแบบ 3 ถัง เพ่ือ ให้การกรองของเสียแขวนลอยมีความสะดวกและไม่ต้องใช้แรงงานเพิ่มเติมในกระบวนการจ้ากัด ของเสีย ทง้ั ยงั ทา้ ให้นา้ มภี าวะท่ยี ังคงเลยี้ งลูกปลาได้โดยใช้จา้ นวนครั้งในถ่ายน้าลดลงซง่ึ จะเปน็ การลด การรบกวนลูกปลานิลทีม่ โี อกาสตดิ เชื้อ หรือตายจากการเปลยี่ นถ่ายน้าอีกดว้ ย 1.2 วตั ถุประสงคข์ องกำรวจิ ัย เพื่อพัฒนาระบบก้าจัดขี้ปลาส้าหรับบ้าบัดน้าเสียในบ่ออนุบาลปลานิลด้วยฟองอากาศระดับ ไมโครและนาโนเมตร 1.3 สมมตฐิ ำนของกำรวจิ ัย การเล้ียงปลาโดยใช้น้าไฟน์บับเบิ้ลร่วมกับการบ้าบัดน้าแบบ 3 ถัง พร้อมการกรอง ของเสียแขวนลอยด้วยเคร่ืองดรัมฟิลเตอร์ สามารถเพ่ิมอัตราการเจริญเติบโตและเพิ่มอัตราการรอด ของลกู ปลานลิ เมื่อเทียบกบั บ่อเล้ยี งด้วยระบบเตมิ ฟองอากาศ 1.4 ขอบเขตของกำรดำเนนิ งำนวิจัย 1.4.1 ออกแบบและพัฒนาระบบบ้าบัดน้าส้าหรับการอนุบาลปลานิลโดยใช้เคร่ืองไฟน์บับเบ้ิลที่ สรา้ งฟองอากาศละเอียด 1.4.2 ออกแบบโครงสรา้ งและระบบควบคุมเครอื่ ง ดรมั ฟิลเตอร์ ส้าหรบั กา้ จดั ข้ปี ลา 1.4.3 หาสภาวะทเ่ี หมาะสมในการก้าจัดขปี้ ลาและสง่ิ ปฏกิ ลู ต่างๆ 1.4.4 เปรียบเทียบอัตราการเจริญเติบโต อัตราการรอด และคุณภาพน้าของบ่อเล้ียงที่มี การเพ่ิมอากาศโดยใช้เคร่ืองไฟน์บบั เบลิ้ ร่วมกับระบบบ้าบดั นา้ ส้าหรบั การอนุบาลปลานิลที่ มีเครื่องดรัมฟิลเตอร์ในการกรองข้ีปลา เปรียบเทียบกับบ่ออนุบาลปลานิลท่ีใช้ การเติมอากาศแบบหัวทราย
4 1.5 ประโยชน์ทคี่ ำดวำ่ จะได้รบั 1.5.1 ประโยชน์ทน่ี ักศกึ ษาได้รับ 1.5.1.1 ได้ระบบบา้ บัดน้าส้าหรบั การอนบุ าลปลานิลโดยใชเ้ ครื่องไไฟน์บับเบิ้ล 1.5.1.2 ได้เคร่ือง ดรมั ฟิลเตอร์ ในการบ้าบัดน้า 1.5.1.3 ไดส้ ภาวะท่ีเหมาะสมในการผลิตฟองอากาศเพือ่ ให้ไดป้ ระสทิ ธิภาพในการกา้ จัด ข้ปี ลาและสงิ่ ปฏกิ ูลตา่ งๆ 1.5.2 ประโยชนท์ ่ีมหาลยั ได้รับ 1.5.2.1 ไดเ้ ป็นตน้ แบบระบบบ้าบัดนา้ สา้ หรับการอนุบาลปลานลิ 1.5.3 ประโยชน์ท่สี งั คมจะไดร้ ับ 1.5.3.1 ได้เขา้ มาศกึ ษาระบบบา้ บดั น้าส้าหรับการอนุบาลปลานิลในมหาวิทยาลัย
บทที่ 2 ทฤษฎีและงานวจิ ัยที่เก่ียวขอ้ ง การจัดทาโครงงานเร่ืองการพัฒนาระบบกาจัดขี้ปลาสาหรับบาบัดน้าเสียในบ่ออนุบาล ปลานิลด้วยฟองอากาศละเอียดมีการศึกษาระบบบาบัดน้าเลี้ยงปลาเพื่อลดการเปลี่ยนถ่ายน้าร่วมกับ การใช้น้าท่ีมีฟองอากาศละเอียดเพื่อเพิ่มอัตราการเจริญเติบโตของลูกปลานิล ประกอบด้วยทฤษฎี และงานวจิ ยั ที่เกยี่ วข้องกบั ดงั นี้ 2.1 การเลย้ี งแบบหมนุ เวยี น 2.2 เทคโนโลยีไฟน์บบั เบ้ิล 2.3 การอนุบาลปลานิล 2.4 การวดั ประสิทธิภาพของการเลี้ยงปลานลิ 2.5 งานวิจัยทเี่ กยี่ วขอ้ ง 2.1 การเลยี้ งแบบหมนุ เวยี น ระบบน้าแบบหมุนเวียนเป็นเทคนิคการเลี้ยงปลาท่ีนาน้ากลับมาใช้ใหม่ในระบบการผลิต เ พ่ื อ ป ร ะ ห ยั ด น้ า โ ด ย ไ ม่ ต้ อ ง มี ก า ร เ ป ล่ี ย น ถ่ า ย น้ า ต ล อ ด ร อ บ ร ะ ย ะ เ ว ล า ข อ ง ก า ร เ ล้ี ย ง ป ล า แ ล ะ ลดผลกระทบการนาน้าทิ้งจากการเพาะเลี้ยงสู่สิ่งแวดล้อมและสามารถเพาะเลี้ยงสัตว์น้าได้ใน พื้นที่จากัด ระบบบาบัดหมุนเวียนส่งผลให้น้าท่ีใช้เล้ียงปลามีความสะอาด มีคุณภาพน้าเหมาะสม สาหรับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้า เล้ียงปลาที่ความหนาแน่นสูงและมีอัตราการเจริญเติบโตที่ดี สามารถ เล้ียงเพ่ือเสริมสร้างรายได้และเพื่อบริโภค [4] เช่น การเพาะเล้ียงปลานิลในระบบหมุนเวียนของ ประเทศเม็กซิโก [1] ได้พัฒนาระบบกรองน้าเสียจากการเลี้ยงก่อนนาน้ากลับเข้ามายังบ่อเลี้ยง โดยสร้างระบบกรองส่ีส่วน (ส่วนเก็บตะกอน, ตัวกรองโดยใช้ทรายและแรงดึงดูดของโลก ตวั กรองแบบชีวภาพและสว่ นท่ที าให้น้าใส) ดังแสดงใน (รูปที่ 2.1) รูปที่ 2.1 ระบบบาบัดน้าแบบหมุนเวียน [1]
6 จากรูปที่ 2.1 ระบบกรองที่ใช้ทาให้น้าเลี้ยงปลาถูกบริหารจัดการได้อย่างมีประสิทธิภาพ มากขึ้นจากลั กษณะของร ะบบกร องจะเห็น ได้ว่ามี คว าม จาเป็นต้ องมี การเปลี่ ยนวัส ดุเป็น ร ะ ย ะ เพอ่ื คงประสทิ ธภิ าพของเครอ่ื งกรองใหส้ ม่าเสมอ ระบบกรองที่สามารถทาความสะอาดตัวเองในรูปแบบของดรัมฟิลเตอร์ถูกพัฒนาเพ่ือ ลดกาลังคนท่ีเข้ามาดูแลรักษาเครื่องมือ ในงานที่ต้องการรักษาความสะอาดของน้าแบบอัตโนมัติ เริ่มมีการนาดรัมฟิลเตอร์มาใช้เพื่อการบาบัดน้าเสีย อย่างกว้างขวางในอุตสาหกรรมและ ทางการเกษตร 2.1.1 ดรัมฟิลเตอร์ เป็นเครื่องมือประสิทธิภาพสูงสาหรับแยกตะกอนหรือกากของแข็ง ออกจากของเหลว จะมีอปุ กรณ์ประกอบ [5] ดงั น้ี โรเตอร์สกรีน คือตัวหมุนให้วัสดุทรงกระบอกท่ีหุ้มด้วยตาข่ายมีการสัมผัสกับน้าท่ีต้อง การบาบัดอยา่ งท่ัวถึง โครงสร้างระบบ การลอยตัวเพื่อรองรับโรเตอร์สกรีนจะมีท่อทางเข้าท่ีผ่านส่วนของตัว โรเตอร์สกรีนตะกอนโดยวางท่อให้อยู่ระหว่างกลางของตัวโรเตอร์สกรีน และมีท่อขาออกเพ่ือ ลาเลยี งข้ปี ลาและเศษอาหาร หัวฉีดสเปรย์ ระบบสเปรย์ทาความสะอาดถูกติดต้ังด้านบนเหนือระดับโรเตอร์สกรีนเพื่อ แยกสว่ นทเ่ี ป็นตะกอนออกจากโรเตอร์สกรนี ไปยงั ท่อขาออก ตาข่าย มีหน้าที่กรองตะกอนผ่านรูพรุนขนาดเล็ก (20-100 ไมครอน) โดยเลือกใช้ขนาด รูพรนุ ตามวตั ถปุ ระสงค์ของงาน การติดตั้งดรีมฟิลเตอร์เพ่ือใช้ปรับปรุงคุณภาพน้าหรือการใช้เล้ียงปลาโดยระบบหมุนเวียน จะมีการศึกษาความเร็วของการหมุนของโรเตอร์สกรีนและขนาดรูพรุนของตาข่าย ให้เหมาะสม ข้นึ อยูก่ บั จานวนเศษอาหารหรอื ของเสยี [5] 2.1.1.1 รูปแบบและหลักการทางานของดรัมฟิลเตอร์ [6] ดรัมฟิลเตอร์ มี 2 ประเภท คือ Outer Feed และ Inner Feed โดยลักษณะพิเศษ และข้อจากดั ของเครอ่ื งมือทง้ั สองประเภท ดังนี้ ดรัมฟิลเตอร์ แบบ Outer Feed เป็นการนาน้าเสียเข้าสู่เคร่ืองดักขยะโดยการปั๊มเข้าสู่ ถังกระจายน้าภายในเคร่ืองจักรซึ่งลักษณะเป็นตะแกรงทรงกระบอก (โรเตอร์สกรีนท่ีหุ้มด้วยตาข่าย รพู รนุ ขนาดเล็ก) ทีถ่ ูกออกแบบใหม้ ลี ักษณะป้องกนั การอุดตันของเศษขยะดว้ ยการหมนุ อย่างช้า ๆ ไป ด้านหนา้ เพื่อใหข้ ยะทป่ี ะปนมากับน้าเสยี ถกู ดกั ไว้หน้าตะแกรงและถูกปาดออกด้วยใบมีดอีกดา้ นดังรูป ท่ี 2.2 รูปท่ี 2.2 ดรัมฟลิ เตอรแ์ บบ Outer feed [6]
7 โรเตอร์สกรีนจะมีการทาความสะอาดหลังการปาดโดยน้าท่ีหัวฉีดสเปรย์ น้าเสียที่ ถูกแยกขยะออกแล้วจะผ่านทะลุเข้าสู่ตะแกรงทรงกระบอกด้านในลงสู่ช่องออกด้านล่างของตะแกรง เพื่อออกไปบาบดั ในขบวนการถดั ไป ดรัมฟิลเตอร์ แบบ Inner Feed เป็นแบบกรงหมุนภายในจะเหมาะกับงานที่มีเศษ เป็นปริมาณน้อย ตัวหมุนจะออกแบบให้เป็นทรงกระบอกหมุนช้า เม่ือถึงจุดฉีดด้วยหัวสเปรย์ จะฉีดเศษตกลงมายงั ที่รองรับและไหลออกดา้ นนอก และไหลไปยงั บ่อเกบ็ ของเสยี ดงั รูปที่ 2.3 รปู ที่ 2.3 ดรัมฟลิ เตอร์แบบ Inner feed [7] เครื่องดรัมฟิลเตอร์ท่ีออกแบบเพ่ือบาบัดน้าเสียจาเป็นต้องคานึงถึงตัวแปรด้านขนาดรูพรุน ของตาข่ายและความเร็วรอบของการหมุน [5,8] ซึ่งขึ้นอยู่กับความเหมาะสมของงานท่ีประยุกต์ใช้ โดยความเร็วรอบของดรัมฟิลเตอร์ [9] สามารถคานวณได้ ดงั น้ี D1 x N1 = D2 x N2 (2.1) เม่อื D1 = เส้นผ่านศูนย์กลางลอ้ ขับ (mm) D2 = เส้นผา่ นศนู ยก์ ลางลอ้ ตาม (mm) N1 = ความเรว็ รอบล้อขบั (1/min) N2 = ความเร็วรอบล้อตาม (1/min) 2.1.1.2 ประโยชนข์ องดรมั ฟลิ เตอร์ [6] ดรัมฟิลเตอร์ถูกเลือกใช้ตามลักษณะงานซึ่งสัมพันธ์กับกลไกลของการกรองตะกอน ออกจากน้าเสีย จึงพบว่าดรัมฟิลเตอร์แบบ Outer Feed ถูกใช้กับงานอุตสาหกรรมอาหาร, อุตสาหกรรมน้าตาลและอุตสาหกรรมแป้ง เนื่องจากลักษณะตะกอนมีปริมาณมากจึงจาเป็นต้อง
8 การปาดตะกอนออกเพ่ือลดภาระการทางานของเคร่ืองกรอง ในขณะที่งานท่ีมีตะกอนปริมาณน้อย และต้องการความสะอาดของน้าในระดับสูงนิยมใช้ดรัมฟิลเตอร์แบบ Inner Feed ซ่ึงสามารถเก็บ ตะกอนได้ดีกว่าโดยพบว่าเคร่ืองดรัมฟิลเตอร์รูปแบบน้ีจะใช้ฟาร์มปลาและการบาบัดน้าชลประทาน เป็นต้นการพัฒนาระบบบาบัดน้าในการอนุบาลปลานิลด้วยฟองอากาศละเอียดซึ่งมีปริมาณของเสีย ในบ่อเล้ียงจานวนน้อยและต้องการน้าท่ีมีความสะอาดสูงสาหรับการเลี้ยงแบบหมุนเวียนท่ีมี ความหนาแน่นของปลาสูงการออกแบบดรัมฟิลเตอร์ในรูปแบบ Inner Feed จึงเหมาะสมสาหรับ การยืดระยะการเปล่ยี นถา่ ยนา้ และคงคุณภาพน้าใหเ้ ป็นอย่างดี 2.2 เทคโนโลยีไฟนบ์ ับเบ้ลิ เทคโนโลยีไฟน์บับเบิ้ล (Fine bubbles) [10] เป็นเทคโนโลยีผลิตฟองอากาศที่มีอนุภาค ขนาดเลก็ มาก ระดับไมโครเมตรหรือนาโนเมตร มกี ารนยิ ามคาศัพท์ท่เี ก่ียวขอ้ งให้เป็นสากลสอดคล้อง กบั มาตรฐาน International Organization for Standardization ในปี พ.ศ.2560ได้มีการนิยามเส้น ผ่านศนู ย์กลางของฟองอากาศไวด้ งั รูป 2.4 รูปที่ 2.4 นิยามของฟองอากาศละเอยี ดไฟนบ์ บั เบิ้ล [10] ขนาดฟองอากาศถูกนยิ ามด้วยคาสาคญั 4 แบบ คอื (1) บับเบิ้ล (bubble): ฟองอากาศ (2) ไฟน์บบั เบลิ้ (fine bubble): ฟองอากาศขนาดไมโครบับเบิ้ลและนาโนบับเบ้ิลอยู่รวมกนั (3) อลั ตรา้ บบั เบิ้ล (ultrafine bubble): ฟองอากาศระดับนาโนเมตร (4) ไมโครบบั เบล้ิ (microbubble): ฟองอากาศระดับไมโครเมตร เคร่ืองผลิตฟองอากาศละเอียด (ไฟน์บับเบิ้ล) ทาให้ได้น้า ลักษณะคล้ายสีของนม โดยฟองอากาศที่มีขนาดระดับไมโครบับเบิ้ลมีการลอยขึ้นสู่ผิวน้าอย่างช้า ๆ สาหรับ ฟองอากาศระดับไฟน์บับเบ้ิลจะสามารถคงสภาพอยู่ในน้าได้นานกว่าเป็นเวลาหลายเดือน(รูปท่ี 2.5)
9 นอกจากนั้นสมบัติของไฟน์บับเบ้ิลท่ีมีพ้ืนท่ีผิวอากาศมหาศาล ไม่รวมตัวกันเป็นฟองขนาดใหญ่ ทาให้สามารถละลาย หรือแทรกตัวในตัวกลางที่เป็นของเหลว เช่น น้า ได้มากกว่าสภาวะปกติ หลายเท่าตวั [11] รูปที่ 2.5 ความสามารถคงตัวของฟองอากาศแตล่ ะขนาด [11] ในปัจจุบันมีการนาไปประยุกต์ใช้เทคโนโลยีไฟน์บับเบ้ิลอย่างกว้างขวาง เช่น การเพาะปลูก การเพาะเลี้ยงสัตว์น้า การบาบัดน้าเสีย เป็นต้น การเพาะเลี้ยงสัตว์น้าในประเทศไทยมีการพัฒนาใน รูปแบบเชิงธุรกิจมากขึ้น โดยการเลี้ยงสัตว์น้าแบบความหนาแน่นสูง (Intensive system) การจัดการน้าด้วยระบบกึ่งปิดหรือระบบปิดท่ีมีการหมุนเวียนน้าท่ีผ่านการบาบัดให้มีคุณภาพดี แล้วน้ากลับมาใช้ใหม่เพื่อช่วยประหยัดน้าและป้องกันการติดเช้ือจากภายนอก อย่างไรก็ตามปัญหา ที่พบบอ่ ยคือการขาดออกซิเจนในนา้ และคุณภาพนา้ ทีเ่ สอื่ มโทรมอันเกดิ จากการสะสมของเสยี ภายใน บ่อซ่ึงมาจากส่ิงขับถ่ายและเศษอาหารเหลือตกค้าง เทคโนโลยีไฟน์บับเบ้ิลถูกนามาประยุกต์ ใช้ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าเพื่อเพิ่มความสามารถในการละลายของก๊าซออกซิเจนในน้าได้ดีข้ึน และอยู่ได้นานขึ้นเพื่อเสริมสร้างภาวะที่เหมาะต่อการดารงชีวิตของส่ิงมีชีวิตอันหมายรวมถึงสัตว์น้า และจุลินทรีย์ในบ่อ และยังเพิ่มประสิทธิภาพในการย่อย สลายของเสียภายในบ่อได้ ซ่งึ เปน็ หนทางบาบัด (รูปที่ 2.6 ) คณุ ภาพน้าให้ดขี ึ้นอกี ด้วย [12] รูปที่ 2.6 ระบบการทางานของเคร่ืองไฟนบ์ บั เบ้ิล [12]
10 2.2.1 ระบบการลอยตะกอน ระบบการลอยตะกอนดว้ ยอากาศละลายเป็นเทคโนโลยีไฟน์บับเบ้ิลที่ใช้สาหรับกาจัดของเสีย หรือตะกอนแขวนลอยออกจากน้าโดยใช้การจับตัวระหว่างของตะกอนและฟองอากาศละเอียด ซ่ึงมีประจุต่างกัน [13] นอกจากน้ันไฟน์บับเบ้ิลมีคุณสมบัติเฉพาะตัว และคุณสมบัติที่ เอือ้ ต่อการเพาะเลี้ยงสตั ว์นา้ [14] ดังนี้ 2.2.2 คุณสมบัตเิ ฉพาะของไฟนบ์ ับเบ้ิล ฟองอากาศขนาดเล็กระดับไมโครเมตรหรือนาโนเมตรไม่สามารถมองเห็นด้วยตาเปล่า มีพ้ืนท่ีผิวของอากาศจานวนมหาศาล ทาให้สามารถละลายหรือแทรกตัวในตัวกลางที่เป็นของเหลว เช่น น้า นอกจากนั้นท่ีผิวของไฟน์บับเบ้ิลมีประจุลบล้อมรอบ สามารถดูดจับตะกอนให้ลอยสู่ผิวนา้ ได้ และไฟน์บบั เบ้ลิ สามารถคงตวั อย่ใู นน้าได้นานนับเดือน 2.2.3 คุณสมบตั ิต่อคณุ ภาพน้า ไฟน์บับเบ้ิลสามารถเพิ่มค่าออกซิเจนในน้าให้สูงข้ึนได้ เน่ืองจากความหนาแน่นของ ฟองอากาศท่ีหนาแน่นสูง ทาให้อากาศถูกจับตัวอยู่ในฟองขนาดเล็ก และจมตัวใต้น้า ซึ่งทาให้ ค่าออกซิเจนของน้าท่ีระดับผิวน้ากับก้นบ่อใกล้เคียงกัน ทั้งยังทาให้อุณหภูมิของน้าก้นบ่อกับผิวน้า ไม่แตกต่างกันมากนัก ถือเป็นการเติมอากาศที่ก้นบ่อ จึงทาให้สัตว์น้ามีสุขภาพแข็งแรง เพ่ิมอัตราการเจริญเติบโตของสัตว์น้าได้ ไฟน์บับเบ้ิลมีประจุเป็นลบทาให้สารอินทรีย์ที่แขวนลอย ในน้าซ่ึงมีประจุบวกเกิดการจับตัวและลอยตัวข้ึนบนผิวน้า จึงสามารถลดการขุ่นของน้าจากสาร แขวนลอย แสงแดดส่องลงไปได้ลึกในบ่อ ทาให้แพลงก์ตอนพืช ซึ่งเป็นอาหารสัตว์เจริญได้ดี กาจัดการสะสมของเสียในบ่อเลี้ยง นอกจากน้ันในภาวะท่ีเล้ียงสัตว์น้าแบบหนาแน่นไฟน์บับเบ้ิล จะเข้าไปเร่งสมดุลของไนโตรเจนให้เร่งการกาจัดของเสียของสารประกอบไนโตรเจนในฟอร์มที่ มีความเป็นพิษสูงบริเวณก้นบ่อให้อยู่ในฟอร์มที่เป็นพิษต่าลง ผลดังกล่าวทาให้ภาวะเป็นพิษ ของนา้ โดยรวมลดลง 2.2.4 คุณสมบตั ติ อ่ คณุ ภาพของสัตว์น้า ไฟน์บับเบิ้ลมีคุณสมบัติทาให้สัตว์น้าสุขภาพดี แข็งแรง เติบโตไว มีภูมิต้านทาน ต่อโรคต่างๆ สูง ทาให้ลดภาระค่าใช้จ่ายในการป้องกันและยารักษาโรคสัตว์น้า นอกตากคุณภาพน้า ท่ีดีทาให้สัตว์น้ามีการเจริญเติบโตได้เต็มที่แล้วประจุไฟฟ้าของไฟน์บับเบ้ิลยังมีผลเร่งการเจริญเติบโต ของสัตว์น้าอีกด้วย ทาให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพและสม่าเสมอลดระยะเวลาในการเล้ียงแต่ละรอบ การเล้ยี ง จากการใชเ้ ทคโนโลยีไฟน์บบั เบ้ลิ ในการเลี้ยงหอยนางรม(oyster) ในประเทศญีป่ ุน่ พบวา่ ทา ใหห้ อยนางรมมอี ตั ราการเจรญิ เติบโตมากกวา่ วิธีการเลี้ยงทไี่ ม่มีไฟน์บับเบ้ิล 1.5 เท่า 2.2.5 คุณสมบัติตอ่ การบรหิ ารจดั การ ไฟน์บับเบิ้ลสามารถเพิ่มค่าออกซิเจนในนา้ ทาให้ความถ่ีในการเปลี่ยนถา่ ยนา้ ลดลง ทาให้ ตน้ ทนุ ของยารกั ษาโรคปลาซึง่ เปน็ ผลจากการเปล่ยี นถา่ ยนา้ และค่าใช้จา่ ยในการเปลยี่ นถ่าย น้านอ้ ยกว่าการเติมอากาศรปู แบบอ่นื นอกจากน้นั ไฟนบ์ ับเบ้ิลมีคณุ สมบัติในการบาบัดน้า จงึ ทาใหล้ ดค่าใชจ้ า่ ยในการบาบดั น้ากอ่ นการทิ้งนา้ ท่ีใช้เลีย้ งลงในท่สี าธารณะ และลดมูลค่า ความเสียหายในกระบวนการขนสง่ สัตว์น้า เนอ่ื งจากสามารถขนสง่ สตั วน์ า้ ไดร้ ะยะทางไกลข้นึ [15]
11 2.3 การอนุบาลปลานลิ การอนุบาลปลานิลเป็นข้ันตอนเร่ิมแรกในการเตรียมลูกปลาก่อนปล่อยเพื่อเล้ียงขายใน บ่อดินโดยข้ันตอนนี้มีส่วนช้ีวัดว่าเกษตรกรผู้เลี้ยงปลานิลจะได้ผลประกอบการมากน้อยเพียงใด ซ่ึงข้ึนอยู่กับคุณภาพของลูกปลาที่ได้มาก่อนนามาเลี้ยงในบ่อดิน จากการถอดบทเรียนของ จานงค์ฟารม์ พบวา่ ในแต่ละข้ันตอนของการอนุบาลปลามีวธิ ีการดงั น้ี 2.3.1 การผสมพันธุ์ของปลาพ่อพันธุ์แม่พนั ธุ์ พ่ อ พั น ธ์ุ แ ม่ พั น ธุ์ ป ล า จ ะ ถู ก เ ล้ี ย ง ใ น ภ า ว ะ จ า ล อ ง รู ป แ บ บ ท่ี เ กิ ด ข้ึ น ต า ม ธ ร ร ม ช า ติ ด้ ว ย สัดส่วน 2:1 บ่อเลี้ยงถูกจาลองให้อยู่ภายใต้สภาวะฝนตกตลอด 24 ชั่วโมง เพ่ือให้เกิดผสมพันธุ์ อยู่ตลอดเวลา กระบวนการดังกลา่ วทาให้เกบ็ เกี่ยวไขป่ ลาได้ทุกวนั ดังรูปที่ 2.7 รูปที่ 2.7 การเทไข่ปลาออกจากปากแม่ปลา (จานงคฟ์ าร์ม อ.พาน จ.เชยี งราย) ไข่ปลาหลงั การผสมพนั ธุจ์ ะถูกเก็บไวท้ ี่ปากของแม่พันธุป์ ลาการอนบุ าลปลาจะต้องนาไข่ปลา ออกมาฟักเลย้ี งโดยมีวิธีการดังนี้ 1) ลดระดับน้าในบอ่ ลงเหมือนกบั การเปล่ียนถ่ายน้าในบอ่ ปลา 2) ทาการตอ้ นแม่พันธ์ุปลาไปในจดุ เดียวกนั โดยใชต้ าข่าย 3) ทาการเทไข่ปลาออกจากปากปลาแม่พันธุ์ทลี ะตัวใส่ในภาชนะทเี่ ตรยี มไว้ ปริมาณไขจ่ ะขึ้นกับ ขนาดของแม่พนั ธป์ุ ลา - แมพ่ นั ธุ์ขนาด 1-2 กิโลกรมั จะให้ไข่ปลา 1700 ฟอง - แม่พันธข์ุ นาด 0.8-1 กิโลกรมั จะใหไ้ ข่ปลา 1000 ฟอง - แม่พันธ์ุขนาด 0.5-0.8 กโิ ลกรมั จะใหไ้ ขป่ ลา 700 ฟอง 2.3.2 การท้าความสะอาดและดแู ลไขป่ ลา ไข่ปลาที่ได้จากการเทออกมาจากปากแม่พันธ์ุปลาจะถูกนามาชาระล้างด้วยน้าท่ีผ่านเคร่ือง ออกซิเจนมาแล้ว เป็นจานวน 4-5 คร้ัง กอ่ นนาไปผ่านน้าดา่ งทบั ทิมเพื่อเตรียมสง่ ไปยงั บ่อพักไข่ปลา
12 รูปท่ี 2.8 อุปกรณท์ ่ีฟักไขป่ ลา (ฟาร์มลงุ จานงค์ อ.พาน จ.เชยี งราย) ถังฟักไข่ปลา (รูปที่ 2.8) มีความจุ 50,000 ฟอง/ถัง ไข่ปลาจะถูกฟักเลี้ยงตาม รูปแบบธรรมชาติคือการใช้น้าทาระบบหมุนเวียนเพื่อไม่ให้ไข่ปลาทับซ้อนกันจะทาให้ไข่ปลา นนั้ เนา่ หรอื เสียหายจนกระทั่งเกิดเป็นลูกปลาซงึ่ ถูกลาเลียงไปยังถาดกรองลกู ปลาเพ่ือแยกลูกปลาออก จากไข่เพือ่ รอระยะทไ่ี ขจ่ ะหลดุ ออกจากตวั ปลากระบวนการนีจ้ ะใชเ้ วลา 5 วนั 2.3.3 การแปลงเพศและการอนุบาลลูกปลานิล ลูกปลาท่ีไข่หลุดออกแล้วจะมีขนาดเท่าใบมะขามจะถูกนามาแปลงเพศเพ่ือให้ได้ตัวผู้ทั้งหมด เน่ืองจากมีความแข็งแรงและให้น้าหนักมากกว่าตัวเมีย ก่อนนาไปเลี้ยงในบ่ออนุบาล ใน ปรมิ าณ 10,000 ตัว/บ่อ บ่ออนุบาลปลานิลจะมีลักษณะเป็นบ่อซีเมนต์ขนาด 2 x 2 เมตร ความลึกของบ่อ 50 เซนติเมตร (รูปที่ 2.9) โดยการอนุบาลปลานิลใช้ระยะเวลา 1-2 เดือน เพ่ือให้ได้ขนาดปลาตาม ตอ้ งการ - ขนาดปลา 1.0-2.0 เซนตเิ มตร ราคา 0.50 บาท/ตวั - ขนาดปลา 2.5-3.0 เซนตเิ มตร ราคา 1 บาท/ตัว การให้อาหารสาหรับการอนุบาลปลาขนาดใบมะขามในช่วงแรกจะให้อาหารเป็นปลาป่น ซึ่งมีโปรตีนปริมาณสูงประมาณ 1 กามือ ด้วยความถ่ี 4-6 คร้ัง/วัน จนกระท่ังปลาโตได้ ระยะที่สามารถกินอาหารเม็ดได้จึงเปลี่ยนเป็นอาหารปลาเม็ดขนาดเล็กซ่ึงช่วยเพิ่มโปรตีนและ ไขมนั ให้ปลามนี ้าหนกั และความแข็งแรง รูปท่ี 2.9 การอนุบาลปลาในบอ่ ซเี มนต์ (จานงค์ฟารม์ อ.พาน จ.เชยี งราย)
13 กระบวนการท้ังหมดที่กล่าวมาสามารถสรุปได้ (รูปที่ 2.10) โดยโครงงานวิจัยนี้ จะมคี วามสนใจศกึ ษาการอนุบาลปลาในระยะปลาใบมะขามไปถึงชว่ งระยะปลาลงบ่อดนิ รปู ท่ี 2.10 แผนผงั แสดงการอนุบาลปลานลิ กรอบสแี ดงคอื ระยะอนุบาล 2.4 การวดั ประสิทธภิ าพของการเลีย้ งปลานลิ [2] การวัดประสิทธิภาพของลูกปลานิลจะถูกพิจารณาโดยใช้การเจริญเติบโต อัตราการรอด ของปลาและคณุ ภาพของน้าเลี้ยงเปน็ เกณฑ์ 2.4.1 อตั ราการเจรญิ เตบิ โตของปลา คือการวดั หาค่าความเจริญเติบโตของปลาในแต่ละวัน โดยการวัดค่าจะเปรียบเทยี บท้งั สองบอ่ เพื่อหาความแตกตา่ งของอัตราการเจริญเตบิ โต อตั ราการเจริญเตบิ โตเฉลี่ยต่อวนั (Average Daily Growth: ADG) กรมั /วนั ADG = นา้ หนักปลาท่ีสุ่มได้ (กรัม) - นา้ หนักปลาที่สมุ่ ไดค้ ร้ังกอ่ น (กรัม) (2.2) ระยะหา่ งของวันสมุ่ วดั อตั ราการรอดตาย (Survival rate); เปอร์เซนต์ คอื การวัดหาอตั ราการรอดตายของจานวณปลาในแต่ ละบอ่ เพือ่ เปรียบเทียบอัตรารอดต่อการเลย้ี งในแตล่ ะครั้ง อตั รารอด = จานวนปลาทเี่ หลอื ×100 (2.3) จานวนปลาทป่ี ลอ่ ย 2.4.2 การวดั คุณภาพน้า [16] ปริมาณออกซิเจนท่ีละลายน้า (dissolved oxygen, DO) ออกซิเจนที่ละลายในน้า บอกถึงความสะอาดของน้าเบื้องต้น เนื่องจากในน้าเสียจากกิจกรรมทางการเกษตรจะมีแบคทีเรียท่ี ต้องการใช้ออกซิเจนในการดารงชีวิต (aerobic bacteria) เพ่ิมข้ึน ท้ังนี้ความต้องการออกซิเจน
14 ของแบคทีเรียน้ีจะทาให้ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้าลดลง ในน้าท่ีสะอาดจะมีค่า DO สูง และน้าเสียจะมีค่า DO ต่า มาตรฐานของน้าที่มีคุณภาพดีโดยท่ัวไปจะมีค่า DO ประมาณ 5-8 ppm หรือปรมิ าณ O2 ละลายอยูป่ ริมาณ 5-8 มลิ ลิกรัม / ลติ ร หรือ 5-8 ppm น้าเสยี จะมคี า่ DO ตา่ กว่า 3 ppm ค่า DO มีความสาคัญในการบ่งบอกว่าแหล่งน้านั้นมีปริมาณออกซิเจนเพียงพอต่อความต้อง การของสง่ิ มีชวี ติ [17] อุณหภูมิ (temperature) อุณหภูมิของน้ามีผลในด้านการเร่งปฏิกิริยาทางเคมี อุณหภูมิท่ีสูง จะทาให้ปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้าลดลง ในส่วนของอุณหภูมิของสัตว์น้าในเขตร้อน จะมีการเจริญเติบโตลดลงเม่ืออุณหภูมิต่ากว่า 26-28 องศา และอาจจะตายถ้าอุณหภูมิลดลงต่ากว่า 10-15 องศา [18] pH แสดงความเป็นกรดหรือเบสของน้า น้าเลี้ยงปลามีค่าpH อยู่ระหว่าง 6.5-8.5 เหมาะ แก่การเลี้ยงปลามากที่สุดหากน้าเป็นกรดมากปลาจะไม่อยากกินอาหาร ความต้านทานโรคต่า หากน้าเป็นดา่ งมากปลาจะตาย ORP (Oxidation Reduction Potential)คือการวัดแนวโน้มของชนิดสารเคมีเพื่อรับ อิเล็กตรอน(ตัวออกซิไดส์)และให้อิเล็กตรอน(ตัวรีดิวซ์)กล่าวอย่างง่ายๆคือ ORPคือชนิด ของดชั นที ่ีแสดงถึงระดบั ความสามารถในการเกิดออกซเิ ดชันและการเกิดรีดักชนั หากความสามารถใน ก า ร รี ดั ก ชั น ( ต้ า น อ นุ มู ล อิ ส ร ะ ) มี ค่ า สู ง จ ะ ใ ห้ ค่ า ORPล ด ล ง ( เ ป็ น ล บ ) แ ต่ ห า ก ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น การออกซิเดชันมีค่าสูง จะให้ค่าORPสูงขึ้น(เป็นบวก)โดยท่ัวไปแล้ว ORPจะวัดในหน่วย มลิ ลิโวลต์(mV)ในระบบบาบดั น้าเสียคา่ ORPถูกใชเ้ ป็นเกณฑว์ ัดประสทิ ธิภาพของการปรับปรุงคุณภาพ นา้ ระบบบาบัดที่มปี ระสทิ ธิภาพสูงจะมคี ่าORPเป็นบวกสงู COND (uS/cm) หรือ การนาไฟฟ้า เป็นวิธีวัดความสามารถของน้าในการส่งผ่าน กระแสไฟฟ้าซึ่งเกิดจากมีอยู่ของสารประกอบอนินทรีย์ที่ละลายอยู่ในน้า เช่น แอนไอออน ของคลอไรด์ไนเตรต ซัลเฟต และฟอสเฟต (แอนไอออนคือไอออนท่ีมีประจุลบ) หรือ แคทไอออน ของโซเดยี มแมกนีเซยี ม เหลก็ และอะลูมิเนียม (แคทไอออนคือไอออนทมี่ ปี ระจุบวก) TURB (NTU) ความสามารถของน้าท่ีสะกัดก้ันหรือดูดซับปริมาณแสงท่ีส่องผ่านไว้ได้ ส่ิงที่ทาให้น้าขุ่น ได้แก่ อินทรีย์และอนินทรีย์สารในน้า ตลอดจนสิ่งมีชีวิตเล็ก ๆ โดยปรากฏ อยู่ในลักษณะสารแขวนลอย เช่น อนุภาคของดิน ทราย แพลงก์ตอน แบคทีเรยี เปน็ ต้น TDS (g/L) (Total Dissolved Solids: TDS) คือ หมายถึงปริมาณของแข็งที่แขวนลอยหรือ ละลายอยู่ในน้ารวมถึงไอออน แร่ธาตุเกลือหรือโลหะละลายในปริมาณที่กาหนดของน้าแสดง ในหน่วยของมิลลิกรัมต่อหน่วยปริมาตรของน้า (มิลลิกรัม/ลิตร) หรือส่วนในล้าน (PPM) TDSจะเกี่ยวข้องโดยตรงกับความบริสุทธ์ิของน้าและมีผลต่อทุกอย่างที่อาศัยอยู่ในน้า TDS เป็นค่า ที่บอกถึง “สารที่ละลายได้” ไม่ว่าจะเป็นอินทรีย์หรืออนินทรีย์อัน ได้แก่ แร่ธาตุใด ๆ , เกลือ, โลหะ, ไพเพอร์หรือแอนไอออนท่ีละลายในน้า ซ่ึงรวมถึงสิ่งท่ีอยู่ในน้าอ่ืน ๆ ในรูปแบบโมเลกุลและสาร แขวนลอย
15 2.5 งานวจิ ยั ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ตางรางท่ี 2.1 งานวิจยั ท่เี กี่ยวข้องกบั การพฒั นาระบบไฟนบ์ ับเบ้ลิ ในการประมง ผู้วิจัยอา้ งอิง วัตถุประสงค์ ผลการวจิ ัย พงศธร และคณะ (2560) [2] เปรยี บเทียบการเลีย้ งปลานิลใน ร ะ บ บ ก า ร เ ลี้ ย ง ป ล า นิ ล บ่อพลาสติกโดยใช้ระบบไมโคร ประกอบด้วยไฟน์บับเบิ้ล นาโนบับเบิ้ลและระบบปั๊ม ร่วมกับบาบัดน้า 3 ถังเล้ียง ออกซเิ จน ปลาในความหนาแน่น 16ตัว/ ตารางเมตร โดยน้าหนักปลา เร่ิมต้นเฉลี่ย 55 กรัม โดยค่า อัตราการเจริญเติบโตเฉล่ีย 1.73 กรัม/วัน และ 1.66 กรัม/วัน ตามลาดับคิดเป็น 2.4 เทา่ อุดมศักด์ิ และณัฐพงศ์ (2560) พัฒนาระบบไมโครนาโนบับเบิ้ล ระบบการอนุบาลปลานิล [3] สาหรบั การอนบุ าลปลานลิ ประกอบด้วยบ่อเล้ียงไฟน์ บับเบ้ิลร่วมกับการบาบัดน้า แบบ 3 ถังเลี้ยงปลาในความ ห น า แ น่ น สู ง ม า ก ( 5 0 0 ตั ว / ตารางเมตร) โดยน้าหนัก เริ่มต้นเฉลี่ย 1.6 กรัม โดยค่า อัตราการเจริญเติบโตเฉล่ีย 0.19 กรัม/วัน และ 0.15 กรมั /วนั ตามลาดบั ธรรมนญู รศั มีมาสเมือง (2554) เปรียบเทียบประสิทธิภาพใน ระบบท่ี 2 ซึ่งใช้เทคโนโลยี [13] การผลิตน้าประปา ระหว่าง ไฟน์บับเบ้ิลช่วยให้ตะกอน ระบบท่ีใช้การตกตะกอนด้วย ลอยข้ึนละปาดตะกอนออก แรงโน้มถ่วง(ระบบ1)กับระบบ จากบ่อจะผลิตน้าปะปาได้ ท่ีใช้การลอยตะกอนด้วยอากาศ มากกว่าระบบ 1 เท่า 5.5 เท่า ละลาย(ระบบ2)
16 ตางรางท่ี 2.1 งานวิจัยท่เี กีย่ วข้องกบั การพัฒนาระบบไฟนบ์ ับเบ้ลิ ในการประมง (ตอ่ ) K. Ebina และคณะ (2556) ศึ ก ษ า ก า ร เ พิ่ ม อั ต ร า ก า ร ปลาเรนโบว์เทราท์ที่เลี้ยงใน [19] เจริญเติบโต ของปลาเรนโบว์ น้านาโนบับเบ้ิลมีอัตราการ เทราท์ โดยการเลี้ยงด้วยระบบ เจริญเติบโตกว่าการเลี้ยงใน MNB น้าธรรมดาประมาณ 1.14 เทา่ T. Hata และคณะ (2561) [20] -ศึกษาการใช้เทคโนโลยีไฟน์ -การใช้ไฟน์บับเบิ้ลในขุ้นการ บับเบ้ิลเพ่ือเพ่ิมอัตราการรอด อาบสารเคมีเพ่ือฆ่าเชื้อของ ของปลาหางเหลืองในข้ันตอน ปลาหางเหลืองทาให้การตาย การฆา่ พยาธกิ อ่ นการเพาะเลี้ยง ของปลาหางเหลืองจากเดิม -ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างค่า 5% เปน็ 0% DO กั บ พ ฤ ติ ก ร ร ม ก า ร กิ น -ค่า DO ของน้าลดลงเม่ือปลา อาหารของปลาสาลี สาลีกินอาหารท้ังนี้คา่ ดังกล่าว สามารถเพิ่มข้ึนด้ว ย ไ ฟน์ บับเบิ้ล S. Khuntia และคณะ (2553) ศึกษาการใช้ไฟน์บับเบิ้ลเพ่ือ -ฟองละเอียดสามารถดึงดูด [21] กาจัดอนุภาคขนาดเล็กในน้า อนุภาคแขวนลอยไว้ท่ีผิวของ เสยี ฟอง -ของเสียจากอลูมิเนียมเป็น ป ร ะ จุ บ ว ก ไ ฟ น์ บั บ เ บ้ิ ล ท่ี มี ประจุเป็นลบมีความสามารถ เกาะตัวกับตะกอนที่มีประจุ บวกได้ดี H. Tsutsumi และคณะ (2548) ศึกษาการประยุกต์ใช้เคร่ือง ไมโครนาโนบับเบิ้ลที่มีอัตรา [22] สร้างไมโครบับเบ้ิลเพื่อการ การไหล 2 ลิตร/นาทีสามารถ เพาะเล้ียงสัตว์น้าทะเล ในกระ เพ่ิมประมาณออกซิเจนจาก ซงั 20% เป็น 95% ของน้าทะเล ที่อยู่ในกระซังปริมาตร 1.4 ลูกบาศก์เมตร โดยใช้เวลา 200 นาที
17 ตารางท่ี 2.2 งานวจิ ยั ทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั การพฒั นาระบบดรมั ฟลิ เตอรใ์ นการบาบดั นา้ เสีย ผวู้ ิจัยอ้างอิง วตั ถปุ ระสงค์ ผลการวจิ ัย R. J Wietharn (2558) [5] การออกแบบเครื่องกรองแบบ เครื่องกรองที่พัฒนาจะอยู่ใน ทาความสะอาดตวั เองได้สาหรับ รูปแบบของดรัมฟิลเตอร์ซ่ึง งานชลประทาน สามารถทาความสะอาดตัวเอง ได้จากชิ้นส่วนทห่ี วั ฉีดแรงดนั S. A. Ali (2556) [8] ก า ร ใ ช้ กั ง หั น น้ า ใ น ก า ร - กั ง หั น น้ า ช่ ว ย ใ น ก า ร ขับเคล่ือนดรัมฟิลเตอร์สาหรับ ขับเคลื่อนไปพร้อมกับการทด การเลย้ี งปลานิล รอบเพอ่ื ประหยดั พลงั งาน E. Dolan และคณะ (2556) ศึกษาตัวแปรที่จาเป้นในการ ก า ร ล้ า ง ย้ อ น ก ลั บ [23] เ ลื อ ก ใ ช้ ไ ม โ ค ร ส ก รี น ด รั ม (backwash)แบบต่อเนื่องทา ฟิลเตอร์สาหรับการเลี้ยงใน ระบบหมุนเวียน ให้โรเตอร์สกรีนไม่อุดตันจึง เพ่มิ อัตราการไหลของนา้ ไดด้ ี M. A. T. Koçer (2561) [24] ศึ ก ษ า ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ข อ ง โรตารีดรัมฟิลเตอร์ที่มีขนาดรู โรตารีดรัมฟิลเตอร์ในบ่อปลาเท พ รุ น ข อ ง ต า ข่ า ย 2 0 0 ร า ท์ ท่ี มี ก า ร ใ ช้ น้ า จ า ก แ ม่ น้ า ไมโครเมตร สามารถกาจัด Eşen สายเดยี วกัน ของแข็งแขวนลอยในบ่อโดย เฉลีย่ สูงถงึ 40% จากตางรางที่ 1 ได้พัฒนาการเลี้ยงปลานิลในบ่อพลาสติกท่ีมีการเพิ่มอากาศในน้าด้วยระบบ MNB ร่วมกับการบาบดั นา้ ท่ีใช้หลักการลอยตัวของตะกอนซึ่งเปน็ สมบัติของ MNB ในรปู แบบของการ บาบัดน้าแบบ 3 ถัง โดยเลี้ยงปลาท่ีมีน้าหนักเริ่มต้นเฉล่ีย 55 กรัม ในความหนาแน่น 16 ตัว/ตารางเมตร เปรียบเทียบกับการเลี้ยงท่ีมีระบบปั๊มออกซิเจน จากระยะเวลาเก็บข้อมูล 6 สัปดาห์ สามารถทาให้ปลามีอัตราการเจริญเติบโตเฉลี่ย 1.73 กรัม/วัน และ 1.66 กรัม/วัน ตามลาดบั คดิ เป็น 2.4 เทา่ [2] จากการวัดการเจริญเติบโตของปลูกปลานิลใน 8 สัปดาห์ โดยเลี้ยงปลาในความหนาแน่น 500 ตัว/ตารางเมตร เริ่มต้นปลามีน้าหนักเฉล่ีย 1.6 กรัม หลังเสร็จส้ินการทดลองพบว่าน้าหนักเฉลย่ี ของปลาท่ีเล้ียงในบ่อ MNB และบ่อทดลองควบคุม มีค่าเป็น 12.76±0.76 กรัม และ5.30±1.26 กรัม
18 ตามลาดับ ซ่ึงคิดเป็นอัตราการเจริญเติบโตของปลานิลท่ีเลี้ยงในบ่อ MNB และบ่อทดลองควบคุม 0.19 กรมั /วัน และ 0.15 กรัม/วัน ตามลาดับ [3] ระบบบาบัดน้าเพื่อการใช้สอยในอมตะนครประกอบด้วยการกรองทางกายภาพเละเคมี โดยท่ีระบบ 1 สารเคมีถูกปล่อยเข้าไปยังระบบเพื่อช่วยให้ตะกอนเกิดการจับตัวและตกลงมาตาม แรงโน้มถ่วงหลังจากนั้นจึงปล่อยน้าด้วยแรงดันสูงส่งไปกรองต่อยังถังทรายกรอง ส่วนระบบ 2 ใช้ ระบบไมโครบับเบิ้ลใช้ในการลอยข้ึนสู่ผิวหน้าของน้าร่วมกับการปาดตะกอนจากผิวหน้าออก ซึ่งทางานเสร็จส้ินภายในถังเดียวซึ่งพบว่าการใช้ระบบ 2 มีความเป็นอัตโนมัติมากข้ึนและ มีอัตราการผลิตสูงกว่าระบบ 1 เท่ากับ 5.5 เท่า แต่จาเป็นต้องปรับปรุงวิธีการเพ่ือเพิ่มความสะอาด ของนา้ ใหท้ ัดเทียมกบั ระบบ 1 [13] การใช้นาโนบับเบิ้ลในการเล้ียงปลาอายุ(3 สัปดาห์)กับปลาเรนโบว์เทรท์(6 สัปดาห์) เปรียบเทียบกับการเล้ียงในน้าธรรมดาพบว่ามีอัตราการเจริญเติบโตหลังเสร็จส้ินการทดลองของ ปลาอายุและเรนโบวเ์ ทราท์เปน็ 2.1 เทา่ และ1.7 เท่า ตามลาดับ [19] การใช้ไฟน์บับเบิ้ลในการฆ่าพยาธิของปลาหางเหลือด้วยวิธีอาบสารเคมีสามารถลด อัตราการตายของปลาจากรูปแบบเดิม (5%ของจานวนทั้งหมด)ลดลงเป็น 0% นอกจากนั้น เมื่อประยุกต์ใช้ไฟน์บับเบ้ิลในการเลี้ยงปลาสาลีพบว่าจากเดิมท่ีออกซิเจนท่ีละลายในน้า (DO) มีค่า ลดลงเมื่อปลากินอาหารประมาณ 1.5 มิลลิกรัม/ลิตร แต่ค่าDO ในน้าสามารถเพิ่มข้ึนได้ เมอ่ื มกี ารเปิดเครือ่ งผลติ ฟองอากาสละเอยี ด [20] การกาจัดอนุภ าคของแข็งขนาดเล็กท่ีกระจายบนผิ วน้า สามารถทาได้โดยหลักการลอย ตัวของตะกอนด้วยไมโครบับเบ้ิล โดยการประยุกต์ใช้สามารถทาได้กับสารในกลุ่ม สาร แขวนลอย อนุภาคขนาดเล็ก ตะกอน ไอออน จุลินทรีย์ในน้า โปรตีน และน้ามันท่ีลอยอยู่ในน้า เป็นต้น น อ ก จ า ก นั้ น ยั ง พ บ ว่ า ต ะ ก อ น ที่ มี ป ร ะ จุ เ ป็ น บ ว ก ส า ม า ร ถ ก า จั ด โ ด ย ก า ร จั บ ตั ว กั บ ไ ฟ น์ บั บ เ บิ้ ล ซ่งึ มีประจลุ บสงู ไดด้ ี [21] เครื่องผลิตไมโครบับเบิ้ลโดยใช้หัวฉีดแรงดันซ่ึงมีอัตราการไหล 2 ลิตร/นาทีถูกนามา ใช้ควบคุม DO ในการเลี้ยงแบบกระซังในทะเลของปลาจานแดง ออกซิเจนอิ่มตัวในน้ามีการเพิ่มขึ้น จากเดิมเป็น 75% เม่ือใช้เวลา 200 นาทีในพ้ืนที่ 1.4 ลูกบาศก์เมตร คิดเป็น 4.5 เท่าของเครื่องเติม อากาศแบบเดิม [22] ระบบทาความสะอาดด้วยตัวเองของดรัมฟิลเตอร์ทาให้ความเสี่ยงด้านการอุดตัน ของอนุภาคของเสียที่ตาข่ายลดลง การออกแบบระบบนี้ทีการติดตั้ง หัวฉีดแรงดันไว้ท่ีด้านบน ของตวั ถังเหนือระดับน้าเพือ่ ทาหน้าที่ฉดี น้าทาความสะอาดสาหรับชะล้างของเศษของเสียซึง่ ตดิ อยู่บน โรเตอร์สกรนี ออกไปจงึ ทาให้ดรัมฟลิ เตอร์มลี ักษณะพเิ ศษและเหมาะสาหรับงานชลประทาน [5] ดรัมฟิลเตอร์ในระดับอุตสาหกรรมซ่ึงใช้กังหันในการขับเคล่ือน ถูกประกอบโดยใช้ตาข่าย ท่ีมีรูพรุนขนาด 100 ไมโครเมตร และรองรับน้าเสีย 10 กิโลกรัม/ตารางเมตร-นาที และมีการใช้งาน
19 ท่ีจาเป็นต้องคานึงถึงอัตราการไหลของน้าโดยออกแบบให้ใช้งานได้ในพ้ืนที่ช่วง 1.58 ถึง 27.87 m2 และความเร็วของการหมุนโรเตอร์สกรีน 1.05 ถึง 8.40 รอบ/นาที ตามลาดับ พบว่าในการเล้ียง ปลานิลท่ี EL-Nenaeia fish farm ภายในระยะเวลา 4 เดือน โดยมีการวัดการเจริญเติบโตของปลา 2 เดือน/ครั้ง พบว่าอัตราการเจริญเติบโตของปลาเป็น 34.22 ± 8.85% ถึง 52.41 ± 16.77% นอกจากน้ันการขบั เคลอื่ นดรัมฟิลเตอรด์ ้วยกงั หนั นา้ ใช้พลังงานเพียง 18 กโิ ลวัตต์/วนั [8] การเลือกใช้ดรัมฟิลเตอร์ต้องคานึงถึงโครงสร้างพื้นฐานของเคร่ือง ระบบน้า และตาแหน่ง ติดตั้งของโรเตอร์สกรีน โดยการทางานของเคร่ืองจะมีการล้างย้อนกลับซึ่งถูกออกแบบเพ่ือแก้ปัญหา ก า ร อุ ด ตั น ข อ ง แ ข็ ง ท่ี ผิ ว ห น้ า ข อ ง โ ร เ ต อ ร์ ส ก รี น มี ท้ั ง รู ป แ บ บ ข อ ง ก า ร ท า ง า น แ บ บ ต่ อ เ นื่ อ ง แ ล ะ เป็นระยะ ประสิทธิภาพของการกรองข้ึนอยู่กับขนาดรูพรุนของตาข่ายโดยพิจารณาได้จากขนาด อนุภาคที่อยู่ในน้าเสีย อัตราการไหลของน้า ตลอดจนความสามารถในการรองรับน้าของเครื่องกรอง ตัวแปรขา้ งต้นดังกลา่ วไปแลว้ ต้องมีการหาสภาวะทเ่ี หมาะสมให้สอดคล้องกับงานท่ตี ้องการ [23] โรตารีดรัมฟิลเตอร์ท่ีมีขนาดรูพรุนตาข่าย 200 ไมโครเมตรถูกออกแบบสาหรบั บ่อปลาเทราท์ ซึ่งใช้น้าจากแม่น้าEşenสายเดียวกัน จานวน 8 บ่อซ่ึงรองรับน้าท่ีปริมาณและอัตราการไหลสูง จากการวัดค่าเฉลยี่ ของปรมิ าณของแขง็ ทง้ั หมดเป็น 2.6 ± 1.1 มลิ ลกิ รัม/ลิตร และปริมาณของแข็งใน น้าขาออกจากบ่อเล้ียงเป็น 6.0 ± 4.3 มิลลิกรัม/ลิตร ประสิทธิภาพของดรัมฟิลเตอร์สามารถ กาจัดของแข็งแขวนลอยท้ังหมดอยู่ระหว่าง 18 ถึง 32% ใขขณะท่ีของแข็งแขวนลอยในบ่อเลี้ยงอยู่ ระหว่าง 28 ถงึ 53% [24] รปู ท่ี 2.11 สรปุ งานวิจัยทีเ่ กย่ี วขอ้ งของไฟน์บบั เบ้ิล
20 รูปท่ี 2.11 มีการรวบรวมงานวิจัยเกี่ยวข้องกับการพัฒนาไฟน์บับเบิ้ลท่ีใช้สาหรับ การเพาะเล้ียงสัตว์น้าตั้งแต่ปี พ.ศ.2548-2561 จากการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเทคโนโลยีไฟน์บับเบ้ิล มีความสาคัญต่อการดารงชีวิตของสัตว์น้าในการเพ่ิมออกซิเจนในน้า โดยเคร่ืองไฟน์บับเบิ้ลสามารถ ผลิตฟองอากาศละเอียดสามารถคงตัวอยู่ในน้าได้นานโดยฟองอากาศละเอียดนี้จะทาให้ปริมาณ ออกซิเจน (DO) ในน้าเพ่ิมข้ึนสูง จึงช่วยเพิ่มอัตราการเจริญเติบโต อีกทั้งยังเพิ่มพฤติกรรม การกนิ อาหารตลอดจนทาให้สตั วน์ า้ มสี ุขภาพแข็งแรง และคณุ สมบัติของไฟน์บับเบิ้ลมปี ระจเุ ป็นลบทา ให้สารอินทรีย์ท่ีแขวนลอยในน้าซึ่งมีประจุบวกเกิดการจับตัวและลอยตัวข้ึนบนผิวน้า จึงสามารถ ลดการขุ่นของน้าจากของเสียแขวนลอย โดยส่วนใหญ่ไฟน์บับเบิ้ลนิยมนาไปเล้ียงกับปลา เช่น ปลาเทราท์เรนโบว์ ปลานิล ปลาจานแดง เป็นต้น รูปที่ 2.12 สรปุ งานวิจยั ท่เี กี่ยวขอ้ งของระบบดรัมฟลิ เตอร์ในการบาบัดนา้ เสีย รูปท่ี 2.12 มีการรวบรวมงานวิจัยเกี่ยวข้องกับการพัฒนาระบบดรัมฟิลเตอร์แบบดักจับ ตะกอนภายในต้ังแต่ปี พ.ศ.2556-2561 จากการศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ดรัมฟิลเตอร์รูปแบบน้ีถกู ใช้ ในการกาจัดของเสียแขวนลอยซึ่งมีการประยุกต์ใช้กับการกาจัดของเสียจากการเพาะเล้ียงสัตว์น้าและ การชลประทาน มีการปรับปรุงประสิทธิภาพของการกรองในด้านขนาดรูพรุนของตาข่าย อัตราเร็ว ของโรเตอรส์ กรีน และตาแหนง่ การวางเคร่ืองกรองในระบาบัดน้า โดยพิจารณาจาก ความเรว็ การไหล และกาลงั รองรับของน้าที่แตกตา่ งกันตามความเหมาะสมของงาน
บทท่ี 3 วิธีการดาเนินงาน งานวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบการบ้าบัดน้าเสียส้าหรับการอนุบาลปลานิล โดย ออกแบบโครงสร้างและระบบควบคุมเครื่องดรัมฟิลเตอร์ ส้าหรับก้าจัดข้ีปลาในระบบการเลี้ยงด้วย ไฟน์บับเบ้ิลและท้าการตรวจสอบคุณภาพน้าและอัตราการเจริญเติบโตของลูกปลานิลเปรียบเทยี บกับ ชุดทดลองควบคุม ซง่ึ สามารถอธบิ ายในรูปแบบแผนการด้าเนนิ งาน ดงั นี้ เร่มิ ต้น ศึกษางานวจิ ยั ที่เกีย่ วข้อง ออกแบบและสร้างระบบดรมั ฟลิ เตอร์ ส้าหรับก้าจัดข้ปี ลา ทดสอบระบบดรัมฟลิ เตอร์ ไมผ่ ่าน (หัวขอ้ 3.2) ผา่ น ไมผ่ ่าน นา้ ระบบไปทดลองใช้ ในการอนุบาลปลานิล(หวั ข้อ 3.3) ผา่ น เปรยี บเทยี บอัตราการเจริญเติบโตและอตั ราการรอดของลูกปลานิลในบอ่ DFFB และบอ่ หัวทราย ทราย สรุปและอภปิ รายผลการท้างาน ส้นิ สดุ รูปท่ี 3.1 ขั้นตอนการออกแบบระบบการบ้าบัดน้าเสียส้าหรับการอนุบาลปลานิลด้วยฟองละเอยี ด
22 3.1 การออกแบบและสรา้ งระบบดรัมฟลิ เตอร์ สาหรบั กาจดั ขีป้ ลา การด้ าเนิ น งาน เร่ิมจ ากการออกแบ บ โครงส ร้างแล ะ ว งจ รใน การ ควบ คุมการท้ างาน ขอ ง ดรัมฟิลเตอร์ จากน้ันทา้ การสร้างและตดิ ตง้ั ระบบดรัมฟิลเตอร์ โดยอธบิ ายเป็นขน้ั ตอนดังน้ี 3.1.1 การออกแบบโครงสร้างระบบดรมั ฟลิ เตอร์ การออกแบบบล็อกไดอะแกรมการท้างานของระบบดรัมฟิลเตอร์ โดยใช้อุปกรณ์ ได้แก่ ชุดแปลงกระแสไฟฟ้า (power supply) โมดูล PWM Controller มอเตอร์กระแสตรง โรเตอร์สกรีน หัวฉีดลา้ งแรงดัน ปัม๊ น้าสา้ หรบั ฉดี รางล้าเลียงข้ีปลาและถังเก็บขี้ปลา รูปที่ 3.2 บลอ็ กไดอะแกรมการท้างานของระบบดรัมฟิลเตอร์ จากรูปที่ 3.2 การออกแบบการท้างานของระบบดรัมฟิลเตอร์ โดยจ่ายไฟฟ้ากระแสสลับที่ แรงดัน 220 โวลต์ ให้กับ ชุดแปลงกระแสไฟฟ้า (power supply) ให้เปลี่ยนจากไฟฟ้ากระแสสลับ เปน็ ไฟฟ้ากระแสตรงที่แรงดัน 12 โวลต์ น้าไปจ่ายให้กบั PWM Controller เพื่อควบคุมความเร็วของ มอเตอร์ ซึ่งมอเตอร์จะขับเคลื่อนโรเตอร์สกรีน และมีป๊ัมน้าท้าหน้าท่ีในการฉีดล้างโรเตอร์สกรีนด้วย หวั ฉดี แรงดนั (Nozzle) ขี้ปลาทีถ่ ูกฉีดลา้ งจะไหลไปยังถงั เกบ็ ข้ีปลา (Tank4) 2 35 1 46 รปู ท่ี 3.3 การออกแบบโครงสร้างระบบดรัมฟิลเตอร์สา้ หรับก้าจดั ขี้ปลา
23 จากรูปที่ 3.3 ระบบดรัมฟิลเตอร์จะถูกติดตั้งที่ถังบ้าบัดที่ 1 โดยใช้มอเตอร์กระแสตรง 24 โวลต์ 350 วัตต์ (หมายเลข 1) ขับเคลื่อนการหมุนโรเตอร์สกรีนเก็บข้ีปลา (หมายเลข 2) และใช้ ป๊ัมน้าขนาด 0.5 แรง (หมายเลข 4) ดูดน้าผ่านท่อขนาด 1 น้ิว จากถังเก็บขี้ปลา (หมายเลข 6) ภายในถังมีผ้าส้าหรับกรองน้าขี้ปลา จากนั้นน้าจะถูกดูดข้ึนไปยังหัวฉีดน้าแรงดันเพื่อฉีดล้างโรเตอร์ สกรนี ให้ขี้ปลาตกลงไปส่รู างล้าเลียงขีป้ ลา (หมายเลข 5 ) แล้วไหลไปถังเกบ็ ขี้ปลา (หมายเลข 6) 3.1.2 การออกแบบโครงสรา้ งระบบดรมั ฟลิ เตอร์สาหรบั อนุบาลปลานิลด้วยไฟน์บับเบล้ิ การออกแบบการน้าระบบดรัมฟลิ เตอรเ์ ข้าท้างานรว่ มกับระบบไฟน์บับเบิ้ลและถังบ้าบัดทั้ง 3 ถงั เพอ่ื แยกขปี้ ลาหรอื ส่ิงปฏกิ ลู ต่างๆ (ก) รูปที่ 3.4 บลอ็ กไดอะแกรมแสดงการท้างานของระบบ จากรูปท่ี 3.4 ระบบไฟน์บับเบิ้ล หรือเครื่องผลิตฟองอากาศขนาดไมโครและนาโนเมตร (micro/nano generator) ส้าหรับบ่ออนุบาลปลานิล ประกอบไปด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนของ การผลิตฟองอากาศละเอียดและสว่ นของการบ้าบัดน้า การทา้ งานของระบบไฟน์บบั เบิ้ล หลงั จากเปิด เคร่ือง เคร่ืองไฟน์บับเบิ้ลจะดูดน้าในบ่อเลี้ยงปลากับอากาศเข้ามาในตัวเครื่อง ใบพัดในตัวเคร่ือง ก็จะป่ันน้ากับอากาศผสมกัน จากนั้นน้าก็จะไหลผ่านเกจวัดแรงดัน P1 เข้าไปยังระบบดรัมฟิลเตอร์ น้าที่ผ่านการแยกขี้ปลา จะไปถังบ้าบัดนา้ ที่ 1 ซงึ่ ข้ีปลาจะไหลไปถังที่ 4 น้าจากถังบ้าบัดท่ี 1 จะไหล ไปยังถังบ้าบัดน้าท่ี 2 และ 3 ตามล้าดับ และมีป๊ัมน้าดูดน้าจากถังบ้าบัดท่ี 3 กลับไปสู่บ่ออนุบาลปลา เชน่ เดิม
24 4 3 2 5 16 รูปที่ 3.5 ระบบการอนุบาลปลานลิ ด้วยน้าไฟน์บับเบิ้ลท้างานร่วมกับดรัมฟิลเตอร์ ประกอบดว้ ย (1) เครือ่ งสา้ หรับสรา้ งฟองอากาศละเอียด, (2) ถังบา้ บัดน้าที่ 1, (3) ถังบ้าบัดน้าที่ 2, (4) ถงั บ้าบดั น้าที่ 3, (5) วาลว์ ปรับปรมิ าณอากาศ, (6) ระบบดรัมฟลิ เตอร์ จากรูปท่ี 3.5 แสดงระบบการอนุบาลปลานิลด้วยน้าไฟน์บบั เบิ้ลที่ทา้ งานร่วมกับดรัมฟิลเตอร์ ประกอบไปด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนของการผลิตฟองอากาศโดยเคร่ืองส้าหรับสร้างฟองอากาศละเอียด (หมายเลข 1) และส่วนของการบ้าบัดน้าซ่ึงประกอบไปด้วยถังขนาด 200 ลิตร จ้านวน 3 ถัง (หมายเลข 2,3,4) และระบบดรัมฟิลเตอร์ (หมายเลข6) โดยส่วนของถังท่ี 1 ถูกออกแบบและสร้าง ระบบดรัมฟิลเตอร์เพ่ือก้าจัดข้ีปลา การท้าน้าไฟน์บับเบ้ิล น้าในบ่ออนุบาลปลานิลถูกดูดโดยใช้ป๊ัมน้า หอยโข่งขนาด 750 วัตต์ เข้ามาในตัวป๊ัมน้า ในขณ ะเดียวกันน้ันเคร่ืองก็จะดูดอากาศ จากภายนอกผ่านท่อที่เจาะไว้ โดยมีวาล์วปรับปริมาณอากาศ (หมายเลข5) ที่ไหลเข้าเคร่ือง โดยมี แรงดันน้า 0.4 MPa ทางท่อปล่อยออกจากเครอื่ ง เมื่อเคร่ืองดูดน้ากับอากาศเข้ามาในตัวเครอ่ื ง ใบพัด ในตัวเครื่องก็จะปั่นน้ากับอากาศผสมกันเพื่อสร้างฟองอากาศขนาดเล็กจากน้ันน้าก็จะไหลผ่านท่อน้า ขาปล่อยเข้าไปในระบบดรัมฟิลเตอร์ เพ่ือกรองข้ีปลาออกจะน้าท่ีดูดข้ึนมา น้าท่ีถูกกรองจะตกลงสู่ถัง บ้าบัดถังท่ี 1 ขนาด 200 ลิตร จ้านวน 3 ถัง มีท่อเชื่อมต่อถึงกันถังบ้าบัดท่ี 3 จะถูกออกแบบท่อปล่อย นา้ อัตโนมตั ิเพือ่ ปล่อยน้าเขา้ สู่บ่อเล้ียงลกู ปลานิล
25 3.1.3 ออกแบบวงจรควบคมุ ระบบดรัมฟิลเตอร์สาหรับอนบุ าลปลานลิ ด้วยไฟน์บับเบลิ้ การออกแบบวงจรควบคุมระบบดรัมฟิลเตอร์และระบบไฟน์บับเบ้ิลด้วย เคร่ืองตั้งเวลา อตั โนมตั ิ (Timer) และแมกเนติกคอนแนคเตอร์ (K1) วงจรควบคุม วงจรกาลงั รูปที่ 3.6 วงจรควบคุมระบบดรมั ฟลิ เตอร์ดว้ ยไฟน์บับเบิ้ล จากรูปที่ 3.6 การออกแบบวงจรควบคุมระบบดรัมฟิลเตอร์ส้าหรับอนุบาลปลานิลด้วย ไฟน์บับเบ้ิล โดยจะมีหลักการท้างานคือเมื่อถึงเวลาที่ต้ังไว้ เครื่องต้ังเวลาอัตโนมัติตัวท่ี 1 (T1) และ ตัวท่ี 2 จะท้างานพร้อมกัน และท้างานเป็นเวลา 40 นาที และ 55 นาที ตามล้าดับ โดยที่เครื่องต้ัง เวลาอัตโนมัติตัวที่ 1 จะควบคุมแมกเนติกคอนแนคเตอร์เพื่อที่จะส่ังให้ป้ัมส้าหรับสร้างฟองละเอียด และมอเตอร์ดรัมฟิลเตอร์ท้างานและเคร่ืองตั้งเวลาอัตโนมัติตัวที่ 2 จะควบคุมป๊ัม P2 ท่ีท้าหน้าที่ดูด น้าจากถังบ้าบัดท่ี 3 กลับยังบ่อทดลองท้างาน โดยวงจรจะใช้สายไฟฟ้าขนาดเบอร์ 2.5 ตาราง มิลลิเมตร ใชเ้ ซอร์กิตเบรกเกอรข์ นาด 16 แอมแปร์ การติดตง้ั ดรัมฟลิ เตอร์กบั ระบบบ้าบดั น้าแบบ 3 ถัง หลังจากออกแบบโครงสร้างและการควบคุมระบบดรัมฟิลเตอร์ ส้าหรับก้าจัดข้ีปลาเสร็จ เรียบรอ้ ยแลว้ ได้มกี ารด้าเนนิ การตดิ ต้งั ดรัมฟลิ เตอร์ ดังนี้ 1. โครงสรา้ งระบบ โครงสร้างระบบของดรัมฟิลเตอร์ประกอบด้วยฐานวางมอเตอร์ ฐานวางรางท่อล้าเลียง ขี้ปลา มอเตอรแ์ ละรางลา้ เลยี งข้ปี ลา ดังน้ี
26 รปู ท่ี 3.7 ติดต้งั ฐานส้าหรับวางมอเตอร์และรางท่อลา้ เลยี งขี้ปลา จากรูปท่ี 3.7 แสดงการติดตั้งฐานวางของมอเตอร์และฐานวางรางท่อล้าเลียงข้ีปลาขนาด ความสูง 1 เมตร ถูกติดตั้งท่ีถังบ้าบัดที่ 1 มอเตอร์จะถูกยึดกับฐานวาง โดยโรเตอร์สกรีนจะถูก ประกอบเข้ากับมอเตอร์ รูปท่ี 3.8 โรเตอร์สกรีน จากรูปท่ี 3.8 โรเตอร์สกรีนท้าจากถังพลาสติกขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 28 เซนติเมตร ความยาว 30 เซนติเมตร ถกู เจาะใหเ้ ปน็ ช่องและคลมุ ดว้ ยผ้ากรองตาข่ายขนาด 1 มลิ ลเิ มตร
27 รปู ท่ี 3.9 รางลา้ เลยี้ งขี้ปลา จากรูปท่ี 3.9 รางล้าเลียงขี้ปลา ใช้ท่อพีวีซีขนาด 3 น้ิว ด้านในโรเตอร์สกรีนท่อถูกตัดให้ เหลือครงึ่ เพอ่ื ให้ข้ีปลาตกลงไปและถูกยึดกับฐานวาง ทอ่ ด้านนอกต่อไปยงั ถังเก็บขปี้ ลา จากการสังเกตการทา้ งานและหาความเรว็ การหมุนโรเตอรส์ กรนี ทีค่ วบคุมดว้ ย PWM Speed Controller (ดังรูปท่ี 3.6) พบว่าท่ี 24% คอื ค่าตา้่ ที่สุดที่มอเตอรม์ ีแรงในการขบั โรเตอร์สกรีน แต่การ หมุนของโรเตอร์สกรนี ยังมีความเร็วท่ีสูง ท้าให้น้าที่เข้าไปท้าการแยกขี้ปลาหรอื ตะกอนต่างๆ กระเด็น ออกด้านข้างเป็นจ้านวนมาก ทางผู้วิจัยได้เพ่ิมการทดรอบด้วยมู่เล่เพื่อลดความเร็วในการหมุนโรเตอร์ สกรีนใหต้ ่า้ ลงและมีความเสถียรภาพในการหมนุ มากข้ึน รปู ที่ 3.10 การทดรอบดว้ ยมู่เล่ จากรูปที่ 3.10 มูเ่ ลข่ ับขนาด 2 นิว้ มู่เลต่ ามขนาด 8 นวิ้ ถูกติดตงั้ เขา้ กบั มอเตอรข์ องระบบ ดรัมฟิลเตอร์ โดยทา้ การออกแบบและใส่เพิม่ ในระบบของดรมั ฟลิ เตอร์รูปแบบท่ี 2 ท้าใหต้ ัวโรเตอร์ สกรีนหมนุ ได้ดว้ ยความเร็วลดลงและคงท่ี
28 2. ระบบน้า ระบบของน้าท่ีใช้ส้าหรับฉีดล้างโรเตอร์สกรีนจะต่อจากแหล่งจ่ายน้าภายนอกห้องทดลอง โดยมีระบบลูกลอยในการปดิ เปิดนา้ ท่ีเข้ามาเตมิ ยังถงั เก็บข้ีปลา รปู ท่ี 3.11 หัวฉดี แรงดนั สา้ หรับฉีดลา้ งขปี้ ลา จากรูปที่ 3.11 ได้มีการติดต้ังหัวฉีดแรงดันขนาด 1 น้ิว จ้านวน 6 ตัว โดยมีแรงดันในการฉีด น้า 3.7 ลิตรตอ่ นาที โดยใช้ป๊ัมขนาด 0.5 แรง ดดู น้าจากถังเก็บขปี้ ลา ผ่านท่อขนาด 1 น้วิ ไปยงั หวั ฉีด แรงดนั เพื่อฉีดช้าระล้างตวั โรเตอร์สกรนี ทหี่ มุนกรองขปี้ ลา 3.2.3 ระบบควบคมุ การทางาน การท้างานระบบดรัมฟิลเตอร์และการท้างานของปั๊มส้าหรับสร้างฟองอากาศละเอียด ถกู ควบคมุ ด้วยเคร่อื งต้งั เวลาอตั โนมตั ิ (Timer) ดงั รปู ท่ี 3.15 T2 T1 K1 รปู ท่ี 3.12 เคร่ืองต้ังเวลาอัตโนมัตคิ วบคมุ การทา้ งานของระบบดรมั ฟิลเตอร์และปั๊มสา้ หรับ สร้างฟองอากาศละเอยี ด
29 จากรูปที่ 3.12 การต้ังเวลาการท้างานของเคร่ือง ท้างานวันละ 8 ครั้ง เร่ิมครั้งท่ี 1 เวลา 6.00-6.40 น. คร้ังท่ี 2 เวลา 9.00-9.40 น. คร้ังที่ 3 เวลา 12.00-12.40 น. ครั้งท่ี 4 เวลา 15.00-15.40 น. คร้ังท่ี 5 เวลา 18.00-18.40 น. คร้ังท่ี 6 เวลา 21.00-21.40 น. ครั้งท่ี 7 เวลา 00.00-00.40 น. คร้ังท่ี 8 เวลา 03.00-03.40 น. ระบบควบคุมการท้างานของดรัมฟิลเตอร์มีการส่ังการด้วยเคร่ืองต้ังเวลาอัตโนมัติ ซ่ึงจะ ท้างานพร้อมกับมอเตอร์ของดรัมฟิลเตอร์ ความเร็วมอเตอร์ถูกควบคุมผ่านโมดูล PWM Speed Controller โดยโมดูลนี้ใช้ควบคุมมอเตอร์กระแสตรงที่หมุนตัวโรเตอร์สกรีนของระบบดรัมฟิลเตอร์ โดยความเร็วของมอเตอร์มีความเร็วรอบสูงสุด 2750 รอบ ซ่ึงยังไม่เหมาะสมต่อการหมุนตัวโรเตอร์ สกรนี ดงั นั้นผู้วิจัยได้มีการทดสอบลดความเร็วรอบของมอเตอร์พบว่า ความเร็วต่้าสดุ ท่ียังสามารถขับ โรเตอร์สกรีนให้ทา้ งานได้คอื 24% คิดเป็น 2750x24% = 660 รอบตอ่ นาที แต่จากการทดลองโดยใช้ ความเร็วรอบดังกล่าว ยังไม่สามารถท้าให้โรเตอร์สกรีนมีความเร็วท่ีเหมาะสมได้ ดังนั้นผู้วิจัยได้มี การออกแบบการลดความเรว็ ของมอเตอร์โดยใช้มเู่ ล่ โดยใช้สมการที่ 2.1 ซึ่งแสดงการค้านวณดา้ นล่าง จากสมการ D1 x N1 = D2 x N2 เมอื่ D1 = 2 นิ้ว N1 = ความเร็วท่ี 24% = 660 รอบตอ่ นาที N2 = 165 รอบต่อนาที ดังนน้ั D2 = D1xN1 N2 = 2x660 165 = 8 น้วิ จากการค้านวณพบว่าหากต้องการลดความเร็วของมอเตอร์ (N1) จาก 660 รอบต่อนาที เป็นความเร็วรอบท่ี (N2) 165 รอบต่อนาที โดยมู่เล่ขับ (D1) มีขนาด 2 น้ิว จ้าเป็นต้องหามู่เล่ตาม (D2) เทา่ กบั ขนาด 8 นวิ้ เป็นขนาดที่ตอ้ งการ
30 การควบคมุ ความเรว็ ของโรเตอร์สกรนี ด้วยโมดูล PWM Speed Controller ชุดควบคมุ ระบบดรมั ฟลิ เตอร์ รูปที่ 3.13 ชุดควบคุมระบบดรัมฟิลเตอร์ จากรูปท่ี 3.13 ชุดควบคุมระบบดรัมฟิลเตอร์ด้วยโมดูล PWM Speed Controller มีช่วง ความเร็วสามารถปรับได้ 0% ถึง 100% แรงดันไฟฟ้าขาเข้า 0-60 โวลต์ กระแสไฟฟ้าขาออก 20 แอมแปร์ โดยความเร็วท่ีใช้ในการทดลองคือ 24% ซ่ึงความเร็วระดับน้ีใช้กระแสไฟฟ้าท่ี 3.4 แอมแปรแ์ ละแรงดันไฟฟา้ ท่ี 2.24 โวลต์ 3.2 การทดสอบระบบของดรมั ฟลิ เตอรก์ ่อนการเลีย้ งปลา ปัจจัยส้าคัญในการออกแบบให้ระบบดรัมฟิลเตอร์มีประสิทธิภาพในการก้าจัดขี้ปลาออก บ่อเล้ียงปลาประกอบไปด้วย 3 ปัจจัย คือ ความเร็วท่ีเหมาะสมในการหมุนของโรเตอร์สกรีน ระยะ ในการจมุ่ ของหวั ดดู ในบอ่ เล้ียงปลาและการทา้ ใหเ้ คร่ืองผลิตฟองอากาศละเอียดทา้ งานโดยอตั โนมัติ ตารางท่ี 3.1 การออกแบบการท้างานของระบบดรมั ฟิลเตอร์ ระบบดรัมฟิลเตอร์ การทดรอบมอเตอร์ ระยะจุม่ ของหัวดดู หวั ดดู กนั น้าไหลกลบั ระบบท่ี 1 ไม่มี กลาง มี ระบบที่ 2 มี ล่าง มี ระบบที่ 3 มี ลา่ ง ไม่มี จากตารางที่ 3.1 ผู้วิจัยได้ท้าการออกแบบระบบดรัมฟิลเตอร์เป็น 3 แบบ โดยศึกษาตัวแปร 3 ส่วน ได้แก่ การทดรอบ ระยะจุ่มของหัวดูดและหัวกันน้าไหลกลับ เพื่อท่ีหาประสิทธิภาพของ
31 ความเสถียรของโรเตอร์สกรีน ปริมาณข้ีปลาที่ดูดได้ ความแรงในการดูดและความอัตโนมัติใน การควบคุมปม๊ั สา้ หรับสรา้ งฟองอากาศละเอียด ก่อนการนา้ ไปทดลองใชก้ บั การอนุบาลปลานิล ระบบท่ี 1 หัวดดู รูปที่ 3.14 การออกแบบระบบท่ี 1 จากรูปที่ 3.14 แสดงการออกแบบระบบดรัมฟิลเตอร์แบบที่ 1 โดยโรเตอร์สกรีนหมุนด้วย ความเร็ว 660 รอบต่อนาที ระยะหัวดูดของป๊ัมส้าหรับสร้างฟองอากาศละเอียดอยู่ท่ี 20 เซนติเมตร จากระดับก้นบ่อ โดยเติมน้าไปในบ่อให้สูงจากก้นบ่อ 50 เซนติเมตร คิดเป็นน้าปริมาตร 1.58 ลูกบาศกเ์ มตร และใสห่ วั ดดู กนั นา้ ไหลกลบั ระบบท่ี 2 มู่เล่ หัวดดู รูปท่ี 3.15 การออกแบบระบบที่ 2
32 จากรูปที่ 3.15 แสดงรายละเอียดการออกแบบระบบดรัมฟิลเตอร์ท่ี 2 โดยคล้ายกับระบบที่ 1 แต่มีการปรับปรุงให้โรเตอร์สกรีนหมุนด้วยความเร็ว 165 รอบต่อนาที โดยติดตั้งมู่เล่ย์ขับขนาด 2 น้ิว และมู่เล่ตามขนาด 8 นิ้ว เพื่อท้าให้โรเตอร์สกรีนมีความเร็วในการหมุนลดลง และท้าการปรับ ระยะหัวดูดของป๊ัมส้าหรับสร้างฟองอากาศละเอียดอยู่ที่ก้นบ่อ โดยต่อท่อขนาด ¾ นิ้ว ความยาว 20 เซนติเมตร. และยังคงใสห่ ัวดูดกันนา้ ไหลกลับดังระบบที่ 1 ระบบที่ 3 ไม่มีหัวดูดกันน้าไหลกลบั รูปที่ 3.16 การออกแบบระบบท่ี 3 จากรูปที่ 3.16 แสดงการออกแบบดรัมฟิลเตอร์ระบบท่ี 3 โดยคล้ายกับระบบที่ 2 แต่มี การถอดหัวดูดกันน้าไหลกลับออก โดยผู้วิจัยได้ตั้งสมมุติฐานว่า การดูดจากท่อโดยตรงน่าจะสามารถ ดดู ขี้ปลาในบ่อปลาปรมิ าณมากขึ้น หลังจากได้ท้าการออกแบบระบบดรัมฟิลเตอร์ท้ัง 3 ระบบ ทางผู้วิจัยได้ท้าการทดสอบ ประสิทธิภาพของระบบดังกล่าว โดยได้ท้าการเปิดเครื่องเป็นเวลา 60 นาที สังเกตการท้างานของ ระบบได้แก่ ความเสถียรของโรเตอร์สกรีน ปริมาณข้ีปลาที่ดูดได้ ความแรงในการดูดขี้ปลา ความอัตโนมัติในการควบคุมปั๊มส้าหรับสร้างฟองอากาศละเอียด ค่าความขุ่น (NTU) และปริมาณ ของแข็งที่อยู่ในน้า (TDS) โดยใช้เคร่ืองมือวัด Horiba Multi-parameter Water Quality Meters ดงั รูปที่ 3.17 เพื่อเลือกการออกแบบที่เหมาะสมที่สุด ผลการทดสอบได้อภิปรายในบทท่ี 4 โดยพบว่า ระบบที่ 2 เป็นระบบที่เหมาะสมต่อการบ้าบัดน้าในบ่ออนุบาลปลานิล ซึ่งจะน้ามาใช้ในการทดลองใน หัวขอ้ ต่อไป
33 รปู ที่ 3.17 วดั คา่ พารามิเตอร์จากเคร่ืองวดั จากรูปที่ 3.17 การเกบ็ ค่าความขนุ่ ของน้า (NTU) และปริมาณของแขง็ ท่ีอยู่ในน้า (TDS) เม่ือ ทดสอบระบบดรัมฟิลเตอร์ ในการน้าไปปเรียบเทียบประสิทธิภาพการท้างานระว่างบ่อ DFFB และ บอ่ หวั ทราย เพ่ือเลอื กการออกแบบทเี่ หมาะสมท่ีสดุ 3.3 การอนุบาลปลานลิ ในบ่อทดลอง การเล้ียงแบบระบบ Drum Filter Fine Bubbles หรือ DFFB ที่มีระบบกรองแบบสามถัง ร่วมกับระบบดรัมฟิลเตอร์ถูกศึกษาเทียบกับระบบออกซิเจนหัวทรายร่วมกับการกรองตามภูมิปัญญา เกษตรกร การทดสอบประสิทธภิ าพของระบบท้ังสองมีการติดตามวดั คุณภาพน้าและการเจริญเติบโต ของปลานิล โดยการทดลองมีการควบคุมตัวแปรท่ีเก่ียวข้องคือ ลักษณะบ่อเล้ียง ขนาดและจ้านวน ปลา ลักษณะการให้อาหาร ความถี่ในการเปลี่ยนถ่ายน้า รายละเอียดทั้งหมดของการอนุบาลปลานิล เปน็ ดังนี้ คุณภาพน้าในบ่อเลี้ยงและการเจริญเติบโตของลูกปลานิลซึ่งมีการเก็บข้อมูลเป็นเวลา 28 วัน เพ่อื เปรยี บเทียบประสทิ ธิภาพการเลยี้ งลกู ปลานิลทง้ั สองรปู แบบ 3.3.1 การจดั เตรยี มบอ่ เล้ียง บ่อทดลองในห้องปฏิบัติการท่ีใช้ในการทดสอบประสิทธิภาพของระบบมีลักษณะเป็น ทรงกระบอก รัศมี 1 เมตร ความสูง 0.8 เมตร การเล้ียงจะใช้น้าประปาซึ่งเติมเข้าไปในบ่อจนมี ความสูง 0.5 เมตร จากกน้ บ่อ โดยคิดเป็นปรมิ าตรนา้ 1.57 ลูกบาศกเ์ มตร
3 34 2 1 23 1 รปู ท่ี 3.18 บอ่ ทดลองระบบ DFFB และระบบออกซเิ จนหัวทราย จากรูปท่ี 3.18 สภาพการอนุบาลปลานิล บ่อทดลองระบบ DFFB (หมายเลข 1) ถูกจัดให้มี สภาวะใกล้เคียงกัน เพ่ือควบคุมตัวแปรด้านอุณหภูมิและแสง โดยวางใกล้กับบ่อทดลองระบบ ออกซิเจนหัวทราย (หมายเลข 2) ซ่ึงท้างานร่วมกบั ถังกรองระบบกรองแบบภูมิปัญญาเกษตรกรขนาด 30 ลติ ร โดยวัสดุกรองในบ่อประกอบด้วย หนิ ทราย ไบโอบอล และผา้ ใยแก้ว (หมายเลข 3) 3.3.2 การเล้ียงปลานิล ปลานิลท่ีใช้ในการทดลองเล้ียงในบ่อทดลองขนาด 1 เซนติเมตร จ้านวน 500 ตัว (รูปท่ี 3.19) ถูกซ้ือมาจากจ้านงค์ฟาร์ม อ.พาน จ.เชียงราย ก่อนการเลี้ยงมีการปรับสภาพให้ปลา แข็งแรงก่อนการเล้ียง โดยพักในบ่อเลี้ยงเป็นเวลา 3 วัน เมื่อปลาถูกปรับสภาพแล้ว จะท้าการเลี้ยง ปลาด้วยความหนาแน่นสูง (80 ตัว/ตารางเมตร) โดยแต่ละบ่อใช้ลูกปลาจ้านวน 250 ตัว โดยท้างาน ของเคร่ืองสร้างฟองอากาศละเอียดและดรัมฟิลเตอร์ของบ่อ DFFB จะท้างานพร้อมกับเคร่ืองเติม อากาศของบ่อหัวทราย เคร่ืองจะท้างาน 40 นาทีและหยุดการท้างาน 2 ชั่วโมง 20 นาที ท้างาน
35 8 ครั้ง/วัน ดังนั้นท้ัง 2 ระบบท้างานดังเวลาต่อไปน้ี คร้ังท่ี 1 เวลา 6.00-6.40 น. ครั้งที่ 2 เวลา 9.00-9.40 น. คร้ังท่ี 3 เวลา 12.00-12.40 น. ครั้งท่ี 4 เวลา 15.00-15.40 น. คร้ังที่ 5 เวลา 18.00-18.40 น. ครั้งท่ี 6 เวลา 21.00-21.40 น. ครั้งท่ี 7 เวลา 00.00-00.40 น. คร้ังที่ 8 เวลา 03.00-03.40 น. รปู ที่ 3.19 ลักษณะลูกปลาทีใ่ ชใ้ นการทดลอง ระยะเวลาการเลี้ยงเพ่ือทดสอบประสิทธิภาพระบบ คือ 28 วัน โดยใช้อาหาร “ไฮเกรด 9961” ในการเล้ียงและให้อาหารจนอ่ิมตามรูปแบบการเลี้ยงของเกษตรกรที่เล้ียงในพ้ืนที่ อ.พาน ด้วยความถ่ี 3 ครั้ง/วัน: 08.00-09.00 น. , 11.00-12.00 น. และ 16.00-17.00 น. 3.3.3 การจดั การน้า การเปลี่ยนถ่ายน้าในการเล้ียงทั้งสองระบบมีความถี่ 2 สัปดาห์ต่อครั้ง โดยมีวิธีการคือ ปล่อยน้าออกจากบ่อให้มีปรมิ าณน้าเหลือเพียง 20% และท้าการขัดคราบสกปรกท่ีผนังบ่อออก ก่อน ลดระดับน้าให้เหลอื 10% จึงเตมิ น้าใหมท่ ดแทนใหไ้ ดป้ ริมาณน้าดงั เดมิ 3.4 การทดสอบประสทิ ธิภาพระบบการเล้ยี ง ประสิทธิภาพของระบบการเลี้ยงปลานิลพิจารณาโดยตรงจากสภาพความแข็งแรงและขนาด ของปลานิลท่ีเพิ่มข้ึนหลังการเลี้ยง และสภาพน้าในระหว่างการเลี้ยง ซ่ึงการติดตามวัดตัวแปรเหล่าน้ี แสดงในหวั ข้อ 3.4.1-3.4.2 คือ 3.4.1 การทดสอบคุณภาพน้า คุณภาพทางกายภาพของน้าเล้ียงปลาถูกวัดทุกวันตลอดระยะเวลาการทดลอง ณ เวลา 8.30-9.00 น. โดยใช้เคร่อื ง Horiba Multi-parameter Water Quality Meters (รูปที่ 3.20)
Search