Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

100

Published by okkackikky, 2019-09-21 00:22:25

Description: 100

Search

Read the Text Version

ความปลอดภยั ในการใชน้ ำ้ ก๊อกอุปโภคบรโิ ภค ณ จดุ ต่าง ๆในโรงเรียนปัว จดั ทำโดย นาย พงศว์ รินทร์ สาระไชย เลขที่ 1 ม.5/1 นาย ชยธร ปนั แปง เลขท่ี 12 ม.5/1 นาย นราธปิ ศิลป์ทา้ ว เลขท่ี 16 ม.5/1 นาย รัชชานนท์ วรี วงค์ เลขท่ี 20 ม.5/1 นาย วริศ หวั นา เลขท่ี 21 ม.5/1 นางสาว ญาณนิ ท์ อนิ สองใจ เลขที่ 28 ม.5/1 ครทู ี่ปรึกษา ครู ดำรง คนั ธะเรศย์ โรงเรียนปวั อำเภอปวั จะงหวัดนา่ น

ก กิตติกรรมประกาศ โครงงานนสี้ ำเรจ็ ได้ดว้ ยความกรุณาช่วยเหลอื แนะนำอย่างยง่ิ จาก ครู ดำรง คันธะเรศย์ อาจารย์ทปี่ รกึ ษาโครงงาน ครูสุพรรษา เข่ือนธะนะ อาจารยท์ ป่ี รกึ ษาดา้ นวสั ดุอุปกรณ์ ท่ไี ด้ให้ คำปรกึ ษา แนะนำ และให้ขอ้ คิดเห็นตา่ ง ๆ ในการทโครงงานตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่องมาโดยตลอด คณะผู้จัดทำขอกราบขอบพระคณุ เป็นอย่างสูง คณะผูจ้ ดั ทำหวงั เปน็ อยา่ งย่ิงว่า โครงงานเลม่ นจี้ ะมีประโยชน์อยู่ไมน่ ้อย และขอขอบคณุ ผู้มสี ่วนรว่ ม ทงั้ เพอ่ื นๆ ตลอดจนบดิ า มารดา ท่ีส่งเสริมให้ผจู้ ัดทำได้มโี อกาสศกึ ษาเลา่ เรียนและได้ ทำงานวิจัยเลม่ นี้จนสำเร็จลุลว่ งไปได้ด้วยดี สำหรับขอ้ บกพร่องต่าง ๆ ท่ีอาจเกิดข้ึนนัน้ ผ้จู ดั ทำขอ น้อมรบั ไว้ และยินดที ีจ่ ะรบั ฟังคำแนะนำจากทุกท่านที่ไดเ้ ข้ามาศกึ ษา เพอื่ เป็นประโยชนใ์ นการพฒั นา โครงงานต่อไป

ข บทคดั ยอ่ การศึกษาเพื่อประมาณความปลอดภยั ของนำ้ กอ๊ กในการบริโภค ณ จดุ ให้บรกิ ารนำ้ บริเวณตา่ ง ๆ ในโรงเรียน ปวั โดยการเกบ็ ตวั อย่างนำ้ จากก๊อกน้ำมาจากทงั้ หมด 6 พนื้ ท่ี ไดแ้ ก่ บรเิ วณอาคาร2 อาคาร3 ศนู ย์อาหาร โดม เขียว หน้าอาคารอูปแก้ว และชอ็ ป ศกึ ษาความสะอาดของนำ้ โดยการตรวจสอบค่า pH จากผลการศึกษาพบวา่ น้ำก๊อกท่ีไดท้ ำการสำรวจนั้นมีคา่ pH ตง้ั แต่ 6.8-7 แต่น้ำดม่ื ที่เหมาะสมต่อการบรโิ ภคนน้ั ควรมีมคี วามเปน็ ดา่ งอ่อน ๆ โดมค่าความเป็นกรด - ด่างระหว่าง pH 7.25 - 8.50 เพอ่ื ชว่ ยกำจดั ความ เปน็ กรด และของเสียใน รา่ งกาย ทำใหร่างกายมีภาวะทีส่ มดลุ

สารบัญ ค เรอ่ื ง หน้า กติ ตกิ รรมประกาศ ก บทคดั ยอ่ ข สารบญั ค บทที่ 1 บทนำ 1 บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ยั ทเี่ กีย่ วขอ้ ง 3 บทที่ 3 วิธีดำเนินการศึกษาค้นควา้ 9 บทท่ี 4 ผลการดำเนินงาน 11 บทท่ี 5 สรุปผล และข้อเสนอแนะ 12 13 บรรณานุกรม

1 บทที่ 1 บทนำ ท่มี าและความสำคญั ของโครงงาน นำ้ เปน็ สง่ิ ทช่ี ว่ ยในการดาํ รงชีวติ ของ มนุษย์ สัตว์ และพืช ซ่งึ คนเราน้ันขาดนำ้ ได้ไม่เกนิ 3 วันและนำ้ ยงั มคี วาม จำเปน็ ทง้ั ในดา้ นเกษตกรรมและอุตสาหกรรม ประโยชน์ของน้ำมันมีมากมายหลายอยา่ ง เช่น ใช้ในการอุปโภค บรโิ ภค ใช้ในการเพาะปลูกและเลยี้ งสัตว์ ใชใ้ นดา้ นอตุ สาหกรรมโดยจะใช้น้ำในกระบวนการผลติ ใช้ลา้ งของ เสยี ใช้หลอ่ เคร่อื งจักรและระบายความรอ้ น ใช้ในการคมนาคมขนส่ง และน้ำยังเป็นแหล่งพลงั งาน พลังงานจาก นำ้ ใชท้ ำเขื่อนผลิตกระแสไฟฟ้าได้ นำ้ ทีใ่ ชใ้ นการอุปโภคบริโภคของคนไทยส่วนมากจะเป็นน้ำประปาหรอื นำ้ จากบ่อบาดาล ซงึ่ กวา่ นำ้ เหลา่ น้จี ะสง่ มาถงึ อาคารบ้านเรอื นกจ็ ะตอ้ งสง่ ผ่านทางทอ่ สง่ นำ้ แล้วสง่ ไปตามอาคารบ้านเรอื นและเปิดใช้นำ้ ผ่านกอ๊ กนำ้ มาใช้ในการอปุ โภคบรโิ ภคและในโรงเรยี นปวั กม็ ีการใชน้ ำน้ำมาใชอ้ ปุ โภคบรโิ ภคโดยนำน้ำจาก แทงคน์ ำ้ สง่ ผ่านทอ่ นำ้ และเปิดใชน้ ้ำผา่ นกอ๊ กนำ้ เช่นเดียวกนั แต่ในน้ำทเ่ี ราใช้อุปโภค บรโิ ภค น้นั อาจจะมกี าร ปนเปือ้ นของเชือ้ โคลฟิ อร์มแบคทเี รยี ได้ เชื้อโคลฟิ อรม์ แบคทีเรียเปน็ ดัชนีวดั ความสะอาดของน้ำโดยการปนเปื้อนของนำ้ จากเชือ้ กอ่ โรค ประมาณรอ้ ยละ 80 สง่ ผลตอ่ ปัญหาสุขภาพ การปนเป้ือนของเชอื้ โคลิฟอรม์ แบคทเี รยี จะนำไปสู่การเกดิ โรคติดต่อต่างๆ ได้ โดยโรคท่ีสำคญั คือ โรคอจุ จาระ ร่วงและเช้อื โคลฟิ อร์มแบคทีเรยี ที่เป็นสาเหตุของโรคอจุ จาระร่วงที่พบบอ่ ยในน้ำคอื Escherichia coliงานวิจัย เรอื่ ง Drinking water quality and public health in Southwestern Saudi Arabia: The need for a national monitoring proGram ท่ไี ด้ทำการประเมินคณุ ภาพของนำ้ ดมื่ ในแงข่ องเชื้อแบคทีเรยี ณ เขต Najran ประเทศ Saudi Arabiaพบว่าปริมาณเชื้อโคลิฟอรม์ แบคทเี รียจากตัวอยา่ งท่ีเก็บได้มากท่ีสดุ ในตวั อย่าง น้ำจากถงั บนหลังคา(ร้อยละ 68.8) รองลงมาพบในตวั อย่างนำ้ จากแทงค์เกบ็ นำ้ (ร้อยละ 32.5) และตวั อยา่ ง จากบอ่ น้ำ (รอ้ ยละ 20)ในงานวจิ ัยเรอื่ ง Bacteriological quality of drinking water in Nyala, South Darfur, Sudan ท่ีทำการตรวจสอบการปนเปอ้ื นของเช้อื แบคทีเรยี ในน้ำดม่ื ณ เมือง Nyala เขต South Darfur ประเทศSudan พบวา่ ปรมิ าณเช้ือโคลฟิ อร์มแบคทีเรยี จากตัวอย่างทพ่ี บมากท่ีสดุ (รอ้ ยละ 46.4) และ faecal enterococci (ร้อยละ 25.4) โดยเชอ้ื โคลิฟอร์มแบคทีเรียท่ีพบเปน็ faecal coliform (รอ้ ยละ 97.5) โดpจำแนกชนิดได้มากที่สดุ เป็นเชื้อ Escherichia coliเชื้อ Enterococcus faecalis เชื้อ Klebsiella เช้อื Citrobacter และเชอื้ Enterobacter ผ้วู ิจยั จึงสนใจในการศกึ ษาประเมนิ ความปลอดภยั ในการใช้น้ำก๊อก จากเชอื้ โคลิฟอรม์ แบคทีเรีย ณ จุด ตา่ งๆในโรงเรียนปัว

2 วตั ถุประสงคข์ องการทำโครงงาน • เพอ่ื ประเมนิ ความสะอาดปลอดภัยของนำ้ ก๊อกทีใ่ ช้ในการอปุ โภคและบริโภค โดยการตรวจหาเช้ือโคลิ ฟอร์มแบคทเี รยี สมมตฐิ านของการศึกษา • กอ๊ กน้ำบรเิ วณหอ้ งปฎิบัตกิ ารวิทยาศาสตร์น่าจะมีการปนเปอื้ นของเช้ือโคลิฟอรม์ แบคทเี รยี มากที่สุด ขอบเขตของการทำโครงงาน • ใน โรงเรียนปวั

3 บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ท่เี กีย่ วข้อง ความหมายของโคลิฟอรม์ (coliform) คือกล่มุ ของแบคทเี รยี แกรมลบ (Gram negative bacteria) รูปรา่ งเปน็ ทอ่ นไม่สรา้ งสปอร์ (non spore forming) เป็นแบคทเี รียที่เจริญได้ท้งั มีอากาศและไมม่ ีอากาศ (facultativeanaerobe) สามารถหมกั นำ้ ตาลแล็กโทส (lactose) ให้เกดิ กรด และแก๊ส ได้ทอี่ ุณหภูมิ 35-37 องศาเซลเซยี ส ภายใน 48 ชวั่ โมง ไมท่ นความร้อนสามารถทำลายไดง้ ่ายดว้ ยความร้อนระดบั การพาสเจอไรซ์ (pasteurization) ไม่ผลิตเอนไซม์ออกซิเดส(oxidase negative)คำว่า coliform มาจาก colon เนื่องจาก แบคทเี รยี กลุ่มนมี้ ักพบในลำไสข้ องสตั วเ์ ลอื ดอนุ่ แต่โคลิฟอรม์ อกี หลายชนิดกม็ แี หล่งทพี่ บในดนิ แบคทเี รียใน กลุม่ โคลฟิ อร์มสว่ นใหญ่ไม่ใชจ่ ุลนิ ทรียก์ ่อโรค (non-pathogen)แต่ปรมิ าณของโคลิฟอรม์ แบคทีเรีย (coliform bacteria count ) ใช้เป็นดัชนีชี้สุขาภิบาลอาหาร (foodsanitation) และนำ้ การพบโคลฟิ อร์มแบคทีเรียใน อาหารและนำ้ ปริมาณมาก บ่งชถ้ี งึ ความไม่สะอาดไม่ถกู สุขลกั ษณะ อาจมกี ารปนเปอื้ นของอจุ จาระของคน หรอื สตั วเ์ ลอื ดอุน่ มีบทบาทสำคัญกับแนวคิดและทฤษฎีเก่ยี วกับแบคทเี รยี นโคลิฟอร์ม โคลิฟอรม์ แบคทีเรยี เปน็ แบคทีเรียช้ีแนะ(Bacteriological indicator) ซ่ึงถา้ ตรวจพบในนำ้ กแ็ สดงว่านำ้ น้ันนา่ จะไมป่ ลอดภัย คือ อาจมีเชื้อโรคอยู่ในน้ำ คุณสมบัตขิ องแบคทีเรยี ช้แี นะ ที่ดมี ีดงั นี้ ๑. เม่อื พบแบคทเี รียท่ที ำให้เกิดโรคอย่ใู นนำ้ จะต้องพบแบคทีเรียชี้แนะอยใู่ นนำ้ ดว้ ย ๒. มีจำนวนแปรผันตามจำนวนของแบคทีเรยี ที่ทำให้เกดิ โรค ๓. สามารถอยู่ในน้ำไดน้ านกวา่ แบคทีเรียที่ทำใหเ้ กิดโรค ๔. ไมค่ วรมใี นน้ำบริสทุ ธิ์ ๕. วิธกี ารตรวจวเิ คราะหไ์ มย่ ุ่งยาก

4 ร่างกายของมนษุ ยม์ ีนำ้ เป็นสว่ นประกอบมากถงึ 70% ซง่ึ การดืม่ นำ้ อย่างน้อยวนั ละ 6-8 แกว้ จะช่วย ปรับสมดลุ ในรา่ งกาย ทำใหส้ ุขภาพแขง็ แรง บำรงุ หัวใจ ชะลอวัย ผิวเดง้ เต่งตึงชว่ ยกระตนุ้ ระบบเผาผลาญ หนา้ ใสไร้สิว รวมไปถึงทำใหอ้ ารมณ์ดี สมองสดใส พรอ้ มเรยี นพรอ้ มทำงาน มปี ระสิทธิภาพดกี ว่ายาบำรุงหลายชนิด รวมกันเสียอกี ยง่ิ ดมื่ เยอะย่ิงดตี อ่ รา่ งกายแตใ่ นนำ้ ใส ๆ ใครจะรู้ว่าปนเป้อื นอะไรอยู่ เร่อื งคณุ ภาพของนำ้ ด่มื ต้องใสใ่ จพเิ ศษหากบริโภคน้ำไม่สะอาดอาจเป็นสาเหตหุ นงึ่ ที่ทำให้ร่างกายปว่ ยซ่ึงดูเหมอื นจะให้โทษมากกวา่ ให้ คณุ ประโยชน์ เพราะฉะน้นั การเลอื กน้ำดืม่ กส็ ำคญั ไมแ่ พก้ ับการดูแลสุขภาพในดา้ นอ่ืน ๆ Chula Zero Waste จึงขอใหข้ ้อมูลสารปนเป้อื นท่ีมกั พบไดบ้ ่อยในนำ้ ด่ืมที่ไม่สะอาดซง่ึ หากไดร้ ับสารเหล่าน้มี ากเกนิ กว่าปริมาณท่ี กำหนดจะทำให้รา่ งกายเกิดอาการอย่างไรเพื่อสงั เกตอาการ งดด่มื น้ำจากแหลง่ น้ำนนั้ และพบกับแพทย์ได้ ทนั ทว่ งที โคลิฟอร์ม (Coliformbacteria) เป็นกลุ่มแบคทีเรยี แกรมลบสามารถเจรญิ เตบิ โตได้ในท่ีท่ีมีอากาศ และไมม่ ีอากาศมักพบในสภาพแวดล้อมที่เก่ียวข้องน้ำ ท้งั ในดินและพืช มอี ยูใ่ นร่างกายสัตว์เลอื ดอนุ่ รวมถงึ อาศัยอยูใ่ นลำไส้ของมนุษย์ แม้วา่ แบคทีเรียพวกน้จี ะอย่ใู นลำไสข้ องพวกเราแตก่ ็เป็นเพียงบางสว่ นหากพบว่ามี การเจือปนในนำ้ ด่ืมมากเกนิ ไปสามารถบง่ ช้ีถึงความไม่สะอาดและไม่ถกู สุขลกั ษณะของแหล่งน้ำดม่ื ได้ โดยผู้ท่ี ติดเชอื้ จะมีอาการคลา้ ยกับเปน็ ไขห้ วัดใหญ่ คือ เป็นไข้ปวดท้อง และท้องเสยี สามารถเป็นได้ทง้ั เด็กและผูใ้ หญ่ ซึง่ แบคทีเรยี โคลิฟอรม์ สามารถมชี วี ติ อยู่ในน้ำได้นานกว่าจุลนิ ทรยี อ์ ่นื ๆ แตไ่ ม่ทนความรอ้ นสามารถฆ่าเชอื้ เหลา่ นี้ไดโ้ ดยผ่านกระบวนการทำความรอ้ นในระดับพาสเจอไรซ์หรือระบบกรองน้ำทีส่ ามารถฆ่าเชื้อโรคได้ อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพกส็ ามารถชว่ ยกำจัดหรือควบคุมปริมาณของแบคทีเรยี ใหพ้ อเหมาะและสามารถดม่ื นำ้ ได้ อย่างปลอดภัยอย่างไรกต็ ามน้ำก็มกี ารสง่ ผา่ นทอ่ ท่ีใช้งานเป้นเวลานานอาจมกี ารปนเปืน้ ของแบคทีเรียนจงึ ต้อง มีการตรวจสอบเพ่ือแก้ไขต่อไป องค์ประกอบของแบคทีเรยี โคลฟิ อร์ม โคลฟิ อร์มแบ่งตามแหล่งท่ีมาได้เป็น 2 ชนิด คอื 1. ฟคี ัลโคลิฟอรม์ (Fecal Coliform) พวก น้อี าศัยอยูใ่ นลำไส้ของคน และสัตว์เลือดอนุ่ ถูกขบั ถ่ายออกมากบั อุจจาระ เมอื่ เกดิ การระบาดของโรคระบบทางเดนิ อาหาร จะพบแบคทเี รยี ชีแ้ นะชนดิ นี้ ได้แก่ อ.ี โค.ไล 2. นนั ฟคี ัลโคลฟิ อร์ม (Non-fecal coliform) พวกน้ีอาศยั อย่ใู นดินและพืช มีอันตรายน้อยกว่าพวกแรก ใช้เป็นแบคทเี รยี ชี้แนะถงึ ความไม่สะอาดของนำ้ ได้ เชน่ เอ.

5 แอโรจเิ นส (A. aerogenes) ลักษณะและคณุ สมบัติ คณุ สมบัตขิ องโคลิฟอรม์ แบคทเี รยี มีดงั นี้ คือ 1. รูปร่างเป็นท่อนเล็ก ๆ (rod shape) ไม่มีสปอร์ (non-spore forming) 2. ทดสอบด้วยการย้อมสกี รมั ไมต่ ิด เป็นพวกกรมั ลบ (gram negative) 3. สามารถยอ่ ยพวกแล็กโทส (lactose) ให้เกิดกรดและก๊าซ เม่อื เอาไปอบท่ีอุณหภูมิ ๓๕ ซ. เวลา ๒๔ ชั่วโมง หรือ ๔๘ ชว่ั โมง 4. สามารถเจรญิ เติบโตได้ในสภาพทมี่ ีอากาศ (aerobic) และไม่มีอากาศ (anaerobic) จงึ นบั แบคทเี รยี พวกน้เี ปน็ แฟคคลั เตตฟี (facultative anaerobes) 5. สามารถทำให้เกดิ กา๊ ซจากอาหารเหลวบริลเลียนกรนี แล็กโทส ไบล์บรอธ (Briliant Green Lactose Bile broth) ที่อุณหภมู ิ ๓๕ ซ. ภายในเวลา ๔๘ ช่ัวโมง หรอื เร็วกว่าน้ัน 6. สามารถเจรญิ เตบิ โตในอาหารแข็ง อีเอม็ บี (EMB, Eosine Methylene Blue Agar) ที่ ๓๕ ซ. ในเวลา ๒๔ ชัว่ โมง การพบโคลฟิ อร์มแบคทเี รยี ในอาหารและนำ้ ปริมาณมาก บง่ ช้ีถึงความไม่สะอาด ไมถ่ กู สุขลักษณะ อาจมกี ารปนเปือ้ นของอุจจาระของคน หรือ สตั วเ์ ลอื ดอนุ่ มีบทบาทสำคัญกับ การเส่อื มเสยี ของน้ำนม การเส่ือมเสียของเน้ือสตั ว์ การเส่ือมเสยี ของไข่

6 งานวิจยั ท่ีเก่ยี วข้อง ช่ือเร่ือง การปนเปื้อนโคลิฟอรม์ แบคทเี รยี ในน้ำใช้และน้ำเสียของฟาร์มสุกร ผวู้ ิจัย ธัญรัศม์ พงษ์ววิ ัฒวิ ราภา การศกึ ษาวิจัยครั้งน้ี เปน็ การศึกษาการปนเปอ้ื นของโคลฟิ อรม์ แบคทเี รยี ในนำ้ ใช้และ น้ำเสียของฟารม์ สกุ ร ขนาดเล็กและฟาร์มสกุ รขนาดกลาง และเปรียบเทียบปรมิ าณการปนเปื้อนโคลิฟอรม์ แบคทีเรยี ในนำ้ ใช้และนำ้ เสียของฟารม์ สุกรท้ังสองขนาด โดยทำการเกบ็ ตวั อยา่ งน้ำจากฟาร์มสกุ รขนาดเลก็ จำนวน 3 จดุ เก็บ ได้แก่ นำ้ ใชข้ องฟาร์ม น้ำเสยี จากการล้างคอก และน้ำเสยี ในบ่อกกั เกบ็ นำ้ เสีย ในส่วนของฟาร์มสุกรขนาดกลางซ่ึงมี ระบบบำบดั น้ำ เสยี แบบไรอ้ อกซิเจนในการบำบัดน้ำเสียของฟารม์ จึงทำการเก็บตวั อยา่ งนำ้ จำนวน 4 จุดเก็บ คอื นำ้ ใช้ของฟารม์ นำ้ เสียจากการล้างคอก น้ำเสยี หลงั การบำบัด และนำ้ เสียในบอ่ กักเก็บน้ำเสยี ทำการ ตรวจวดั ค่าออกซิเจนละลายนำ้ ความเปน็ กรดดา่ ง การนำไฟฟ้า ของแขง็ ละลายน้ำทง้ั หมดและอุณหภูมขิ อง ตวั อย่างน้ำใชแ้ ละน้ำเสยี ในภาคสนาม และวเิ คราะห์คา่ การปนเป้อื น TCB, FCB และE. coli ของตวั อย่างนำ้ ใช้ และน้ำเสียในห้องปฏิบัตกิ าร ผลการศกึ ษา พบว่าน้ำใช้ ของฟาร์มสกุ รขนาดเลก็ และฟารม์ สกุ รขนาดกลางมี การปนเปื้อน TCB, FCB และ E. coli เกินเกณฑม์ าตรฐานนำ้ บาดาลเพือ่ การบรโิ ภค และเกณฑม์ าตรฐาน คณุ ภาพนำ้ ทีเ่ หมาะสมสำหรับการเลีย้ ง สุกรภายหลงั การใช้น้ำทำความสะอาดคอก น้ำใช้มีการปนเป้ือนโคลิ ฟอร์มแบคทีเรยี เพม่ิ สงู ขน้ึ และพบว่า คา่ TCB และ FCB ในนำ้ เสยี จากการล้างคอกของฟารม์ สกุ รขนาดเล็ก และ ฟาร์มสุกรขนาดกลางมี ค่าแตกตา่ งกนั อยา่ งมี นัยสำคัญ ทางสถิติ ขณะที่ คา่ E. coli ในน้ำเสียจากการ ล้างคอกของฟาร์มสกุ รขนาดเลก็ และฟารม์ สกุ รขนาดกลางมีค่าไมแ่ ตกตา่ งกัน อย่างมีนัยสำคญั ทางสถิตแิ ละค่า TCB, FCB และ E. coli ของน าเสยี ในบ่อกักเก็บน าเสียของฟาร์มสุกรขนาดเลก็ และฟาร์มสกุ รขนาดกลาง มี คา่ ไม่แตกตา่ งกนั อยา่ งมนี ยั สำคญั ทางสถติ ิ เม่อื เปรียบเทยี บการปนเปอ้ื นโคลฟิ อร์มแบคทีเรยี ในน้ำเสยี ทเี่ ก็บ จากจุดเก็บตัวอย่าง ประเภทเดียวกนั ระหว่าง ฟาร์มสกุ รขนาดเลก็ และ ฟารม์ สุกรขนาดกลางพบวา่ น้ำเสยี ของฟาร์มสกุ รขนาดเล็กมี การปนเปือ้ นโคลฟิ อร์มแบคทีเรียสูงกว่าน้ำเสยี ของฟาร์มสุกรขนาดกลางอย่างมี นยั สำคญั ทางสถิติ ทั้งนี้ พบว่านำ้ เสยี ในบ่อกกั เก็บน้ำเสียของฟารม์ สุกรขนาดเล็กและฟารม์ สุกรขนาดกลาง ยัง มคี ่าการปนเป้ือนโคลิฟอร์มแบคทีเรีย ท่สี ูง ดังนนั้ จึงควรมกี ารบำบดั นำ้ เสียในบอ่ กกั เก็บน้ำเสียกอ่ นการระบาย น้ำเสยี ออกจากบ่อรวมจึงควรมีการเฝ้าระวังการใช้ประโยชนน์ ้ำเสียในบอ่ กกั เกบ็ นำ้ เสีย เพ่อื ป้องกันไม่ให้ เกดิ การปนเปอื้ นโคลฟิ อรม์ แบคทีเรยี ของแหลง่ นำ้ ธรรมชาติ

7 ช่อื เร่ือง สถานการณ์การปนเป้อื นจุลนิ ทรียใ์ นอาหารพร้อมบริโภค : กรณีศกึ ษาจังหวัดขอนแกน่ และอุดรธานี ผวู้ ิจยั ดารวิ รรณ เศรษฐธี รรม (1) กาญจนา นาถะพนิ ธ(ุ 2) จรสั ศรี นามแก้ว(3) และภัควลญั ชณ์ จนั ทรา การวจิ ัยเชงิ สำรวจน้ี มีวัตถุประสงค์เพอื่ ศกึ ษาการปนเป้ือน แบคทีเรียโคลิฟอร์ม และ Staphylococcusaureus ในอาหารพรอ้ มบรโิ ภคทีจ่ ำหนา่ ยในร้านอาหาร 42 ร้าน และแผงลอยจำหน่าย อาหาร 68 แหง่ ใน อ.กุมภวาปี จังหวดั อดุ รธานี และศึกษาการปนเป้อื น Faecal coliform, Staphylococcus aureus และSalmonella spp. ในตวั อย่างอาหารจากตลาดสด 3 แห่ง และ ห้างสรรพสนิ ค้า 3 แห่ง ใน ขอนแกน่ ทาการศึกษาระหวา่ งเดือน สิงหาคม 2552- มนี าคม 2554 ผลการศกึ ษาพบว่า 1) อาหารพร้อม บรโิ ภคที่จาหนา่ ยในรา้ นและแผงลอย มแี บคทีเรียโคลิฟอรม์ ไมไ่ ดม้ าตรฐานในกลุ่มอาหารปรุงสกุ ทั่วไปกล่มุ ผกั สดและผลไม้ และกลุ่มอาหารดบิ ร้อยละ 38.5, 32.6 และ 27.6 ตามล าดบั เช้อื Staphylococcusaureus เกนิ มาตรฐานในกลมุ่ อาหารดิบ กลุม่ อาหารปรุงสุกทวั่ ไป และกล่มุ ผกั และผลไม้ ร้อยละ 50.0,40.9 และ 27.7 ตามล าดบั 2) อาหารพรอ้ มบรโิ ภคที่จำหนา่ ยใน ห้างสรรพสนิ ค้าและตลาดสดพบการปนเปื้อน Faecal coliform เกนิ มาตรฐาน ในอาหารประเภท ย า และ สลัด ร้อยละ 96.7 เท่ากันรองลงมา คือ น้ำพริก ขนม หวาน และผัดผกั ร้อยละ76.7, 63.3 และ 56.7 ตามล าดบั เช้ือStaphylococcus aureus เกินมาตรฐานใน อาหารประเภทย า ร้อยละ 76.7 รองลงมาคือ น้ำพรกิ สลัดและขนมหวาน ร้อยละ 43.3, 26.7 และ 6.7 ตา มล าดับ และเชอ้ื Salmonella spp ในอาหารประเภทผดั ผักเกนิ มาตรฐาน ร้อยละ 83.3 รองลงมา คอื ย า สลดั น้ำพรกิ และขนมหวาน ปนเป้อื นSalmonella spp ร้อยละ 60.0, 46.7, 46.7 และ 26.7 ตามลำดับ ช่ือเรอื่ ง คณุ ภาพและความปลอดภยั ของนำ้ ดมื่ จากตู้น้ำดื่ม หยอดเหรียญอัตโนมัตใิ นจังหวดั มหาสารคาม ผู้วจิ ยั ธนพงศ์ ภผู าลี , สมศกั ดิ์ อาภาศรทอี งสกลุ , อรนชุ วงศ์วัฒนาเสถียร, มาลี สุปนั ตี วัตถุประสงค:์ เพ่ือสำรวจคุณภาพและความปลอดภยั ของน้ำดื่มจากตู้นำ้ ดมื่ หยอดเหรยี ญอัตโนมัติในจังหวัด มหาสารคาม วิธีการ: การศึกษาน้ีเปน็ การวจิ ยั เชิงพรรณนาท่เี กบ็ ตวั อยา่ งน าด่ืมจากตู้น้ำด่ืมฯ จากพ้ืนที่ 7 อำเภอ รวมทั้งสิน้ 133 ตวั อย่าง หลงั จากนน้ั วิเคราะหด์ ว้ ยชุดทดสอบคณุ ภาพนำ้ ด่ืมภาคสนามของกรมอนามยั ประกอบดว้ ยชุด

8 วิเคราะห์โคลฟิ อร์มแบคทีเรีย แบคทีเรียที่ผลิตกา๊ ซไฮโดรเจนซัลไฟดค์ ลอรนี อิสระคงเหลอื ในน้ำด่ืม ความ กระดา้ งของน้ำดืม่ และวเิ คราะห์ค่าความ เปน็ กรดดา่ งดว้ ยเครือ่ งpH meter การตดั สนิ ผลทำโดยเปรยี บเทียบ กบั เกณฑ์ในประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรือ่ ง นำ้ ดื่มในภาชนะบรรจุปดิ สนทิ ผลการศกึ ษา: นำ้ ดม่ื ตัวอย่างไม่ ผ่านเกณฑด์ า้ นจุลินทรียโ์ ดยพบโคลิฟอร์มแบคทีเรยี จำนวน 92 ตวั อยา่ ง (รอ้ ยละ 69.2)พบแบคทีเรียทีผ่ ลิตกา๊ ซ ไฮโดรเจนซัลไฟดจ์ ำนวน 4 ตวั อยา่ ง (ร้อยละ 3.0) ในดา้ นฟสิ กิ ส์และเคมไี มพ่ บคลอรีน อิสระคงเหลือในนำ้ ทุก ตวั อยา่ ง พบค่าความกระด้างเกนิ กว่าเกณฑ์มาตรฐาน (มากกวา่ 100 mg/L) จำนวน 4 ตวั อย่าง (ร้อยละ 3.0) ในด้านความเป็นกรด-ด่าง (pH)พบวา่ ไม่ผ่านเกณฑม์ าตรฐานจำนวน 17 ตวั อย่าง (รอ้ ยละ 12.8) ประกอบดว้ ย ค่าความเป็น กรด–ด่างท่ีน้อยกว่า 6.5 จำนวน 14 ตัวอย่าง (ร้อยละ 10.5) และคา่ ความเป็นกรด–ด่าง มากกว่า 8.5 จำนวน 3 ตวั อยา่ ง (ร้อยละ 2.3) น้ำ ดมื่ ผ่านเกณฑ์วเิ คราะห์ทุกดา้ น จำนวน 34 ตัวอยา่ ง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 25.6 สรุป:นำ้ ดืม่ ร้อยละ 25.6 จากตนู้ ้ำดื่มฯ ใน จังหวัดมหาสารคามผ่านเกณฑ์ทกี่ าหนดในดา้ นโคลิ ฟอรม์ แบคทเี รยี แบคทีเรยี ทผ่ี ลติ ก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์ คลอรีนอสิ ระคงเหลือ ในนำ้ ความกระด้าง และคา่ ความ เปน็ กรดด่าง ผบู้ ริโภคควรตระหนักอันตรายจากการบริโภคนาดื่มท่ไี มป่ ลอดภยั นอกจากน้ี หน่วยงานที่ เกยี่ วข้องควรเฝา้ ระวงั คุณภาพนาดืม่ ใหอ้ ยู่ในเกณฑ์มาตรฐานอย่างสมำ่ เสมอ

9 บทท่ี 3 วธิ ีดำเนนิ การศึกษาค้นคว้า ในการศึกษาครงั้ นี้ ผู้ศึกษาไดท้ ำการศึกษาเรอื่ งความปลอดภยั ในการใชน้ ้ำกอ๊ กอุปโภคบรโิ ภค ณ จดุ ต่างๆใน โรงเรยี นปวั ซงึ่ มีวิธีการดังนี้ 1. ระเบียบวิธที ่ีใช้ในการศกึ ษา ในการศึกษาใชร้ ปู แบบการสำรวจและ สืบค้นข้อมูล จากหนังสอื อินเตอรเ์ น็ต และใช้เครื่องมอื ใน การตรวจสอบ 2. ประชากร/กลุม่ ตวั อยา่ ง เก็บตัวอยา่ งนำ้ จากก๊อกนำ้ ทั้งหมดจำนวน 6 ก๊อก ภายในบรเิ วณโรงเรยี นปัว ประกอบด้วย กอ๊ กน้ำ จาก บรเิ วณ อาคาร 3 ,2 ,โดมเขียว, โรงน้ำ ,ศูนย์อาหาร,shop โดยแต่ละตวั อย่างเกบ็ 1 ครง้ั ปริมาตร 50 มลิ ลิลิตร กลุม่ ตัวอย่างพิจารณาจากเกณฑ์การคดั เข้า ศึกษา (Inclusion criteria) ได้แก่ ก๊อกบนอ่างลา้ งที่ เปิด ใช้งานได้ปกติและยังมกี ารใช้งานอยู่ และเกณฑ์ การคดั ออกศึกษา (Exclusion criteria) ไดแ้ ก่ ก๊อก บนอา่ ง ลา้ งทไ่ี มม่ กี ารใชง้ าน, กอ๊ กท่ีไมไ่ ด้อยู่บนอา่ งลา้ ง รวมถงึ สายชำระและฝกั บัว และกอ๊ กท่ไี มไ่ ด้รับอนญุ าต ให้เข้า ไปเก็บตวั อย่าง ระยะเวลาทีใ่ ชใ้ นการศึกษา 16 พฤษภาคม2562 ถงึ 15กยั ยายน2562 3. วิธดี ำเนินการศึกษา ผู้ศกึ ษาได้ดำเนนิ การตามขน้ั ตอนดงั นี้ 3.1 กำหนดเรื่องทจ่ี ะศกึ ษา โดยสมาชิกทงั้ 6 คน ประชมุ ร่วมกนั และร่วมกนั คิดและวางแผน ว่า จะศกึ ษาเรอื่ งใด ( สมาชกิ กลุ่มทงั้ 6 คน ไดม้ าโดยนำผลการเรยี นวชิ าภาษาไทยพ้ืนฐาน มาจัดแบง่ กลุม่ เกง่ กลาง ออ่ น) 3.2 สำรวจปัญหาท่ีพบในโรงเรียน ซึ่งมที ้งั ปญั หาด้านผูเ้ รียน ครูผ้สู อน อาคาร สถานที่ สงิ่ แวดลอ้ ม ในโรงเรียน ฯลฯ 3.3 เลอื กเรอื่ งทจ่ี ะศึกษา โดยเลอื กเรื่องที่สมาชกิ มคี วามสนใจมากทีส่ ุด เพือ่ เป็นแรงจูงใจในการคน้ หา คำตอบ 3.4 ศึกษาแนวคดิ ในการแกป้ ัญหา ( ในขอ้ นย้ี ังไมส่ ามารถดำเนนิ การไดเ้ นือ่ งจาก การเรยี นรายวชิ า IS1 เวลามีจำกัด ผ้ศู ึกษาจึงทำไดเ้ ฉพาะการสำรวจความคดิ เห็นและสรา้ งเครอ่ื งมือ (แบบสอบถาม) ศึกษาเพยี ง เพื่อให้มีความรู้ ความเข้าใจ เรือ่ งกระบวนการวจิ ัยเท่านั้น 3.5 ตง้ั ช่ือเรอ่ื ง 3.6 สมาชกิ ทง้ั 6 คนของกลุ่ม พบครผู ู้สอนเพือ่ ปรึกษา วางแผนและรับฟังความคดิ เห็น ปรับปรงุ แก้ไข

10 3.7 เขยี น วตั ถปุ ระสงค์ สมมตุ ิฐาน ขอบเขตการวจิ ยั และประโยชน์ท่คี าดว่าจะไดร้ บั โดยศกึ ษา ขอ้ มูลจากหนงั สือ ความสำคัญความเปน็ มาของปญั หา วทิ ยานิพนธแ์ ละสบื ค้นข้อมูลจากอินเตอร์เนต็ และ จดบันทกึ ในโครงรา่ งรายงานเชงิ วิชาการ (ตามใบงาน) 3.8 ใชp้ h มิเตอร์ 3.9 นำเครื่องมอื ท่ปี รับปรงุ แล้วไปใชก้ ับกล่มุ ตวั อย่าง 3.10 รวบรวมขอ้ มลู 3.11 วิเคราะหข์ อ้ มูล 3.12 สรปุ การศกึ ษา 4. เครื่องมอื ทใ่ี ช้ในการศึกษา เครือ่ งมอื ทใ่ี ช้ในการศึกษาคร้งั น้ี คอื pH ทิเตอร์ ซึ่งมรี ายละเอยี ด 5. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล (1) ประสานงานกบั เจ้าหน้าที่ประจำภาควิชา เพือ่ ขอเก็บขอ้ มลู และนดั หมายการเขา้ เกบ็ ขอ้ มูล (2) จดั เตรียมอาหารเลีย้ งเชอื้ อุปกรณเ์ กบ็ ตัวอย่างนำ้ และติดตอ่ ขอใช้หอ้ งปฏิบัติการ (3) เกบ็ ตวั อย่างนำ้ กอ๊ ก ท้งั หมดจากบริเวณโรงเรียนปัวทั้งหมด โดยใช้PH มิเตอร์ ตัวอย่าง-( หลอดเก็บน้ำ Sterlie จำนวน 69 ตวั อย่าง ปรมิ าตร 50 มิลลลิ ิตร (4) นำตัวอย่างนำ้ ไปวิเคราะหห์ าการปนเป้ือน เชอ้ื โคลิฟอรม์ แบคทีเรียดว้ ยวธิ ี MPN จากนั้นนำเขา้ ตูบ้ ม่ เพาะเชอ้ื ที่อุณหภมู ิ 37 องศาเซลเซียส เป็นเวลา ประมาณ 24 ชั่วโมง แล้วบันทึกผลและ แปลผล เทยี บกบั ตาราง MPN index (5) นำน้ำก๊อกทีเ่ หลือไป spread ลงบน MacConkey agar และ Ampicillin-MüellerHinton agar นำเข้าตู้บม่ เพาะเชอื้ ทีอ่ ุณหภูมิ 37 องศาเซลเซยี ส เป็นเวลาประมาณ 24 ชัว่ โมง แลว้ บนั ทกึ ผล (6) นำเช้ือจากข้อ (3) ท่ีสงสัยจาก Ampicillin-Mueller-Hinton agar มาเพาะแยกโดย ใช้ streak-plate technique แล้วนำเข้าต้บู ม่ เพาะ เชอ้ื ทอ่ี ุณหภมู ิ 37 องศาเซลเซียส เป็นเวลาประมาณ 24 ชั่วโมง (7) นำเชอ้ื ที่เจรญิ เปน็ โคโลนีจาก MüellerHinton agar ทมี่ ีการเจริญเป็นโคโลนจี ำนวน >20 CFU/ มิลลลิ ิตร ไปตรวจวิเคราะหจ์ ำแนกชนิด ด้วย เครื่อง MALDI-TOF MS (8) เม่อื ทราบ species จาก MALDI- TOF MS จากน้นั เลอื กยาท่ีเหมาะสมกบั เชอ้ื เพื่อทดสอบ ความไวตอ่ การเชอ้ื ด้ือยาของเช้ือแต่ละตัว ดว้ ยวธิ ี Disc agar diffusion method นำเข้าตบู้ ่มเพาะเช้อื ที่ อณุ หภมู ิ 37 องศาเซลเซียส นาน 16-18 ชั่วโมง แลว้ บนั ทกึ ผลและแปลผลโดยดูเสน้ ผ่าศูนยก์ ลาง ของinhibition zone) 6. การวิเคราะหข์ ้อมูล ในการวเิ คราะหข์ ้อมูล ผู้ศกึ ษาไดว้ ิเคราะห์ข้อมูล ดังน้ี 6.1 นำผลการตรวจสอบทัง้ หมดท่สี ำรวจจากน้ำกอ็ กตัวอย่าง มาหาค่าคะแนนรวม 6.2 นำผลรวมมาคิดคา่ ร้อยละและการหาคา่ เฉล่ยี 7. สถติ ิทีใช้ในการศกึ ษา สถติ ิท่ีใช้ในการศกึ ษาครั้งนี้ คอื ร้อยละและการหาคา่ เฉล่ยี

11 บทท่ี 4 ผลการดำเนินงาน จากการสำรวจพบว่าค่า pH ทว่ี ดั ไดจ้ ากจดุ บรกิ ารนำ้ ดม่ื ณ สถานท่ตี ่าง ๆในโรงเรียนปัวมีค่าดงั นี้ จดุ ใหบ้ ริการนำ้ ในโรงเรียนปัว คา่ pH อาคาร 2 6.8 อาคาร 3 6.8 ศูนยอ์ าหาร 7 ช็อป 6.9 โดมเขียว 6.8 7 หนา้ อาคารอูปแก้ว

12 บทท่ี 5 สรปุ ผล และขอ้ เสนอแนะ สรุปผลการสำรวจ สรุปผลการสำรวจค่า pH ของนำ้ ก๊อกบรเิ วณตา่ ง ๆ ในโรงเรียนปัว พบว่า บริเวณอาคาร 2 มีคา่ pH 6.8 บรเิ วณอาคาร 3 มี ค่าpH 6.8 บริเวณศนู ย์อาหารมีค่าpH 7 บริเวณชอ็ ปมคี า่ pH 6.9 บริเวณโดมเขียว มคี า่ pH 6.8 และบรเิ วณหนา้ อาคารอปู แก้วมคี ่า pH 7ซึ่งค่า pH ทีไ่ ด้ สามารถบ่งบอกความปลอดภยั ในการบรโิ ภค นำ้ ไดแ้ ต่ว่าดมื่ ท่ีเหมาะสมต่อการบริโภคนัน้ ควรมีมคี วามเปน็ ดา่ งอ่อน ๆ โดมค่าความเปน็ กรด - ด่างระหว่าง pH 7.25 - 8.50 เพอ่ื ช่วยกำจัดความ เป็นกรด และของเสยี ในร่างกาย ทำใหร้ า่ งกายมีภาวะทสี่ มดุล ข้อเสนอแนะ การวัดคา่ pH เป็นการวัดความสะอาดของน้ำท่ีไมไ่ ด้ละเอียดมากนกั ดังนนั้ จึงควรใชว้ ิธกี ารตรวจสอบหาเชอ้ื โค ลฟิ อรม์ แบคทีเรียมากกวา่ ทางคณะผู้จัดทำไมส่ ามารถทดสอบได้ เน่ืองด้วยปจั จยั ด้านต่างๆ เชน่ งบประมาณ และระยะเวลาในการศึกษา

13 บรรณานุกรม นายวรี ะชยั โชควิญญู. (ม.ป.ป.) “โคลิฟอรม์ แบคทีเรยี .”(ออนไลน์) แหลง่ ทม่ี า https://web.ku.ac.th/nk40/nk/data/07/coliform.htm. 20 กันยายน 2562 ผศ.ดร.พิมพ์เพ็ญ พรเฉลมิ พงศ์วิ. (ม.ป.ป.) “โคลิฟอรม์ แบคทีเรยี .”(ออนไลน)์ แหล่งที่มา http://www.foodnetworksolution.com/wiki/word/1127/coliform-20 กนั ยายน 2562 สถาบันวิจัยสภาวะแวดลอ้ ม. 2018. “อันตรายจากสารปนเปอ้ื นในน้ำด่ืม.” ”(ออนไลน)์ แหล่งท่ีมา http://www.chulazerowaste.chula.ac.th/contaminants-in-drinking-water/ 20 กันยายน 2562 B SMART SCI . (ม.ป.ป.) “ชุดทดสอบโคลิฟอร์มแบคทีเรยี .”(ออนไลน)์ แหล่งทมี่ า https://www.bsmartsci.com/14530719/120 กันยายน 2562


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook