Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงการ-ลูกประคบ-โอสถสมุนไพรพระนารายณ์

โครงการ-ลูกประคบ-โอสถสมุนไพรพระนารายณ์

Published by Oranich Meephrachan, 2021-02-05 01:52:17

Description: โครงการ-ลูกประคบ-โอสถสมุนไพรพระนารายณ์

Search

Read the Text Version

ลกู ประคบ โอสถสมุนไพรพระนารายณ์ ผ้จู ัดทำ นางสาว จีรพรรณ ฉาบเพชร รหสั นกั ศกึ ษา 63302010082 นาย ฐติ โิ ชติ วนดิ า รหสั นกั ศกึ ษา 63302010088 นาย ณฐั พงศ์ บุญสง่ รหัสนกั ศึกษา 63302010090 นางสาว ณัฐวลั ย์ แสนงามวงศ์ศริ ิ รหสั นกั ศึกษา 63302010091 นางสาว วนิดา สัญชานนั ก์ รหัสนักศกึ ษา 63302010108 นางสาว สหฤทัย อินทรเ์ จรญิ รหสั นกั ศกึ ษา 63302010113 เอกสารฉบบั นเ้ี ป็นส่วนหนง่ึ ของการศึกษาค้นคว้าประกอบการเรียนรายวชิ าชีวติ กับสงั คมไทย วทิ ยาลยั เทคนิคลพบรุ ี สงั กัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา ภาคเรียนท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563



ลกู ประคบ โอสถสมุนไพรพระนารายณ์ ผู้จดั ทำ นางสาว จรี พรรณ ฉาบเพชร รหสั นักศกึ ษา 63302010082 นาย ฐิติโชติ วนดิ า รหัสนกั ศึกษา 63302010088 นาย ณัฐพงศ์ บุญส่ง รหสั นกั ศึกษา 63302010090 นางสาว ณฐั วัลย์ แสนงามวงศ์ศริ ิ รหัสนักศกึ ษา 63302010091 นางสาว วนิดา สัญชานนั ก์ รหสั นกั ศกึ ษา 63302010108 นางสาว สหฤทยั อนิ ทรเ์ จรญิ รหัสนักศึกษา 63302010113 เอกสารฉบบั นเ้ี ป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาค้นคว้าประกอบการเรยี นรายวิชาชวี ิตกับสงั คมไทย วทิ ยาลยั เทคนิคลพบุรี สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563

(ก) ช่ือเร่ือง : ลกู ประคบ โอสถสมนุ ไพรพระนารายณ์ ผ้จู ัดทำ : นางสาว จรี พรรณ ฉาบเพชร รหสั นกั ศกึ ษา 63302010082 รหสั นกั ศึกษา 63302010088 นาย ฐติ ิโชติ วนิดา รหสั นักศึกษา 63302010090 รหสั นักศกึ ษา 63302010091 นาย ณฐั พงศ์ บุญสง่ รหสั นักศึกษา 63302010108 รหสั นกั ศกึ ษา 63302010113 นางสาว ณัฐวัลย์ แสนงามวงศศ์ ริ ิ นางสาว วนดิ า สญั ชานนั ก์ นางสาว สหฤทยั อนิ ทรเ์ จรญิ ที่ปรกึ ษา : อาจารย์ ศิริโสภา วิศษิ ฏว์ ัฒนะ ปกี ารศึกษา : 2563 บทคดั ย่อ การศึกษายาพระอังคบพระเส้นโอสถพระนารายณ์ มีจุดมุ่งหมายเพ่ือศึกษายาพระอังคบพระเส้น ซึ่งเป็น ตำรับยาท่ี 57 ของตำรายาพระโอสถพระนารายณ์ เพื่อศกึ ษาพชื สมุนไพรในท้องถิ่น จงึ ไดค้ ิดคน้ หาสมนุ ไพรนานาชนิด มาเพื่อทำเป็นลูกประคบสมุนไพร โดยประโยชน์ของลูกประคบสมุนไพรนี้ยังช่วยในเรื่องการผ่อนคลายกล้ามเนื้อ เหมาะสำหรบั ผทู้ ที่ ำงานหนกั หรือคนสงู อายุ เป็นต้น ในตำรายาพระโอสถพระนารายณ์ได้สะทอ้ นใหเ้ หน็ ถึงสมนุ ไพรใน การแพทยท์ เ่ี ข้ามามบี ทบาทมากในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ โดยจะทำให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้นี้ไปต่อยอดได้ในอนาคต และสามารถนำไปสร้างรายได้เสริมหรือ เผยแพร่ความรู้ภมู ปิ ัญญาในท้องถิ่นใหค้ นรุ่นหลังได้ศกึ ษาและนำไปต่อยอดต่อไป

(ง) กติ ตกิ รรมประกาศ โครงงานนส้ี ำเรจ็ ลุล่วงไดด้ ว้ ยความกรณุ าจากอาจารยศ์ ิรโิ สภา วศิ ิษฏ์วฒั นะ อาจารย์ท่ปี รึกษาวิชา ชีวิตกับสังคมไทย ที่ได้ให้คำเสนอแนะ แนวคิด ตลอดจนการแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆมาโดยตลอด จนโครงงานเล่มน้ี เสร็จสมบรู ณ์ ผู้ศึกษาขอกราบขอบพระคณุ เป็นอย่างสูง ขอขอบพระคุณคุณพอ่ คุณแม่ และผปู้ กครองทีใ่ หค้ ำปรกึ ษาในเร่อื งต่างๆ รวมทงั้ เปน็ กำลงั ใจทด่ี ีเสมอมา และสุดท้ายขอขอบคุณเพื่อนๆที่ชว่ ยให้คำแนะนำดีๆเก่ียวกับการเลือกคำ การใช้คำท่ีเหมาะสม และคำแนะนำอื่นๆ เกีย่ วกบั โครงงานเลม่ น้ี นางสาว จรี พรรณ ฉาบเพชร นาย ฐติ โิ ชติ วนดิ า นาย ณฐั พงศ์ บุญส่ง นางสาว ณัฐวัลย์ แสนงามวงศ์ศิริ นางสาว วนดิ า สญั ชานันก์ นางสาว สหฤทยั อนิ ทรเ์ จริญ

สารบัญ (จ) เร่อื ง หน้า บทคัดย่อ ก กติ ติกรรมประกาศ ง สารบญั จ สารบัญ (ต่อ) ฉ สารบญั ตาราง ช สารบญั ภาพ ซ บทที่ 1 บทนำ 1 1.1 ความเปน็ มา 1 1.2 วตั ถุประสงค์ 1 1.3 ขอบเขต 1 1.4 ประโยชนท์ ่ีไดร้ บั 2 บทท่ี 2 ทฤษฎีทีเ่ กี่ยวข้อง 3 2.1 ความรู้เกยี่ วกับโครงการทท่ี ำ 3-4 2.2 ทฤษฎีท่ีเก่ียวข้อง 5 2.3 งานวิจัยทเี่ กี่ยวขอ้ ง 5-7 บทท่ี 3 วิธดี ำเนินงาน 8 3.1 รปู แบบของโครงการ 8 3.2 ประชากรและกลุม่ ตัวอย่างของโครงการ 8 3.3 ข้นั ตอนการดำเนนิ งาน 8 3.4 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 8 3.5 การวเิ คราะหข์ อ้ มูล 8 บทท่ี 4 ผลการศึกษาคน้ ควา้ 4.1 ผลท่ไี ด้จากการศกึ ษาคน้ คว้า 9

สารบญั (ต่อ) (ฉ) เรอ่ื ง หน้า บทที่ 5 สรปุ ผล อภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะ 5.1 สรปุ ผล 10 5.2 ขอ้ เสนอแนะและแนวทางในการพฒั นา 10 10 บรรณานกุ รม 11 ภาคผนวก 12-14 ประวัติผู้ศกึ ษา 15-20

สารบญั ตาราง (ช) ตารางท่ี 2.1 ตารางการดำเนินโครงการ หน้า 10

สารบัญภาพ (ซ) ภาพท่ี 1-8 หนา้ ภาพท่ี 9-14 12-14 15-20

1 บทท่ี 1 บทนำ 1.1 ความเปน็ มา สมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช พบบันทึกว่า มีระบบการจัดหายาที่ชัดเจน สำหรับประชาชนจะมี แหล่งจำหน่ายยาและสมุนไพรหลายแห่งทั้งในและนอกกำแพงเมือง มีตำรับยาซึ่งถือได้ว่าเป็นประวัติศาสตร์ การแพทยแ์ ผนไทย ชือ่ ว่า “ตำราพระโอสถพระนารายณ”์ เปน็ การรวบรวมตำรับยาทหี่ มอในราชสำนักปรุงถวาย พระมหากษัตริยใ์ นยุคนัน้ มีการอธิบายสมุฏฐานแห่งโรคตามหลกั ทฤษฎีธาตุทั้งส่ี โดยกล่าวอา้ งอิงถึงคมั ภรี ์มหา โชตริ ัตน์และคมั ภีร์โรคนิทานซง่ึ ถอื กนั ว่าเปน็ คัมภรี ์แพทย์ท่ีสืบทอดมาแตโ่ บราณกาล \"การประคบสมุนไพร\" ในสมัยโบราณคือการใช้สมุนไพรสดหลายอย่างมาห่อรวมกัน ส่วนใหญ่เป็น สมนุ ไพรท่ีมีนำ้ มนั หอมระเหย อาทเิ ชน่ ไพล โดยวิธกี ารใช้คอื นำมานง่ึ หรอื องั ใหร้ อ้ น จากนนั้ ประคบบริเวณที่ปวด หรอื เคลด็ ขัดยอก ซงึ่ นำ้ มนั หอมระเหยเม่ือถูกความร้อนจะระเหยออกมา ความร้อนจากลูกประคบจะชว่ ยกระตุ้น การไหลเวยี นโลหิตใหด้ ขี ้นึ ทง้ั ยังมสี ารสำคญั จากสมุนไพรท่สี ามารถแทรกซมึ เขา้ ทางผวิ หนงั ชว่ ยรักษาอาการเส้น ตงึ เคลด็ ขดั ยอก ฟกช้ำบวมและลดปวดได้ 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ 1.2.1 เพอื่ บรรเทาอาการปวดเมอ่ื ย และลดบวม 1.2.2 เพ่อื ตอ้ งการศกึ ษาและสืบทอดภูมปิ ญั ญาไทย 1.2.3 เพอ่ื ใหผ้ ู้ท่ีสนใจ มีความรเู้ รื่องสมุนไพรและประยกุ ต์ใช้ 1.2.4 เพ่ือต้องการใหล้ กู ประคบสมุนไพรเป็นทร่ี ้จู กั 1.3 ขอบเขต 1.3.1 สถานที่ วิทยาลัยเทคนิคลพบรุ ี 323 ถ.นารายณ์มหาราช ต.ทะเลชุบศร อ.เมอื งลพบรุ ี จ.ลพบรุ ี 15000 1.3.2 ระยะเวลา ตงั้ แต่วันท่ี 5 มกราคม – 1 กมุ ภาพนั ธ์ 2564 1.3.3 ตวั แปรหรอื ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.3.3.1 ตัวแปรต้น คอื ลูกประคบสมนุ ไพร 1.3.3.2 ตัวแปรตาม คือ ประสทิ ธภิ าพของลกู ประคบสมุนไพรท่มี สี ่วนชว่ ยในการบรรเทาอาการ ปวดเมือ่ ยกลา้ มเนอื้ 1.3.3.3 ตัวแปรควบคุม คอื สมุนไพรท่ีใชท้ ำลกู ประคบ และปรมิ าณของสมุนไพรแต่ละชนิด 1.3.4 ประชากร คอื ประชากรในหมบู่ า้ น หมู่ 4 หม่บู ้านสระเสวย ต.พรหมมาสตร์ อ.เมอื ง จ.ลพบรุ ี 15000 1.3.5 กลุ่มตัวอย่าง คือ กลุ่มคนสูงอายุ หมู่ 4 หม่บู ้านสระเสวย ต.พรหมมาสตร์ อ.เมือง จ.ลพบรุ ี 15000

2 1.4 ประโยชน์ทไี่ ด้รบั 1.4.1 ไดร้ บั ความร้ทู มี่ ีความแปลกใหม่ 1.4.2 รจู้ กั การนำสง่ิ ท่ีมอี ยใู่ นท้องถ่นิ มาใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ 1.4.3 เกดิ ความคิดรเิ รมิ่ สรา้ งสรรคท์ จี่ ะจดั ทำสนิ ค้าใหมๆ่

3 บทที่ 2 ทฤษฎที เี่ กยี่ วข้อง ในการศึกษาเรอ่ื ง ลกู ประคบโอสถสมนุ ไพรพระนารายณ์ ผ้จู ดั ทำได้รวบรวมแนวคดิ ทฤษฎแี ละ หลกั การต่างๆจากเอกสารทเี่ กย่ี วข้องดังต่อไปนี้ 2.1 ความรู้เก่ียวกับโครงการท่ที ำ •การนวด การนวด หมายถงึ การตรวจ การวนิ ิจฉัยและการบำบดั โรคด้วยการกด คลงึ บบี ทบุ สบั ประคบ หรือวธิ ีการนวดอ่ืน ตามแบบแผนของการประกอบโรคศิลปะ การนวดไม่ใชเ่ พื่อรักษาความเจบ็ ปวดเท่าน้ัน แต่มคี ุณค่า ต่อสุขภาพเป็นกระบวนการดูแลสุขภาพและรักษาโรค โดยอาศัยการสัมผัสอย่างมีหลักการระหว่าง ผู้ให้การรักษา (หมอนวด) และผรู้ ับการรกั ษา (ผปู้ ่วย) การนวด จะสง่ ผลโดยตรงต่อร่างกายและจิตใจ ตงั้ แต่ให้การไหลเวียนของเลือด ลม กล้ามเน้อื ผอ่ นคลาย รักษาอาการฟกซ้ำ เคลด็ ขัดยอก ใหค้ วามร้สู กึ กระปร้ีกระเปร่า จิตใจผ่อนคลายได้อย่างดี การแบ่งประเภทของการนวดแผนไทย • การนวดแบบราชสำนกั เป็นการนวดถวายใหก้ บั กษตั รยิ ์ เจ้านายชัน้ สงู ในราชสำนกั ผูน้ วดตอ้ งเดนิ เขา้ หา ผู้ป่วยท่ีนอนบนพื้น เมื่ออยูห่ า่ งราว 2 ศอก จึงนั่งพับเพียบและคาราวะขออภัยผู้ป่วย จากนั้นจะคลำหาชีพจรขอ้ มูล และหลังเท้า ข้างเดียวกัน เพื่อตรวจดูอาการของโรค ตำแหน่งการวางมือ องศาแขนของผู้นวดที่ทำกับผู้ป่วยและ ท่าทางตอ้ ง กระทำอย่างสภุ าพ เนน้ ทมี่ ือและนว้ิ ดงั นนั้ มือต้องแข็งแรง • การนวดแบบทวั่ ไป ที่รู้จกั กันว่าจับเส้น เพอ่ื ใหเ้ ลือดลมเดนิ ทางสะดวกใช้ส่วนต่างๆ ของร่างกาย ช่วยใน การนวด เช่น ศอก เข่า เป็นต้น ซึ่งตรงกับหมอแผนปัจจุบันคือการนวด เพื่อเพิ่มหรือการส่งเสริมการไหลเวียนของ เลือดและ น้ำเหลอื ง ประโยชนข์ องการนวด • ลดการเกรง็ ของกลา้ มเนือ้ กระตุ้นระบบประสาท • เพ่มิ ระบบการไหลเวียนโลหิตและน้ำเหลือง • เพ่มิ ประสิทธภิ าพของระบบทารงเดินหายใจ • ฟนื้ ฟสู ภาพของระบบกล้ามเนอ้ื ระบบไหลเวียนเวียนโลหิตและระบบประสาท ลูกประคบสมุนไพร ลูกประคบสมุนไพร คอื สิง่ ที่เกดิ จากภมู ปิ ัญญาจากบรรพบรุ ษุ ที่ใช้พชื สมนุ ไพรทม่ี ีอยู่ในท้องถิ่นนำมาใช้ใน การรักษา หรอื เพื่อช่วยในการไหลเวยี นของโลหิต ต่อมากไ็ ด้มกี ารปรบั ปรงุ และพฒั นาลูกประคบเรอื่ ยมา เพ่อื ประโยชน์ ในการรกั ษาทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพมากยิ่งขึน้

4 ส่วนผสมของการทำลูกประคบสมนุ ไพร การบรู มชี ่ือวทิ ยาศาสตรว์ ่า Cinnamomum camphora ( L . ) J.S. Presl มีสรรพคณุ เป็นยาระงบั เชื้อออ่ นๆ เปน็ ยากระตุ้นหัวใจ ช่วยขับลม ขับเสมหะ ขบั ปสั สาวะ แก้ปวดเม่อื ยตามข้อ เกลือ สามารถใช้ฆ่าเชอื้ แกอ้ าการอกั เสบได้ อีกท้งั เกลือยังมีความสามารถในการดูดความรอ้ นจะชว่ ย ทำให้สรรพคณุ ทางยาของสมนุ ไพรซมึ ไดเ้ รว็ ขน้ึ ผวิ มะกรดู มีชอื่ วิทยาศาสตรว์ า่ Citrus hystrix DC. มสี รรพคุณในการรักษาอาการหน้ามดื เปน็ ลม แก้อาการวิงเวียน และบำรงุ หัวใจ ขบั ลมในลำไสไ้ ด้อีกด้วย ขมิ้นชัน มชี ือ่ วทิ ยาศาสตรว์ า่ Curcuma longa Linn. Zingiberaceae มีสรรพคณุ ในการลดการ อกั เสบจากแมลงสตั ว์กดั ต่อย ลดอาการแพไ้ ด้ ไพล มีชื่อวิทยาศาสตรว์ า่ Zingiber cassumunar Roxb.มีสรรพคณุ ในการลดอาการปวด บวมแดง และแกฟ้ กช้ำได้ดว้ ย ใบมะขาม มชี ื่อวิทยาศาสตร์ Tamarindus indica Linn. มสี รรพคณุ ในการบรุงผวิ พรรณ ใบสม้ ปอ่ ย ช่ือวทิ ยาศาสตร์: Acacia concinna (Willd.) DC. แกโ้ รคผวิ หนงั อปุ กรณส์ ำหรบั การทำลูกประคบ • ผา้ ขาวบาง ควรจะเปน็ ผ้าฝ้ายหรอื ผา้ ดบิ เพอ่ื ไมใ่ ห้ตวั สมุนไพรหลุดออกมาจากตวั ผ้าได้ • สมุนไพรข้างตน้ ท่ีกลา่ วมาแลว้ ก่อนนำมาทำลูกประคบต้องทำความสะอาดแล้วหัน่ หรอื สบั เป็นชิ้นเลก็ ๆ • หม้อสำหรบั นงึ่ ลกู ประคบ • เชอื กทไี่ ว้ใชส้ ำหรบั มดั ลูกประคบ วธิ กี ารทำลกู ประคบ • นำไพล ขม้นิ ชนั ตะไคร้ มะกรดู มาทำความสะอาด แล้วมาห่ันหรอื สับใหเ้ ปน็ ชิ้นเล็กๆ ตามที่ตอ้ งการ • นำใบมะขาม ใบส้มปอ่ ย มาผสมกับส่วนผสมในข้อ 1 แล้วใสเ่ กลอื และการบรู ผสมใหเ้ ขา้ กนั • แบ่งสว่ นผสมที่ได้ออกเปน็ ส่วนๆ ใสใ่ นผ้าที่ได้เตรียมไว้ แลว้ ใชเ้ ชือกท่เี ตรยี มไว้มัดใหแ้ น่น สรรพคุณ • ช่วยในการไหลเวียนของเสน้ เลือด ลดการอดุ ตนั ของเส้นเลือด • ลดอาการปวด บวม เกร็งของกลา้ มเนื้อ • ชว่ ยใหร้ สู้ ึกสดชนื่ ผ่อนคลายจากกลิ่นของน้ำมันหอมระเหย • ชว่ ยใหเ้ กิดอาการต่นื ตวั ของร่างกาย เน่อื งจากกล่นิ ของสมนุ ไพรที่นำมารวมกนั

5 2.2 ทฤษฎที ี่เกยี่ วข้อง • สมนุ ไพร สมนุ ไพร หมายถงึ \"ผลิตผลธรรมชาติ ได้จาก พืช สัตว์ และ แรธ่ าตุ ท่ใี ช้เปน็ ยา หรอื ผสมกบั สาร อื่นตาม ตารับยา เพื่อบำบัดโรค บำรุง ร่างกาย หรือใช้เป็นยาพิษ\" หากนำเอาสมุนไพรตั้งแต่สองชนิดขึ้นไปมาผสม รวมกันซ่งึ จะเรียกวา่ ยาในตำรบั ยา นอกจากพืชสมนุ ไพรแล้วยังอาจประกอบด้วยสตั ว์และแร่ธาตุอกี ด้วย เราเรียกพืช สัตว์ หรือแร่ธาตุที่เป็นส่วนประกอบของยานี้ว่า เภสัชวัตถุ พืชสมุนไพรบางชนิด เช่น เร่ว กระวาน กานพลูและ จันทนเ์ ทศ เป็นต้น คำว่า สมุนไพร ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 หมายถึง พืชที่ใช้ทำเป็นเครื่องยา สมนุ ไพรกำเนิดมาจากธรรมชาตแิ ละมคี วามหมายตอ่ ชีวิตมนุษย์โดยเฉพาะ ในทางสขุ ภาพอนั หมายถงึ ทัง้ การ ส่งเสริม สุขภาพและการรักษาโรค ความหมายของยาสมุนไพรในพระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510 ได้ระบุว่า ยา สมุนไพร หมายความว่า ยาทไี่ ดจ้ ากพฤกษาชาตสิ ัตวห์ รือแร่ธาตุ ซึ่งมไิ ดผ้ สมปรุงหรอื แปรสภาพ เชน่ พชื กย็ ัง เป็นส่วนของราก ลำต้น ใบ ดอก ผลฯลฯ ซึ่งมิได้ผ่านขั้นตอนการแปรรูปใด ๆ แต่ในทางการค้า สมุนไพรมักจะ ถูกดัดแปลงในรปู แบบ ต่าง ๆ เช่น ถูกหั่นให้เป็นชิ้นเล็กลง บดเป็นผงละเอียด หรืออัดเป็นแท่งแต่ในความรู้สึก ของคนทั่วไปเมื่อกล่าวถึง สมุนไพร มักนึกถึงเฉพาะต้นไมท้ ่นี ำมาใชเ้ ปน็ ยาเทา่ นั้น 2.3 งานวิจยั ท่เี ก่ียวขอ้ ง ผศ.ดร.สุนีย์ จนั ทร์สกาว (19 พ.ค. 2553) หวั หน้าศูนย์วจิ ยั สมนุ ไพรภาคเหนือ คณะเภสชั ศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหม่ ให้ขอ้ มลู เพือ่ เป็นแนวทางสำหรับผ้ทู สี่ นใจลกู ประคบหรอื ยาจู้วา่ “ลูกประคบสมุนไพร” หมายถึง ผลิตภัณฑ์ท่ไี ด้จากการนำสมนุ ไพรหลายชนิดมาผ่านกระบวน การทำความสะอาด แล้วนำมาห่นั หรอื สับให้เปน็ ชิน้ ตาม ขนาดท่ตี ้องการ ตำพอแหลก ใช้สดหรอื ทำใหแ้ หง้ นำามาหอ่ หรือบรรจุรวมกันในผา้ ใหไ้ ดร้ ูปทรงต่าง ๆ เชน่ ทรงกลม หมอนสำหรับใช้นาบ หรือกดประคบส่วนตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย เพื่อทำให้กล้ามเน้ือผ่อนคลายสำหรบั ประคบล้านนา มี การใช้ในการแพทย์พื้นบ้านล้านนามาตั้งแต่อดีต โดยลูกประคบแบบล้านนาหรือ ยาจู้ (ยาประคบ) มีหลักฐานการ บันทึกในรูปของพับสา (ปั๊บสา) และการจาร หรือจารึก ในคัมภีร์ใบลาน เป็นการนำสมุนไพรมาผสมเข้าด้วยกันแล้ว นำมาประคบบริเวณทีม่ ีอาการ อาศยั ความรอ้ นในการชว่ ยการออกฤทธ์ิของยาและใชค้ วามร้อนทีส่ ะสมอยู่ในสมุนไพร ชว่ ยกระจายพิษลดการอักเสบ วิธปี รุงจะนำสมุนไพรมาน่ึงใหร้ อ้ น สว่ นใหญ่จะเอาผ้าห่อสมุนไพรแลว้ เอาวางทีป่ ากหมอ้ นง่ึ เพอ่ื ใหห้ อ่ ผ้านน้ั ร้อนจากไอน้ำรอ้ นที่ได้จากการน่งึ ข้าว หรือ นำมาหมกในกะลา หรอื ในผลของสมนุ ไพร แล้วประคบ ขณะร้อน หรือ จุ่มในเหล้าร้อน หรือเตรียมสมุนไพรเช่นทำเป็นยาตำไว้ ทำห่อผ้าแลว้ ชุบน้ำยาตั้งไว้บนปากหม้อน่งึ ประคบตรงบรเิ วณทเ่ี ป็น เชน่ เจบ็ เอว เป็นตุ่มพอง หรืออาจจู้แตห่ วั ลงมาในกรณีบางโรคเช่นโรคลมเป็นต้น มีการจู้คอ กรณที ไ่ี อ ในยาบางตำรบั ท่ีเปน็ ยาผงจะมปี นู ผสมอยู่ ปัจจุบันการใชล้ ูกประคบนิยมใชเ้ พื่อแก้ปวดเม่ือยกลา้ มเนื้อมากกว่าใชใ้ นการรักษาโรคอืน่ ๆ ทั้ง ๆ ที่ยาจู้ หรอื ยาประคบลา้ นนามสี ตู รหลากหลายสำหรับการรกั ษาเฉพาะโรค เนือ่ งจากองค์ความรู้ส่วนหน่ึงเริ่มสูญหายไปตาม กาลเวลา เมอ่ื ถามว่า มีสตู รอะไรบา้ ง และจะเลอื กใชส้ ตู รใดดี ผศ.ดร.สนุ ยี ์ เผยว่าสตู รลกู ประคบทีใ่ ชก้ นั ในปัจจุบันมี

6 หลากหลาย หากเป็นลกู ประคบทม่ี ีจำหนา่ ยในท้องตลาดมกั จะมีสมุนไพรอยา่ งน้อย 3 ชนดิ ไดแ้ ก่ ไพล ขม้ินชัน และ ตะไคร้ ตามข้อกำหนดในมาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน ส่วนสมุนไพรอื่นๆ นั้นมักแตกต่างกันในแต่ละท้องถิ่น ในการ เลือกใช้หากต้องการใช้เพือ่ บรรเทาอาการปวดเมอ่ื ยกลา้ มเนือ้ ควรจะต้องม“ี ไพลหรือปูเลย”เปน็ สมุนไพรหลักเนอื่ งจาก เปน็ สมุนไพรทใ่ี หส้ รรพคุณแก้ปวดเมือ่ ย บรรเทาอาการอกั เสบของกล้ามเน้อื และควรเปน็ ไพลที่มคี ุณภาพดีดว้ ย ลูกประคบมิได้มีเฉพาะลกู ประคบทห่ี ่อด้วยผา้ เปน็ ลกั ษณะทรงกลมเท่าน้ัน ยังมชี นดิ ทีบ่ รรจใุ นผ้าที่เย็บคล้าย หมอนใช้นาบบริเวณทม่ี อี าการ หรอื เป็นลกั ษณะสายเข็มขัดเพือ่ คาดเอว รวมทั้งยังมกี ารนำเทคโนโลยี เช่น เทคโนโลยี เภสัชกรรม และนาโนเทคโนโลยีมาพัฒนาเพื่อให้มีรูปแบบที่น่าใช้และสะดวกในการใช้มากขึ้น สำหรับลูกประคบ สมุนไพรลา้ นนาเปน็ ผลติ ภณั ฑ์ท่หี มอเมอื งในกลุ่มจงั หวดั ลา้ นนาใช้ประกอบการรกั ษา บำบดั อาการปวดเม่อื ย เคล็ดขัด ยอก และได้รับการส่งเสริมให้มีการพัฒนาโดยคำนึงถึงการอนุรักษ์และพื้นฟูวัฒนธรรมภูมิปัญญาดั้งเดิม สร้างความ โดดเดน่ ดา้ นอตั ลักษณ์ล้านนาเช่ือมโยงสู่สากล ทำให้มีการรวมกลุ่มของหมอพื้นบ้านและผู้ผลติ ลูกประคบของจังหวัด เชียงใหม่ โดยสำนักงานสาธารณสขุ จังหวัดเชียงใหม่เปน็ ผูป้ ระสานงาน มีการประชุมร่วมกันข้ึนเมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2547 โดยได้จัดทำร่างมาตรฐานลูกประคบสมุนไพรล้านนาบางส่วน ซึ่งมีข้อสรุปว่าลูกประคบสมุนไพรล้านนาต้อง ประกอบด้วยสมุนไพรหลักดังนี้(1) ไพล40% (2) ตะไคร้ 10% (3) ขมิ้นชัน 10% (4) ใบมะขาม 10% (5 ) ใบหนาด 5% (6) ใบเปล้าใหญ่10% (7) ผิวมะกรดู 5 % และสามารถใช้สมนุ ไพรเสรมิ อนื่ ๆ รวมกัน น้อยกวา่ หรือเทา่ กับ 10% สมุนไพรที่ใช้ ได้แก่หญ้าเอ็นยืด ใบผีเสื้อน้อย การบูร เกลือสะตุ พิมเสน ว่านน้ำ ใบส้มป่อย ใบมะกรูด ใบเตย ใบพลับพลงึ ใบยูคาลิปตสั ในกลมุ่ สมนุ ไพรเสรมิ จะเลอื กใชต้ วั ใดตัวหนึง่ หรือไมใ่ ช้ก็ได้และท่ีประชมุ เห็นว่าการผลิตลูก ประคบสมุนไพรล้านนาควรผลิตให้ได้มาตรฐานและมีคุณภาพ จึงเป็นที่มาของงานวิจัยของคณะเภสัชศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเชียงใหมร่ ่วมกับศนู ย์วทิ ยาศาสตรก์ ารแพทย์ เขต 10 ไดท้ ำการศึกษาในเร่ืองน้ี ซงึ่ ผลการศึกษาได้นำเสนอ ไปเรียบรอ้ ยแล้ว มาตรฐานลกู ประคบเป็นอย่างไร การศึกษาวิจัยเกี่ยวกับมาตรฐานลูกประคบเป็นแนวทางในการควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์ให้มีความ สม่ำเสมอ ซึ่งส่งผลถึงประสิทธิภาพ ความพึงพอใจในการใช้ และเป็นยืนยันถึงความปลอดภัยจากการตรวจสอบ ปริมาณสิ่งปนเปอ้ื นต่าง ๆ ตัวอย่างเชน่ หากตอ้ งการใช้ลูกประคบเพอ่ื บรรเทาอาการปวดเมอ่ื ยบรรเทาอาการอักเสบ ของกลา้ มเนือ้ แตม่ ปี ริมาณไพลทม่ี ากน้อยต่างกันยอ่ มส่งผลถึงประสิทธิภาพในการใชแ้ ละท่ชี ัดเจนซึ่งผู้ใช้สัมผัสได้คือ กลิ่นของลูกประคบที่แตกต่างกัน หากไม่มีการควบคุมคณุ ภาพแล้วผู้ใช้จะขาดความเช่ือมั่น และนอกจากนั้นหากลูก ประคบมีปริมาณการปนเปื้อนของเชื้อจุลินทรีย์ โลหะหนัก หรือยาฆ่าแมลงแล้ว ย่อมส่งผลเสียต่อสุขภาพของผู้ใช้ ดงั นนั้ การกำหนดเกณฑ์มาตรฐานย่อมเปน็ แนวปฏบิ ัตสิ ำหรบั ผูผ้ ลติ ใหผ้ ลิตผลิตภัณฑ์ที่มีคณุ ภาพและความปลอดภัย ทั้งนี้ กลุ่มผู้ใช้สว่ นหนึ่งเชื่อมั่นในการใช้ลูกประคบวา่ สามารถช่วยบรรเทาอาการปวดเมื่อย บรรเทาอาการ อกั เสบของกลา้ มเน้อื ได้ แต่บางส่วนของผูต้ ้องการใชย้ ังขาดความเช่ือมั่นในคณุ ภาพของผลิตภัณฑ์สมนุ ไพรเนอื่ งจากยัง กงั วลในเรือ่ งความปลอดภัย เชน่ การปนเปื้อนของเชื้อจลุ ินทรยี ์ หรือยงั ขาดองคค์ วามรู้ในด้านต่าง ๆ เช่น การเลอื ก

7 ผลติ ภณั ฑ์ลูกประคบควรใชอ้ ยา่ งไร หรือใชแ้ ล้วนำมาใชซ้ ้ำได้หรือไม่ ใชอ้ ย่างเดยี วโดยไมม่ ีการนวดร่วมจะได้ผลหรือไม่ ซ่ึงหากมีการให้ความรแู้ ก่ผ้สู นใจแลว้ ลกู ประคบน่าจะเป็นทางเลือกหนงึ่ ในการดูแลสขุ ภาพสำหรับผ้มู ีอาการปวดเม่ือย ดังน้ันเมอื่ มกี ารก าหนดมาตรฐานก็จะสรา้ งความเชื่อมัน่ มากขึ้น ผศ.ดร.สุนีย์ เผยต่อไปว่า หากจะใช้ลูกประคบให้ได้ผล และปลอดภยั ในกรณีของการใชเ้ พื่อแก้ปวดเม่อื ย กลา้ มเน้อื ควรเลือกลูกประคบทีม่ ไี พลเปน็ สมุนไพรหลักโดยปกตมิ กั มีประมาณ 30 – 40 % โดยใช้ลกู ประคบสด หรือ ลกู ประคบแหง้ กไ็ ด้ นำลูกประคบทไ่ี ปนึ่งประมาณ 15-20 นาที เมือ่ ลูกประคบรอ้ นไดท้ ่ีแลว้ กอ่ นนำมาใช้ประคบควรมี การทดสอบความร้อนโดยแตะทีท่ ้องแขนหรือหลงั มอื กอ่ น

8 บทที่ 3 วธิ ศี ึกษาค้นควา้ การดำเนินการโครงการส่งเสริมอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น ณ สถานท่ี วิทยาลยั เทคนคิ ลพบุรี 323 ถ.นารายณ์มหาราช ต.ทะเลชุบศร อ.เมืองลพบรุ ี จ.ลพบุรี 15000 3.1 รูปแบบของโครงการ โครงการส่งเสรมิ อนุรกั ษ์วัฒนธรรม ประเพณี และภูมปิ ัญญาท้องถ่ินเป็นโครงการประเภทสิง่ ประดิษฐ์ด้าน การแพทยแ์ ละอาชวี อนามยั 3.2 ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่างของโครงการ 3.2.1 ประชากร : คือ ประชากรในหมบู่ ้าน หมู่ 4 หมู่บา้ นสระเสวย ต.พรหมมาสตร์ อ.เมือง จ.ลพบรุ ี 15000 3.2.2 กลมุ่ ตวั อยา่ ง : คอื กลมุ่ คนสูงอายุ หมู่ 4 หม่บู า้ นสระเสวย ต.พรหมมาสตร์ อ.เมือง จ.ลพบรุ ี 15000 3.3 ข้ันตอนการดำเนนิ งาน 3.3.1 ข้ันเตรียมการ 1. ทำการเลือกโครงการ 2. เขยี นเคา้ โครงรา่ งโครงการเพ่อื เสนอข้ออนมุ ตั โิ ครงการ โดยมหี วั ข้อดงั ตอ่ ไปนี้ - เลือกหัวข้อโครงการ - ปรึกษาโครงการและเสนอชือ่ โครงการ - หากล่มุ เปา้ หมาย - ดำเนนิ โครงการ - สรุปโครงการ - นำเสนอโครงการ 3.3.2 กำหนดปฏทิ ินการปฏบิ ตั ิงาน 3.4 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 3.4.1 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล เก็บรวบรวมขอ้ มลู เก่ยี วกบั “เครอ่ื งนวดลกู ประคบสมุนไพร” - ผู้จัดทำแบบประเมินในการทดสอบกลมุ่ เปา้ หมาย เพือ่ เกบ็ ขอ้ มลู - นำผลแบบประเมนิ จากกลุม่ เปา้ หมายมาคดิ เป็นรอ้ ยละจากมากไปน้อย - นำแบบประเมินแสดงความคิดเห็นไปให้กลุ่มเป้าหมายกรอกนำผลมาวิเคราะห์เพื่อวัด เจตนาของกลุ่มเปา้ หมาย ท่ีมตี อ่ สนิ คา้ และบรกิ าร 3.4.2 เครอ่ื งมอื ที่ใชใ้ นการรวบรวมข้อมูล

9 บทท่ี 4 ผลการดำเนินงานโครงการ 4.1 ผลท่ไี ดจ้ ากการศกึ ษาค้นควา้ 4.1.1 สามารถลดอาการปวดเมื่อย และอาการบวมลดนอ้ ยลง 4.1.2 ไดเ้ รียนรูแ้ ละศึกษาวธิ กี ารทำ และสืบทอดภมู ปิ ัญญาไทย 4.1.3 ทำใหผ้ ้ทู ่สี นใจ มคี วามร้ใู นเรื่องน้มี ากขนึ้ และสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ชต้ ่อยอดในอนาคตได้ 4.1.4 ทำให้ลกู ประคบสมนุ ไพรเป็นท่ีรจู้ กั อย่างแพรห่ ลายในปจั จบุ ัน

10 บทท่ี 5 สรุป อภปิ รายผลและขอ้ เสนอแนะ การดำเนนิ การโครงการสง่ เสรมิ อนุรกั ษ์วฒั นธรรม ประเพณี และภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่น ณ โรงเรยี นบ้านสนั กำแพง ตำบลสันกำแพง อำเภอสนั กำแพง จงั หวัดเชียงใหม่ ผ้ดู ำเนินโครงการมสี รปุ ผลการดำเนนิ งาน โครงการและขอ้ เสนอแนะ ดังต่อไปนี้ 5.1 สรปุ ผลการดำเนินโครงการ 5.2 ขอ้ เสนอแนะ 5.1 สรุปผลการดำเนนิ งานโครงการ จากการทำเครอื่ งนวดลกู ประคบสมุนไพร คณะผู้จดั ทำได้ทำเคร่ืองนวดลูกประคบสมุนไพรที่ ตอบสนองความตอ้ งการของผทู้ ่ตี ้องการนวดลกู ประคบด้วยตนเอง ทสี่ ามารถทำใหไ้ ด้ โดยที่ไมต่ ้อเดินทางออกจากบ้าน เพอ่ื เพม่ิ ในการพกั ผอ่ นโดยไมต่ ้องออกจากบ้านเพื่อประสบพบเจอกบั ปัญตา่ งๆ เช่น รถติดการแยง่ กนั เพอื่ รบั การ บรกิ าร คณะผจู้ ัดทำยงั นำความรู้เกีย่ วกบั การทำเครอ่ื งนวดลูกประคบสมนุ ไพรและวิธกี ารนวดไปเผยแพรใ่ หก้ ับ บคุ คลทส่ี นใจในเคร่อื งนวดลูกประคบสมนุ ไพร เพ่ือให้ผทู้ สี่ นใจมคี วามรแู้ ละความสามารถในการใชเ้ คร่ืองนวดลกู ประคบสมนุ ไพร ตารางดำเนนิ งาน เดอื นมกราคม พ.ศ.2564 สัปดาหท์ ่ี 1.วางแผนการดำเนินงาน 2. เขยี นโครงการและนำเสนอโครงการ 1234 3.จัดหาข้อมลู และดำเนินโครงการ 4.สรปุ ผลการดำเนินงานและจดั ทำรปู เลม่ รายงาน 5.2 ข้อเสนอแนะ 5.2.1. ได้ศึกษาปฏบิ ัตกิ ารเคร่อื งนวดลกู ประคบสมุนไพร ทีส่ ามารถสร้างรายไดเ้ สริมในอนาคตได้ 5.2.2. ได้คดิ ค้นการประดษิ ฐ์แปรรปู สนิ คา้ ได้อย่างสรา้ งสรรค์ 5.2.3. ไดท้ ักษะพฒั นาชวี ิตได้อยา่ งดมี ีประสิทธิภาพ

11 บรรณานกุ รม . • ผศ.ดร.สนุ ยี ์ จนั ทร์สกาว “ลูกประคบ”. [ระบบออนไลน]์ แหลง่ ข้อมูล. http://www.manager.co.th/Campus/ViewNews.aspx?NewsID=9530000067 984 (วันท่ี 13 มกราคม 2559).

12 ประกอบด้วยรายละเอยี ดตา่ ง ๆ ดงั นี้ ภาคผนวก ส่วนผสมของการทำลูกประคบสมนุ ไพร 1.อบเชย 2. เกลือ 3. ผิวมะกรูด

13 4. ขมิ้นชนั 5. ไพล 6. ใบมะขาม 7. ใบพลับพลงึ

14 8. ผ้าขาวบาง อปุ กรณส์ ำหรับการทำลกู ประคบ 1. ผา้ ขาวบาง ควรจะเปน็ ผา้ ฝ้ายหรือผา้ ดบิ เพอื่ ไมใ่ หต้ วั สมนุ ไพรหลุดออกมาจากตัวผ้าได้ 2. สมนุ ไพรขา้ งตน้ ทกี่ ล่าวมาแลว้ ก่อนนำมาทำลกู ประคบตอ้ งทำความสะอาดแลว้ หัน่ หรือสับเป็นชิ้นเล็ก ๆ 3. หม้อสำหรับนงึ่ ลูกประคบ 4. เชอื กท่ีไว้ใชส้ ำหรับมดั ลูกประคบ วธิ ีการทำลูกประคบ 1. นำไพล ขม้ินชัน ตะไคร้ มะกรดู มาทำความสะอาด แล้วมาหน่ั หรือสับให้เปน็ ช้ินเลก็ ๆ ตามทตี่ อ้ งการ 2. นำใบมะขาม ใบพลับพลงึ มาผสมกบั สว่ นผสมในข้อ 1 แล้วใสเ่ กลอื และอบเชย ผสมใหเ้ ขา้ กนั 3. แบง่ ส่วนผสมทไี่ ด้ออกเปน็ ส่วนๆ ใสใ่ นผา้ ทไ่ี ดเ้ ตรยี มไว้ แล้วใช้เชอื กท่เี ตรยี มไวม้ ัดให้แน่น

15 ประวัติผ้จู ัดทำ ชื่อเรื่อง (ลกู ประคบ โอสถสมนุ ไพรพระนารายณ์) 1. นางสาว จรี พรรณ ฉาบเพชร รหสั นกั ศึกษา 63302010082 ประวตั สิ ว่ นตัว เกิดวนั ท่ี 01/11/2544 อายุ 19 ปี ท่ีอยู่ 30 ม.5 ต.พุกร่าง อ.พระพทุ ธบาท จ.สระบรุ ี 18120 ประวตั ิการศกึ ษา ปี พ.ศ. 2557 จบระดับช้ันประถมศึกษาโรงเรยี นเทศบาลพระพุทธบาท ปี พ.ศ. 2560 จบระดับชนั้ มัธยมศึกษาโรงเรียนเทศบาล4ระบบสาธติ เทศบาล ปี พ.ศ. 2563 จบระดบั ชัน้ ประกาศนียบัตรวชิ าชพี (ปวช.) วทิ ยาลัยเทคนคิ ลพบรุ ี ปี พ.ศ. 2563-ปัจจุบนั กำลงั ศึกษาในระดบั ช้ันปวส.วทิ ยาลยั เทคนิคลพบุรี

16 2.นาย ฐติ ิโชติ วนดิ า รหสั นกั ศกึ ษา 63302010088 ประวตั ิสว่ นตวั เกิดวันที่ 16/01/2545 อายุ 19 ปี ทอ่ี ยู่ 73/2 ม.2 ต.โคกตมู อ.เมอื ง จ.ลพบรุ ี 15210 ประวัตกิ ารศึกษา ปี พ.ศ. 2557 จบระดับชั้นประถมศึกษาโรงเรยี นงามมีศรีพฒั นา ปี พ.ศ. 2560 จบระดับช้ันมัธยมศึกษาโรงเรียนโคกตมู วิทยา ปี พ.ศ. 2563 จบระดบั ชั้นประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช.) วิทยาลยั เทคนิคลพบรุ ี ปี พ.ศ. 2563-ปจั จุบัน กำลังศึกษาในระดับชั้นปวส.วิทยาลยั เทคนคิ ลพบรุ ี

17 3.นาย ณฐั พงศ์ บุญสง่ รหสั นกั ศกึ ษา 63302010090 ประวตั สิ ่วนตวั เกิดวันที่ 22/08/2544 อายุ 19 ปี ที่อยู่ 88/3 ม.11 ต.หนองบัว จ.ลพบรุ ี 15140 ประวัตกิ ารศึกษา ปี พ.ศ. 2557 จบระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาโรงเรียนงามมศี รพี ัฒนา ปี พ.ศ. 2560 จบระดับช้นั มัธยมศกึ ษาโรงเรยี นวินิตศึกษาฯ ปี พ.ศ. 2563 จบระดบั ชั้นประกาศนยี บตั รวชิ าชพี (ปวช.) วิทยาลยั เทคนิคลพบรุ ี ปี พ.ศ. 2563-ปัจจุบนั กำลงั ศึกษาในระดับชัน้ ปวส.วทิ ยาลยั เทคนคิ ลพบุรี

18 4.นางสาว ณฐั วลั ย์ แสนงามวงศศ์ ิริ รหสั นกั ศึกษา 63302010091 ประวตั สิ ่วนตวั เกิดวันท่ี 18/02/2544 อายุ 19 ปี ที่อยู่ 157/91 ม.3 ต.ท่าศาลา อ.เมอื ง จ.ลพบรุ ี 15000 ประวตั กิ ารศึกษา ปี พ.ศ. 2557 จบระดบั ชัน้ ประถมศกึ ษาโรงเรียนอนบุ าลลพบุรี ปี พ.ศ. 2560 จบระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาโรงเรียนพระนารายณ์ ปี พ.ศ. 2563 จบระดับชัน้ ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) วทิ ยาลยั เทคนิคลพบรุ ี ปี พ.ศ. 2563-ปัจจุบนั กำลงั ศกึ ษาในระดับชน้ั ปวส.วทิ ยาลัยเทคนิคลพบุรี

19 5.นางสาว วนิดา สัญชานันก์ รหสั นกั ศึกษา 63302010108 ประวัตสิ ว่ นตัว เกดิ วันที่ 02/05/2545 อายุ 18 ปี ทอ่ี ยู่ 60/5 ม.1 ต.ถนนใหญ่ อ.เมือง จ.ลพบรุ ี 15000 ประวัติการศึกษา ปี พ.ศ. 2557 จบระดับช้ันประถมศึกษา โรงเรยี นเมอื งใหม่ฯ ปี พ.ศ. 2560 จบระดบั ชน้ั มัธยมศึกษา โรงเรยี นเมืองใหมฯ่ ปี พ.ศ. 2563 จบระดบั ชนั้ ประกาศนยี บัตรวชิ าชพี (ปวช.) วทิ ยาลยั เทคนิคลพบรุ ี ปี พ.ศ. 2563-ปจั จุบัน กำลงั ศึกษาในระดับช้นั ปวส.วทิ ยาลยั เทคนิคลพบุรี

20 6.นางสาว สหฤทัย อนิ ทรเ์ จริญ รหสั นักศกึ ษา 63302010113 ประวัตสิ ่วนตวั เกดิ วันท่ี 27/11/2543 อายุ 20 ปี ทอี่ ยู่ 062 ม.4 ต.พรหมมาสตร์ อ.เมอื ง จ.ลพบรุ ี 15000 ประวตั ิการศกึ ษา ปี พ.ศ. 2557 จบระดับช้นั ประถมศึกษา โรงเรยี นเทศบาล1ฯ ปี พ.ศ. 2560 จบระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษา โรงเรียนวนิ ิตศึกษาฯ ปี พ.ศ. 2563 จบระดบั ชน้ั ประกาศนยี บตั รวชิ าชีพ (ปวช.) วิทยาลยั เทคนิคลพบรุ ี ปี พ.ศ. 2563-ปัจจุบนั กำลังศกึ ษาในระดบั ชัน้ ปวส.วิทยาลัยเทคนคิ ลพบรุ ี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook