Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พลเมืองดิจิทัลและความฉลาดทางดิจิทัล

พลเมืองดิจิทัลและความฉลาดทางดิจิทัล

Published by bigalonez1, 2020-11-02 14:43:21

Description: เนื้อหาเกี่ยวกับเรื่อง พลเมืองดิจิทัลและความฉลาดทางดิจิทัล

Search

Read the Text Version

พลเมืองดิจทิ ลั และความฉลาดทางดจิ ิทลั

พลเมอื งดิจทิ ลั และความฉลาดทางดิจทิ ัล สารบัญ หน้า คานิยาม....................................................................................... 1 ความฉลาดทางดา้ นดจิ ทิ ลั ........................................................... 2 พลเมอื งดจิ ิทลั ............................................................................. 3 ทกั ษะสาคญั 8 ประการ ทกั ษะในการรักษาอตั ลกั ษณ์ทดี่ ีของตนเอง............................................ 4 ทกั ษะในการจดั สรรเวลาหนา้ จอ............................................................ 5 ทกั ษะในการรบั มอื กบั การคกุ คามทางโลกออนไลน์.............................. 6 ทกั ษะในการรกั ษาความปลอดภยั ของตนเองในโลกออนไลน์............... 7 ทกั ษะในการรกั ษาขอ้ มลู ส่วนตวั ............................................................ 8 ทกั ษะในการคิดวเิ คราะหม์ วี จิ ารณญาณที่ดี............................................ 9 ทกั ษะในการบริหารจดั การขอ้ มลู ท่ผี ูใ้ ชง้ านทิ้งไวบ้ นโลกออนไลน์....... 10 ทกั ษะในการใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งมีจริยธรรม.......................................... 11 แหล่งท่ีมา.................................................................................... 12

พลเมอื งดจิ ิทลั และความฉลาดทางดิจทิ ลั 1 กอ่ นจะทราบถึงทกั ษะดา้ นดิจทิ ลั ขอใหค้ านิยามความหมายของ ประโยคทีว่ า่ \"ความเป็นพลเมืองดิจิทลั \"ทที่ กุ ประเทศทว่ั โลกคาดหวงั ใหเ้ กิดข้ึนในประชากรรของตนคือ \"พลเมอื งผใู้ ชง้ านสื่อดิจทิ ลั และส่ือ สงั คมออนไลน์อยา่ งเขา้ ใจบรรทดั ฐาน ของการปฏิบตั ิตวั ใหเ้ หมาะสม และมคี วามรบั ผิดชอบในการใชเ้ ทคโนโลยี โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงการ สื่อสารในยคุ ดิจทิ ลั เป็นการสื่อสารทไ่ี ร้พรมแดนจาเป็นตอ้ งมคี วาม ฉลาดทางดิจิทลั (DQ: Digital Intelligence) \"

พลเมอื งดิจิทลั และความฉลาดทางดิจทิ ัล 2 ความฉลาดทางดิจทิ ลั (Digital Intelligence Quotient : DQ) คือ กลมุ่ ของความสามารถทางสังคม อารมณ์ และการรบั รู้ ท่ี จะทาใหค้ นคนหน่ึงสามารถเผชิญกบั ความทา้ ทายบนเสน้ ทางของชีวติ ในยคุ ดิจทิ ลั และสามารถปรับตวั ใหเ้ ขา้ กบั ชีวติ ดิจิทลั ได้ ความฉลาดทาง ดิจทิ ลั ครอบคลุมทง้ั ความรู้ ทกั ษะ ทศั นคติและค่านิยมที่จาเป็นต่อการใช้ ชีวิตในฐานะสมาชิกของโลกออนไลน์ กล่าวอีกนยั หน่ึงคือ ทกั ษะการใช้ สื่อและการเขา้ สังคมในโลกออนไลน์

พลเมอื งดิจิทลั และความฉลาดทางดิจทิ ลั 3 พลเมอื งดจิ ทิ ลั หมายถึง สมาชิกบนโลกออนไลน์ที่ใชเ้ ครือขา่ ย อินเทอร์เนต็ ซ่ึงมคี วามหลากหลายทางเช้ือชาติ อายุ ภาษา และ วฒั นธรรม ดงั น้นั พลเมืองดิจทิ ลั ทกุ คนจงึ ตอ้ งมี ‘ความเป็นพลเมอื ง ดิจทิ ลั ’ ที่มคี วามฉลาดทางดิจิทลั บนพ้ืนฐานของความรับผิดชอบ การมี จริยธรรม การมีส่วนร่วม ความเหน็ อกเหน็ ใจและเคารพผอู้ ื่น โดยมงุ่ เนน้ ความเป็นธรรมในสงั คม ปฏิบตั ิและรกั ษาไวซ้ ่ึงกฎเกณฑ์ เพื่อสร้างความ สมดุลของการอยรู่ ่วมกนั อยา่ งมคี วามสุข https://www.weforum.org/agenda/2018/01/why-children-shouldbe-taught-to-build-a-positive-online-presence, DQ institute

พลเมอื งดจิ ทิ ลั และความฉลาดทางดิจทิ ัล 4 การเป็นพลเมอื งดิจิทลั น้นั มีทกั ษะสาคญั 8 ประการ ที่ควรบม่ เพาะใหเ้ กิดข้ึนกบั พลเมืองดิจิทลั ทกุ คนในศตวรรษท่ี 21 ดงั น้ี 1.ทกั ษะในการรักษาอตั ลกั ษณ์ทด่ี ีของตนเอง (Digital Citizen Identity) ตอ้ งมีความสามารถในการสรา้ งสมดลุ บริหารจดั การ รกั ษาอตั ลกั ษณ์ที่ดีของตนเองไวใ้ หไ้ ด้ทง้ั ในส่วนของโลกออนไลน์และโลกความ จริง โดยตอนน้ีประเด็นเรื่องการสร้างอตั ลกั ษณ์ออนไลนถ์ ือเป็น ปรากฏการณ์ใหม่ ท่ีทาใหบ้ คุ คลสามารถแสดงออกถึงความเป็นตัวตนต่อ สังคมภายนอก โดยอาศยั ชอ่ งทางการสื่อสารผ่านเวบ็ ไซตเ์ ครือข่ายสังคม ในการอธิบายรูปแบบใหมข่ องการสื่อสารแบบมีปฏิสมั พนั ธท์ าง อินเทอร์เนต็ ซ่ึงเป็นการแสดงออกเกี่ยวกบั ตวั ตนผ่านเวบ็ ไซต์เครือข่าย สังคมตา่ งๆ

พลเมอื งดจิ ิทลั และความฉลาดทางดิจทิ ลั 5 2.ทักษะในการจัดสรรเวลาหน้าจอ (Screen Time Management) การบริหารจดั การเวลาบนโลกดิจทิ ลั เป็นความสามารถ ควบคมุ ตนเอง ความสามารถในการจดั สรร เวลาในการ ใชง้ านอุปกรณ์ ดิจิทลั และอปุ กรณเ์ ทคโนโลยีไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ รวมถึงการใชง้ าน สื่อสงั คม (Social Media) และเกม ออนไลน์ (Online Games) ดว้ ยความ รับผิดชอบตอ่ ตนเอง สามารถบริหารเวลาที่ใช้ อปุ กรณย์ คุ ดิจิทลั รวมไป ถึงการควบคุมเพื่อใหเ้ กิดสมดุลระหวา่ งโลกออนไลน์และโลกความเป็น จริง อีกท้งั ตระหนกั ถึงอนั ตราย และสุขภาพจากการใชเ้ วลาหนา้ จอนาน เกินไป และผลเสียของการเสพติดสื่อดิจทิ ลั

พลเมอื งดิจทิ ลั และความฉลาดทางดิจทิ ลั 6 3.ทกั ษะในการรับมือกบั การคุกคามทางโลกออนไลน์ (Cyberbullying Management) การจดั การการกลน่ั แกลง้ บนไซเบอร์ เป็นความสามารถในการ ป้องกนั ตนเอง การมภี มู คิ มุ้ กนั ในการ รับมอื และจดั การกบั สถานการณ์ การกลน่ั แกลง้ บนอินเทอร์เน็ตไดอ้ ยา่ งชาญฉลาดการใชอ้ ินเทอร์เนต็ เป็น เครื่องมอื หรือช่องทางเพ่ือกอ่ ใหเ้ กิดการคุกคามลอ่ ลวงและการกลนั่ แกลง้ บนโลกอินเทอร์เนต็ และสื่อสงั คมออนไลน์ โดยกล่มุ เป้าหมายมกั จะเป็น กลุ่มเด็กจนถึง เดก็ วยั รุ่น การกลนั่ แกลง้ บนโลกไซเบอร์คลา้ ยกนั กบั การ กลน่ั แกลง้ ในรูปแบบอื่นหากแตก่ ารกลนั่ แกลง้ ประเภทน้ีจะกระทาผ่าน ส่ือออนไลน์หรือส่ือดิจิทลั เชน่ การส่ง ขอ้ ความทางโทรศพั ท์ ผกู้ ลน่ั แกลง้ อาจจะเป็นเพ่ือนร่วมช้นั คนรู้จกั ในสื่อสงั คมออนไลน์ หรืออาจจะเป็นคน แปลกหนา้ กไ็ ด้แต่ส่วนใหญผ่ ทู้ กี่ ระทาจะรูจ้ กั ผทู้ ่ถี ูกกลน่ั แกลง้ รูปแบบ ของการกลน่ั แกลง้ มกั จะเป็นการวา่ ร้าย ใส่ความ ข่ทู ารา้ ย หรือใชถ้ อ้ ยคา หยาบคาย การคุกคามทางเพศผ่านส่ือออนไลน์ การแอบอา้ งตวั ตนของ ผอู้ ื่น การแบล็กเมล์ การหลอกลวง การสร้างกลุม่ ในโซเชียลเพ่ือโจมตี โดยเฉพาะ

พลเมอื งดิจิทลั และความฉลาดทางดิจทิ ัล 7 4.ทกั ษะในการรักษาความปลอดภัยของตนเองในโลกออนไลน์ (Cybersecurity Management) การจดั การความปลอดภยั บนระบบเครือขา่ ย เป็นความสามารถ ในการสารวจ ตรวจสอบ การป้องกนั และ การรักษาความปลอดภยั ของ ขอ้ มลู ในระบบเครือข่าย ป้องกนั ขอ้ มลู ดว้ ยการสรา้ งระบบความปลอดภยั ที่ เขม้ แขง็ และป้องกนั การโจรกรรมขอ้ มลู หรือการถูกโจมตีออนไลน์ได้ มีทกั ษะในการรกั ษาความปลอดภยั ของ ตนเองในโลกออนไลนก์ ารรกั ษา ความปลอดภยั ของตนเองในโลกไซเบอร์ คือการปกป้องอปุ กรณ์ดิจทิ ลั ขอ้ มลู ท่ี จดั เกบ็ และขอ้ มลู ส่วนตวั ไมใ่ หเ้ สียหาย สูญหาย หรือถกู โจรกรรมจากผไู้ มห่ วงั ดีในโลกไซเบอร

พลเมอื งดิจทิ ลั และความฉลาดทางดิจทิ ลั 8 5.ทกั ษะในการรักษาข้อมูลส่วนตวั (Privacy Management) การจดั การความเป็นส่วนตวั เป็นความสามารถในการจดั การ กบั ความเป็นส่วนตวั ของตนเองและของ ผอู้ ่ืน การใชข้ อ้ มลู ออนไลน์ ร่วมกนั การแบง่ ปนั ผา่ นสื่อดิจทิ ลั ซ่ึงรวมถึงการบริหารจดั การ รู้จกั ปอ้ งกนั ขอ้ มลู ส่วนบคุ คลของตนเอง เชน่ การแชร์ขอ้ มลู ต่าง ๆ ดว้ ยเคร่ืองมอื ดิจทิ ลั การขโมยขอ้ มลู อตั ลกั ษณ์ เป็นตน้ โดย ตอ้ งมคี วามสามารถในการฝึ กฝนใช้ เครื่องมือ หรือวธิ ีการในการป้องกนั ขอ้ มลู ตนเองไดเ้ ป็นอยา่ งดี รวมไปถึง ปกปิ ดการสืบคน้ ขอ้ มลู ตา่ งๆ ในเวบ็ ไซต์ เพื่อรกั ษาความเป็นส่วนตวั ความ เป็นส่วนตวั ในโลกออนไลน์คือสิทธิ การปกป้องขอ้ มลู ความส่วนตวั ใน โลกออนไลนข์ องผใู้ ชง้ านท่บี คุ คลหรือการบริหารจดั การขอ้ มลู ส่วนตวั รวมถึง การใชด้ ุลยพินิจปกปอ้ ง ขอ้ มลู ส่วนบคุ คลและขอ้ มลู ท่ีเป็นความลบั ของผอู้ ื่น

พลเมอื งดจิ ิทลั และความฉลาดทางดิจทิ ัล 9 6.ทักษะในการคิดวิเคราะห์มีวิจารณญาณท่ดี ี (Critical Thinking) ความสามารถในการวเิ คราะหแ์ ยกแยะระหวา่ งขอ้ มลู ทถ่ี กู ตอ้ ง และขอ้ มลู ที่ผิด ขอ้ มลู ทีม่ เี นื้อหาดีและขอ้ มลู ท่เี ขา้ ขา่ ยอนั ตราย รูว้ า่ ขอ้ มลู ลกั ษณะใดทถ่ี กู ส่งผ่านมาทางออนไลนแ์ ลว้ ควรต้งั ขอ้ สงสยั หา คาตอบใหช้ ดั เจนกอ่ นเช่ือและนาไปแชร์ ดว้ ยเหตนุ ้ี พลเมืองดิจิทลั จึง ตอ้ งมีความรูค้ วามสามารถในการเขา้ ถึง ใช้ สรา้ งสรรค์ ประเมิน สงั เคราะห์ และสื่อสารขอ้ มลู ข่าวสารผา่ นเครื่องมือดิจิทลั ซ่ึงจาเป็นตอ้ ง มีความรู้ดา้ นเทคนิคเพื่อใชเ้ ครื่องมือดิจิทลั เชน่ คอมพิวเตอร์ สมาร์ต โฟน แทบ็ เลต็ ไดอ้ ยา่ งเช่ียวชาญ รวมถึงมีทกั ษะในการรู้คิดข้นั สูง เช่น ทกั ษะการคิดอยา่ งมวี ิจารณญาณ ทจ่ี าเป็นตอ่ การเลือก จดั ประเภท วิเคราะห์ ตีความ และเขา้ ใจขอ้ มลู ข่าวสาร มีความรู้และทกั ษะใน สภาพแวดลอ้ มดิจทิ ลั การรูด้ ิจิทลั โดยมงุ่ ใหเ้ ป็นผใู้ ชท้ ี่ดี เป็นผเู้ ขา้ ใจ บริบททีด่ ี และเป็นผสู้ ร้างเน้ือหาทางดิจิทลั ทด่ี ี ในสภาพแวดลอ้ มสังคม ดิจิทลั

พลเมอื งดิจทิ ลั และความฉลาดทางดิจทิ ลั 10 7.ทักษะในการบริหารจัดการข้อมูลทผ่ี ู้ใช้งานทงิ้ ไว้บนโลกออนไลน์ (Digital Footprints) ร่องรอยทางดิจิทลั เป็นความสามารถในการเขา้ ใจธรรมชาติ ของการใชช้ ีวติ ในโลกดิจทิ ลั วา่ จะ หลงเหลือร่องรอยขอ้ มลู ทงิ้ ไวเ้สมอ ร่องรอยทางดิจิทลั อาจจะส่งผลกระทบในชีวติ จริง ท่ีเกิดจากร่องรอย ทาง ดิจทิ ลั เขา้ ใจผลลพั ธท์ ่อี าจเกิดข้ึน เพ่ือนามาใชใ้ นการจดั การกบั ชีวิตบทโลกดิจิทลั ดว้ ยความรบั ผิดชอบ ขอ้ มลู ร่องรอยทางดิจิทลั เช่น การลงทะเบยี น อีเมล การโพสต์ขอ้ ความหรือรูปภาพ ไฟล์งานตา่ ง ๆ เมอื่ ถกู ส่งเขา้ โลก อินเทอร์เน็ตแลว้ จะทิ้งร่องรอยขอ้ มลู ส่วนตวั ของ ผใู้ ชง้ านไว้ใหผ้ อู้ ่ืนสามารถติดตามได้และจะเป็นขอ้ มลู ท่ีระบุ ตวั บคุ คลไดอ้ ยา่ งงา่ ยดาย

พลเมอื งดิจิทลั และความฉลาดทางดิจทิ ลั 11 8.ทกั ษะในการใช้เทคโนโลยีอย่างมจี ริยธรรม (Digital Empathy) ความเหน็ อกเหน็ ใจและสร้างสัมพนั ธภาพทดี่ ีกบั ผู้อ่ืนทาง ดิจิทลั เป็นความสามารถในการเขา้ ใจผอู้ ื่น การตอบสนองความ ตอ้ งการของผอู้ ื่น การแสดง ความเห็นใจและการแสดงน้ าใจต่อ ผอู้ ื่นบนโลกดิจิทลั ไดอ้ ยา่ ง เหมาะสม มปี ฏิสมั พนั ธ์อนั ดีตอ่ คนรอบ ขา้ ง ไมว่ า่ พ่อแม่ ครู เพ่ือนทง้ั ในโลกออนไลน์และในชีวติ จริงไม่ ดว่ น ตดั สินผอู้ ื่นจากขอ้ มลู ออนไลนแ์ ต่เพียงอยา่ งเดียวและจะเป็น กระบอกเสียงใหผ้ ทู้ ่ีตอ้ งการความช่วยเหลือในโลก ออนไลน์

พลเมอื งดิจิทลั และความฉลาดทางดิจทิ ัล 12 แหลง่ ที่มา สถาบันสอ่ื เด็กและเยาวชน. (2561). การจัดท า Fact Sheet‘ความฉลาดทางดิจิทลั ’ (Digital Intelligence : DQ) และการศกึ ษาการรงั แกกนั บนโลกไซเบอรข์ องวยั รุน่ . กรุงเทพมหานคร : สถาบนั สอื่ เด็กและ เยาวชน Yuhyun Park. (2016). 8 digital skills we must teach our children. Retrieved March 8, 2017, https://www.weforum.org/agenda/2016/06/8-digital-skills-we-must-teach our-children Yuhyun Park. (2016). 8 digital life skills all children need - and a plan for teaching them. Retrieved Janury 22, 2019 from https://www.weforum.org/agenda/2016/09/8-digitallife-skillsall-children-need- and-a-plan-for- teachingthem?utm_content=buffer4422b&utm_medium=social&utm_source=facebook.com&utm_ca mpaign=buffer. ProjectDQ.(2017).Digital Intelligence (DQ). Retrieved Janury 22, 2019 from https://www.projectdq.org สถาบันส่ือเดก็ และเยาวชน. (2561). ความฉลาดทางดิจิตอล (Digital Intelligence: DQ) และการศึกษา การ รังแกกนั บนโลกไซเบอร์ของวยั รุน่ . สืบคน้ เม่อื 21 เมษายน 2562, จาก http://cclickthailand.com/contents/research/A2.-final.pdf. สถาบันส่อื เด็กและเยาวชน. (2562). การพฒั นาพลเมอื ง MILD จดุ เน้นตามชว่ งวยั . สบื ค้นเม่ือ 21 เมษายน 2562, จาก http://cclickthailand.com/ชดุ ความรู้ส าหรับครู/ความรู้/การพฒั นาพลเมอื ง-midl- จุดเนน้ ตาม จุดเน้น. ปณิตา วรรณพิรุณ. (2560). “ความฉลาดทางงดิจิทลั ,” พฒั นาเทคนิคศกึ ษา. 29 (102), 12-20


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook