Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประเมินครูผู้ช่วยครั้งที่ 2 สมฤทัย

ประเมินครูผู้ช่วยครั้งที่ 2 สมฤทัย

Description: ประเมินครูผู้ช่วยครั้งที่ 2 สมฤทัย

Search

Read the Text Version

ข้อมูลท่วั ไป และขอ้ มลู เกย่ี วกับการปฏบิ ตั งิ านในหนา้ ท่ี

ตอนท่ี ๑ ขอ้ มูลทั่วไป ๑.๑ ประวตั ิ ชอื่ นางสาวสมฤทัย สกลุ ทพิ วงศ์ เกดิ วันที่ 31 เดือน ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๓0 . ภมู ิลาเนาเดิม ตาบล นาปรงั อาเภอ ปง จงั หวดั พะเยา รหสั ไปรษณีย์ 56140 . ๑.๒ ท่ีอยปู่ ัจจุบัน (ทส่ี ามารถตดิ ตอ่ ได้) บ้านเลขที่ 333 หมทู่ ่ี 8 ตาบล กระแสบน อาเภอ แกลง จงั หวดั ระยอง.รหัสไปรษณยี ์ 21110 โทร ๐๘8 – 4078610. E-mail: [email protected] . ๑.๓ ข้อมลู การทางาน ตาแหน่ง ครผู ชู้ ่วย แผนกวชิ า สามัญสมั พันธ์. สถานศกึ ษา วิทยาลัยการอาชีพแกลง อาเภอ แกลง จังหวัด ระยอง. เขตพืน้ ที่การศึกษา - กรม/ส่วนราชการ สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา . รับเงินเดอื น ๑6,34๐ บาท เร่มิ ปฏิบัตงิ าน เมอื่ วนั ท.ี่ ๑7 เดอื น. พฤษภาคม พ.ศ.๒๕64 อายุงาน. 1 ป.ี 1 เดือน ๑.๔ วุฒิการศึกษา ระดับปริญญาตรี ครุศาสตรบ์ ัณฑิต(ค.บ.) สาขาวิชา ฟสิ ิกส์. สถาบัน มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เชยี งใหม่ จงั หวดั เชียงใหม่.

๑.๕ ประวัติการศกึ ษา ลาดบั ท่ี ชอ่ื สถานศกึ ษา พ.ศ. วุฒิที่ไดร้ ับ/ระบวุ ิชาเอก ๑. โรงเรียนอนุบาลปง ๒๕37-๒๕๔2 ประถมศึกษา ๒. โรงเรยี นปงรชั ดาภิเษก ๒๕๔3-๒๕๔5 มธั ยมศกึ ษาตอนต้น ๓. โรงเรยี นปงรัชดาภเิ ษก ๒๕๔6-๒๕48 มัธยมศึกษาตอนปลาย ๕. มหาวทิ ยาลัยราชภฏั เชยี งใหม่ ๒๕49-๒๕๕3 ครุศาสตรบ์ ัณฑิต (ค.บ.) สาขาวิชาฟสิ ิกส์ ๑.๖ ประวัตกิ ารหยุดราชการ ลาคลอด/ มาสาย ขาด หมายเหตุ อุปสมบท ราชการ ลาป่วย ลากิจ คร้งั วัน ที่ วดป. คร้ัง วัน คร้ัง วัน -- คร้งั วนั คร้ัง วัน -- -- ๑ 29 เมษายน 65 - - 1 1 ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐

ตอนท่ี ๒ ข้อมูลเกีย่ วกับการปฏบิ ัติงานในหน้าที่ ๒.๑ ผลการปฏิบัติงานด้านการสอน ที่ ภาคเรียน/ รายวิชาทสี อน ระดบั ชัน้ / ปที ี่/ จานวน หมายเหตุ สาขาวชิ าทีส่ อน นร./นศ. ปีการศึกษา (ช่อื /รหัสวชิ า/ นก./ ชม.) 2/๒๕64 วิทยาศาสตรเ์ พ่ือพฒั นาอาชีพ ปวช.๒ ดาเนินการ อเิ ลก็ ทรอนิกส+์ เสร็จสิ้น ๑ 2/๒๕64 ชา่ งอุตสาหกรรม ไฟฟูา+ซ่อมบารุง 32 40 ดาเนนิ การ (20000-1302)/๒/๓ ปวช.๒คอมพิวเตอร+์ 15 เสร็จสน้ิ บัญชี 20 วิทยาศาสตรเ์ พ่ือพัฒนาธรุ กจิ 41 ดาเนนิ การ ปวช.1การบญั ช+ี เสร็จสน้ิ 2 2/๒๕64 และบริการ อิเล็กทรอนิกส์ ดาเนินการ (20000-1302)/๒/๓ ปวส.1 เสร็จส้นิ อเิ ลก็ ทรอนิกส+์ 3 2/๒๕64 วทิ ยาศาสตรเ์ พื่อพฒั นาทกั ษะ ดาเนินการ ชีวติ /(20000-1301)/๒/๓ ไฟฟาู กาลงั เสร็จสน้ิ การวจิ ัยเบื้องตน้ / ปวช.๒ (2/1,2/2) ช่างยนต์ 4 2/๒๕64 (๓0000-1302)/๓/๔ 5 2/๒๕64 วทิ ยาศาสตร์เพื่อพัฒนาอาชีพ ปวส.1 19 อยู่ระหวา่ ง 1/๒๕65 ชา่ งอตุ สาหกรรม ชา่ งยนต์+การบญั ชี+ ดาเนนิ การ ๑ 1/๒๕65 (20000-1302)/๒/๓ ธุรกจิ ดิจทิ ลั การวจิ ัยเบอ้ื งต้น (30000-1302)/๒/๓ วิทยาศาสตร์เพ่ือพัฒนาอาชีพ ปวช.๒ 19 อยู่ระหว่าง 2 1/๒๕65 ชา่ งอุตสาหกรรม คอมพิวเตอร์ ดาเนนิ การ (20000-1302)/๒/๓ ปวช.๒ 20 อยู่ระหว่าง ชา่ งไฟฟูา ดาเนินการ วิทยาศาสตร์เพื่อพฒั นาอาชีพ 3 1/๒๕65 ช่างอตุ สาหกรรม ปวส.1 21 อยู่ระหว่าง ไฟฟาู กาลัง+ ดาเนนิ การ (20000-1302)/๒/๓ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ การวิจยั เบอื้ งตน้ ปวช.๒ 4 1/๒๕65 (30000-1302)/๒/๓ ชา่ งยนต์ วทิ ยาศาสตร์เพื่อพฒั นาอาชีพ 24 อย่รู ะหวา่ ง 5 1/๒๕65 ชา่ งอตุ สาหกรรม ดาเนนิ การ (20000-1302)/๒/๓

๒.๒ ผลการปฏบิ ัตงิ านอาจารย์ที่ปรึกษา ที่ แผนกวิชาชีพ ระดับชัน้ /ปที ี่ จานวน นร./นศ. หมายเหตุ 7 คาส่งั ท่ี 076/๒๕๖4 ๑ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ ปวช. ชน้ั ปที ี่ 3 เรื่อง แตง่ ตัง้ ครูทีป่ รกึ ษา ๒.๓ ผลการปฏบิ ัติงานหน้าที่พเิ ศษ: (เชน่ หวั หน้างาน / เจ้าหน้าทีง่ าน) ที่ งาน/ฝ่าย หนา้ ท่ี หมายเหตุ ๑ หัวหน้าแผนกสามัญสมั พนั ธ์ ตามระเบียบสานักงานคณะกรรมการ คาสั่งที่ 087/๒๕๖4 เรอ่ื ง มอบหมายหนา้ ที่ฯ การอาชีวศึกษา ว่าด้วยการบริหาร คาส่งั ท่ี 142/๒๕๖4 สถานศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๒ ข้อ ๓๕ ข้อ เร่อื ง แตง่ ต้ังผตู้ รวจสอบฯ ๔๔ และ ขอ้ ๔๕ 2 หัวหนา้ กลุม่ งานสวน รบั ผิดชอบจัดทาโครงการงานสวน พฤกษศาสตรโ์ รงเรียน พฤกษศาสตรโ์ รงเรียน เพ่อื สร้าง จิตสานึกในการอนรุ กั ษพ์ ันธุกรรมพชื และทรัพยากร 3 ผูต้ รวจสอบการจา่ ยเงนิ และการ ตรวจสอบการจ่ายเงนิ และการรบั เงินทกุ รบั เงนิ ทุกรายการของวทิ ยาลัย รายการของวิทยาลัยฯ และปฏิบัตติ าม ระเบยี บของกระทรวงการคลัง ๒.๔ ผลการปฏบิ ัตงิ านหน้าที่อื่นๆ ในช่วงการประเมินคร้งั ท่ี 2(เชน่ โครงการ / กิจกรรม อ่นื ๆ ทงั้ ของฝา่ ย และวทิ ยาลัย ฯ) ท่ี ภาคเรยี น / โครงการ/กิจกรรม หนา้ ทีใ่ นกจิ กรรม/ หมายเหตุ ปีการศกึ ษา โครงการ (หลักฐาน/การรับรอง) เขา้ รว่ มประชุมวิชาการองค์การนกั วิชาชีพ 1 2/2564 ในอนาคตแหง่ ประเทศไทย เขา้ ร่วมกิจกรรม/ ภาพการเข้าร่วม ระดับสถานศึกษา โครงการ กิจกรรม วันท่ี 25 พฤศจิกายน 2564 เข้ารว่ มกจิ กรรมเนอ่ื งในวันคล้ายวันพระ บรมราชสมภพ พระบาทสมเด็จพระบรม เข้าร่วมกจิ กรรม/ ภาพการเข้าร่วม โครงการ กิจกรรม 2 2/2564 ชนกาธเิ บศร มหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร วนั ชาติ และวันพ่อแห่งชาติ 5 ธันวาคม 2564

ที่ ภาคเรยี น / โครงการ/กจิ กรรม หนา้ ทใ่ี นกิจกรรม/ หมายเหตุ ปกี ารศึกษา โครงการ (หลักฐาน/การรับรอง) จัดกจิ กรรมการแข่งขนั ทักษะพ้ืนฐาน การ กรรมการและ เลขานุการในการ คาสั่งท่ี 177/๒๕๖4 ประกวดมารยาทไทย และการประกวด เรื่อง แตง่ ต้ัง ดาเนินงาน 3 2/2564 เล่านิทานพื้นบา้ น ระดับอาชีวศึกษา คณะกรรมการการ เขา้ ร่วมกจิ กรรม/ แข่งขันทกั ษะพื้นฐานฯ จังหวดั ระยอง โครงการ ภาพการเข้าร่วม วันที่ 9 ธันวาคม 2564 เข้ารว่ มกิจกรรม/ กจิ กรรม โครงการ เข้าร่วมกิจกรรมโครงการปจั ฉิมนิเทศ ของ ภาพการเข้ารว่ ม เขา้ รว่ มกิจกรรม/ กจิ กรรม 4 2/2564 ปีการศกึ ษา 2564 นกั เรยี นระดบั โครงการ ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพช้นั ปีที่ 3 ภาพการเข้าร่วม เข้าร่วมกิจกรรม/ กิจกรรม วนั ที่ 29 มนี าคม 2565 โครงการ ภาพการเข้ารว่ ม เขา้ ร่วมกิจกรรมโครงการปจั ฉิมนิเทศ ของ กิจกรรม 5 2/2564 ปกี ารศึกษา 2564 นกั ศึกษาระดบั ประกาศนียบัตรวชิ าชีพชน้ั สูงชัน้ ปีที่ 2 วันที่ 30 มีนาคม 2565 เข้าร่วมกจิ กรรมเนอื่ งในวันคล้ายวนั พระ 6 2/2564 ราชสมภพ สมเด็จพระกนิษฐาธริ าชเจา้ กรมสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยาม บรมราชกมุ ารี เข้าร่วมโครงการปฐมนเิ ทศ นักเรยี น 7 2/2564 นักศกึ ษา วิทยาลยั การอาชพี แกลง กอ่ นออกฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพ วนั ท่ี 5 พฤษภาคม 2565

๒.๕ ผลการพัฒนาตนเอง(เช่น การศกึ ษาดว้ ยตนเอง/ การนเิ ทศ /ดูงาน / ฝกึ อบรม) ท่ี วนั /เดอื น/ปี ช่อื โครงการ /วธิ กี ารพฒั นาตนเอง หนว่ ยงาน/สถานท่จี ัด หมายเหตุ หลกั ฐาน/การ เขา้ รว่ มอบรมการพัฒนาการเรยี น วทิ ยาลยั อาชวี ศกึ ษา เทคโนโลยีฐาน รับรอง 1. 23 พ.ย.64 การสอนโดยใช้วจิ ยั เป็นฐาน และการ ภาพการเข้ารว่ ม จดั การเรียนการสอน วิทยาศาสตร์(ชลบุรี) กจิ กรรม แบบ Block Course เกยี รติบตั ร ครผู คู้ วบคมุ ทีมเข้ารว่ มแขง่ ขันการ เกียรตบิ ตั ร 2. 7-9 ธ.ค.64 ประกวดผลงานสะเต็มศึกษา (STEM วิทยาลยั เทคนคิ มาบตาพุด Education ) ระดับ ปวช. ระดบั อาชีวศกึ ษาจังหวดั ระยอง ครผู คู้ วบคุมทีมเข้ารว่ มแข่งขันการ ๓. 16 - 20 ประกวดผลงานสะเต็มศึกษา (STEM ม.ค.65 Education ) ระดบั ปวช. วทิ ยาลยั การอาชีพแกลง ระดับภาค ภาคตะวนั ออกและ กรงุ เทพมหานคร 4. 2 ก.พ.65 เขา้ ร่วมโครงการยกระดับคณุ ภาพ วิทยาลยั การอาชีพแกลง ภาพการเข้ารว่ ม การจัดการอาชีวศกึ ษาด้วย กิจกรรม กระบวนการนเิ ทศพัฒนา ครทู ปี่ รกึ ษาเขา้ รว่ มการแข่งขัน ประเภทที่ 3 ส่งิ ประดิษฐ์ดา้ น ผลิตภัณฑ์อาหารไทย 5. 7 ก.พ.65 “นวตั กรรมอาชวี ศึกษาเพื่อแก้ปัญหา วทิ ยาลัยเทคนิคมาบตาพดุ เกียรติบตั ร เกียรตบิ ตั ร ความยากจน”การประกวด ส่งิ ประดิษฐข์ องคนรนุ่ ใหม่ ระดับอาชวี ศึกษาจงั หวัดระยอง ครทู ่ีปรึกษาเขา้ ร่วมการแข่งขัน ประเภทที่ 3 สิ่งประดิษฐด์ ้าน 6. 16 - 18 ผลิตภัณฑอ์ าหารไทย วทิ ยาลัยเทคนคิ นิคม ก.พ.65 “นวตั กรรมอาชีวศึกษาเพ่ือแก้ปัญหา อุตสาหกรรมระยอง ความยากจน”การประกวด สิ่งประดิษฐข์ องคนรุน่ ใหม่ ระดบั ภาคตะวนั ออกและกทม.

ที่ วนั /เดอื น/ปี ชอื่ โครงการ /วธิ กี ารพฒั นาตนเอง หน่วยงาน/สถานทจ่ี ดั หมายเหตุ หลักฐาน/การ ครผู ้คู วบคมุ ทีมเข้ารว่ มแข่งขันการ รบั รอง 7. 20 - 24 ประกวดผลงานสะเต็มศึกษา (STEM วิทยาลัยเทคนคิ น่าน ก.พ.65 Education ) ระดบั ปวช. วทิ ยาลยั การอาชีพแกลง เกยี รติบตั ร วทิ ยาลยั การอาชีพแกลง ระดบั ชาติ วิทยาลัยการอาชีพแกลง เกยี รติบตั ร เขา้ ร่วมประชมุ เชิงปฏบิ ตั ิการ “การ ภาพการเข้ารว่ ม กจิ กรรม จัดการเรยี นรโู้ ดยใชก้ ระบวนการวิจยั ภาพการเข้าร่วม 8. 10 - 11 เป็นฐาน (RBL) สาหรบั การเรียนการ กจิ กรรม ม.ี ค.65 สอนอาชวี ศึกษา ผา่ นระบบ ออนไลน์” หลกั สูตรพน้ื ฐาน สาหรับ นักวจิ ยั RBL รุ่นใหม่ รุ่นท่ี 2 9. 28 เม.ย. เขา้ รว่ มโครงการประชุมเชงิ 65 ปฏิบัตกิ ารถอดบทเรยี น วิทยาลัยการอาชีพแกลง เขา้ รว่ มอบรมการพัฒนารูปแบบการ จดั การเรยี นรตู้ ามข้อตกลงในการ ๑๐. 12 พ.ค. 65 พัฒนางาน Performance Agreement (PA) สาหรบั ข้าราชการครูฯ ๒.๖ รางวลั / เกยี รตบิ ตั ร / การยกย่อง ท่ีได้รบั จากการปฏิบตั งิ าน ท่ี วนั /เดือน/ปี ช่ือรางวัล/รางวลั / เกียรติบัตร / หนว่ ยงานทม่ี อบ หมายเหตุ -- การยกย่อง - - -

๒.๗ ผลงานทางวชิ าการทเ่ี กิดจากการปฏิบตั ิงานในหน้าที่(เอกสาร/สอื่ / แบบทดสอบ/ แผนการจดั การ เรียนรู้/ งานวจิ ยั / ส่งิ ประดิษฐ)์ หรอื ผลงานท่ีดีเดน่ อ่ืนๆ ท่ี ภาคเรยี น ช่ือผลงาน/ประกอบรายวิชา รายละเอียดของผลงาน หมายเหตุ ท่ี หนงั สอื อิเลก็ ทรอนิกส์ หนังสอื ทีส่ รา้ งข้นึ ดว้ ยโปรแกรม : เว็บไซต์ (E-Book) คอมพิวเตอร์มลี ักษณะเป็นเอกสาร https://shorturl.asia/WmH24 ๑ 2/๒๕64 ประกอบรายวชิ าวทิ ยาศาสตร์ อิเล็กทรอนกิ ส์ โดยปกติมักจะเปน็ เพ่ือพฒั นาอาชพี ชา่ ง แฟมู ข้อมูลท่สี ามารถอ่านเอกสารผา่ น อตุ สาหกรรม ทางหนา้ จอคอมพิวเตอร์ ทั้งในระบบ (20000 – 1302) ออฟไลน์ และออนไลน์ 2 2/๒๕64 รางวัลชนะเลิศ การประกวดผลงานสะเต็มศึกษา ครูผคู้ วบคมุ 3 2/๒๕64 ระดบั เหรยี ญทอง (STEM Education) เป็นการบรู ณาการ ครูผูค้ วบคุม 4 2/๒๕64 การประกวดผลงานสะเต็ม ความรทู้ างวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ครผู ้คู วบคุม ศกึ ษา (STEM Education) วศิ วกรรมศาสตร์ และคณติ ศาสตร์ มา ใชใ้ นการแก้ปญั หาที่เชื่อมโยงกับชีวิต ระดบั ปวช. จรงิ โดยผ่านกระบวนการออกแบบเชงิ ระดบั อาชีวศึกษา วิศวกรรม (Engineering Design จงั หวัดระยอง Process: EDP) เพอื่ ให้ไดผ้ ลงานทมี่ ี ประสทิ ธิภาพ รางวลั รองชนะเลิศ อนั ดับ 2 เหรยี ญทอง การประกวดผลงานสะเตม็ ศึกษา การประกวดผลงานสะเต็ม (STEM Education) เป็นการบรู ณาการ ศึกษา (STEM Education) ความรูท้ างวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วศิ วกรรมศาสตร์ และคณติ ศาสตร์ มา ระดับ ปวช. ใชใ้ นการแก้ปญั หาทเี่ ชื่อมโยงกับชีวิต ระดบั ภาค ภาคตะวนั ออก จริงโดยผา่ นกระบวนการออกแบบเชงิ วิศวกรรม (Engineering Design และกทม. Process: EDP) เพ่อื ให้ได้ผลงานทมี่ ี ประสทิ ธภิ าพ ได้เขา้ รว่ ม การประกวดผลงานสะเต็ม ก า ร ป ร ะ ก ว ด ผ ล ง า น ส ะ เ ต็ ม ศึ ก ษ า ศึกษา (STEM Education) (STEM Education) เป็นการบูรณาการ ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ระดบั ปวช. วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์ มา ระดับชาติ ใช้ในการแก้ปัญหาที่เชื่อมโยงกับชีวิต จริงโดยผ่านกระบวนการออกแบบเชิง วิศวกรรม (Engineering Design Process: EDP) เพื่อให้ได้ผลงานท่ีมี ประสทิ ธภิ าพ

ที่ ภาคเรียน ชอ่ื ผลงาน/ประกอบรายวิชา รายละเอยี ดของผลงาน หมายเหตุ ที่ ครทู ี่ปรกึ ษา 5 2/2564 รางวลั รองชนะเลศิ อนั ดบั 1 ผกั กระชบั หรือหญ้าผมยงุ่ ถือเปน็ สินคา้ ครทู ีป่ รกึ ษา ระดบั เหรียญทองแดง โอทอปของ อ.แกลง โดยนาตน้ ออ่ นของ ผกั กระชบั นามาเป็นส่วนผสมในการทา ประเภทที่ 3 ส่งิ ประดิษฐด์ ้าน คกุ กี้ผักกระชบั เพื่อเพิ่มคุณคา่ ให้ ผลติ ภัณฑอ์ าหารไทย ผลิตภัณฑค์ กุ กี้ และเปน็ การสรา้ งมูลคา่ “คกุ กผ้ี กั กระชับ” ให้แก่ชาวเกษตรกรผู้ทาการเพาะตน้ อ่อน ผักกระชับในชุมชนทะเลนอ้ ย อ.แกลง นวตั กรรมอาชวี ศึกษาเพ่อื แก้ปญั หา จ.ระยอง อกี ท้ังเป็นทางเลือกใหมๆ่ ให้กับ ความยากจน การประกวด ผู้บริโภค ส่ิงประดษิ ฐข์ องคนรุน่ ใหม่ ระดบั อาชีวศึกษาจงั หวดั ระยอง 6 2/2564 รางวลั ชมเชย ผกั กระชบั หรือหญ้าผมยงุ่ ถือเปน็ สนิ คา้ ระดับเหรียญทองแดง โอทอปของ อ.แกลง โดยนาตน้ ออ่ นของ ประเภทท่ี 3 สิง่ ประดิษฐด์ ้าน ผักกระชับ นามาเป็นส่วนผสมในการทา ผลติ ภณั ฑอ์ าหารไทย คกุ ก้ีผักกระชับเพื่อเพ่ิมคุณค่าให้ “คุกก้ผี ักกระชับ” ผลิตภัณฑ์คกุ กี้ และเปน็ การสร้างมูลคา่ นวตั กรรมอาชวี ศึกษาเพื่อแก้ปญั หา ให้แกช่ าวเกษตรกรผู้ทาการเพาะต้นอ่อน ความยากจน การประกวด ผกั กระชับในชุมชนทะเลนอ้ ย อ.แกลง สง่ิ ประดิษฐ์ของคนรุน่ ใหม่ จ.ระยอง อกี ท้ังเปน็ ทางเลือกใหมๆ่ ให้กบั ระดับภาค ภาคตะวนั ออก ผู้บรโิ ภค และกทม.

๒.๘ กระบวนการจดั การเรียนการสอน ขา้ พเจ้าไดจ้ ัดกระบวนการเรียนรู้ทีเ่ น้นผเู้ รียนเป็นสาคญั โดยสง่ เสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองตาม ธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ ในภาคเรียนท่ี 2 ปีการศกึ ษา ๒๕๖4 ดงั นี้ คาชแ้ี จง โปรดทาเครื่องหมาย  หนา้ ( ) ที่ทา่ นได้ปฏบิ ตั ใิ นการจัดกระบวนการเรยี นรู้ ๑) จดั กิจกรรมการเรียนรู้ท่หี ลากหลาย สอดคล้องกบั สาระมาตรฐานและผเู้ รียน โดยมวี ธิ กี าร สอนภาคทฤษฎี ดังนี้ ( ) แบบบรรยาย ( ) แบบสาธติ ( ) แบบบูรณาการ ( ) แบบอื่นๆ ............. ๒) จัดกจิ กรรมการเรียนรทู้ เี่ น้นการปฏบิ ัติจรงิ และเรียนรู้จากประสบการณ์จริง ดงั นี้ ( ) ปฏบิ ตั ิในชน้ั เรยี น ( ) ปฏิบตั ใิ นห้องปฏิบตั กิ าร () ปฏบิ ัติในโครงการอาชวี บรกิ าร ๓) ใชส้ อ่ื นวตั กรรมและเทคโนโลยีการศกึ ษา เพือ่ ใหผ้ ้เู รียนเกิดการเรยี นรู้ตามศักยภาพของ ตนเอง ดังนี้ ( ) ใบความรู้ ( ) ใบงาน ( ) แผน่ ภาพ ( ) แผ่นใส (  ) วดี ทิ ศั น์ ( ) สอื่ ของจริง (  ) CAI () e-learning ( ) อืน่ ๆ ....Internet/E-book..... ๔) การวดั ผลและประเมนิ ผลท่สี อดคล้องกบั สมรรถนะทางวิชาชีพแต่ละสาขาวิชาชีพ ดังน้ี ( ) การทดสอบทดสอบภาคทฤษฎี ( ) การทดสอบภาคปฏิบัติ ( ) การสงั เกต () การสมั ภาษณ์ ( ) การรายงาน ( ) แฟมู สะสมงาน ( ) การรายงานผลงาน ( ) การถาม-ตอบ ( ) การตรวจผลงาน

รายงานการบันทึกผลการประเมนิ การเตรยี มความพร้อมและพฒั นาอย่างเข้มของครูผ้ชู ่วย คร้ังที่ 2 (๑7 พฤศจิกายน ๒๕๖4 – 17 พฤษภาคม ๒๕๖5) องคป์ ระกอบท่ี ๑ ด้านการปฏบิ ัติตน

รายงานผลการปฏบิ ตั ิงานการเตรียมความพรอ้ มและพัฒนาอยา่ งเขม้ ของครผู ูช้ ่วย คร้ังท่ี 2 วันที่ ๑๗ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๔ ถึงวันท่ี ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๖5 วิทยาลยั การอาชีพแกลง อาเภอแกลง จังหวดั ระยอง สังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ------------------------------------------------------------------------------------------ องค์ประกอบที่ ๑ ด้านการปฏบิ ตั ิตน ในฐานะที่ข้าพเจ้า นางสาวสมฤทัย ทิพวงศ์ ได้รับการบรรจุแต่งตั้งเป็นข้าราชการครู ตาแหน่ง ครู ผู้ช่วย วิทยาลัยการอาชีพแกลง เร่ิมรายงานตัวปฏิบัติหน้าท่ีตั้งแต่ วันท่ี ๑7 พฤษภาคม ๒๕64 ได้ศึกษา ระเบียบแบบแผนของทางราชการมาตรฐานวิชาชพี และจรรยาบรรณวชิ าชพี ครู โดยปฏิบัติและพัฒนาตนเองให้ เป็นผู้ท่ีมีความรู้ ความสามารถในวิชาชีพ มีความรับผิดชอบต่อการปฏิบัติหน้าท่ีท่ีได้รับมอบหมายอย่าง เคร่งครัดอย่างเต็มกาลังความสามารถ เพ่ือเป็นแบบอย่างท่ีดีแก่นักเรียน เพ่ือนร่วมงาน ผู้ปกครอง และ ประชาชนทว่ั ไป โดยไดจ้ ัดการดาเนินการดงั น้ี ๑) วินยั และการรักษาวนิ ัย ๒) คุณธรรม จริยธรรม ๓) จรรยาบรรณวชิ าชีพ ๔) การดารงชีวติ ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๕) จิตวญิ ญาณความเปน็ ครู ๖) จติ สานกึ ความรับผดิ ชอบในวชิ าชพี ครู

องค์ประกอบที่ ๑ ด้านการปฏิบัติตน ๑) วนิ ัยและการรกั ษาวนิ ยั ๑.๑ การแสดงออกทางอารมณ์ กิริยา ท่าทาง และพดู สื่อสารได้เหมาะสมกับกาลเทศะ ต่อผู้เรยี น ๑.๒ การแสดงออกทางอารมณ์ กรยิ า ท่าทาง และการส่ือสารได้เหมาะสมกับกาลเทศะ ตอ่ ผู้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงาน ผูป้ กครอง และบคุ คลอืน่ ๑.๓ การมีเจตคติเชิงบวกกบั ประเทศชาติ ๑.๔ การปฏบิ ตั ติ ามกฎ ระเบียบหลกั เกณฑ์ท่ีเกี่ยวข้องกบั ความเปน็ ขา้ ราชการ ๑.๕ การปฏิบตั ติ ามกฎ ระเบียบหลักเกณฑท์ ่ีเกีย่ วข้องกับความเป็นขา้ ราชการครู ๑.6 การปฏบิ ัติตามกฎหมาย

ด้านท่ี 1 ดา้ นการปฏบิ ตั ติ น ๑) วนิ ัยและการรักษาวินัย ๑.๑ การแสดงออกทางอารมณ์ กิริยา ท่าทาง และพดู สอ่ื สารได้เหมาะสมกับกาลเทศะต่อผู้เรียน ข้าพเจ้าปฏิบัติตนตามระเบียบแบบแผนข้อบังคับ ข้อกาหนด ของทางองค์กรรวมทั้ง แสดงออกทาง อารมณ์ กริยา ท่าทาง และการส่ือสารได้เหมาะสมกับกาลเทศะต่อผู้เรียน เช่น การพูดจาไพเราะประพฤติ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างท่ีดีแก่ลูกศิษย์ มาทางานตรงต่อเวลา เข้าสอนตรงเวลา แต่งกายถูกต้องเหมาะสม ยึด หลักคาสอนทางพระพุทธศาสนาในการดาเนินชีวิต โดยหม่ันสวดมนต์และนั่งสมาธิทาจิตใจให้สงบ เพ่ือให้ สามารถควบคุมอารมณ์ของตนเองได้เป็นอย่างดี และเป็นผลต่อการทางานทาให้งานบรรลุตามเปูาหมายและ วัตถุประสงคอ์ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ

ด้านที่ 1 ดา้ นการปฏิบตั ิตน ๑) วินัยและการรักษาวินยั ๑.๒ การแสดงออกทางอารมณ์ กรยิ า ทา่ ทาง และการส่ือสารได้เหมาะสมกับกาลเทศะต่อ ผบู้ ังคับบัญชา เพื่อนรว่ มงาน ผูป้ กครอง และบุคคลอ่ืน ข้าพเจ้าแสดงออกทางอารมณ์ กริยาทา่ ทาง และการสอื่ สารได้เหมาะสมกับกาลเทศะต่อผู้บงั คับบัญชา เพ่อื นร่วมงาน ผู้ปกครอง และบคุ คลอนื่ เชน่ การพูดจาไพเราะ มสี มั มาคารวะอ่อนน้อมถ่อม เชอ่ื ฟังและปฏบิ ตั ิ ตามคาสัง่ ของผู้บังคับบัญชา

ดา้ นที่ 1 ด้านการปฏิบตั ติ น ๑) วนิ ยั และการรกั ษาวนิ ยั ๑.๓ การมีเจตคตเิ ชงิ บวกกบั ประเทศชาติ ข้าพเจ้าปฏิบัติตนเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม รวมถึงมีเจตคติในเชิงบวกต่อสังคม เพ่ือนร่วมงาน และ ประเทศชาตเิ พราะการเป็นครูที่ดีต้องประกอบด้วยคุณงามและความดี ซ่ึงกระทาด้วยความสานึกในจิตใจ เช่น ความเสียสละ มีน้าใจ ความเกรงใจ ความยุติธรรม ความเห็นอกเห็นใจ การมีมารยาทท่ีงดงาม ความรักและ ความเมตตาต่อศิษย์เพื่อเป็นกาลังสาคัญในการขับเคล่ือนระบบการศึกษาให้มีคุณภาพและพัฒนาประเทศชาติ ใหม้ ีความเจรญิ ก้าวหน้า

ดา้ นท่ี 1 ดา้ นการปฏบิ ตั ติ น ๑) วนิ ยั และการรกั ษาวนิ ัย ๑.๔ การปฏิบตั ิตามกฎ ระเบียบหลักเกณฑ์ทเ่ี ก่ียวข้องกับความเปน็ ข้าราชการ ขา้ พเจ้าปฏบิ ัติตนตามกฎหมาย ระเบียบแบบแผน หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติราชการ โดยเป็นบุคคลท่ี เคารพและปฏิบัติตามกฎหมาย รักษาระเบียบวินัยของทางราชการ กระทาตนเป็นแบบอย่างที่ดี มีหลักในการ ปฏบิ ตั ิหนา้ ทีข่ องครูอย่างชดั เจน และมีความยตุ ธิ รรม

ด้านที่ 1 ดา้ นการปฏบิ ตั ติ น ๑) วินยั และการรักษาวนิ ยั ๑.๕ การปฏบิ ัติตามกฎ ระเบียบหลักเกณฑท์ ่ีเก่ียวข้องกบั ความเปน็ ข้าราชการครู ขา้ พเจ้าปฏิบัตติ นตามกฎหมายและกระทาตนให้เป็นประโยชน์ต่อตนเองและสังคม โดยใช้เหตุผลและ วิจารณญาณในการตัดสินใจเลือกปฏิบัติหน้าท่ีท่ีได้รับมอบหมาย จนบรรลุเปูาหมายหน้าท่ีข้าราชการครู ใน ฐานะเป็นพลเมืองท่ีดี ยึดม่ันในหลักศลี ธรรมและคุณธรรมทางพระพทุ ธศาสนาในการช่วยเหลือผู้อืน่

ดา้ นที่ 1 ดา้ นการปฏบิ ตั ติ น ๑) วินัยและการรักษาวนิ ัย ๑.6 การปฏบิ ัตติ ามกฎหมาย ข้าพเจ้ารักษาวินัยที่เป็นข้อห้ามและข้อข้อปฏิบัติอย่างเคร่งครัดอยู่เสมอ โดยศึกษาพระราชบัญญัติ ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ.2547 เพ่ือเตือนตนมิให้กระทาความผิดทางวินัย ราชการ และปฏบิ ัตติ นตามกฎหมายต่าง ๆ ในสังคมเพอื่ เป็นแบบอยา่ งทีด่ ีให้แก่นักเรียน

องค์ประกอบที่ ๑ ดา้ นการปฏิบัติตน ๒) คุณธรรม จริยธรรม ๒.๑ การปฏบิ ัติตนตามหลักศาสนาทนี่ ับถอื อย่างเครง่ ครัด ๒.๒ การเขา้ ร่วม สง่ เสรมิ สนับสนนุ ศาสนกจิ ของศาสนาทีน่ ับถืออย่างสม่าเสมอ ๒.3 การเห็นความสาคัญ เขา้ ร่วม ส่งเสรมิ สนบั สนุน เคารพกิจกรรมทแ่ี สดงถงึ จารีต ประเพณี วัฒนธรรมทอ้ งถ่นิ หรอื ชมุ ชน ๒.4 การเหน็ ความสาคัญ เขา้ ร่วม สง่ เสริม สนบั สนุน กจิ กรรมทแ่ี สดงถงึ จารีตประเพณี วัฒนธรรมของชาติ ๒.5 การมีจติ บรกิ ารและจติ สาธารณะ ๒.6 การต่อตา้ นการกระทาของบุคคลหรือกลุ่มบุคคลทีส่ ่งผลต่อความม่นั คงของชาติหรอื ผลกระทบเชิงลบตอ่ สงั คมโดยรวม

ด้านท่ี 1 ด้านการปฏิบตั ิตน ๒) คุณธรรม จริยธรรม ๒.๑ การปฏิบตั ติ นตามหลกั ศาสนาทนี่ ับถอื อยา่ งเครง่ ครดั ข้าพเจ้าปฏิบัติตนเป็นผู้มีคุณธรรม จริยธรรม เพื่อการเป็นครูที่ประกอบด้วยคุณงามและความดี ซึ่ง กระทาด้วยความสานกึ ในจิตใจ เช่น มกี ารยดึ หลกั ธรรมพรหมวิหาร 4 คอื 1. เมตตาต่อศษิ ย์ มีความรักศษิ ย์ ปรารถนาจะใหศ้ ษิ ย์เป็นสขุ 2. มีความกรุณาต่อศิษย์ ชว่ ยเหลอื ให้คาแนะนา อบรมส่งั สอนให้ศษิ ยป์ ระพฤติตนอยา่ งเหมาะสม และอยูร่ ่วมกบั ผู้อน่ื อย่างเป็นสุข 3. มมี ุทิตาจติ คอื มีความยนิ ดเี สมอเม่อื ศิษยไ์ ด้ดี พร้อมกับกล่าวยกยอ่ งชมเชย ในความสามารถของเขา 4. มอี เุ บกขา คอื มีการพยายามวางเฉยต่อบางพฤตกิ รรมกา้ วร้าวทศ่ี ษิ ย์แสดงออกมาโดยไม่ตัง้ ใจ คือ ไมโ่ กรธตอบ แต่จะพยายามพูดเตอื นดี ๆ ดว้ ยอารมณแ์ ละนา้ เสียงปกติ

ดา้ นที่ 1 ด้านการปฏิบตั ิตน ๒) คุณธรรม จรยิ ธรรม ๒.๒ การเข้ารว่ ม สง่ เสริม สนับสนนุ ศาสนกจิ ของศาสนาทนี่ บั ถืออย่างสม่าเสมอ ข้าพเจ้าดารงตนตามหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา และปฏิบัติตามขนบธรรมเนียมประเพณี ตลอดจนค่านิยมของสังคม หม่ันเข้าวัดทาบุญ ร่วมศาสนพิธีที่สาคัญทางพระพุทธศาสนา เช่น การเข้าวัด ทาบุญเนื่องในวันสาคัญทางพระพุทธศาสนาต่างๆ ทาให้ข้าพเจ้าสามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนในสังคมได้อย่างมี ความสขุ

ด้านที่ 1 ด้านการปฏิบตั ิตน ๒) คุณธรรม จรยิ ธรรม ๒.3 การเห็นความสาคัญ เข้าร่วม ส่งเสริม สนับสนุน เคารพกิจกรรมท่ีแสดงถึง จารีตประเพณี วัฒนธรรมทอ้ งถน่ิ หรอื ชุมชน ขา้ พเจ้าเขา้ รว่ มทาบุญ รว่ มทากิจกรรมทีว่ ดั ได้จัดขนึ้ เพื่อเป็นการสืบสานประเพณีไทย

ดา้ นท่ี 1 ด้านการปฏบิ ตั ติ น ๒) คุณธรรม จรยิ ธรรม ๒.4 การเห็นความสาคัญ เข้าร่วม ส่งเสริม สนับสนุน กิจกรรมท่ีแสดงถึง จารีตประเพณี วัฒนธรรมของชาติ ข้าพเจ้าแต่งกายตามระเบียบของทางวิทยาลัยฯ และแต่งกายชุดพ้ืนเมืองรักษาขนบธรรมเนียม ประเพณไี ทย

ด้านท่ี 1 ด้านการปฏบิ ตั ติ น ๒) คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ๒.5 การมจี ิตบรกิ ารและจติ สาธารณะ ขา้ พเจ้ามีจิตบริการ และจิตสาธารณะ คอยช่วยเหลือนักเรียน เพ่ือนครู และผู้อื่นด้วยความเต็มใจ ไม่ หวงั ผลตอบแทน ไมเ่ หน็ แกต่ วั เขา้ ใจผอู้ ืน่ และมุ่งม่นั พฒั นาสง่ิ รอบตัว ให้เกดิ การเปลี่ยนแปลงทด่ี ขี ึน้

ดา้ นที่ 1 ด้านการปฏบิ ตั ติ น ๒) คุณธรรม จริยธรรม ๒.6 การต่อต้านการกระทาของบุคคลหรือกลุ่มบุคคลท่ีส่งผลต่อความมั่นคงของชาติหรือ ผลกระทบเชงิ ลบต่อสงั คมโดยรวม ข้ า พ เ จ้ า ยึ ด ม่ั น ใ น ห ลั ก ธ ร ร ม ค า ส อ น ข อ ง พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า แ ล ะ เ ป็ น แ บ บ อ ย่ า ง ที่ ดี ใ ห้ แ ก่ ศิ ษ ย์ เพ่ือนรว่ มงาน และบุคคลอื่น ๆ ดารงชีพตามสายกลาง และไม่สนับสนุน ไม่เผยแพร่การกระทาของบุคคลหรือ กลุ่มบคุ คลท่สี ่งผลตอ่ ความมัน่ คงของชาตหิ รอื ผลกระทบเชิงลบต่อสังคมโดยรวม

องคป์ ระกอบที่ ๑ ด้านการปฏิบัติตน ๓) จรรยาบรรณวิชาชพี ครู ๓.๑ การพัฒนาวชิ าชีพและบคุ ลิกภาพอยา่ งต่อเนอ่ื ง ๓.๒ การมีวสิ ยั ทัศน์ รแู้ ละเขา้ ใจ สนใจ ตดิ ตามความเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาการ เศรษฐกจิ สังคม การเมอื งของไทย และนานาชาตใิ นปจั จุบัน ๓.๓ การไม่อาศัยวิชาชีพแสวงหาผลประโยชน์ทีไ่ ม่ถูกตอ้ ง ๓.๔ การมุ่งม่ันตอ่ การพัฒนาความรคู้ วามสามารถของผูเ้ รียน ๓.5 การให้ความสาคัญตอ่ การเขา้ รว่ ม สง่ เสรมิ สนับสนุนกิจกรรมที่เกย่ี วขอ้ งกบั วิชาชพี ครอู ยา่ งสมา่ เสมอ ๓.6 รกั เมตตา เอาใจใส่ ชว่ ยเหลือ สง่ เสรมิ สนับสนุน ให้บรกิ ารผู้เรยี นทกุ คน ด้วยความเสมอภาค ๓.7 การประพฤตปิ ฏิบัติตนเปน็ ท่ียอมรับของผเู้ รียน ผู้บริหาร เพ่อื นรว่ มงาน ผ้ปู กครอง ชมุ ชน ๓.8 การไม่ปฏิบัติตนท่สี ง่ ผลเชงิ ลบตอ่ กายและใจของนกั เรียน ๓.9 การทางานกับผ้อู น่ื ได้โดยยึดหลักความสามัคคี เกื้อกูลซงึ่ กนั และกัน ๓.10 การใชค้ วามรคู้ วามสามารถทม่ี ีอยู่ นาใหเ้ กดิ ความเปล่ียนแปลงในทางพัฒนาให้กบั ผู้เรยี น โรงเรยี นหรือชมุ ชนในดา้ นใดด้านหนงึ่ (ด้านการอนุรกั ษ์ศิลปวฒั นธรรม ภูมิปัญญา และส่งิ แวดลอ้ ม) ๓.11 การยึดมน่ั ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข

ด้านท่ี 1 ด้านการปฏบิ ตั ิตน ๓) จรรยาบรรณวิชาชีพครู ๓.๑ การพฒั นาวิชาชีพและบคุ ลกิ ภาพอย่างต่อเนอื่ ง ข้าพเจา้ ปฏิบัตติ นเหมาะสมกับความเปน็ ครู ตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู และมีการพัฒนาตนจนเป็นท่ี ยอมรับในสถานศึกษา ว่าเป็นผู้ท่ีประพฤติปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพ มีการกาหนดเปูาหมายในการ ปฏิบตั งิ านและเขา้ รว่ มอบรมสัมมนา ประชมุ ทุกครงั้ ทม่ี ีโอกาส เพือ่ พัฒนาวิชาชพี และบุคลิกภาพอยา่ งตอ่ เน่ือง * รูปดา้ นบน – อบรมการจัดการเรยี นการสอนแบบ Block Course * รปู ด้านล่าง – อบรมการพัฒนาการเรยี นการสอนโดยใชว้ ิจัยเป็นฐาน (RBL)

ดา้ นท่ี 1 ดา้ นการปฏิบตั ติ น ๓) จรรยาบรรณวิชาชพี ครู ๓.๒ การมีวิสยั ทัศน์ รแู้ ละเข้าใจ สนใจ ติดตามความเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม การเมืองของไทย และนานาชาตใิ นปัจจบุ นั ข้าพเจา้ มงุ่ หวังความเจริญก้าวหน้าโดยกาหนดเปาู หมายในการปฏบิ ัตงิ าน และการศกึ ษาต่อ โดยมีการ ตดิ ตามขา่ วการเคล่ือนไหวทางการศึกษาในเรื่องความก้าวหน้าในวิชาชีพอยู่เสมอ เพื่อจะได้นามาวางแผนและ ปรับตัว เพ่ือความก้าวหนา้ ในวชิ าชีพ

ดา้ นที่ 1 ดา้ นการปฏิบตั ิตน ๓) จรรยาบรรณวิชาชพี ครู ๓.๓ การไมอ่ าศยั วชิ าชพี แสวงหาผลประโยชนท์ ี่ไม่ถูกตอ้ ง ข้าพเจ้าปฏิบัติหน้าที่อย่างเต็มความสามารถและรักษาผลประโยชน์ของทางราชการ และไม่อาศัย วิชาชีพแสวงหาผลประโยชน์ท่ีไม่ถกู ตอ้ ง

ดา้ นท่ี 1 ด้านการปฏบิ ตั ิตน ๓) จรรยาบรรณวิชาชพี ครู ๓.๔ การมงุ่ มัน่ ต่อการพัฒนาความรู้ความสามารถของผ้เู รยี น ข้าพเจ้ามุ่งม่ันในการทางาน โดยไม่มีความย่อท้อต่อปัญหาและอุปสรรคท่ีเกิดขึ้น เพ่ือให้บรรลุ เปูาหมายที่กาหนดไว้ และยังพัฒนาความรู้ของตนเองอยู่เสมอ มีมุ่งม่ันต่อการพัฒนาความรู้ ความสามารถ ของผู้เรียนอย่างเตม็ ความสามรถ

ด้านที่ 1 ด้านการปฏบิ ตั ิตน ๓) จรรยาบรรณวิชาชีพครู ๓.5 การใหค้ วามสาคัญต่อการเข้ารว่ ม ส่งเสริม สนับสนุนกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพครูอย่าง สม่าเสมอ ข้าพเจ้าเข้าร่วมการประชุม การอบรม ความรู้ท่ีเกี่ยวข้องกับการศึกษาอยู่เสมอ เมื่อเสร็จส้ินการจัด กิจกรรม ข้าพเจ้าทาการบันทึกและสรุปผลการเข้าร่วมกิจกรรม นาความรู้ท่ีได้รับมาพัฒนาตนเองและผู้เรียน และรายงานผลใหผ้ บู้ รหิ ารรบั ทราบอยู่เสมอ

ด้านที่ 1 ดา้ นการปฏบิ ตั ติ น ๓) จรรยาบรรณวิชาชพี ครู ๓.6 รัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริม สนับสนุน ให้บริการผู้เรียนทุกคน ด้วยความเสมอ ภาค ข้าพเจ้ามีความรักและศรัทธาในวิชาชีพครู พึงกระทาตนให้เป็นแบบอย่างที่ดีต่อศิษย์ทั้งทางตรงและ ทางออ้ ม สง่ เสริม สนับสนุน ชว่ ยเหลือศิษย์เสมอมา

ด้านที่ 1 ดา้ นการปฏบิ ตั ิตน ๓) จรรยาบรรณวิชาชพี ครู ๓.7 การประพฤติปฏิบตั ติ นเปน็ ทีย่ อมรับของผเู้ รียน ผ้บู ริหาร เพอ่ื นร่วมงาน ผู้ปกครอง ชมุ ชน ข้าพเจ้าดารงตนด้วยความสุภาพอ่อนน้อม สารวมในกิริยามารยาท และการแสดงออกด้วยปิยวาจา แต่งกายสะอาด เรียบร้อย และถูกกาลเทศะ และประพฤติปฏิบัติตนด้วยความสุภาพอ่อนน้อมถ่อมตน เป็นที่ ยอมรบั ของผู้เรยี น ผบู้ รหิ าร เพอ่ื นรว่ มงานผู้ปกครองและชุมชน

ดา้ นที่ 1 ด้านการปฏิบตั ิตน ๓) จรรยาบรรณวชิ าชพี ครู ๓.8 การไม่ปฏบิ ตั ติ นที่ส่งผลเชงิ ลบตอ่ กายและใจของนกั เรียน ขา้ พเจา้ ประพฤติตนเปน็ แบบอย่างทดี่ ีให้แกผ่ ูเ้ รยี นอย่เู สมอ และไมป่ ฏิบัตติ นที่ส่งผลเชิงลบต่อกายและ ใจของผู้เรียน โดยให้กาลงั เมื่อผเู้ รยี นประพฤติปฏิบตั ติ นได้ถูกตอ้ ง และตกั เตอื นเม่อื ผูเ้ รียนทาผิด

ด้านท่ี 1 ด้านการปฏิบตั ิตน ๓) จรรยาบรรณวิชาชพี ครู ๓.9 การทางานกับผอู้ ่นื ไดโ้ ดยยดึ หลกั ความสามคั คี เกอ้ื กูลซึง่ กนั และกัน ข้าพเจ้ามคี วามจรงิ ใจ และเป็นมิตรเพื่อนร่วมงานทุกคน และทางานกับผู้อ่ืนได้ด้วยความสามัคคี และ ช่วยเหลือเพอื่ นร่วมงานทกุ ครั้งท่มี โี อกาส

ด้านที่ 1 ดา้ นการปฏิบตั ิตน ๓) จรรยาบรรณวชิ าชีพครู ๓.10 การใช้ความรู้ความสามารถท่ีมีอยู่ นาให้เกิดความเปล่ียนแปลงในทางพัฒนาให้กับผู้เรียน โรงเรยี นหรือชมุ ชนในดา้ นใดด้านหนง่ึ (ด้านการอนรุ กั ษ์ศลิ ปวฒั นธรรม ภูมปิ ญั ญา และสงิ่ แวดลอ้ ม) ข้าพเจ้าเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่ผู้เรียน ในด้านกิริยามารยาท การไหว้ผู้ใหญ่ การใช้คาพูดท่ีสุภาพ รวมถึงการใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง

ด้านท่ี 1 ดา้ นการปฏิบตั ิตน ๓) จรรยาบรรณวชิ าชีพครู ๓.11 การยดึ มัน่ ในการปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุข ข้าพเจ้ามีความจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ และยึดม่ันในการปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเปน็ ประมุข

องคป์ ระกอบที่ ๑ ด้านการปฏิบัติตน ๔) การดารงชวี ิตตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๔.๑ มีความรู้ ความเข้าใจเกยี่ วกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๔.๒ มกี ารนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปปรับประยุกต์ใชก้ ับการจัดการเรียนรู้ ในหอ้ งเรยี น ๔.๓ มกี ารนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปปรับประยุกตใ์ ช้กับภารกจิ ท่ไี ด้รบั มอบหมายอน่ื ๔.4 มีการนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปปรับประยกุ ต์ใชก้ ับการดารงชวี ิต ของตนเอง ๔.5 เป็นแบบอยา่ งในการนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปปรบั ประยกุ ตใ์ ช้กับ ภารกจิ ต่างๆ หรือการดารงชีวติ ของตน

ด้านท่ี 1 ด้านการปฏิบตั ติ น ๔) การดารงชวี ิตตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๔.๑ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง การปฏิบัตติ นตามแนวทางเศรษฐกจิ พอเพยี ง 1. ยึดหลักประหยดั ตัดทอนคา่ ใช้จ่ายทไี่ มจ่ าเป็นในทกุ ดา้ น ลด ละ ความฟุมเฟือยในการดารงชวี ติ 2. ประกอบอาชีพดว้ ยความถูกตอ้ ง สจุ รติ แม้จะตกอยูใ่ นภาวะขาดแคลนในการดารงชพี 3. ละเลกิ การแก่งแยง่ ผลประโยชน์ท่รี นุ แรงและไมถ่ ูกตอ้ ง 4. ไมห่ ยดุ นงิ่ ท่ีจะหาทางให้ชีวติ หลดุ พ้นจากความทุกข์ โดยขวนขวายหาความรู้ ใหเ้ กดิ รายไดเ้ พิ่มพนู จนถงึ ขน้ั พอเพยี ง 5. ปฏบิ ตั ิตนในแนวทางท่ีดี ลดละสิ่งช่วั ร้ายให้หมดส้นิ ไป 6. การดารงชีวติ ทีส่ มดุลมีความสขุ ตามอัตภาพ 7. การพัฒนาเศรษฐกจิ ของตนเองและประเทศชาติมั่นคง 8. การอยูร่ ว่ มกนั ในสงั คมเกิดวามเอื้ออาทรซึง่ กันและกนั ( อา้ งองิ : เว็ปไซต์ https://bit.ly/2ZtLw4b)

ด้านท่ี 1 ด้านการปฏบิ ตั ติ น ๔) การดารงชวี ิตตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๔.๒ มีการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับประยุกต์ใช้กับการจัดการเรียนรู้ใน ห้องเรียน ขา้ พเจา้ นาหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงมาสอดแทรกในชั้นเรียน พบว่านักเรียนมีความรู้ความเข้าใจ ในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สามารถนาหลักของความพอเพียง คือ พอประมาณ มีเหตุผล มี ภมู คิ ุ้มกันท่ดี ีในตวั บนเง่อื นไขของความรคู้ ูค่ ุณธรรม นกั เรียนนาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ได้

ดา้ นท่ี 1 ด้านการปฏิบตั ติ น ๔) การดารงชีวติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๔.๓ มีการนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปปรับประยุกต์ใช้กับภารกิจทไี่ ด้รับมอบหมายอ่นื ข้าพเจ้าดาเนินชีวิตโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็นแนวทางในการทางานให้มี ประสิทธิภาพ เช่น เป็นสมาชิกงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอัน เนือ่ งมาจากพระราชดารสิ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี

ด้านท่ี 1 ด้านการปฏิบตั ิตน ๔) การดารงชีวติ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๔.4 มกี ารนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปปรบั ประยกุ ต์ใชก้ ับการดารงชีวติ ของตนเอง ข้าพเจ้านาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับประยุกต์ใช้ในการคิดและการกระทาต่างๆใน ชวี ติ ประจาวนั เช่น ลดการใช้กระดาษ โดยใช้กระดาษสองหน้า การใช้จ่ายเงิน การรับประทานอาหาร การใช้ ทรพั ยากรในอาคารสถานท่ี การใช้น้าไฟ การใชอ้ ุปกรณ์สานกั งานต่างๆใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุด

ด้านที่ 1 ดา้ นการปฏิบตั ติ น ๔) การดารงชีวติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๔.5 เป็นแบบอย่างในการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับประยุกต์ใช้กับภารกิจ ต่างๆ หรือการดารงชวี ติ ของตน (อา้ งถึงเว็บไซต์ : https://reg7.pwa.co.th/kmr7/?p=421) ขา้ พเจา้ ปฏิบตั ิตนเปน็ แบบอย่างทดี่ แี ก่ลกู ศิษย์ ใชช้ ีวติ บนสายกลาง ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาใชใ้ นการดาเนนิ ชวี ิตและเปน็ ผใู้ ฝรุ ู้ ใฝเุ รียน และใฝุพฒั นาตนเองอย่างต่อเน่ือง สอนให้ผ้เู รียนเกิด ความตระหนักในความสาคัญ และเห็นคุณค่าของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง ประพฤตติ นเป็นแบบอยา่ ง ให้ ผ้เู รียนสามารถคิดและปฏบิ ัติตามได้ เชน่ การให้ผเู้ รียนตระหนกั ถึงการทากจิ กรรม 5 ส

องคป์ ระกอบที่ ๑ ดา้ นการปฏิบัติตน ๕) จติ วิญญาณความเปน็ ครู ๕.๑ การเข้าสอนตรงเวลาและสอนเตม็ เวลา ๕.๒ การตระหนกั ในความรู้และทกั ษะทีถ่ กู ต้องรวมถึงสงิ่ ทดี่ ๆี ให้กบั ผู้เรยี น ๕.3 การสรา้ งความเสมอภาคเป็นธรรมกับผู้เรยี นทุกคน ๕.4 การรจู้ ักใหอ้ ภัย ปราศจากอคติ ชว่ ยเหลอื สง่ เสรมิ สนับสนุนให้ผเู้ รยี นประสบ ความสาเร็จ ตามศักยภาพ ความสนใจหรอื ความตงั้ ใจ ๕.5 การเปน็ ทพ่ี ่ึงใหก้ บั ผู้เรียนไดต้ ลอดเวลา ๕.6 การจัดกิจกรรมสง่ เสริม การใฝุรู้ คน้ หา สรา้ งสรรค์ ถา่ ยทอด ปลูกฝังและเปน็ แบบอย่างท่ดี ขี องผเู้ รียน ๕.7 การท่มุ เทเสียสละในการจดั การเรยี นรใู้ ห้กบั ผ้เู รียน

ด้านท่ี 1 ดา้ นการปฏบิ ตั ิตน ๕) จติ วญิ ญาณความเปน็ ครู ๕.๑ การเขา้ สอนตรงเวลาและสอนเต็มเวลา ขา้ พเจา้ ปฏบิ ตั ิหน้าทท่ี ี่ได้รับมอบหมายอย่างเต็มความสามารถ เต็มเวลา เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติหน้าท่ี อย่างสมา่ เสมอ โดยมกี ารวางแผนการสอนล่วงหน้า จัดทา และจัดหาสื่อ จัดกิจกรรมโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ไม่ละท้งิ การสอนกลางคัน มีการปรับปรุงพฒั นางานการสอนอยเู่ สมอ

ด้านท่ี 1 ด้านการปฏิบตั ติ น ๕) จติ วญิ ญาณความเปน็ ครู ๕.๒ การตระหนกั ในความรูแ้ ละทักษะท่ถี ูกต้องรวมถึงสิ่งทีด่ ีๆ ใหก้ บั ผูเ้ รียน ขา้ พเจา้ มคี วามรูแ้ ละตระหนักในหน้าทขี่ องครู ดังนี้ 1. งานสอน คอื มกี ารเตรียมการสอนและวางแผนการสอน 2. งานครู คือ ครูต้องรบั ผิดชอบงานด้านต่าง ๆ เช่น งานธรุ การ งานบรหิ าร งานบรกิ าร และงานอ่นื ๆ ทท่ี าใหอ้ งค์กรกา้ วหน้า 3.งานนกั ศึกษา คือ ใหเ้ วลาในการอบรม ส่งั สอน เมือ่ ศษิ ย์ตอ้ งการคาแนะนาหรือ การชว่ ยเหลือ

ดา้ นท่ี 1 ดา้ นการปฏิบตั ติ น ๕) จติ วญิ ญาณความเปน็ ครู ๕.3 การสรา้ งความเสมอภาคเป็นธรรมกับผเู้ รียนทุกคน ข้าพเจ้าพยายามเรียนรู้และศึกษาผู้เรียนเป็นรายบุคคล เพื่อจะได้ทราบความต้องการ สภาพสังคม เศรษฐกิจ ครอบครัวของนักเรียนเป็นรายบุคคล แล้วนาผลท่ีได้ไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้ เหมาะสมกับผเู้ รยี นเปน็ รายบุคคล ทาให้นกั เรียนมผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนที่ดขี นึ้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook