Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กลุ่มที่ 5 ม.604

กลุ่มที่ 5 ม.604

Published by Thitiyaporn Keebsantia, 2019-09-26 04:32:54

Description: กลุ่มที่ 5 ม.604

Search

Read the Text Version

โ ค ร ง ง า น ค อ ม พิ ว เ ต อ ร์ การพัฒนาบทเรยี นออนไลน์ เรือง สถติ ิและข้อมูล ชันมธั ยมศึกษาปที 5 จั ด ทาํ โ ด ย 1 . น า ย ธ น พ น ธ์ ศ รี ค รํา เ ล ข ที 7 2 . น า ย ศุ ภ ณั ฐ รั ก ษ์ ก ะ เ ป า เ ล ข ที 9 3 . น า ง ส า ว จ ณิ ส ต า ป ร ะ เ มิ น ชั ย เ ล ข ที 1 0 4 . น า ง ส า ว ส า ย ธ า ร วิ ว า ห์ สุ ข เ ล ข ที 1 2 5 . น า ย ว ร วิ ท ย์ บุ ญ ป ร ะ จั ก ษ์ เ ล ข ที 2 8 ชั น มั ธ ย ม ศึ ก ษ า ป ที 6 / 4 รายวชิ า ง33258 โครงงานคอมพิวเตอร์ ปการศึกษา 2562 โรงเรียนประโคนชัยพิทยาคม อําเภอประโคนชัย จังหวดั บรุ รี ัมย์ สํานกั งานเขตพืนทีการศึกษามธั ยมศึกษา เขต 32

    โครงงานคอมพิวเตอร    การพฒั นาบทเรยี นออนไลน เรอื่ ง สถติ ิและขอ มูล ช้ันมัธยมศกึ ษาปท ่ี 5  กลมุ สาระการเรียนรกู ารงานอาชพี และเทคโนโลย ี   จัดทําโดย  1. นายธนพนธ ศรคี รํ่า    เลขท่ี 7  2. นายศุภณัฐ รกั ษกะเปา  เลขท่ี 9  3. นางสาวจณิสตา ประเมินชัย  เลขที่ 10  4. นางสาวสายธาร ววิ าหสขุ   เลขที่ 12  5. นายวรวิทย บญุ ประจักษ  เลขท่ี 28  ชัน้ มัธยมศกึ ษาปท่ี 6/4        รายวิชา ง33258 โครงงานคอมพิวเตอร    ปการศกึ ษา 2562  โรงเรยี นประโคนชยั พทิ ยาคม อาํ เภอประโคนชัย จงั หวดั บุรีรมั ย    สาํ นักงานเขตพนื้ ที่การศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต 32         

เกีย่ วกบั โครงงาน  ก  โครงงานคอมพวิ เตอร    ช่อื โครงงาน การพัฒนาบทเรียนออนไลน เรื่อง สถิตแิ ละขอมูล ช้นั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 5    กลุม สาระการเรยี นรู การงานอาชีพและเทคโนโลย ี   ผจู ดั ทาํ 1. นายธนพนธ ศรคี รํ่า เลขที่ 7  2. นายศภุ ณฐั รักษกะเปา เลขที่ 9  3. นางสาวจณิสตา ประเมินชยั เลขที่ 10  4. นางสาวสายธาร ววิ าหสขุ   เลขท่ี 12  5. นายวรวทิ ย บญุ ประจักษ  เลขท่ี 28  ชัน้ มัธยมศึกษาปท ่ี 6/4     ครทู ปี่ รึกษาโครงงาน นางฐติ ยิ าภรณ ทวี     สถานศกึ ษา โรงเรียนประโคนชยั พทิ ยาคม อาํ เภอประโคนชยั จังหวดั บุรีรัมย  สาํ นักงานเขตพื้นที่การศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 32    ปการศกึ ษา 2562                             

ข  กิตตกิ รรมประกาศ     โครงงานนีส้ าํ เร็จข้นึ ไดดวยความกรุณาของนางฐติ ิยาภรณ ทวี ครูท่ีปรกึ ษาโครงงาน คอมพิวเตอร ซึ่งไดใหคําปรกึ ษาแนะนาํ และชวยเหลือการจดั ทําโครงงานการพัฒนาบทเรยี นออนไลน ทุกอยา งลลุ ว งไปดวยดี คณะผจู ดั ทาํ ขอขอบพระคณุ เปน อยางสงู   ขอบคุณเพ่ือนๆ ท่ีชวยใหคําแนะนําและแลกเปลย่ี นเรียนรเู กย่ี วกบั การทําโครงงาน คอมพิวเตอรใ นครั้งน ี้ ทา ยสุดนี้คณะผูจัดทําหวงั เปนอยา งยิ่งวา โครงงานน้จี ะเปนประโยชนตอการศกึ ษาของ นักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปท ่ี 5 ในรายวชิ าคณติ ศาสตรพ นื้ ฐาน เร่อื ง สถติ ิและขอ มูล หรอื เปน แนวทาง ในการศกึ ษาของผูสนใจตอไป       คณะผจู ัดทํา                                           

หัวขอ โครงงาน  ค  : การพัฒนาบทเรยี นออนไลน เร่อื ง สถิตแิ ละขอมลู ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที่ 5   ประเภทของโครงงาน : โครงงานพฒั นาสือ่ เพอื่ การศึกษา  ผจู ัดทาํ โครงงาน : 1. นายธนพนธ ศรคี รา่ํ เลขท่ี 7  2. นายศภุ ณฐั รกั ษก ะเปา เลขท่ี 9  3. นางสาวจณสิ ตา ประเมนิ ชัย เลขที่ 10  4. นางสาวสายธาร ววิ าหสขุ   เลขท่ี 12  5. นายวรวิทย บญุ ประจักษ  เลขท่ี 28  ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 6/4     ครูทีป่ รึกษาโครงงาน  : นางฐติ ยิ าภรณ ทว ี ปก ารศึกษา  : 2562    บทคัดยอ     การจดั ทําโครงงานในครั้งนมี้ วี ตั ถปุ ระสงค (1) เพอื่ พฒั นาบทเรียนออนไลนเร่ือง สถิตแิ ละ ขอ มูล (2) เพอื่ ศกึ ษาหาความรูเ ก่ยี วกบั การทําโครงงานคอมพิวเตอร (3) เพื่อศกึ ษาหาความรเู ก่ียวกับ สถติ แิ ละขอ มูลระดบั ชั้นมัธยมศึกษาปท5่ี ในรายวชิ าคณิตศาสตรพ้นื ฐาน และ (4) เพือ่ ศกึ ษาหาความรู เกยี่ วกับวิธีการพัฒนาบทเรยี นออนไลนดวยโปรแกรม Google site    ผลการศึกษาและจดั ทําโครงงานพบวาจากการศกึ ษาและพัฒนาพบวา ทําใหผศู กึ ษาไดบ ท เรียนออนไลน  เรื่อง สถิตแิ ละขอมูล ชั้นมธั ยมศึกษาปท ่ี 5 เปนบทเรยี นทมี่ ปี ระสิทธิภาพสามารถทําไป ศกึ ษา  และนําไปใชในการจัดการเรียนการสอนได  เปน แหลงความรูใหแ กผทู ่สี นใจไดเปน อยา งด ี โดย สามารถเขาถงึ บทเรยี นออนไลนผา นทาง  http://gg.gg/fewwy  ไดความรูเ ก่ียวกบั การพฒั นาบทเรียน ออนไลน  ไดศกึ ษาและใชโ ปรแกรมจากคอมพิวเตอรใหเปนประโยชน  ไดความรูเกย่ี วกับ  สติถแิ ละ ขอมลู ทีส่ ามารถทาํ ไปประยกุ ตใชในการศกึ ษาในระดับช้ันมธั ยมศึกษาปท  ่ี 5  และไดศึกษาเว็บไซดด วย โปรแกรม Google site                   

สารบญั   ง  หนา     เรือ่ ง ก  เกย่ี วกับโครงงาน ข  กิตตกิ รรมประกาศ ค  บทคัดยอ ง  สารบญั จ  สารบัญตาราง ฉ  สารบัญภาพ   บทท่ี 1 บทนํา  1  1 - ท่มี าและความสาํ คัญของโครงงาน  1  - วัตถปุ ระสงค 2  - ขอบเขตการศึกษาคน ควา  3 - ประโยชนทคี่ าดวาจะไดรบั   12 บทที่ 2 เอกสารและโครงงานทีเ่ กยี่ วขอ ง  14   - การทาํ โครงงานคอมพิวเตอร  17  - การพัฒนาบทเรียนออนไลน  19  - สถิติและขอ มลู   21   - โปรแกรม google site  22  - โครงงานที่เกี่ยวของ  26  บทที่ 3 วิธีการจัดทาํ โครงงาน  26  - วสั ดแุ ละอุปกรณ    - วธิ กี ารจัดทาํ โครงงาน บทท่ี 4 ผลการศกึ ษา    บทที่ 5 สรปุ ผล และขอ เสนอแนะ    - สรปุ ผลการศึกษา - ประโยชนที่ไดจากโครงงาน  - ขอ เสนอแนะ  บรรณานุกรม  ภาคผนวก  ขอมูลผูจ ัดทาํ    

ตารางท่ี สารบัญตาราง  จ  1 ขั้นตอนการจดั ทาํ เคาโครง หนา         8                                                            

สารบัญภาพ  ฉ  หนา    4  ภาพท่ี   4  1 การพัฒนาส่ือเพ่อื การศกึ ษา  5  2 การพฒั นาเครอ่ื งมอื   5  3 การจาํ ลองทฤษฎ ี 6  4 ซอฟแวรสาํ หรับจบั คนราย  17  5 ส่ือพัฒนา  18  6 หนา login  18  7 กดสรางเพื่อทาํ เวบ็ ไซด  19  8 ต้งั ชอ่ื และเลอื กธีม  21  9 กรอกขอ ความ  21  10 กดสรางเว็บไซค  21  11 คดั เลือกหวั ขอโครงงานที่สนใจ  22  12 ศึกษาคนควาจากเอกสารและแหลง ขอมูล  22  13 จดั ทาํ เคาโครงของโครงงาน  23  14 การลงมอื ทําโครงงาน  23  15 การเขียนรายงาน  24  16 การนําเสนอและแสดงโครงงาน  24  17 หนา หลัก  25  18 บทเรยี นออนไลน  25  19 ขอมูลเกีย่ วกับสถติ  ิ 25  20 ขอมลู เกย่ี วกบั ขอ มลู   21 แบบทดสอบเร่ืองสถิติและขอมูล                     

บทที่ 1  บทนาํ     ทมี่ าและความสาํ คญั ของโครงงาน  จากการเรยี นในปจจบุ นั เรอ่ื งสถิติและขอ มูลในระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปท ่ี 5 พบวา ในการเรยี น หรือการทําแบบทดสอบในแตละครง้ั มกั เกิดปญ หาเก่ยี วกบั ตวั เลขทม่ี จี าํ นวนมากและยากในการจัด เรยี งขอ มลู เพื่อท่ีจะนําไปทาํ ในแบบทดสอบในขัน้ ตอไป  บทเรยี นออนไลน บทเรยี นทีจ่ ดั ทาํ ขึ้นเปนสือ่ การสอน ผานระบบเครือขา ยอินเทอรเน็ต  ประกอบไปดวยโครงสรา งหลักสตู ร คําอธิบายรายวชิ า หนวยการเรียนรู การวางแผนการจัดการเรียนร ู เน้อื หา แบบทดสอบ แบบฝก ทักษะเพ่อื ใหนกั เรียนและผทู ีส่ นใจศึกษา สามารถศึกษาคนควาความร ู ไดด วยตนเอง โดยออกแบบไว ใหโตต อบกบั ผูเรียนได    สถิติ หมายถึง ศาสตร หรือหลกั การและระเบยี บวธิ ที างสถติ ิ ตวั เลขท่แี สดงขอเท็จจริงเกี่ยว กับเร่อื งใดเร่ืองหนึ่งไดแก การเกบ็ รวบรวมขอ มูล การนําเสนอขอมูล การวิเคราะหข อมลู การตีความ หมายขอ มูล  จากเหตุผลดงั กลาวขางตน คณะผูจดั ทําจงึ สนใจที่จะศกึ ษาและพฒั นาบทเรยี นออนไลน เรอ่ื ง  สถติ แิ ละขอ มูล สาํ หรบั ช้ันมธั ยมศึกษาปท ่ี 5 เพื่อเปน บทเรียนท่ีชวยสงเสริมใหนักเรยี นไดเ ขา ใจเน้อื หา เกีย่ วกบั สถิติแลขอมูล โดยการนาํ เสนอผา นเว็บไซต ซึง่ มีความนา สนใจและเนื้อหาท่ีกระชบั เขาใจงาย  และเพอ่ื เพิม่ ผลสัมฤทธ์ิฺทางการเรียนใหด ีขึน้ อีกดว ย    วัตถปุ ระสงค  1. เพื่อพฒั นาบทเรียนออนไลน เร่ือง สถิติและขอมลู   2. เพ่ือศึกษาหาความรเู ก่ยี วกบั การทาํ โครงงานคอมพิวเตอร  3. เพื่อศกึ ษาหาความรูเ กีย่ วกบั สถติ ิและขอ มลู ระดับช้นั มัธยมศึกษาปท่ี 5 ในรายวชิ าคณติ ศาสตรพ ้นื ฐาน  4. เพอื่ ศกึ ษาหาความรูเกย่ี วกบั วธิ กี ารพฒั นาบทเรยี นออนไลนด วยโปรแกรม Google site    ขอบเขตของการศกึ ษาคนควา  พัฒนาเวบ็ ไซตด ว ยโปรแกรมGoogle site ซ่ึงโปรแกรมน้มี คี ณุ ลักษณะโดยในเวบ็ ไซตจะ ประกอบไปดว ยเน้ือหาเรื่องสถิติและขอมูลที่ประกอบไปดว ยหัวขอ ความหมายของสถิติและขอ มลู   หรือมีการทดสอบวัดความรูกอนเรยี นและหลังเรยี น             

2  ประโยชนทค่ี าดวาจะไดรับ  1. ไดบ ทเรยี นออนไลน เร่ือง สถิตแิ ละขอมลู   2. ไดความรูเ ก่ยี วกบั การทําโครงงานคอมพิวเตอร  3. ไดค วามรเู กยี่ วกับสถติ แิ ละขอมูลระดบั ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที่5 ในรายวชิ าคณติ ศาสตรพ ื้นฐาน  4. ไดค วามรูเ กี่ยวกับวิธีการพัฒนาบทเรียนออนไลนด ว ยโปรแกรม Google site                                                 

บทที่ 2  เอกสารและโครงงานที่เกย่ี วขอ ง    ในการจัดทาํ โครงงานคอมพิวเตอรค ณะผจู ัดทาํ ไดศึกษาคนควาเอกสารและโครงงานท่ี เกย่ี วขอ งกับการพฒั นาบทเรียนออนไลน  เรื่อง สถติ ิและขอมูลช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ี่ 5 ดงั รายละเอียดตอ ไปน ี้   1. การทาํ โครงงานคอมพวิ เตอร  2. การพฒั นาบทเรียนออนไลน  3. สถติ ิและขอ มลู    4. โปรแกรม google site  5. โครงงานที่เกี่ยวขอ ง    การทาํ โครงงานคอมพวิ เตอร  1. ความหมายของโครงงานคอมพวิ เตอร    เปนอุปกรณอ ิเลก็ ทรอนิกสท ี่มีการเขียนคาํ สัง่ ใหทาํ งานตามทกี่ ําหนดไวเพอ่ื อํานวยความสะดวก และชว ยแบง เบาการทาํ งานของเราใหมคี วามถูกตองรวดเร็วและมีประสทิ ธภิ าพมากขึน้   2. ประเภทโครงงานคอมพวิ เตอร  ​ ในการจดั ทาํ โครงงานคอมพวิ เตอรมปี ระเภททของคอมพิวเตอร 5 ประเภท ดังน ี้ ​2.1 โครงงานพฒั นาสือ่ เพือ่ การศึกษา (Educational Media)  เปน โครงงานท่ีใชค อมพวิ เตอรในการผลิตสอื่ เพือ่ การศึกษา โดยการสรา งโปรแกรมบทเรยี น  หรือหนวยการเรียน ซง่ึ อาจจะตองมีภาคแบบฝกหัด บททบทวน และคาํ ถามคําตอบไวพรอม ผูเรยี น สามารถเรียนแบบรายบคุ คลหรือรายกลมุ การสอนโดยใชค อมพิวเตอรช วยน้ี ถอื วาเครือ่ งคอมพวิ เตอร เปนอุปกรณการสอน ไมใชเปน ครูผสู อน ซึง่ อาจเปน การพัฒนาบทเรยี นแบบ Online ใหนกั เรียนเขา มาศึกษาดวยตนเองก็ได โครงงานประเภทน้ีสามารถพัฒนาขึน้ เพ่อื ใชป ระกอบการสอนในวชิ าตา งๆ  ไมวาจะเปนสาขาคอมพวิ เตอร วชิ าคณติ ศาสตร วชิ าวทิ ยาศาสตร วิชาสังคม วิชาชพี อืน่ ๆ ฯลฯ โดย นกั เรียนอาจคดั เลือกหัวขอที่นักเรยี นทว่ั ไปทที่ ําความเขาใจยาก มาเปนหัวขอ ในการพัฒนาโปรแกรม บทเรยี น ตวั อยางเชน โปรแกรมสอนวิธกี ารใชง าน ระบบสรุ ยิ ะจกั รวาล โปรแกรมแบบทดสอบวชิ าตาง                  

4    ภาพท่ี 1 การพัฒนาสอ่ื เพอ่ื การศึกษา  2.2 โครงงานพัฒนาเครือ่ งมอื (Tools Development)  เปนโครงงานเพอ่ื พฒั นาเครื่องมือมาใชชว ยสรา งงานประยุกตตา ง ๆ ซง่ึ โดยสว นใหญจะเปน ในรูปซอฟตแ วร ตวั อยา งของเคร่ืองมือชวยงาน เชน ซอฟตแวรว าดรปู ซอฟตแวรพิมพง าน ซอฟตแวร ชว ยการมองวัตถใุ นมมุ ตา ง ๆ เปน ตน สาํ หรับซอฟตแวรเ พอื่ การพิมพง านน้นั สรางขน้ึ เปน โปรแกรม ประมวลผลภาษา ซง่ึ จะเปน เครื่องมอื ใหเราใชงานในงานพิมพตาง ๆ บนเครือ่ งคอมพวิ เตอรเ ปนไปได โดยงา ย ซึ่งรูปที่ไดสามารถนําไปใชงานตา ง ๆ ไดม ากมาย สําหรับซอฟตแวรชวยในการมองวตั ถใุ นมุม ตา ง ๆ ใชส ําหรับชว ยในการออกแบบสง่ิ ของตาง ๆ เชน โปรแกรมประเภท 3D      ภาพท่ี 2 การพัฒนาเครือ่ งมือ     2.3 โครงงานประเภทจําลองทฤษฎี (Theory Experiment)  เปน โครงงานใชค อมพิวเตอรในการจาํ ลองการทดลองของสาขาตา ง ๆ เปน โครงงานท่ผี ทู าํ ตอ งศกึ ษารวบรวมความรู หลกั การ ขอ เทจ็ จริงและแนวความคดิ ตา ง ๆ อยางลกึ ซึง้ ในเรอ่ื งทต่ี องการ ศกึ ษา แลว เสนอเปนแนวคิด แบบจาํ ลอง หลกั การ ซึง่ อาจอยใู นรูปของสมการ สตู ร หรอื คําอธิบาย กไ็ ด พรอ มทั้งนําเสนอวิธีการจาํ ลองทฤษฎีดว ยคอมพวิ เตอร การทําโครงงานประเภทน้มี จี ุดสาํ คัญอยูท่ี ผทู ําตอ งมีความรูเรอ่ื งน้นั ๆ เปน อยางดี ตัวอยา ง เชน การทดลองเรอื่ งการไหลของเหลว การทดลอง เรอื่ งพฤตกิ รรมของปลาอโรวานา ทฤษฎีการแบงแยกดเี อน็ เอ เปน ตน      

5    ภาพที่ 3 การจาํ ลองทฤษฎี     2.4 โครงงานประเภทการประยุกตใ ชง าน (Application)  เปน โครงงานท่ใี ชค อมพวิ เตอรในการสรา งผลงานเพือ่ ประยกุ ตใชง านจรงิ ในชวี ติ ประจําวนั   เชน ซอฟตแวรส ําหรบั การออกแบบและตกแตง อาคาร ซอฟตแ วรสาํ หรับการผสมสี ซอฟตแ วรสาํ หรับ การระบุคนรา ย เปน ตน โครงงานงานประเภทนีจ้ ะมกี ารประดิษฐฮ ารด แวร ซอฟตแวร หรืออุปกรณ ใชส อยตาง ๆ ซึง่ อาจจะสรางใหมหรือปรับปรุงดัดแปลงของเดมิ ท่ีมอี ยูแ ลว ใหม ี ประสิทธภิ าพสูงขึ้น ก็ได โครงงานลักษณะนจ้ี ะตองศกึ ษาและวิเคราะหค วามตอ งการของผใู ชก อ น แลว นาํ ขอ มลู ทีไ่ ดมาใช ในการออกแบบ และพฒั นาสงิ่ ของนน้ั ๆ ตอ จากนั้นตอ งมีการทดสอบการทาํ งานหรอื ทดสอบคุณภาพ ของสิง่ ประดิษฐแ ลว ปรบั ปรงุ แกไขใหม คี วามสมบูรณ โครงงานประเภทนน้ี กั เรียนตอ งใชความรูเกย่ี ว กับเครอื่ งคอมพิวเตอร ภาษาโปรแกรม และเครื่องมือตา ง ๆ ที่เก่ยี วขอ ง รวมทง้ั อาจใชว ธิ ที าง วศิ วกรรมฮารดแวรแ ละซอฟตแวรในการพัฒนาดว ย    ภาพท่ี 4 ซอฟแวรสาํ หรบั การระบุจับคนรา ย     2.5 โครงงานพฒั นาเกม (Game Development)    เปน โครงงานพฒั นาซอฟตแวรเ กมเพ่อื ความรู และ/หรอื ความเพลดิ เพลิน เชน เกมหมาก รุก เกมหมากฮอส เกมการคํานวณเลข ซ่ึงเกมทพี่ ฒั นาขึน้ นน้ี าจะเนน ใหเปน เกมท่ีไมร นุ แรง เนนการใช สมองเพ่ือฝก คิดอยา งมหี ลักการ โครงงานประเภทนีจ้ ะมกี ารออกแบบลกั ษณะและกฎเกณฑการเลน   เพือ่ ใหนา สนใจเกผูเลน พรอ มท้งั ใหความรสู อดแทรกไปดวย ผพู ัฒนาควรจะไดท าํ การสาํ รวจ   

6  และรวบรวมขอมูลเกยี่ วกบั เกมตา ง ๆ ทมี่ ีอยูทัว่ ไปและนาํ มาปรับปรงุ หรือพฒั นาขึน้ ใหมเ พอ่ื ใหปน เกม ท่ีแปลกใหม และนา สนใจแกผ ูเลน กลุมตาง ๆ    ภาพท่ี 5 สอ่ื พฒั นาเกม    3. ขนั้ ตอนการทาํ โครงงานคอมพวิ เตอร  ​ ในการจดั ทําโครงงานคอมพิวเตอรมขี ้นั ตอนการทําโครงงาน 6 ข้ันตอน ดงั น ี้   3.1 คัดเลอื กหวั ขอโครงงานที่สนใจ    โดยทั่วไปเรอ่ื งท่จี ะนาํ มาพัฒนาเปน โครงงานคอมพิวเตอร มักจะไดม าจากปญ หา คําถาม  หรือความสนใจในเรือ่ งตางๆ จากการสังเกตสิง่ ตางๆ ทีเ่ กย่ี วขอ งกบั ระบบคอมพิวเตอร หรือสิ่งตา งๆ  รอบตัว ปญ หาทจี่ ะนาํ มาพัฒนาโครงงานคอมพวิ เตอรไดจากแหลงตา งๆ กนั ดงั น ้ี     1) การอา นคน ควาจากหนงั สือ เอกสาร หนงั สือพมิ พ หรือวารสารตา งๆ   2​ ) การไปเยีย่ มชมสถานทต่ี า งๆ  3​ ) การฟงบรรยายทางวิชาการ รายการวิทยุและโทรทัศน รวมทงั้ การสนทนาอภิปราย แลกเปลี่ยนความคดิ เห็นระหวางเพ่ือนนกั เรยี นหรอื กับบุคคลอนื่ ๆ   ​4) กิจกรรมการเรยี นการสอนในโรงเรยี น   ​5) งานอดิเรกของนกั เรียน   ​6) การเขา ชมงานนทิ รรศการหรืองานประกวดโครงงานคอมพวิ เตอร  ในการตัดสินใจเลอื กหัวขอ ท่ีจะนํามาพัฒนาโครงงานคอมพวิ เตอร ควรพิจารณาองคป ระกอบ สาํ คญั ดังน ้ี ​1) ตองมีความรูและทักษะพน้ื ฐานอยา งเพยี งพอในหัวขอ เรอื่ งทีจ่ ะศกึ ษา   ​2) สามารถจดั หาเครอื่ งคอมพวิ เตอร ซอฟตแวร และวัสดุอปุ กรณท ี่เก่ยี วของได    ​3) มแี หลงความรเู พียงพอทีจ่ ะคนควาหรือขอคําปรกึ ษา   ​4) มีเวลาเพยี งพอ   ​5) มีงบประมาณเพยี งพอ   ​6) มีความปลอดภัย      

7  3.2 ศกึ ษาคน ควา จากเอกสารและแหลง ขอมูล  ​ ​ การศกึ ษาคน ควาจากเอกสารและแหลงขอมูล ซึ่งรวมถึงการขอคาํ ปรกึ ษาจากผทู รง คณุ วุฒิ จะชวยใหนักเรยี นไดแ นวคิดท่ใี ชใ นการกาํ หนดขอบเขตของเรือ่ งทีจ่ ะศกึ ษาไดเ ฉพาะเจาะจง มากย่งิ ขึน้ รวมทงั้ ไดค วามรเู พิ่มเตมิ ในเรอื่ งทีจ่ ะศึกษาจนสามารถใชออกแบบและวางแผนดําเนนิ การ ทาํ โครงงานนน้ั ไดอ ยางเหมาะสม ในการศึกษาจะตองไดคําตอบวา  ​ 1) จะทําอะไร   ​ 2) ทาํ ไมตอ งทํา   ​ 3) ตอ งการใหเ กดิ อะไร   ​ 4) ทําอยา งไร   ​ 5) ใชท รพั ยากรอะไร   ​ 6) ทาํ กับใคร   ​ 7) เสนอผลอยางไร                                             

3.3 จดั ทําขอเสนอโครงงาน  8  ตารางที่ 1 ขั้นตอนการจัดทําเคาโครง    รายละเอียดทตี่ อ งระบ ุ รายงาน  ชื่อโครงงาน  ทาํ อะไร กบั ใคร เพื่ออะไร  ประเภทโครงงาน  วิเคราะหจ ากลกั ษณะของประโยชนห รอื ผลงานทไ่ี ด  ชือ่ ผูจัดทําโครงงาน  ผูรับผิดชอบโครงงาน อาจเปน รายบคุ คล หรอื รายกลุมกไ็ ด  ครูทีป่ รึกษาโครงงาน  ครู-อาจารยผ ทู ําหนาทีเ่ ปนท่ปี รกึ ษา และควบคุมการทําโครงงานของ นกั เรียน  ครทู ปี่ รึกษารว ม  คร-ู อาจารยผ ทู ําหนาทเ่ี ปน ที่ปรกึ ษารว ม ใหค าํ แนะนําในการทาํ โครงงาน  ของนกั เรยี น  ระยะเวลาดําเนินงาน  ระยะเวลาการดําเนนิ งานโครงงาน ตง้ั แตเ ร่มิ ตนจนสน้ิ สุด กําหนดเปน วัน  หรือ เดอื นกไ็ ด  แนวคิด ทม่ี า และความสาํ คัญ  สภาพปจจุบนั ท่เี ปน ความตอ งการและความคาดหวงั ทจ่ี ะเกดิ ผล  วัตถุประสงค  สงิ่ ท่ตี อ งการใหเ กดิ ข้นึ เมื่อสน้ิ สุดโครงงานทง้ั ในเชงิ กระบวนการ และ ผลผลติ   หลกั การและทฤษฎ ี   หลักการและทฤษฎที ่ีนํามาใชใ นการพัฒนาโครงงาน  วธิ ดี ําเนนิ งาน   กิจกรรมหรือข้นั ตอนการดําเนนิ งาน เคร่อื งมอื วสั ดอุ ุปกรณ งบประมาณ  และผรู ับผดิ ชอบ  ข้นั ตอนการปฏบิ ตั  ิ   วัน เวลา และกิจกรรมดาํ เนินการตางๆ ตัง้ แตเริม่ ตน จนสน้ิ สดุ   ผลทีค่ าดวาจะไดร บั    สภาพของผลท่ตี อ งการใหเกิด ท้งั ท่ีเปน ผลผลติ กระบวนการ และผล  กระทบ  เอกสารอางอิง  สอ่ื เอกสาร ขอ มูลทไี่ ดจ ากแหลงตางๆ ทีน่ ํามาใชในการดาํ เนินงาน         

9  3.4 การลงมอื ทาํ โครงงาน     ​เมอ่ื เคา โครงของโครงงานไดรับความเห็นชอบจากอาจารยท ี่ปรึกษาแลว กเ็ สมอื นวา การ จดั ทําโครงงานไดผ า นพน ไปแลวมากกวา คร่งึ ข้ันตอนตอไปจะเปนการลงมอื พฒั นาตามขั้นตอนที่ วางแผนไว ดงั น ้ี ​ 3.4.1 การเตรยี มการ     ก​ ารเตรียมการ ตองเตรียมเคร่อื งคอมพิวเตอร ซอฟตแ วร และวสั ดอุ ่ืนๆ ที่จะใชใน การพฒั นาใหพ รอมดวย และควรเตรียมสมุดบันทึกหรอื บันทกึ เปนแฟมขอ ความไวในระบบ คอมพิวเตอร สําหรับบันทกึ การทาํ กิจกรรมตางๆ ระหวา งทําโครงงาน ไดแก ไดป ฏบิ ตั ิอยางไร ไดผลอ ยา งไร มีปญหาและแกไ ขไดห รอื ไมอ ยางไร รวมทั้งขอ สงั เกตตางๆ ที่พบ  3.4.2 การลงมอื พัฒนา   ​1) ปฏิบัตติ ามแผนงานที่วางไวใ นเคา โครง แตอ าจเปลี่ยนแปลงหรอื เพิ่มเตมิ ไดถาพบ วาจะชว ยทําใหผ ลงานดขี น้ึ    ​2) จดั ระบบการทาํ งานโดยทําสวนท่ีเปนหลกั สําคัญๆ ใหแ ลวเสรจ็ กอ น จงึ คอยทาํ   สว นทีเ่ ปน สว นประกอบหรอื สวนเสริมเพอื่ ใหโ ครงงานมคี วามสมบรู ณม ากข้ึน และถามีการแบง งานกัน ทํา ใหตกลงรายละเอียดในการตอเชื่อมชิน้ งานทช่ี ัดเจนดว ย   ​3) พฒั นาระบบงานดวยความละเอียดรอบคอบ และบันทกึ ขอ มูลไวอ ยา งเปนระบบ และครบถว น     ​ 3.4.3 การทดสอบผลงานและแกไ ข   การตรวจสอบความถกู ตอ งของผลงาน เปนความจาํ เปนเพื่อใหแ นใ จวาผลงานที่ พฒั นาขึน้ ทํางานไดถ กู ตองตรงกับความตอ งการ ทรี่ ะบไุ วในเปาหมายและทาํ ดว ยประสทิ ธภิ าพสงู ดวย     ​ 3.4.4 การอภิปรายและขอ เสนอแนะ     เมอ่ื พัฒนาผลงานเรียบรอยแลว ใหจ ดั ทําสรุปดวยขอ ความท่สี ้ันกะทดั รดั อยา ง ครอบคลุม เพอ่ื ชว ยใหผอู านไดเ ขา ใจถงึ สิง่ ทค่ี นพบจากการทําโครงงาน และทาํ การอภปิ รายผลดว ย  เพ่อื พจิ ารณาขอ มูลและผลทีไ่ ด พรอ มกบั นํา ไปหาความสมั พันธกับหลกั การ ทฤษฎี หรอื ผลงานทีผ่ ูอื่น ไดศ กึ ษาไวแลว ท้งั นี้ยังรวมถงึ การนาํ หลกั การ ทฤษฎี หรือผลงานของผูอ่นื มาใชประกอบการอภิปราย ผลทีไ่ ดดว ย    3.4.5. แนวทางการพัฒนาโครงงานในอนาคตและขอ เสนอแนะ     เมอ่ื ทําโครงงานเสรจ็ สิน้ ลงแลว นกั เรียนอาจพบขอ สังเกต ประเดน็ ที่สําคญั หรือ ปญหา ซ่ึงสามารถเขียนเปน ขอเสนอแนะและสิ่งท่คี วรจะศึกษาและหรอื ใชประโยชนตอ ไปได              

10  3.5 การเขียนรายงาน   การเขยี นรายงานเปน วิธกี ารสอื่ ความหมายเพ่ือใหผ อู นื่ ไดเ ขา ใจแนวคดิ วธิ ดี าํ เนินการ ศึกษาคน ควา ขอ มลู ทีไ่ ด ตลอดจนขอ สรปุ และขอ เสนอแนะตา งๆ เกยี่ วกับโครงงานนน้ั ในการเขียน รายงานนกั เรยี นควรใชภาษาที่อา นงา ย ชัดเจน กระชับ และตรงไปตรงมา ใหค รอบคลมุ หัวขอตางๆ เหลาน ้ี 3.5.1 สว นนํา       เปน การใหขอมลู เก่ยี วกับโครงงานนน้ั ซ่งึ ประกอบดว ย     1) ชื่อโครงงาน     2) ชอื่ ผูทําโครงงาน     3) ชื่ออาจารยท ป่ี รึกษา     4) คําขอบคุณ เปน คาํ กลา วขอบคุณบคุ คลหรือหนวยงาน ที่มีสวนชว ยทาํ ใหโ ครงงาน  สําเร็จ     5) บทคดั ยอ อธิบายถึงทมี่ า ความสําคัญ วัตถุประสงค วิธดี าํ เนนิ การ และผลท่ไี ด โดย ยอ   ​ 3.5.2 บทนาํ    เ​ ปนสวนรายละเอียดของเนื้อหาของโครงงานซึง่ ประกอบดว ย     1) ที่มาและความสําคัญของโครงงาน     2) เปา หมายของการศกึ ษาคนควา      3) ขอบเขตของโครงงาน  ​ 3.5.3 หลกั การและทฤษฎ ี   ห​ ลักการและทฤษฎี เปน สว นสรุปขอ มลู ทีไ่ ดจากการศกึ ษาหาขอมลู หรอื หลักการ  ทฤษฎี หรอื วธิ กี ารที่จะนาํ มาใชใ นการพฒั นาโครงงาน ซง่ึ รวมถึงการระบผุ ลงานของผอู ่นื ทีน่ กั เรยี นนํา มาเปรียบเทยี บหรอื พัฒนาเพ่ิมเตมิ ดว ย   ​ 3.5.4 วธิ ีดําเนินการ     อธิบายขั้นตอนการดาํ เนินงานโดยละเอยี ด พรอมทงั้ ระบปุ ญ หาหรอื อปุ สรรคท่พี บ พรอมทั้งวธิ ีการที่ใชแกไ ข พรอ มทัง้ ระบวุ ัสดอุ ปุ กรณท ่ตี องใชในการทาํ งาน    ​ 3.5.5 ผลการศกึ ษา     นําเสนอขอมลู หรอื ระบบทพ่ี ัฒนาไดโดยอาจแสดงเปน ตาราง หรอื กราฟ หรือ ขอความ ทงั้ น้ีใหคํานงึ ถงึ ความเขา ใจของผูอานเปน หลัก    ​ 3.5.6 สรุปผลและขอเสนอแนะ     อธบิ ายผลสรุปท่ไี ดจ ากการทํางานถา มกี ารตั้งสมมติฐานควรระบุดว ยวาขอมลู ที่ได สนบั สนุนหรือคดั คา นสมมติฐานท่ตี ้งั ไวหรือยงั สรปุ ไมไ ด       

11  นอกจากนั้นยงั ควรกลา วถึงการนําผลการทดลองหรอื พฒั นาไปใชป ระโยชน อปุ สรรคของการทําโครง งาน หรือขอสังเกตทส่ี ําคัญ หรอื ขอ ผดิ พลาดบางประการทเ่ี กิดข้ึนจากการทําโครงงานน้ีรวมทง้ั ขอ เสนอแนะเพื่อการปรบั ปรุงแกไขหากจะมีผูศึกษาคนควา ในเร่ืองทํานองน้ีตอไปในอนาคตดว ย    ​ 3.5.7 ประโยชน    ​ประโยชนทไ่ี ดร บั จากโครงงาน ระบุประโยชนท่นี ักเรยี นไดร ับจากการพัฒนาโครง งานน้ัน และประโยชนทผี่ ใู ชจะไดร บั จากการนําผลงานของโครงงานไปใชดว ย    ​ 3.5.8 บรรณานกุ รม     ร​ วบรวมรายชอ่ื หนงั สอื วารสาร เอกสาร หรือเวบ็ ไซดตางๆ ท่ผี ูทาํ โครงงานใชคน ควา  หรืออานเพอ่ื ศกึ ษาขอมูลและรายละเอยี ดตา งๆ ที่นาํ มาใชป ระโยชนใ นการทํา โครงงานน้กี ารเขียน เอกสารบรรณานกุ รมตองใหถกู ตองตามหลักการเขยี นดวย    ​ 3.5.9 การจดั ทาํ คูมือการใชง าน   ​หาโครงงานที่นกั เรียนจัดทาํ เปนการพฒั นาระบบใหมข ้นึ มา ใหนักเรยี นจัดทาํ คมู อื อธบิ ายวิธีการใชผลงานนน้ั โดยละเอียด ซึ่งประกอบดว ย   ​1) ชอ่ื ผลงาน   ​2) ความตอ งการของระบบคอมพิวเตอร ระบุรายละเอียดของคอมพวิ เตอรทตี่ อ งมี เพ่อื จะใชผ ลงานนั้นได    ​3) ความตองการของซอฟตแ วร ระบุรายชือ่ ซอฟตแ วรทตี่ องมอี ยใู นเครือ่ ง คอมพวิ เตอร เพอื่ จะใหผลงานนน้ั ทาํ งานไดอยางสมบรู ณ    ​4) คณุ ลักษณะของผลงาน อธบิ ายวาผลงานน้นั ทํา หนาทอี่ ะไรบาง รับอะไรเปน ขอ มลู ขาเขา และสวนอะไรออกมาเปนขอมูลขาออก   ​5) วิธีการใชงานของแตละฟง กช นั อธิบายวาจะตอ งกดคาํ สั่งใด หรือกดปมุ ใด เพอ่ื ให ผลงานทาํ งานในฟง กชันหนง่ึ ๆ     3.6 การนําเสนอและแสดงโครงงาน  ก​ ารนาํ เสนอและการแสดงผลงานเปน ขั้นตอนทสี่ าํ คัญอีกข้ันตอนหน่งึ ของการทาํ โครง งาน เพ่ือแสดงออกถงึ ผลิตผลความคดิ ความพยายามในการทํางานทผี่ ูทําโครงงานไดท ุมเท และเปน วิธที าํ ใหผอู น่ื ไดร ับรแู ละเขาใจถงึ ผลงานนนั้ การเสนอผลงานอาจทําไดในหลายรูปแบบตางๆ กัน เชน   การแสดงผลงานโดยไมมีการอธิบายประกอบการรายงานดวยคาํ พูดในทป่ี ระชมุ การจดั นทิ รรศการ โดยโปสเตอรแ ละอธบิ ายดว ยคําพดู เปนตน โดยผลงานท่ีนํามาเสนอหรือจัดแสดงควรประกอบดวยสิ่ง ตอ ไปน ้ี   ​1) ชือ่ โครงงาน   ​2) ชื่อผจู ัดทาํ โครงงาน   ​3) ชือ่ อาจารยท่ีปรกึ ษา      

12  ​4) คําอธบิ ายถงึ ทีม่ าและความสําคัญของโครงงาน   ​5) วธิ ีการดาํ เนนิ การทส่ี าํ คัญ   ​6) การสาธติ ผลงาน  ​7) ผลการสังเกตและขอสรุปสําคัญที่ไดจ ากการทาํ โครงงาน    สรปุ การทําโครงงานคอมพิวเตอร เปนการศกึ ษาคนควาเก่ยี วกบั ความหมายของโครงงาน คอมพิวเตอร โดยคอมพิวเตอรเ ปนอุปกรณอเิ ล็กทรอนิกสทมี่ ีการเขียนคําสั่งใหท ํางานตามที่กาํ หนดไว เพอื่ อาํ นวยความสะดวกและชวยแบง เบาการทํางานของเราใหม ีความถูกตองรวดเรว็ และมี ประสิทธภิ าพมากขน้ึ โดยแบงประเภทของโครงงานคอมพวิ เตอรได 5 ประเภท ดังนี้ 1) โครงงาน พฒั นาสอ่ื เพื่อการศกึ ษา 2) โครงงานพฒั นาเคร่ืองมอื 3) โครงงานประเภทจําลองทฤษฎี 4) โครงงาน ประเภทการประยุกตใชงานและ 5) โครงงานพัฒนาเกม และแบงขั้นตอนการทําโครงงานคอมพวิ เตอร ไดทงั้ หมด 6 ข้นั ตอน ดังนี้ 1) คัดเลือกหวั ขอ โครงงานท่ีสนใจ โดยท่ัวไปเรื่องทจี่ ะนํามาพฒั นาเปน โครง งานคอมพวิ เตอร มกั จะไดม าจากปญ หา คาํ ถาม หรือความสนใจในเรื่องตา งๆ 2) ศกึ ษาคน ควา จาก เอกสารและแหลงขอมูล ซึง่ รวมถงึ การขอคําปรกึ ษาจากผูทรงคุณวุฒิ จะชวยใหนกั เรียนไดแนวคดิ ทใ่ี ช ในการกาํ หนดขอบเขตของเร่อื งทจี่ ะศึกษาไดเฉพาะเจาะจงมากยิง่ ขนึ้ 3) จัดทาํ ขอ เสนอโครงงาน   4) การลงมือทาํ โครงงาน 5) การเขียนรายงาน และ 6) การนาํ เสนอและแสดงโครงงาน     การพัฒนาบทเรยี นออนไลน  ​ 1. ความหมายของบทเรียนออนไลน    บทเรียนออนไลน คือ การเรยี น การสอนในลกั ษณะ หรือรูปแบบใดก็ได ซึง่ การถายทอดเนอ้ื หา น้นั กระทําผานทางสือ่ อิเลก็ ทรอนิกส เชน ซีดีรอม เครอื ขา ยอนิ เทอรเน็ต อนิ ทราเน็ต เอ็กซทราเนต็   หรือ ทางสญั ญาณโทรทศั น หรือ สัญญาณดาวเทยี ม เปนตน ซึง่ การเรยี นลกั ษณะนี้ไดก าํ ลงั ไดรบั ความ นยิ มเพมิ่ ขึน้ อยางมากเชน คอมพวิ เตอรชวยสอนดว ยซีดรี อม การเรยี นการสอนบนเวบ็ การเรียน ออนไลน การเรยี นทางไกลผานดาวเทียม หรือ การเรยี นดวยวดี ีโอผา นออนไลนเ ปนตน ในปจจุบนั    คนสวนใหญม กั จะใชค าํ วา กับการเรียน การสอน หรือการอบรม ทใ่ี ชเทคโนโลยขี องเวบ็ ในการ ถา ยทอดเนื้อหา รวมถึงเทคโนโลยรี ะบบการจัดการหลักสูตร ในการบริหารจัดการงานสอนดานตา งๆ  โดยผเู รยี นทีเ่ รยี นดว ยระบบ น้สี ามารถศกึ ษาเนือ้ หาในลกั ษณะออนไลน หรอื จากแผนซดี -ี รอม กไ็ ด  และทส่ี ําคัญอีกสวนคือ เน้ือหาตา งๆ ของ สามารถนําเสนอโดยอาศัยเทคโนโลยีมลั ติมเี ดีย และ เทคโนโลยีเชิงโตต อบ             

13  2. ประเภทของบทเรียนออนไลน  ​ถือวามีสถานะเปนสอ่ื การเรียนรูแบบหน่ึงโดยใชอปุ กรณอ ิลคทรอนิกสในการจัดการ เรยี นรูซ ่ึงมี ประสทิ ธิภาพสงู มาก ที่ครูผูสอนควรจะไดนํามาใช และจะตอ งใชใ หเปน โดยนาํ มาใชใ นรปู แบบตา ง ๆ  ไดดงั น ้ี   2.1 สื่อเสรมิ (Supplementary) เปนสอื่ ท่ใี ชป ระกอบในการเรยี นการสอนปกติ ผเู รยี นเรยี น แบบปกติ เปน เพียงสอื่ ประกอบบทเรยี นบาง เพ่ือใหผูเรยี นศึกษาเพิ่มเติม ทผี่ เู รียนอาจจะใชหรอื ไมใ ช กไ็ ด หรือเปนการท่คี รูคดั ลอกเน้อื หาจากแบบเรียนไปบรรจไุ วในอนิ เตอรเนต็ แลว แนะนําใหผูเรยี นไป เปดด ู 2.2 สือ่ เพ่ิมเติม (Complementary) เปน สอื่ ท่ีใชใ นการเรยี นการสอนปกติ ผูเ รยี นเรยี นแบบ ปกติ แตมกี ารกําหนดเนอ้ื หาใหศ กึ ษา สืบคนจากสอ่ื อเิ ลคทรอนิกส หรือ Website เปน บางเน้ือหา    2.3 สอ่ื หลกั (Comprehensive Replacement) เปน ส่อื ใชท ดแทนการเรียนการสอน / การ บรรยายในช้นั เรียน โดยท่ีเน้อื หาทัง้ หมดมีความสมบูรณแ บบในตวั เองครบกระบวนการเรียนรู หรอื   เปนเนือ้ หาOnline โดยมีการออกแบบใหใกลเ คียงกับครผู สู อนมากทสี่ ุด เพ่อื ใชท ดแทนการสอนของ ครูโดยตรง     3. ชนิดของบทเรยี นออนไลน  จําแนกตามลกั ษณะวธิ กี ารสื่อสาร ได 2 ชนดิ คือ    3.1 ชนิดส่ือสารทางเดียว (One-way Communication) คอื การส่ือสารในลกั ษณะที่ผใู ห สารไมเปด โอกาสใหผ รู บั การสอื่ สารไดเปนฝา ยใหสารและไมสนใจตอปฏิกิรยิ าตอบกลบั ของอกี ฝา ย หนง่ึ ส่อื ชนิดน้ี ไดแ ก สอื่ ชนดิ e-Books ภาพน่ิง ภาพเคลอื่ นไหว ที่เนน การใหขอ มูล ถงึ แมจ ะใหผ ู เรียนมโี อกาสสรา ง ปฏสิ ัมพันธกบั ส่ือแตก เ็ ปน ไปเพอื่ การเลือกศึกษาเนื้อหา ไมไ ดเปนการโตต อบกลับ    3.2 ชนดิ สอื่ สารสองทาง (Two-way Communication) คือ การสอื่ สารทม่ี ีท้งั ใหและรับ ขาวสารระหวางกนั โดยทแี่ ตล ะฝายเปน ท้ังผูส งสารและผูรับสาร มกี ารโตตอบ ใหข อ มลู ยอ นกลับไปมา ส่ือชนิดนีไ้ ดแ กบทเรียน CAI ชนิดทมี่ ีปฏิสมั พนั ธ หรอื ระบบจัดการบทเรยี น (LMS)     4. ประโยชนของบทเรียนออนไลน  4.1 ยดื หยุนในการปรบั เปลี่ยนเนื้อหา และ สะดวกในการเรียน  การเรยี นการสอนผานระบบ e-Learning น้ันงายตอ การแกไ ขเน้ือหา และกระทําไดต ลอดเวลา เพราะ สามารถกระทาํ ไดตามใจของผูสอน เนือ่ งจากระบบการผลิตจะใช คอมพิวเตอรเปน องคป ระกอบหลัก  นอกจากน้ีผูเรยี นก็สามารถเรยี นโดยไมจ ํากัดเวลา และสถานท ่ี         

14  4.2 เขาถงึ ไดง า ย  ผเู รียน และผสู อนสามารถเขาถงึ e-learning ไดงา ย โดยมากจะใช web browser ของคา ยใดก็ได ( แตท ้งั นต้ี อ งขึน้ อยูก ับผูผลติ บทเรียน อาจจะแนะนาํ ใหใช web browser แบบใดทีเ่ หมาะกบั ส่อื การ เรียนการสอนนน้ั ๆ) ผเู รยี นสามารถเรียนจากเครอื่ งคอมพวิ เตอรท่ีใดก็ได และในปจ จบุ ันนี้ การเขาถึง เครือขายอนิ เตอรเ นต็ กระทาํ ไดง ายข้ึนมาก และยังมีคา เช่ือมตอ อนิ เตอรเ นต็ ทมี่ ีราคาตา่ํ ลงมากวาแต กอ นอีกดว ย  4.3 ปรบั ปรุงขอ มูลใหท ันสมยั กระทําไดงาย  เนอ่ื งจากผสู อน หรือผสู รา งสรรคงาน e-Learning จะสามารถเขา ถึง server ไดจ ากท่ีใดกไ็ ด การ แกไ ขขอมลู และการปรับปรุงขอ มลู จึงทําไดท ันเวลาดวยความรวดเรว็   4.4 ประหยัดเวลา และคาเดนิ ทาง   ผูเ รียนสามารถเรียนโดยใชเคร่อื งคอมพวิ เตอรเคร่ืองใดก็ได โดยจาํ เปนตอ งไปโรงเรยี น หรือทีท่ ํางาน  รวมท้ังไมจําเปนตองใชเ ครอื่ งคอมพิวเตอรเคร่อื งประจํากไ็ ด ซ่ึงเปนการประหยดั เวลามาก การเรยี น  การสอน หรือการฝกอบรมดวยระบบ e-Learning นี้ จะสามารถประหยดั เวลาถงึ 50% ของเวลาที่ใช ครสู อน หรืออบรม    สรปุ การพฒั นาบทเรียนออนไลน เปนการศึกษาคนควาเก่ยี วกบั การพฒั นาบทเรียนออนไลน  โดยแบงประเภทของการพฒั นาบทเรียนออนไลนได 3 ประเภท ดงั นี้ 1) ส่อื เสริม เปน สอ่ื ที่ใชป ระกอบ ในการเรียนการสอนปกติ ผเู รยี นเรียนแบบปกติ 2)​ สื่อเพม่ิ เติม เปนส่อื ท่ใี ชใ นการเรยี นการสอนปกต ิ ผูเรียนเรียนแบบปกติ แตมกี ารกําหนดเนอื้ หาใหศ ึกษา สบื คนจากสื่ออิเลคทรอนิกส หรอื Website  เปน บางเนอื้ หาและ 3)​ ส่ือหลัก เปนสือ่ ใชทดแทนการเรียนการสอน การบรรยายในชัน้ เรยี น และ แบงชนดิ ของบทเรยี นออนไลนไ ด 2 ชนิด ดังนี้ 1) ชนดิ ส่ือสารทางเดยี ว คือการส่อื สารในลักษณะที่ผู ใหสารไมเปด โอกาสใหผ รู ับการส่อื สารไดเปนฝายใหสารและไมสนใจตอ ปฏกิ ิริยาตอบกลับของอกี ฝาย หน่งึ และ 2) ชนดิ ส่ือสารสองทาง คือ การสือ่ สารทม่ี ที ง้ั ใหแ ละรบั ขาวสารระหวา งกนั โดยทแ่ี ตละฝา ย เปนท้ังผสู ง สารและผูรบั สาร มกี ารโตตอบ ใหขอมูลยอนกลบั ไปมาและศึกษาประโยชนข องบทเรยี น ออนไลนได 4 หวั ขอ ดังน้ี 1) ยดื หยนุ ในการปรบั เปลย่ี นเนอ้ื หา และ สะดวกในการเรียน 2) เขาถึงได งาย 3) ปรบั ปรุงขอมลู ใหท นั สมัยกระทาํ ไดง า ย 4) ประหยัดเวลา และคาเดินทาง       สถิตแิ ละขอ มลู   1. ความหมายสถติ ิและขอ มูล  สถติ ิ หมายถงึ ศาสตรท ่นี าํ มากระทาํ กับหลักฐานทเ่ี ปน ขอ มูลซง่ึ อาจจะเปนขอมูลเชิงปรมิ าณ หรอื เชงิ คุณภาพ โดยมวี ิธีการกระทําไดแก การเก็บรวบรวมขอ มูล การนําเสนอขอ มูล การวิเคราะห โดยใชห ลกั การทางคณติ ศาสตร และการนําผลการวเิ คราะหมาสรปุ      

15  ขอมูลทางคณิตศาสตร หมายถึง ​คา ของตัวแปรในเชิงคุณภาพหรือเชิงปรมิ าณ ท่ีอยใู นความ ควบคมุ ของกลมุ ของส่ิงตา ง ๆ ขอมลู ในเร่อื งการคอมพวิ เตอร (หรอื การประมวลผลขอมลู ) จะแสดง แทนดว ยโครงสรา งอยา งหนึ่ง ซึ่งมักจะเปนโครงสรา งตาราง (แทนดวยแถวและหลัก) โครงสรา งตน ไม  (กลมุ ของจดุ ตอท่ีมีความสมั พนั ธแ บบพอลกู ) หรอื โครงสรางกราฟ (กลมุ ของจุดตอที่เชอื่ มระหวางกนั )  ขอมูลโดยปกตเิ ปนผลจากการวัดและสามารถทําใหเหน็ ไดโดยใชก ราฟหรอื รปู ภาพ ขอมลู ในฐานะมโน ทศั นนามธรรมอนั หนึ่ง อาจมองไดว า เปน ระดบั ตํ่าท่ีสดุ ของภาวะนามธรรมท่สี ืบทอดเปน สารสนเทศ และความรู ขอ มูลดบิ หรอื ขอ มูลที่ยังไมประมวลผล เปน ศพั ทอีกคาํ หนงึ่ ที่เกยี่ วของ หมายถงึ การ รวบรวมจาํ นวนและอกั ขระตา ง ๆ ซ่งึ มกั จะเกดิ ข้ึนตามปกตใิ นการประมวลผลขอ มูลเปนระยะ และ  ขอมลู ที่ประมวลผลแลว จากระยะหนง่ึ อาจถือวาเปน ขอ มูลดิบ ของระยะถดั ไปกไ็ ด ขอมูลสนามหมาย ถึงขอ มูลดิบทีร่ วบรวมมาจากสภาพแวดลอ ม ณ แหลงกาํ เนดิ ทไ่ี มอยใู นการควบคุม ขอมูลเชงิ ทดลอง หมายถงึ ขอ มลู ทีส่ รา งข้นึ ภายในสภาพแวดลอ มของการคนควาทางวทิ ยาศาสตรโ ดยการสงั เกตและการ บนั ทกึ      2. ประเภทของสถติ ิศาสตร  ​ ​1.สถิตเิ ชงิ พรรณนา มงุ วิเคราะหเ พ่อื อธบิ ายในลักษณะกวางๆ สรปุ ขอ มลู แตล ะชุดทเี่ ราสนใจ  ดานการวดั การวดั คาแนวโนม สูสวนกลาง(คาเฉลยี่ เลขคณิต มธั ยฐาน ฐานนยิ ม) คา วัดการกระจาย( สว นเบีย่ งเบนมาตรฐาน พสิ ัย ฯลฯ) นาํ เสนอขอมลู ดวยตาราง แผนภมู  ิ 2.สถติ เิ ชงิ อนมุ าน การวิเคราะหขอ มูลที่เก็บรวบรวมเพ่ือใชอางองิ จะมีการเลอื กตัวอยาง จาก ประชากร เพอ่ื เกบ็ ขอมลู      3. ศพั ทที่เก่ยี วขอ ง  ​3.1ประชากร (population) หมายถงึ กลุมท่ีมีลักษณะทีเ่ ราสนใจ หรอื กลมุ ทเี่ ราตองการจะ ศึกษาหาขอมูลทีเ่ ก่ียวของ เปรียบเหมอื นเอกภพสัมพัทธใ นเรอ่ื งเซต  3.2กลุมตัวอยา ง (sample) หมายถงึ สวนหน่ึงของกลุมประชากรทเ่ี ราสนใจในกรณที ีก่ ลมุ ประชากรทีจ่ ะศกึ ษานัน้ เปนกลมุ ขนาดใหญ เกนิ ความสามารถหรอื ความจาํ เปนท่ีตอ งการ หรือเพอื่ ประหยดั ในดา นงบประมาณและเวลา สามารถศกึ ษาขอ มูลเพยี งบางสว นของกลมุ ประชากรได    3.3คา พารามิเตอร หมายถงึ คา ตางๆท่ีคาํ นวณมาจากกลุมประชากร จะถือเปนคา คงตัว กลาว คือ คาํ นวณกี่ครงั้ ๆก็จะไมเ ปลีย่ นแปลง3.4คา สถิต หมายถึง คา ตา งๆทีค่ ํานวณมาจากกลุม ตัวอยาง  จะเปน คา ท่ีเปล่ยี นแปลงไดตจามกลุม ตัวอยา งท่ีเลือกสุมมา จึงถอื วา เปน คา ตวั แปรสุม  ​3.4คาสถติ หมายถงึ คา ตางๆท่คี ํานวณมาจากกลุม ตวั อยา ง จะเปน คาที่เปลยี่ นแปลงไดตจาม กลุมตวั อยางที่เลอื กสมุ มา จึงถือวา เปนคาตัวแปรสมุ        

16  3.5ตวั แปร ในทางสถติ ิ หมายถึง ลักษณะบางอยา งที่เราสนใจ คาของตัวแปร อาจอยใู นรปู ขอ ความ หรอื ตวั เลขกไ็ ด  3.6คา ทเี่ ปน ไปได หมายถงึ คา ของตัวแปรทีอ่ าจจะเกิดข้ึนไดจ รงิ   3.7คา จากการสังเกต หมายถึง คา ทเ่ี กบ็ รวบรวมไดม าจรงิ ๆ    4. ประเภทของขอ มูล  ป​ ระเภทของขอมูลอาจแบง ออกไดห ลายประเภทดงั ตอไปน ี้ 4.1​ ​แบงประเภทขอ มลู ตามวธิ กี ารเกบ็ รวบรวมขอ มลู สามารถแบงออกไดเ ปน 2 ประเภท  4.1.1​ ข​ อมูลปฐมภมู ิ (Primary Data) หมายถึง ขอมูลท่ีผใู ชเปนผเู กบ็ รวบรวมขอ มลู ขึ้นเอง  เชน การเก็บแบบสอบถาม การทดลองในหองทดลอง   4.1.2 ขอมลู ทตุ ิยภูมิ (Second Data) หมายถงึ ขอมูลทผ่ี ูใ ชน ํามาจากหนวยงานอน่ื หรือผูอ ืน่ ที่ไดท าํ การเก็บรวบรวมมาแลว ในอดีต เชน รายงานประจําปของหนวยงานตา งๆ ขอ มลู ทอ งถน่ิ ซ่ึงแต ละอบต.เปนผูรวบรวมไว ฯลฯ  4.2 แบง ประเภทขอ มูลตามระดับการวัด สามารถแบงออกไดเปน 4 ประเภท  4.2.1 ขอ มูลระดับนามบญั ญัติ (Nominal Scale) หมายถงึ ขอ มลู ทีแ่ บง เปนกลมุ เปนพวก  เชน เพศ อาชีพ ศาสนา ผิวสี ฯลฯ ไมส ามารถนาํ มาจัดลาํ ดบั หรอื นาํ มาคาํ นวณได  4.​ ​2.​ 2​ ขอ มูลระดับอนั ดับ (Ordinal Scale) หมายถึง ขอมูลที่สามารถแบง เปนกลมุ ได แลว ยังสามารถบอกอันดับท่ีของความแตกตา งได แตไ มสามารถบอกระยะหา งของอันดบั ที่แนน นอนได  หรือไมสามารถเปรยี บเทียบไดวา อนั ดับทจี่ ดั นนั้ มีความแตกตางกันของระยะหา งเทา ใด เชน อนั ดับที่ ของการสอบของนักศึกษา อันดบั ทขี่ องผูเขาประกวดนางสาวไทย ฯลฯ  4.2.3 ข​ อมลู ระดบั อันตรภาค (Interval Scale) หมายถงึ ขอมลู ทมี่ ีชว งหาง หรอื ระยะหาง เทา ๆกัน สามารถวัดคา ไดแ ตเปน ขอ มูลที่ไมม ศี ูนยแท เชน อุณหภมู ิ คะแนนสอบ ระดบั ผลการเรียน  ฯลฯ  4.2.4ขอ มลู ระดบั อัตราสว น (Ratio Scale) หมายถงึ ขอมูลทม่ี มี าตราวัดหรอื ระดบั การวัดที่ สูงที่สุด คือ นอกจากสามารถแบง กลุม ได จัดอันดบั ได มชี วงหา งของขอ มูลเทาๆกนั แลว ยงั เปนขอมลู ทมี่ ศี ูนยแ ท เชน นํ้าหนกั สว นสงู ระยะทาง รายได จาํ นวนตางๆ ฯลฯ  4.3 แบง ประเภทขอ มูลตามลกั ษณะของขอ มูล สามารถแบงได 2 ประเภทดงั น ้ี 4.3.1 ขอ มลู เชงิ ปรมิ าณ คือ ขอ มลู ท่ีเปนตวั เลขทใ่ี ชแทนขนาดหรือปริมาณทว่ี ัดออกมา  สามารถนาํ มาเปรียบเทียบขอ มลู ได เชน อายุ สวนสูง นาํ้ หนกั รายได ฯลฯ  4.3.2 ขอ มูลเชงิ คณุ ภาพ คอื ขอมูลท่ีไมส ามารถวัดออกมาเปนจํานวนไดแตอ ธิบายลกั ษณะ ของขอ มลู น้ัน ๆ เชน เพศ ระดบั การศึกษา ฯลฯ       

17  สรปุ สถติ ิและขอมลู เปนการศกึ ษาคน ควาเก่ียวกับสถติ แิ ละขอมลู โดยแบง ประเภทของสถิติ ได 2 ประเภท ดงั น้ี 1) สถติ เิ ชิงพรรณนา มุงวเิ คราะหเ พ่ืออธบิ ายในลกั ษณะกวา งๆ สรุปขอ มลู แตล ะ ชดุ ท่ีเราสนใจ 2​ )​ สถิตเิ ชิงอนุมาน การวิเคราะหขอ มูลที่เกบ็ รวบรวมเพ่ือใชอางอิง จะมีการเลอื ก ตวั อยา ง จากประชากร เพ่ือเก็บขอ มลู และแบงชนดิ ของขอ มลู ได 4 ชนิด ดังน้ี 1)แบง ประเภทขอ มลู ตามวธิ กี ารเกบ็ รวบรวมขอมลู ไดแก ขอ มลู ปฐมภมู ิ และขอ มลู ทตุ ยิ ภูมิ 2)แ​ บงประเภทขอมูลตามระดบั การวดั 3)แบงประเภทขอมูลตามลักษณะของขอ มลู       โปรแกรม Google site  1. ความหมายของ Google site  ​ G​ oogle Sites คือโปรแกรมของ Google ทใี่ หบ รกิ ารสรา งเว็บไซตฟ รี สามารถสรา งเวบ็ ไซตไ ด งา ย ปรบั แตงรูปลกั ษณไ ดอ ยา งอิสระ และสามารถรวบรวมความหลากหลายของขอ มลู ไวในท่เี ดยี ว  เชน วดิ ีโอ ปฏทิ นิ เอกสาร อนื่ ๆ สามารถนํามาแทรกในหนา เวบ็ เพจได เปนการเพมิ่ ลูกเลน ใชงานได งาย ทําใหชวยอํานวยความสะดวกไดเปน อยา งมาก     2. ​จุดเดนของ Google Sites   2.1 ใหบ ริการฟรี ไมเสยี คา ใชจา ย  2.2 พน้ื ทจี่ ดั เกบ็ ขอ มลู ไมจ าํ กดั   2.3 มี Gadget มากมาย  2.4ใชงานไดง า ย    3. วธิ กี ารสรางเว็บไซดดวย Google site  สมคั รเปด การใชงานเว็บไซต Google Sites      ภาพท่ี 6 หนาlogin     

18  3.1 ไปทเี่ วบ็ https://sites.google.com กรอกท่ีอยูอีเมลและรหสั ผานท่ีคณุ สมัครลงไปเมื่อ กรอกเรยี บรอยแลว เลอื กลงชอ่ื เขาใชงาน  ภาพท่ี 7 กดสรางเพอ่ื ทําเวบ็ ไซค      3.2 เลือก \"สราง\" เพื่อทาํ การสรางเว็บไซต      ภาพที่ 8 ต้งั ชอื่ และเลอื กธมี      3.3 เลอื กเทมเพลตหรอื รปู แบบเวบ็ ไซตของคณุ แนะนําใหเ ลือกแมแ บบทีว่ างเปลา เนื่องจากในสวน นเ้ี ราจะไมสามารถมาปรับแตงแกไ ขตามใจชอบได สวนทเี่ ราสามารถแกไขไดคอื สว นทร่ี ะบบกําหนดมา ให  3.4 ต้งั ชื่อเว็บไซตเมื่อเรากรอกชือ่ เว็บไซตล งไปช่อื เว็บไซตท ก่ี รอกกจ็ ะเปน ตาํ แหนง ทอี่ ยู URL ของ เว็บไซตดว ย แตถ า ไมชอบใจยงั ไงก็สามารถแกไขหรอื ปรบั เปลย่ี นได    

19  3.5 เลือกธมี สามารถเลอื กธีมที่ตองการไดต ามใจชอบเลย เพราะเราสามารถมาแกไ จสวนนไ้ี ด  ตวั เลือกเพ่มิ เติม คือ รายละเอียดเกย่ี วกับเวบ็ ไซตข องคุณ      ภาพที่ 9 กรอกขอความ     3.6 กรอกขอ ความที่เหน็ ในภาพลงไปในชองวาง เพอ่ื เปน การตรวจสอบวาคณุ เปนมนุษยจริงๆไมใ ช โปรแกรมหรอื บอท        ภาพท่ี 10 กดสรา งเวบ็ ไซค     3.7 เมอื่ กรอกรายละเอยี ดขางตน ลงไปแลวกเ็ ลือกสรา งไดเ ลย  สรุปโปรแกรม GooGle site โปรแกรมของ Google ท่ใี หบ ริการสรา งเวบ็ ไซตฟรี สามารถ สรา งเว็บไซตไดงาย ปรบั แตง รปู ลกั ษณไดอ ยางอสิ ระ และสามารถรวบรวมความหลากหลายของขอ มูล ไวใ นทเี่ ดยี ว เชน วดิ โี อ ปฏิทนิ เอกสาร อน่ื ๆ สามารถนํามาแทรกในหนา เวบ็ เพจได เปนการเพิ่มลกู เลน ใชง านไดงาย ทาํ ใหชวยอํานวยความสะดวกไดเปนอยา งมาก โดยแบงจดุ เดนของ Google site  ได 4 ประเภท ดังนี้ 1) ใหบ ริการฟรี ไมเสยี คา ใชจ า ย 2) พ้ืนทีจ่ ดั เก็บขอ มูลไมจาํ กัด 3) มี Gadget  มากมายและ 4) ใชงานไดง า ย และศกึ ษาวิธีการสรา งเว็บไซดด ว ยโปรแกรม Google site     โครงงานท่ีเก่ยี วขอ ง   เจนจิรา แกว มรกตและคณะ (2555) ไดศกึ ษาและพฒั นาเรือ่ ง การประยุกตใชค อมพิวเตอร  มีวตั ถปุ ระสงคของการวจิ ัย 1) เพอื่ พัฒนาบทเรียนออนไลน เร่อื งการประยุกตใ ชค อมพวิ เตอร    2) เพื่อหาคณุ ภาพบทเรียนออนไลน เร่อื งการประยกุ ตใ ชค อมพิวเตอร ผลจจากการศกึ ษาพบวา ไดบท เรยี นออนไลน วิชาการประยุกตใ ชคอมพิวเตอร ท่ีมีคณุ ภาพ     

20  นาตยา ชวยชเู ชดิ (2561) ไดศ ึกษาและพัฒนาเร่อื ง แผนดนิ ไหวและพายุ มีวัตถุประสงคข อง การวจิ ัย 1) เพ่ือสรา งบทเรยี นออนไลน เร่อื ง แผน ดนิ ไหวและภูเขาไฟระเบดิ โดยใชโครงงานเปนฐาน สําหรบั นักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษาปที่ 6 2) เพอื่ ศึกษาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนของนักเรยี นทไี่ ดรับการ เรียนการสอนโดยใชบทเรียนออนไลน เรื่อง แผน ดนิ ไหวและภูเขาไฟระเบดิ โดยใชโครงงานเปน ฐาน สําหรบั นักเรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปที่ 6 และ 3) เพอ่ื ศึกษาความพงึ พอใจของนักเรยี นทม่ี ีตอ บทเรียน ออนไลน เรื่อง แผนดนิ ไหวและภเู ขาไฟระเบิดโดย ใชโ ครงงานเปนฐาน สาํ หรบั นกั เรยี นช้นั มธั ยมศกึ ษา ปท ี่ 6 จากผลการศกึ ษาพบวา 1) ประสทิ ธิภาพบทเรยี นออนไลน เร่ือง พฒั นาบทเรียนออนไลน เรอ่ื ง  แผน ดินไหวและภูเขาไฟระเบดิ โดยใชโ ครงงานเปน ฐานสําหรับนักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท่ี 6 มี ประสทิ ธภิ าพตามเกณฑท ี่ตงั้ ไวตามสมมติฐาน     ชนาธปิ พลพวก (2560) ไดศึกษาและพัฒนาโครงงานเร่ือง การวดั คากลางของขอมลู มี วัตถปุ ระสงค1) เพ่ือการพฒั นาบทเรียนออนไลนว ชิ าคณิตศาสตร เร่อื งการวัดคา กลางของขอ มลู    ดวย Google Site สําหรบั นักเรยี นชน้ั มัธยมศึกษาปท ี่ 3 2)เพ่อื เปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น กอนเรยี นและหลังเรยี นดว ยบทเรียนออนไลน 3)เพ่ือศกึ ษาความพงึ พอใจโดยรวมท่ีมีตอบทเรยี น ออนไลนวิชาคณติ ศาสตร เรอ่ื งการวัดคากลางของขอมูลดวย Google Site สําหรบั นกั เรียนชั้น มธั ยมศกึ ษาปท ่ี 3 จากผลการพัฒนาบทเรยี นออนไลนว ิชาคณิตศาสตร เร่ืองการวัดคากลางของขอมลู ดว ย Google Site สําหรบั นักเรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาป ที่ 3 ผลการศกึ ษาพบวา ประสทิ ธภิ าพของบท เรียนออนไลน สําหรบั การทดสอบของกลมุ นักเรียนทเ่ี รยี น โดยใชบทเรียนออนไลนม ีประสิทธภิ าพของ บทเรียนอยทู ี่ 82.29/80.63 ซึ่งสงู กวาเกณฑทีก่ าํ หนดคือ 80/80 ซ่ึงเปน ไปตามสมมุติฐาน                                 

บทที่ 3  วิธกี ารจดั ทาํ โครงงาน    วสั ดุและอุปกรณ  วสั ดุและอปุ การณท ี่ใชใ นการจัดทาํ โครงงานไดแก  1. เครอื่ งคอมพิวเตอร พรอมเชอื่ มตอ ระบบเครอื ขา ยอนิ เทอรเ นต็   2. เว็บไซคใ นการทําบทเรยี นออนไลน เชน google site    วธิ ีการจัดทาํ โครงงาน  1. คดั เลอื กหัวขอ เรือ่ งท่ีสนใจ  คณะผูจดั ทาํ ไดส นใจศกึ ษาหวั ขอเรอ่ื ง สภุ าษิตคําพังเพ อุทกภัย แผน ดนิ ไหว และสถิติ และขอ มลู จากการโหวตของคณะผูจัดทําไดความเห็นวา จะจัดทาํ เรอ่ื ง การพฒั นาบทเรียนออนไลน  เรือ่ ง สถิตแิ ละขอมลู       ภาพที่ 11 คดั เลือกหัวขอประเดน็ ปญหาทเ่ี ราตอ งการศกึ ษา     2. ศึกษาคนควาจากเอกสารและแหลงขอ มลู   คณะผจู ดั ทาํ ไดศ ึกษาคนควา การทาํ บทเรียนออนไลน และสถิตจิ าก Google    ภาพที่ 12ศกึ ษาคนควา จากเอกสารและแหลง ขอ มูล    

22  3. การจัดทําเคาโครงของโครงงาน  หลงั จากคณะผูจดั ทาํ ไดท าํ การคดั เลือกหวั ขอ และศึกษาคนควา ขอ มลู เร่ืองสถติ แิ ละ ขอ มลู จากเอกสารและแหลง ขอ มลู อืน่ ๆจึงไดล งมือทําเคาโครงโครงงานคอมพิวเตอรจาก google  DOCX    ภาพที่ 13การจดั ทําเคาโครงโครงงาน       4. การลงมอื ทาํ โครงงาน  หลังจากครทู ีป่ รกึ ษาอนุมัติคณะผจู ัดทําไดค ดั เลอื กหัวขอที่สนใจ และศกึ ษาขอ มลู จาก เอกสารและจดั ทําเคา โครงจึงไดลงมอื ทาํ โครงงาน และในเว็บGoogle site ทพี่ ดู ถึงในเรอ่ื งสิตแิ ละ ขอ มลู       ภาพท่ี 14 การลงมอื ทาํ             

5. การเขยี นรายงาน  23  คณะผูจดั ทาํ ไดแ บง งานตามที่ไดรบั มอบหมายในการเขียนรายงาน       ภาพที่ 15 การเขียนรายงาน    6. นาํ เสนอและแสดงผลงาน   คณะผูจัดทาํ ไดน าํ เสนอโครงงานหนา ชน้ั เรียนและในเวบ็ ไซค Google site ครทู ่ปี รึกษา และนักเรียนประเมินผลงาน                  ภาพท่ี 16 นําเสนอและแสดงผลงาน                   

บทที่ 4  ผลการศกึ ษา    จากการศกึ ษาและพัมนาโครงงานคอมพวิ เตอรการพฒั นาบทเรียนออนไลน  เร่ือง  สถิติและ ขอ มลู ชนั้ มัธยมศึกษาปที่ 5 ในการจัดทําโครงงานครงั้ น้ี ผูจัดทาํ ไดออกแบบและพฒั นาเวบ็ ไซด  เพอ่ื เปน แหลงเรยี นรใู หก บั ผูทีส่ นใจใน  เรือ่ ง  สถติ ิและขอ มลู   ชัน้ มธั ยมศึกษาปท  ี่ 5  โดยสามารถเขา ศกึ ษาแหลงเรยี นรูผา นทางเวบ็ ไซด http://gg.gg/lomkip ตัวอยางเวบ็ ไซดดังน ้ี     ภาพท1ี่ 7 หนา หลกั       ภาพท1ี่ 8 บทเรยี นออนไลน         

25    ภาพที่19 ขอมลู เก่ยี วกับสถิต ิ   ภาพที2่ 0 ขอมลู เกี่ยวกบั ขอ มูล      ภาพท2ี่ 1 แบบทดสอบเร่อื งสถิติและขอมลู      

บทท่ี 5  สรุปผลและขอเสนอแนะ    สรปุ ผลการศกึ ษา  จากการจดั ทาํ โครงงานในคร้ังนีม้ ีวตั ถุประสงค เพือ่ พฒั นาบทเรยี นออนไลน เรือ่ ง สถติ ิและ ขอ มูล ศึกษาหาความรูเกี่ยวกบั การทาํ โครงงานคอมพิวเตอร ศกึ ษาหาความรเู กย่ี วกบั สถติ ิและขอ มลู ระดบั ชนั้ มธั ยมศึกษาปที่ 5 ในรายวชิ าคณิตศาสตรพ ้นื ฐาน และศกึ ษาหาความรูเ กย่ี วกับวิธีการพัฒนา บทเรยี นออนไลนดว ยโปรแกรม Google site จากการศึกษาและพฒั นาพบวาทาํ ใหผูศกึ ษาไดบทเรียน ออนไลน เรอื่ ง สถติ แิ ละขอมูล ชน้ั มัธยมศึกษาปที่ 5 เปน บทเรยี นท่มี ีประสทิ ธภิ าพสามารถทําไปศึกษา  และนําไปใชในการจดั การเรยี นการสอนได เปน แหลง ความรใู หแกผูท่ีสนใจไดเ ปนอยางดี โดยสามารถ เขา ถงึ บทเรียนออนไลนผานทาง http://gg.gg/psg485 ไดความรเู ก่ียวกบั การพฒั นาบทเรยี นออนไลน  ไดศ ึกษาและใชโปรแกรมจากคอมพวิ เตอรใ หเปนประโยชน ไดค วามรเู ก่ียวกับ สตถิ แิ ละขอ มูลที่ สามารถทําไปประยกุ ตใ ชใ นการศกึ ษาในระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปที่ 5 และไดศกึ ษาเวบ็ ไซดด ว ย โปรแกรม Google site  ปญหาและอปุ สรรค  ขอ มลู และเนื้อหาเกย่ี วกบั สถิตแิ ละขอ มลู มมี ากเกนิ ไป  คณะผจู ดั ทาํ ไมมีความรูเกย่ี วกบั การพัฒนาบทเรียนออนไลนดวยโปรแกรม Google site    ขอ เสนอแนะ  1.เนือ้ หาบทเรียนออนไลน เรื่องสถิตแิ ละขอมลู สามารถนาํ ไปทําผานโปรแกรมอ่นื ๆได  2.ควรมกี ารนาํ เสนอในรูปแบบอ่นื ได                           

บรรณานกุ รม        เกอื้ นภา งามพัฒนพงศช ัย. (ม.ป.ป). ประเภทโครงงานคอมพิวเตอร. [ออนไลน] . https://kuenapa.  wordpress.com .(สบื คนเมื่อ21 พฤษาคม 2562).  ชนาธปิ พลพวก. (ม.ป.ป). การพัฒนาบทเรยี นออนไลน เร่อื งการวัดคา กลางของขอมลู . [ออนไลน] .  h​ ttp://www.edu-journal.ru.ac.th . (สืบคนเมื่อ 25 มถิ นุ ายน 2562)  นาตยา ชว ยชูเชดิ . (ม.ป.ป). แผนดินไหวและพายุ. [ออนไลน]. https://www.tci-thaijo.org/  (สบื คนเม่อื 25 มถิ นุ ายน 2562).  มณั ทณา นามวชิ ติ . (ม.ป.ป). สถิติและขอมลู . [ออนไลน]. https://krunana.wordpress.com/ คณติ ศาสตรพ ื้นฐาน-3/สถิติและขอมลู /. (สบื คนเมอื่ 21 พฤษภาคม 2562).  วิชดุ า แซซ ู. (ม.ป.ป). ขอมูลคืออะไร. [ออนไลน] . https://sites.google.com/site/wichuda0po  (สบื คน เมอ่ื 21 พฤษาคม 2562).  วิไลวรรณ พวงลาภ. (ม.ป.ป). ขอ มูล. [ออนไลน]. http://neung.kaengkhoi.ac.th/mdata/  (สบื คน เมื่อ 21 พฤษาคม 2562).  อรอนงค เวชจันทร. (ม.ป.ป.). บทเรยี นออนไลน. [ออนไลน] . https://www.gotoknow.org/posts  /380126. (สืบคน เมื่อ 30 เมษายน 2562).   อาทติ ย พลสวุ รรณ. (ม.ป.ป). Google Sites คืออะไร. [ออนไลน]. https://sites.google.com/  site/kruarthit021159. (สบื คนเมื่อ 21 พฤกษภาคม 2562).  เอกสิทธิ์ อภสิ ทิ ธกิ ุล. (ม.ป.ป.). การพฒั นาบทเรยี นออนไลน. [ออนไลน] . http://thesis.swu.ac.th.  (สืบคนเม่ือ 21 พฤษภาคม 2562).  Kroojai. (ม.ป.ป.). Google Sites คืออะไร. [ออนไลน] . https://padlet.com/kroojai/m60260  (สืบคนเมอ่ื 21 พฤกษภาคม 2562).                       

ภาคผนวก      ​คดั เลือกหัวขอประเดน็ ปญหาท่ีเราตองการศึกษา         ศึกษาคนควาจากเอกสารและแหลง ขอ มลู        การจัดทําเคาโครงโครงงาน       

29    การลงมือทํา        การเขยี นรายงาน                             

ขอ มลู ผจู ดั ทาํ      


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook