Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การติดตั้งไฟฟ้าในอาคาร 2104-2005

การติดตั้งไฟฟ้าในอาคาร 2104-2005

Published by dreamzaq45, 2022-01-24 07:19:19

Description: การติดตั้งไฟฟ้า

Search

Read the Text Version

วิชา การติดตั้งไฟฟ้าในอาคาร รหัส 2104-2005 ชื่ อ-นามสกุล นาย จิรายุ ส ตรีพัฒนกุล รหัส 63040136 ชื่ อ-นามสกุล นายจีรวัฒน์ จิรวัฒนธรรม รหัส 63040137 ชื่ อ-นามสกุล นาย ณรงค์ฤทธิ์ เจียวใช่เฮ็ง รหัส 63040318

หน่วยที่ 1 การป้องกนั อบุ ตั ิภยั ในการปฏิบัติงานทางไฟฟ้าและระบบการจา่ ยกำลงั ไฟฟ้า ทำงาน และใชง้ านได้อยา่ งปลอดภัยการเกิดอันตรายจากไฟฟ้า จะแบ่งตามลักษณะของอันตรายได้ 2 ประเภทคือ อนั ตรายที่เกดิ กบั บุคคล และอนั ตรายที่เกดิ กับทรัพยส์ ิน รวมถึงอาจมผี ลกระทบที่เกิดตอ่ เน่ืองจาก อุบตั เิ หตุจากไฟฟา้ ท้งั บุคคล ทรพั ยส์ ินและชุมชนหรือสาธารณะ ข้อแรก อนั ตรายจากไฟฟา้ ที่เกิดกบั บคุ คล แบ่งออกได้ดงั นี้ 1.1 อนั ตรายจาก ไฟฟ้าดดู (Electric Shock) คือการมีกระแสไฟฟา้ ไหลผา่ นส่วนตา่ งๆของ ร่างกาย โดยทไ่ี ฟฟา้ จะดดู เราไดก้ ต็ ่อเม่ือร่างกายสมั ผสั สว่ นที่มไี ฟฟ้า 2 จุด และ 2 จดุ น้นั มีแรงดนั ไฟฟา้ ต่างกัน ทำให้ร่างกายเป็นส่วนหน่งึ ของวงจรไฟฟ้า โดยความรนุ แรงของอันตรายจากไฟฟ้าจะขน้ึ อย่กู บั - แรงดันไฟฟา้ ระหว่างจุดสัมผัส 2 จดุ - ขนาดของกระแสไฟฟา้ ท่ไี หลผ่านรา่ งกาย - ระยะเวลาทส่ี มั ผสั กบั ไฟฟ้า - เสน้ ทางทก่ี ระแสไฟฟ้าไหลผา่ นร่างกาย - ความตา้ นทานของร่างกาย ณ ขณะสัมผสั ไฟฟ้า การสัมผัสสว่ นทมี่ ีกระแสไฟฟา้ แบง่ การสัมผสั ออกเป็น 2 แบบ คอื 1) การสมั ผสั โดยตรง ( Direct Contact ) ความหมายคือรา่ งกายส่วนใดส่วนหนง่ึ ไปสัมผัสกับตวั นำไฟฟ้าท่มี ีการจา่ ยกระแสไฟฟ้าแล้ว หรือไปสมั ผสั กับบริภัณฑ์ไฟฟา้ ที่ไปสัมผสั กบั ตัวนำไฟฟ้าท่ี มีการจา่ ยกระแสไฟฟ้าแล้วทำใหก้ ระแสไฟฟา้ ไหลผา่ นร่างกายไปครบวงจรท่ีแหลง่ จา่ ยไฟฟา้ 2) สัมผสั โดยออ้ ม ( Indirect Contact ) ความหมายคือรา่ งกายสว่ นใสสว่ นหนงึ่ ไป สัมผัสกบั บริภัณฑ์ไฟฟา้ ทม่ี ีกระแสไฟฟ้าร่วั ไหล ทำใหก้ ระแสไฟฟา้ ไหลผ่านรา่ งกายครบวงจรลงดนิ

1.2 อันตรายจาก ประกายไฟจากการอาร์ก (Arc Blast) การอาร์กเป็นการปลอ่ ยประจุไฟฟ้าออกสู่ อากาศในรูปของแสง เกิดขึ้นเมื่อมีแรงดันไฟฟ้าตกคร่อมช่องว่างระหว่างสายตัวนำมีค่าสูงเกินค่าความคงทน ของไดอเิ ลก็ ทรกิ (dielectric strength) ของอากาศ และมกี ระแสไฟฟา้ ไหลผา่ นอากาศ ทำให้เกดิ ดังนี้ 1) รังสีความร้อน และแสงจา้ ทำใหเ้ กดิ อันตรายกับบคุ คลท่ีปฏิบัติงานหรืออยู่ใกล้ 2) โลหะหลอมละลาย สร้างความเสยี หายใหก้ ับอปุ กรณ์ 3) แผลไหม้จากการอาร์ก (Arc Burns) ความรนุ แรงของแผนไหมม้ ี 3 ระดับดงั นี้ - ความรุนแรงระดบั 1 หนงั กำพรา้ ผวิ นอกถกู ทำลายแผงบวมแดง - ความรุนแรงระดบั 2 หนงั กำพร้าตลอดท้งั ชน้ั และหนงั แทส้ ว่ นตนื้ ๆ ถูกทำลายผวิ หนงั อาจหลดุ ลอด เห็นเนื้อแดง น้ำเหลืองซึม การรักษาไมถ่ ูกวธิ ีอาจทำให้เกิดรอยแผลเป็นข้ึนได้ - ความรุนแรงระดบั 3 หนงั กำพร้าและหนังแท้ทัง้ หมด รวมทง้ั ต่อมเหงื่อ และเซลประสาทถกู ทำลาย ผิวหนงั ทั้งชน้ั หลดุ ลอกเหน็ เนื้อแดงหรือเนื้อไหม้เกรยี ม บาดแผลประเภทน้จี ะไมห่ ายเอง จำเปน็ ตอ้ งรกั ษาให้ถกู วธิ ี อาจเกดิ มกี ารดึงร้งั ของแผลทำให้ขอ้ ยึดติด เม่ือหายแล้วจะเป็นแผลเปน็ บางรายจะพบแผลเป็นที่มีลกั ษณะ นนู ถือเป็นบาดแผลท่รี า้ ยแรง

1.3 อนั ตรายจาก การระเบดิ จากการอารก์ (Arc Blast) เมื่อเกิดจากการอาร์กขน้ึ ในพืน้ ทจ่ี ำกดั เม่ือ อากาศได้รบั ความร้อนจากอารก์ ก็จะขยายตวั อย่างรวดเร็ว อาจมีอุณภูมสิ งู และความดันท่ีมพี ลังงานสูง ทำให้ บคุ คลได้รับอันตรายจากการกระเด็น กระแทกกบั ของแขง็ หรือทำใหต้ กจากที่สงู ขอ้ สอง อนั ตรายจากไฟฟา้ ที่มีผลกับทรพั ย์สนิ แบง่ ออกไดด้ ังน้ี 2.1 ไฟฟ้าลดั วงจร (Short Circuit) คือการที่มจี ุด 2 จดุ ในวงจรไฟฟ้ามาสัมผัสกนั มี 2 กรณี 1) การสัมผสั ระหวา่ งสายไฟฟ้ากบั สายไฟฟา้ ทม่ี ีแรงดนั ไฟฟ้า 2) การสมั ผัสระหวา่ งสายไฟฟา้ ที่มแี รงดนั ไฟฟ้ากับดนิ หรือสายดิน สาเหตุของไฟฟ้าลัดวงจร อาจเกดิ จากฉนวนไฟฟา้ ชำรุดหรอื เส่ือมสภาพ แรงดนั ทีใ่ ชเ้ กินขนาดหรือมี กระแสไฟฟ้าเกินขนาดของสายไฟฟ้า และอาจเกดิ จากการท่ีตัวนำไฟฟ้าที่มีแรงดันต่างกันสัมผสั กันหรอื ตัวนำ ไฟฟ้าสมั ผสั กบั ดินหรือสายดิน เม่อื เกดิ ไฟฟ้าลัดวงจรแลว้ จะมผี ลให้ สายไฟฟ้าหรอื เครอ่ื งใช้อปุ กรณ์ บริภัณฑไ์ ฟฟ้าชำรุดเสยี หาย อาจ ทำให้เกดิ เพลงิ ไหม้ ทรัพย์สนิ เสียหาย และบคุ คลท่ีอย่ใู นทเ่ี กิดเหตไุ ดร้ บั อันตรายบาดเจบ็ หรอื เสยี ชวี ิ แนวทางในการป้องกนั การเกิดไฟฟ้าลดั วงจร - เลอื กอุปกรณ์ท่ีใชต้ ิดตงั้ ที่ได้มาตรฐานและตดิ ตง้ั ตามมาตรฐานทีก่ ำหนด - มีการตรวจสอบสภาพของอุปกรณไ์ ฟฟ้าอยเู่ ป็นประจำ - ดูแลบำรงุ รักษา ทำความสะอาดเคร่ืองใช้ บรภิ ัณฑ์ไฟฟา้ ตามรอบระยะเวลา - เลือกใช้อปุ กรณ์ไฟฟ้าและเครอื่ งใช้ไฟฟ้าที่ได้รบั รองมาตรฐาน มอก. หรือ มาตรฐานสากลอนื่ ๆ - ศึกษาและใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างถูกวิธี ตามคมู่ ือทผ่ี ู้ผลิดหรอื วศิ วกรกำห เมอื่ เกดิ เพลิงไหมท้ ่สี ายไฟฟ้า เคร่อื งใชห้ รือบรภิ ณั ฑ์ไฟฟา้ การดับเพลิงไหม้ท่เี กดิ จากไฟฟ้าลดั วงจรจะตอ้ ง ดำเนินการดังน้ี - ตดั แหล่งจา่ ยไฟฟา้ ออกถ้าทำได้

- แจง้ เหตุเพลงิ ไหม้ยังหน่วยดับเพลงิ ในพ้นื ที่ หรือ โทรศัพท์แจ้งเหตไุ ฟไหม้ ขอความชว่ ยเหลือได ตลอด 24 ชว่ั โมงทห่ี มายเลข 199 - ใช้ถงั ดบั เพลิง ชนิด Class C (Electrical Equipment) ที่เหมำสมกับเพลงิ ไหมท้ ี่เกดิ กบั อุปกรณ์ ไฟฟา้ ทยี่ งั มกี ระแสไฟฟา้ อยู่ - ในกรณีทเี่ ปน็ ไฟฟ้าแรงสงู หมอ้ แปลง เสาไฟฟ้า ให้แจง้ การไฟฟ้าพนื้ ท่ี การไฟฟา้ นครหลวง แจง้ โทร 1130 และการไฟฟา้ ส่วนภูมิภาคโทร 1129 2.2 การเกิดเพลงิ ไหม้ เน่อื งจากความร้อนจากบรภิ ัณฑไ์ ฟฟ้า ยงั เกดิ จากอกี หลายสาเหตดุ งั น้ี - ความรอ้ นจากการใช้งานเกินกำลังของเคร่ืองใช้ไฟฟา้ - ความรอ้ นจากการใชง้ านตามปกติของเคร่อื งใช้ไฟฟา้ ท่กี ่อให้เกดิ ความร้อน - ความรอ้ นจากการต่อสายไฟฟา้ ไมแ่ น่น ไมไ่ ด้มาตรฐาน - ขาดการตรวจสอบและบำรงุ รักษา - การใชอ้ ปุ กรณไ์ ฟฟ้าพรอ้ มกันหลายเคร่ืองในเต้ารับหรอื สายพ่วงเดียวกนั - ผ้ปู ฏบิ ตั ิงานขาดความรคู้ วามสามารถในการซ่อมบำรงุ ษา - การติดตั้งไมป่ ฏบิ ัตติ ามมาตรฐานการตดิ ตั้งทางไฟฟ้า วิธีปอ้ งกนั อนั ตรายจากไฟฟา้ วธิ ปี ้องกันอนั ตรายจากไฟฟา้ สำหรับผู้ประกอบการหรอื โรงงานอุตสาหกรรม การจดั ให้มีข้อบงั คบั ใน การปฏบิ ัติงานเก่ยี วกบั ไฟฟา้ เป็นสิง่ หน่ึงทีส่ ำคัญ โดยนายจ้างเปน็ ผู้ทต่ี อ้ งปฏบิ ตั ติ ามกฎหมายเพ่ือให้ลกู จา้ งมี ความปลอดภยั นายจ้างต้องจัดให้มขี ้อบังคบั เกี่ยวกับการปฏิบตั งิ านด้านความปลอดภัย อาชวี อนามัยและ สภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกบั ไฟฟ้า โดยใหม้ มี าตรฐานไม่ตำ่ กว่าทก่ี ำหนดไว้ในกฎกระทรวง กำหนด มาตรฐานในการบริหารจัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการ ทำงานเกยี่ วกับไฟฟ้า พ.ศ. 2558 สำหรับแนวทางการป้องกนั อันตรายจากไฟฟ้ามดี งั น้ี 1. การป้องกันการสมั ผสั โดยตรง การปอ้ งกนั สามารถทำไดห้ ลายวธิ ีดงั นี้ - ตดิ ต้ังเคร่ืองปลดวงจรไฟฟ้าอัตโนมตั เิ มื่อไฟฟ้ารว่ั เบรกเกอร์จะไม่สามารถตัดวงจรได้เนอ่ื งจากไฟฟ้า ดูดได้ สำหรับไฟบ้าน 220 โวลต์ กระแสจะผ่านรา่ งกายประมาณ 0.22 แอมแปร์ หรอื 200 มลิ ลิแอมแปร์ ดงั น้นั จึงตอ้ งมอี ปุ กรณ์ตัดไฟฟ้ารัว่ อัตโนมตั ิมารว่ มทำงานดว้ ยโดยใชอ้ ุปกรณป์ ระเภท RCD (Residual Current Devices) ทำหน้าทีต่ ดั กระแสไฟฟา้ รัว่ ได้ ซง่ึ จะตัดวงจรเม่ือมีกระแสไฟฟา้ รวั่ เกนิ มาตรฐานที่กำหนด - ใช้การหุม้ ฉนวนสว่ นทีม่ ีไฟ (Insulation of Live Parts) เชน่ สายไฟ หรอื ส่วนท่ีมีโอกาสสมั ผสั สว่ น ทองแดงหรือโลหะท่ีมีไฟฟา้ ได้ - ป้องกนั โดยวิธีใชส้ ง่ิ กน้ั หรอื อยภู่ ายในตู้ (Barrier or Enclosures) จะต้องทำการล็อกไมใ่ หเ้ ขา้ ถงึ ได้ งา่ ย - ปอ้ งกันโดยใช้ร้วั หรอื สงิ่ กดี ขวาง (Fence or Obstacles) ทำการปดิ กัน้ ไม่ให้ผ่านเข้าถึงได้ - ติดตง้ั อยใู่ นระยะทีเ่ อ้ือมไมถ่ ึง (Placing Out or Reach) เช่นนำสายไฟฟ้า ไว้สูงจากพืน้ ดิน หรือหา่ ง

จากอาคารในระยะทเ่ี อ้ือมไม่ถงึ - ใชอ้ ปุ กรณ์คุ้มครองความปลอดภยั สว่ นบุคคล (Personnel Protective Equipment) ให้ ผู้ปฏบิ ัตงิ าน สวมใสอ่ ปุ กรณป์ ้องกนั อนั ตรายส่วนบคุ คล เชน่ ถงุ มอื ยางพร้อมถงุ มือหนัง รองเท้านิรภยั หมวก นิรภัย 2. การป้องกนั การสมั ผสั โดยออ้ ม การป้องกันสามารถทำไดห้ ลายวธิ ีดังน้ี - บริภณั ฑไ์ ฟฟา้ ให้ทำการต่อสายดนิ และต้องมีเคร่อื งปลดวงจรไฟฟา้ อัตโนมัติ การตอ่ สายดินอย่างเดยี วโดยไมต่ ดิ ต้ังเครอื่ งปลดวงจรไฟฟ้ารว่ั อัตโนมตั ิ กรณีถา้ มีกระแสไฟฟา้ รว่ั ไหล จะรว่ั ไหลลงดิน เมอ่ื เราสัมผัสบริภัณฑท์ ม่ี ีไฟฟ้ารัว่ ก็จะไม่ไหลผ่านรา่ งกายเรา ซ่งึ ถือวา่ มีความปลอดภัย แต่ กระแสไฟจะรัว่ ไหลลงดนิ ไปเรื่อย ๆ ทำให้เกดิ การสญู เสียพลงั งานไฟฟา้ ได้ ดงั นั้นถ้าตดิ ตั้งค่กู ับเครอ่ื งปลด วงจรไฟฟ้าอัตโนมตั ิ จะทำใหต้ ัดออกจากระบบไฟฟา้ ทนั ทเี ม่ือกระแสรัว่ ไหลเกินกว่าค่าท่ีกำหนดไว้ โดย มาตรฐานประเทศไทยอยู่ท่ี 30 มลิ ลแิ อมป์ - ใชเ้ คร่อื งใชไ้ ฟฟ้าประเภทฉนวน 2 ช้ัน (Double Insulation) เครอ่ื งใช้ประเภท 2 จะไม่มีสายดนิ แต่ จะมกี ารออกแบบพิเศษให้มีความหนาของฉนวนมากกวา่ ปกตหิ รอื มีฉนวนหนา 2 ชน้ั โดยต้องมีเคร่ืองหมาย Double Insulation แสดงที่ผลิตภณั ฑ์ -ใช้แผน่ ฉนวนไฟฟ้าปูพน้ื เวลาปฏบิ ตั ิงานเก่ยี วกับไฟฟ้า ถ้าต้องปฏิบตั งิ านในพนื้ ท่ีมีแรงดันไฟฟ้ามากกว่า 50 โวลต์ - ป้องกันโดยการใช้สิ่งของปิดก้นั ส่วนทเี่ ปน็ โลหะของอุปกรณ์ บรภิ ัณฑไ์ ฟฟ้า - ใช้แยกระบบไฟฟ้าออกจากกัน (Isolation) หรือ ระบบที่ไม่ตอ่ ลงดิน โดยแยกระบบออกจากกันโดยไม่มีส่วน ตอ่ เน่อื งทางไฟฟา้ ร่วมกัน - โดยใช้เครื่องใช้ที่ใช้แรงดันไฟฟ้าต่ำที่ไม่เกิน 50 โวลต์ เช่น สว่านไร้สาย ระบบส่องสว่างที่ใช้แรงดันจาก แบตเตอรี่ - ใช้วธิ ีจำกดั ขนาดกระแสท่ีไหลผา่ นรา่ งกาย ให้อยู่ในระดับท่ีไม่เป็นอันตรายต่อบุคคล เช่น ระบบป้องกันไฟดูด ในเครื่องเช่อื มไฟฟา้ - ถ้าร่างกายเปียกชื้นไม่ควรแตะต้องหรือสัมผัสอุปกรณ์ไฟฟ้า เช่น สวิตช์ไฟฟ้า ที่เป่าผม หรือส่วนที่เป็นโลหะ ของบริภณั ฑไ์ ฟฟ้า

3. ระยะปลอดภยั ในการปฏิบตั งิ านเกี่ยวกับไฟฟา้ - ระยะห่างต่ำสุดตามแนวนอน ระหว่างสายไฟฟ้ากับสิ่งก่อสร้าง เมื่อสายไฟฟ้าไม่ได้ยึดติดกับ สิ่งก่อสร้าง (อ้างอิงจากมาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าสำหรับประเทศไทย พ.ศ. 2556 วิศวกรรมสถานแห่ง ประเทศไทยฯ) - ระยะห่างระหว่างสายกับผู้ปฏิบัติงาน/เครื่องมือกล มาตรฐานระยะห่างที่ปลอดภัยของการทำงาน ใกล้สายไฟฟ้าแรงสูงสำหรับบุคคลหรือผู้ที่ปฏิบัติงานรวมถึงอุปกรณ์หรือเครื่องมือกลทุกชนิด เช่น ปั่นจั่นรถ เครน หรือวัตถุที่ถืออยู่ในมือ จะต้องอยู่ห่างจากส่วนที่มีไฟฟ้าแรงสูงไม่น้อยกว่าระยะดังต่อไปนี้ (อ้างอิงจาก การไฟฟ้านครหลวง)

- ระยะหา่ งท่ปี ลอดภัยของการทำงานใกลส้ ายไฟฟา้ หรืออปุ กรณไ์ ฟฟ้าที่ไม่มีฉนวนหุ้มทง้ั ในแนวดง่ิ และ แนวระดบั สำหรบั น่ังร้าน (อ้างองิ จากประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องความปลอดภยั ในการทำงานกอ่ สร้างวา่ ดว้ ยนงั่ ร้าน) การปอ้ งกันอุบัติภัยจากกระแส ไฟฟ้า การตอ่ ลงดนิ Ground เป็นการต่อตัวนำระหว่างวงจรไฟฟ้ากับดิน เพื่อป้องกันอันตรายจากกระแสไฟฟ้ารั่วโดยมรสาเหตุมาจากการ ชำรุด หรือการเอมสภาพของอุปกรณ์ไฟฟ้าซึ่งอาจจะเกิดขึ้นได้ตลอดเวลาโดยที่ไม่สามารถทราบล่วงหน้าได้ เพื่อเป็นการป้องกันอัตรายแก่ผู้ที่ใช้อาจจะเข้าไปสัมผัสและถูกกระแไฟฟ้าดูดโดยกระแสไฟฟ้าที่รั่วไหลลงดิน แทนการไหลผ่านรา่ งกายของผู้ที่เข้าไปส้มผสั งการตอ่ ลงดนิ จะมอี ยู่ 2 รูปแบบ คอื การตอ่ ลงดินท่ีระบบสายส่ง ไฟฟา้ และการต่อลงดนิ ทตี่ ัวอุปกรณ์ 1. การต่อลงดนิ ที่ระบบสายส่งไฟฟ้า การต่อลงดินท่ีระบบสายส่งไฟฟา้ เป็นวธิ กี ารทำตอ่ สายนิวทรัล ที่ระบบ สายส่งไฟฟ้าลงดินโดยผ่นหลักสายดิน การต่อลงดินนี้สามารถทำได้ทั้งไฟฟ้าระบบ 1 เฟส และไฟฟ้าระบบ 3 เฟส วิธีการต่อลงดินท่ีระบบสายส่งไฟฟ้า จะเป็นการต่อสายนิวทรัลลงดิน โดยการปฏิบัติจะต้องต่อสาย นิวทรัลลโดยใชห้ ลกั สายดินเป็นตัวนำผ่านลงดินหลักสายดินที่ใชจ้ ะเป็นแท่งตวั นำทีฝ่ ังลงไปในดิน โดยหลักสาย เดินจะเป็นแท่งเหล็กชุดสังกะสียาว 8 ฟุต และมีเส้นผ่านศูนย์กลาง3/4 นิ้ว หรือแท่งอองแดงยาว 8 ฟุตละมี เส้นผ่าศูนยก์ ลาง 1/2น้ิว ตอกลงไปในดินลึกจากผวิ หนา้ ดนิ อยา่ งน้อย 1 ฟตุ 3.2 การต่อลงดินท่ีตัวอุปกรณ์ เปน็ การตอ่ สว่ นท่ีเปน็ โลหะทไ่ี มม่ กี ระแสไหลผา่ นของสถานประกอบการให้ถงึ กันตลอดแลว้ ตอ่ ลงดิน จุดประสงคข์ องการต่อลงดนิ ของอปุ กรณ์ไฟฟ้า - เพ่อื ให้ส่วนโลหะท่ีต่อถึงกนั ตลอดมศี ักย์ไฟฟ้าเปน็ ศนู ย์ ป้องกนั ไฟดูด - เพ่อื ให้อุปกรณป์ อ้ งกนั กระแสเกินทำงานได้เรว็ ขึ้น เมื่อมีกระแสร่วั ไหลลงโครงโลหะ

- เปน็ ทางผ่านใหก้ ารแสร่ัวไหลลงดิน อปุ กรณ์ไฟฟา้ ทต่ี ้องต่อลงดนิ 1. เคร่ืองห่อหุ้มที่เปน็ โลหะของสายไฟฟ้า แผงเมนสวติ ซ์ โดครงและรางป้นั ดจ่ันทใ่ี ชไ้ ฟฟา้ โดครงของ ตู้ลิฟต์ ลวดสลงิ ยกของทใ่ี ชไ้ ฟฟา้ 2. สง่ั กั้นทเี่ ป็นโลห รวมทงั้ เคร่ืองห่อหุ้มของอปุ กรณ์ไฟฟา้ ในระบบแรงสงู 3. อปุ กรณ์ไฟฟ้าท่ยี ึดติดอยู่กับท่ีและที่ตอ่ อยูก่ ะบสายไฟฟ้าท่เี ดนิ อยา่ งถาวร ส่วนที่เปน็ โลหะเปดิ โงซง่ึ ปกติไมม่ ีไฟฟา้ แต่อาจมีไฟร่ัวได้ ต้องตอ่ ลงดนิ ถา้ อยู่ในสภาพตาม ขอ้ ใดข้อหนึ่งดงั น้ี - อยู่หา่ งจากพื้นท่ีหรอื โลหะที่ต่อลงดนิ ไม่เกนิ 8 ฟุตในแนวตั้ง หรือ 5 ฟุตในแนวนอนและบุคคลอาจ สัมผัสได้ (ถา้ มีวิธปี ้องกนั ไมใ่ ห้ บุคคลสัมผัสได้ก็ไม่ต้องต่อลงดิน) - สมั ผสั ทางไฟฟา้ กบั โลหะอื่น ๆ และบคุ คลอาจสัมผัสได้ - อยู่ในสภาพเป๊ียกชน้ื และไมไ่ ดม้ กี ารแยกให้อยตู่ ่างหาก 4. อุปกรณไ์ ฟฟา้ สำหรบั ยดึ ติดอย่กู ับท่งี ต่อไปนี้ ต้องต่อส่วนทเี่ ป็นโลหะเปดิ โล่งและปกติไมม่ ีกระแสรวั่ ลงดิน -โครงของแผงสวติ ซ์ -โครงของมอเตอรช์ นิดยดึ ติดกับท่ี - กลอ่ งเครื่องควบคุมมอเตอร์ ถา้ เป็นสวิตซธ์ รรมดาและมีฉนวนรองทีฝ่ าด้านในก็ไม่ตอ้ งต่อลงดิน - อปุ กรณ์ไฟฟา้ ของลิฟต์และปนั้ จน่ั - ปา้ นโฆษณา เคร่ืองฉายภาพยนต์ เครอ่ื งสบู 5. อุปกรณ์ไฟฟ้าท่ใี ช้เต้าเสียบ ส่วนทีเ่ ปน็ โลหะเปดิ โล่งของอปุ กรณไ์ ฟฟ้าตอ้ งตอ่ ลงดินเม่อื มีสภาพตามข้อใด ข้อหน่ึงดังน้ี - แรงดนั เทยี บกับดินเกิน 150 โวลท์ ยกเว้นมกี ารปอ้ งกนั อย่างอนื่ หรอื มฉี ฯซฯอย่างดี - อุปกรณ์ไฟฟา้ ทั้งท่ใี ช้ในท่ีอยู่อาศยั และที่อ่นื ๆ เช่น - ตู้เยน็ ต้แู ช่แขง็ เครอื่ งปรับอากาศ - เคร่อื งซกั ผ้า เคร่ืองอบผ้า เครอ่ื งล้างจาน เคร่ืองสบู นำ้ ท้ิง - เครื่องประมวลผงข้อมูล เครื่องใช้ไฟฟ้าในตเู้ ล้ียงปลา - เครอ่ื งทีท่ ำดว้ ยมอเตอร์ เชน่ ว่านไฟฟ้า - เครอ่ื งตัดหญา้ เครื่องขดั ถู

การใช้ฉนวนป้องกันการสัมผสั (Insulation) ฉนวน (Insulation) คอื อะไร? ฉนวนคือ สิ่งใดสิ่งหนึ่งที่นำมาปกคลุม, หุ้มหรือครอบสิ่งที่เราต้องการจะป้องกัน เพื่อไม่ให้สิ่งที่อยู่ ภายในมีผลกระทบกับสภาพแวดล้อมภายนอก หรือในทางกลับกันคือป้องกันไม่ให้ปัจจัยภายนอกมามี ผลกระทบกับสิ่งที่อยู่ภายใต้ฉนวน โดยมีข้อดีหลักๆคือป้องกันการสูญเสียความร้อน, ความเย็นของอุปกรณ์ท่ี หุ้มฉนวนหรอื ช่วยป้องกนั ไม่ใหค้ นทีท่ ำงานใกล้เคยี งเผลอไปสมั ผัสและได้รับอันตรายได้ครบั แตฉ่ นวนเองกม็ ขี ้อเสียที่สำคัญมากข้อหนึง่ เลยกค็ ือ การหุ้มฉนวนอาจเป็นสว่ นทีเ่ รง่ ใหเ้ กดิ ความ เสียหายกบั อุปกรณ์ของเราได้หรอื ทำใหเ้ ราไม่สามารถตรวจสอบความเสียหายได้ทันทหี ากไม่ทำการร้ือฉนวน ออก ความเสียหายในลักษณะนจี้ ะเรยี กว่า CUI (Corrosion Under Insulation) ซง่ึ ถา้ มีโอกาสจะขอมา อธบิ ายเรือ่ งน้ีกันอย่างลงลึกอีกเชน่ กันครบั ประเภทของฉนวนมีก่ีประเภท ? หากเราจะจำแนกประเภทของฉนวนตามจดุ ประสงค์ของการใช้งานจะสามารถแบง่ ออกได้ดว้ ยกัน ทัง้ หมด 4 ประเภทดงั น้ีครบั 1.ฉนวนเพ่อื รักษาอณุ หภมู ิ หรือทเ่ี รียกในภาษาองั กฤษวา่ “Thermal insulation” ซึง่ ฉนวนชนดิ นี้ จะเป็นฉนวนท่ีเราสามารถพบเห็นได้มากที่สดุ และฉนวนเกือบร้อยละ 90% จะเป็นฉนวนชนิดน้ีครบั โดยหน้าท่ี ของฉนวนชนิดนีค้ ือรักษาอุณหภูมิของสารในอุปกรณ์ท่เี ราห้มุ ฉนวนนัน้ ให้มคี วามร้อนหรือเย็นสม่ำเสมอหรือ สูญเสยี อุณหภมู ไิ ปกบั สภาพอากาศภายนอกให้น้อยทส่ี ุดครบั จะสามารถแบ่งออกไดเ้ ปน็ อีก 2 ประเภทย่อยก็ คือ Hot insulation และ Cold insulation ครับผม 2.ฉนวนเพ่ือป้องกนั อนั ตรายของคน หรอื ทีเ่ รยี กวา่ “Personal protective insulation” โดยฉนวน ชนิดนีท้ ำหน้าทเ่ี ดียวก็คือป้องกนั อันตรายที่จะเกิดขึ้นหากคนเผลอหรือบงั เอิญไปสัมผสั กับพนื้ ผวิ ท่ีร้อนหรือเย็น

เกินไปและจะก่อให้เกิดอันตรายได้นั่นเองครับ ซึ่งอุปกรณ์ที่จะเลือกใช้ฉนวนชนิดนี้ก็คืออุปกรณ์ที่ไม่ต้องการ รักษาอุณหภูมิ และไม่มีความจำเป็นที่จะตอ้ งหุ้มฉนวนตลอดทั้งแนวของท่อหรืออปุ กรณ์แต่หุ้มเฉพาะตำแหน่ง ทค่ี นสามารถเขา้ ถงึ และสมั ผสั ไดก้ ็เพยี งพอครับ 3.ฉนวนเพื่อป้องกันเสียง หรือที่เรียกว่า “Acoustic insulation” ฉนวนน้ีชนิดนี้จะพบมากในห้อง ซ้อมดนตรี, โรงภาพยนตร์หรือบ้านพักอาศัยทั่วไปที่ต้องการให้มีการเก็บเสียงนั่นเองครับ แต่หากในโรงงาน อุตสาหกรรมก็จะพบไดใ้ นอุปกรณ์ทม่ี เี สยี งดงั เช่น Compressor หรือ Pump ตา่ งๆครบั 4.ฉนวนเพื่อป้องกันไฟหรือ “Fire protection insulation” ฉนวนนี้ทำหน้าที่ป้องกันอุปกรณ์ใน กรณีที่เกิดไฟไหม้ โดยมีหน้าที่ป้องกันความร้อนที่เกิดขึ้นจากไฟไหม้ไม่ให้ส่งผลกระทบกับอุปกรณ์เป็น ระยะเวลาหนึ่งตามมาตรฐานสากลต่างๆเช่น NFPA ครับ ฉนวนชนิดนี้จะพบเห็นได้ตาม Tank farm ต่างๆท่ี ตอ้ งมีมาตรฐานในกรณีท่ีเกดิ เหตุเพลิงไหม้กบั อปุ กรณ์ครบั การใชส้ วิตชต์ ัดวงจรอตั โนมัติ (Earth leakage circuitbreaker) อปุ กรณ์ไฟฟา้ ชนิดน้ี เป็นอุปกรณ์ทสี่ ามารถตดั วงจรไฟฟ้าทนั ทที มี่ ีกระแสไฟฟ้าร่ัวไหลออกจากวงจร การทำงานอปุ กรณช์ นดิ นคี้ ือ ปกติในวงจรไฟฟ้าจะมีกระแสไฟฟา้ ไหลในสายไฟทง้ั 2 สายเทา่ กนั แต่เม่ือเกดิ มี กระแสไฟฟา้ รัว่ ไหลลงดิน โดยผา่ นร่างกายหรือผ่านตัวนำอื่น ๆ กต็ าม กระแสไฟฟ้าท่ีไหลในสายทง้ั สองจะไม่ เทา่ กนั เมื่อเกดิ ภาวะดงั กลา่ ว อุปกรณต์ รวจสอบการรั่วของกระแสไฟฟา้ จะส่งสญั ญาณไปยังสวิตชอ์ ัตโนมตั ิ ซึง่ ทำหนา้ ท่ีตดั วงจรทันทีก่อนท่ีจะมีผู้ไดร้ บั อันตรายจากกระแสไฟฟา้ นบั ว่าเพิ่มความปลอดภัยใหแ้ กผ่ ใู้ ชง้ านมาก ย่งิ ขน้ึ อย่างไรก็ตาม อุปกรณ์ดังกลา่ วยงั มรี าคาแพงอยู่มาก

การเดนิ สายไฟฟา้ และตดิ ตั้งอุปกรณ์ไฟฟ้า ผู้ขอใช้ไฟฟ้าจะต้องพิจารณาเลือกใช้ชนิดและขนาดของสายไฟฟ้าใหถ้ กู ตอ้ งตามมาตรฐานและ ข้อกำหนดของการไฟฟ้านครหลวง หรือการไฟฟา้ สว่ นภมู ิภาคทั้งนข้ี ึน้ อยู่กับวา่ บา้ นเรอื นต้งั อยู่บรเิ วณใด โดยมี ชา่ งผมู้ ีความรู้ ความชำนาญ รวมทัง้ เลือกใชอ้ ุปกรณไ์ ฟฟา้ ท่มี ีคณุ ภาพ เพ่ือใหเ้ กดิ ความปลอดภยั ต่อชีวิตและ ทรัพย์สนิ ของผู้ใช้เอง อปุ กรณ์ไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้าที่จะนำไปติดตั้งใช้งาน เช่น สายไฟฟ้า สวิตช์ตัดตอน คาร์ทริดจ์ฟิวส์ สวิตช์ตัดตอน อัตโนมัติหลอดไฟฟ้า หลอดฟลูออเรสเซนต์ บัลลาสต์ สตาร์เตอร์ ควรเลือกใช้แต่ชนิดที่มีคุณภาพดีและมี เคร่อื งหมายมาตรฐานหรือ ม.อ.ก. แสดงไว้จากกระทรวงอุตสาหกรรมเท่านั้นหากอปุ กรณใ์ ดเปน็ ผลิตภัณฑ์ที่ยัง มิได้มีผู้ได้รับใบอนุญาตให้แสดงเครื่องหมายมาตรฐานจากกระทรวงอุตสาหกรรม ก็ให้เลือกใช้อุปกรณ์ ที่มี คณุ ภาพเช่ือถอื ได้ ขอ้ กำหนดต่างๆนอกเหนือจากที่ไดก้ ล่าวมาแลว้ ข้างตน้ โปรดสอบถามและขอคำแนะนำได้ท่ี สำนกั งานการไฟฟา้ ในพ้นื ทนี่ ้ัน การปฐมพยาบาลผทู้ ่ีได้รบั อนั ตรายจากไฟฟ้า การช่วยเหลือให้พน้ จากกระแสไฟฟา้ ใหเ้ ลือกใช้วธิ ใี ดวิธีหนง่ึ ดงั น้ี 1. ตดั กระแสไฟฟา้ โดยปลดสวิตช์หรือคัทเอาท์ หรอื เตา้ เสยี บออก 2. หากตดั กระแสไฟฟ้าไม่ได้ ใหใ้ ชไ้ มแ้ หง้ หรือวัสดทุ ่เี ปน็ ฉนวนไฟฟ้าเขยี่ สิ่งที่มีกระแสไฟฟ้าออกไปให้ พน้ 3. ใหใ้ ชผ้ ้าหรอื เชอื กเเหง้ คล้องแขน ขา หรือลำตวั ผถู้ กู ไฟฟ้าดดู ชกั ลากออกไปให้พน้ สงิ่ ท่ีมกระแส ไฟฟ้า หากผถู้ ูกไฟดูดสลบหมดสติให้ทำการปฐมพยาบาลให้ฟื้นตอ่ ไป การชว่ ยเหลือดว้ ยวธิ ีปฐมพยาบาล 1. หากหวั ใจหยุดเตน้ (ตรวจโดยเอาหูฟังทหี่ นา้ อกหรือจับชีพจร) ใหใ้ ช้วิธี \"นวดหัวใจภายนอก \" โดย เอามือกดตรงที่ต้ังหัวใจให้ยบุ ลงไป 3 - 4 เซนติเมตร เป็นจังหวะ ๆ เทา่ จังหวะการเต้นของหวั ใจ(ผูใ้ หญ่วนิ าที ละ1 ครั้ง เด็กเลก็ วินาทีละ 2 ครั้ง) นวด 10 - 15 ครั้ง เอาหูแนบฟังครัง้ หนง่ึ 2. หากไม่หายใจ (ตรวจโดยดูการขยายของซี่โครงและหน้าอก) ให้ใช้วิธีเป่าลมเข้าทางปากหรือทาง จมูกของผู้ป่วยดังนี้คือการเป่าปาก จับผู้ป่วยนอนหงาย ใช้หัวแม่มือง้างปลายคางผู้ป่วยให้ปากอ้าออก หากมี เศษอาหารหรือวัสดุใดๆ ให้ล้วงออกให้หมด แล้วจับศีรษะให้เงยหน้ามาก ๆ ผู้ช่วยเหลืออ้าปากแล้วประกบกบั ปากผู้ป่วยให้สนิท และเป่าลมเข้าไปอย่างแรงจนปอดผู้ป่วยขยายออก (ซี่โครงและหน้าอกพองขึ้น) แล้วปล่อย ใหล้ มหายใจของผปู้ ่วยออกเอง แลว้ เปา่ อกี ทำเช่นนีเ้ ป็นจงั หวะ ๆ เท่ากบั จังหวะหายใจปกติ (ผู้ใหญน่ าทีละ 12 - 15 ครั้ง เด็กเล็กนาทีละ 20 - 30 ครั้ง) ถ้าเป่าปากไม่ได้ให้ปิดปากผู้ป่วยแล้วเป่าเข้าทางจมูกแทน ถ้าผู้ป่วย หัวใจหยุดเต้นและไม่หายใจด้วย ให้นวดหวั ใจสลบั กบั การเป่าปาก ถา้ มผี ู้ชว่ ยเหลือเพยี งคนเดียวก็ให้เป่าปาก 2 ครง้ั สลับกบั การนวดหวั ใจ 15 คร้งั หรอื ถา้ มผี ู้ช่วยเหลือสองคน ก็ให้นวดหวั ใจสลบั กบั การเป่าปากเป็นทำนอง

เดียวกัน โดยเป่าปาก 1 ครั้ง นวดหัวใจ 5 ครั้ง การปฐมพยาบาลนี้ ต้องรีบทำทันที หากช้าเกินกว่า4 - 6 นาที โอกาสที่จะฟืน้ มีน้อย ขณะพาส่งแพทย์ก็ควรทำการปฐมพยาบาลไปดว้ ยตลอดเวลา สรุปสาระสำคญั 1. ไฟฟ้าจะทำอันตรายต่อร่างกายและชีวิตองมนุษย์ได้ต่อเมื่อเกิดเหตุการณ์ คือ กระแสไฟฟ้าใช้ รา่ งกายเปน็ ทางผา่ นลงดนิ รา่ งกายต่อเปน็ ส่วนหนึง่ ของวงจรไฟฟ้าโดยไม่ผ่านลงดิน และเกดิ จากความรอ้ นและ แสงสว่างที่เกิดจากกระแสฟฟ้าลัดวงจร ซึ่งความรุนแรงของอุบัติภัยเกิดจากปริมาณกระแสไฟฟ้าระยะเวลา ความต้านทานของร่างกาย แรงดันไฟฟา้ และเส้นทางทก่ี ระแสไฟฟ้าไหลผา่ นอวยั วะภายในรา่ งกาย 2. การปอ้ งกันอุบัตภิ ัยจากไฟฟ้า พอจำแนกวธิ ีปอ้ งกันหลัก ๆ ไดค้ อื การต่อลงดิน การใช้ฉนวนป้องกัน การสัมผสั และการใช้เครื่องตัดไฟรั่ว 3. การปฏบิ ัตเิ พอ่ื ให้เกิดความปลอดภยั ขณะปฏิบตั งิ านเกย่ี วกับไฟฟา้ เช่น คำนงึ ถงึ ความปลอดภัยเป็น ลำดับแรก ช่างติดตั้งต้องเป็นผู้มีความรู้และประสบการณ์ ทำงานร่วมกันอย่างน้อย 2 คน ตัดไฟฟ้าออกก่อน ปฏบิ ัติงาน และติดตัง้ ไฟฟา้ ตามมาตรฐานการติดต้งั ทางไฟฟา้ เปน็ ต้น 4. การปฏบิ ตั เิ พื่อใหเ้ กดิ ความปลอดภยั ในชวี ิตและทรพั ย์สนิ เช่น ใชเ้ ตา้ รบั และเต้าเสียบชนิดมีขั้วสาย ดิน ใชอ้ ปุ กรณท์ ี่มีคณุ ภาพแผน่ การรบั รองตามมาตรฐาน ไมป่ ฏบิ ัตงิ านไฟฟา้ โดยไม่มคี วามรู้ อย่าใชส้ ายไฟเสียบ เตา้ รบั โดยไมม่ ีเต้าเสยี บ เปน็ ต้น 5. ระบบการจ่ายกำลังฟฟ้าแรงดันต่ำ หมายถึง ระบบไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้าระหว่างเฟส(Phase) ไม่ เกิน 1,000 โวลต์ โดยทั่วไปมี 2 ระบบ คือ(1) ระบบไฟฟ้า 1 เฟส มี 2 ระบบ คือ ระบบไฟฟ้า 1 เฟส 2 สาย และระบบไฟฟ้า 1 เฟส 3สาย(2) ระบบฟฟา้ 3 เฟส มี 2 ระบบ คือ ระบบไฟฟ้า 3 เฟส 3 สายและระบบไฟฟ้า 3 เฟส 4สาย

หน่วย ที่ 2 สายไฟฟ้าและการใชง้ าน มาตรฐานทเี่ กยี่ วข้องกับไฟฟา้ ปกตมิ าตรฐานในการทำงานเกย่ี วกบั ไฟฟ้า น้ันมีอย่หู ลากหลายมาตรฐาน แตพ่ อจะแบ่งออกไดเ้ ปน็ 2 อยา่ งคือ 1) มาตรฐานอุปกรณ์ไฟฟา้ 2) มาตรฐานการติดตั้งระบบและอปุ กรณ์ไฟฟ้า ซง่ึ แตล่ ะมาตรฐานยงั แบง่ ออกไดอ้ ีก 3 อย่าง คือ - มาตรฐานสากล - มาตรฐานประจำชาติ - มาตรฐานของแตล่ ะหนว่ ยงาน 1) มาตรฐานสากล เชน่ ISO, IEC , EN - ISO (International Organization for Standardization) : เป็นมาตรฐานทั่วไปทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (ยกเว้นทางด้านไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์) เช่น ISO9000, 9001, 9002 (เกี่ยวกับการควบคุม คุณภาพของผลิตภัณฑส์ นิ คา้ ), ISO14000 (เก่ยี วกบั การรกั ษาส่ิงแวดล้อม) - IEC (International Electrotechnical Commission) : เป็นองค์กรระหว่างประเทศทรี่ ่างมาตรฐาน ทางด้านไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนกิ ส์ มสี ำนกั งานใหญท่ ก่ี รงุ เจนีวา ประเทศสวิสเซอร์แลนด์ และ โดยขณะนี้ IEC มี ประเทศสมาชกิ เกือบทกุ ประเทศในโลกแล้ว ซง่ึ รวมถึงไทยด้วย - EN (European Standard) : ในหลายประเทศในทวีปยุโรปได้รวมตัวกันจัดตั้งคณะกรรมการที่มี หน้าที่กำหนดมาตรฐานทางไฟฟ้าซึ่งเรียกว่า CENELEC (European Committee for Electrotechnical Standardization) โดย CENELEC ได้จัดทำมาตรฐานทางไฟฟ้าของยุโรป คือ EN (European Standard) ซ่ึง มาตรฐาน EN นี้เป็นมาตรฐานบังคับ กล่าวคือ ถ้าอุปกรณ์ไฟฟ้าไม่ได้ตามมาตรฐานนี้ จะนำเข้ามาขายในกลุ่ม ประเทศสมาชกิ ไม่ได้ ข้อดีของการมีมาตรฐานร่วมกันคือ จะทำให้การออกแบบ การผลิต การใช้งานอุปกรณ์ไฟฟ้าและ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ไปในทิศทางเดียวกนั ซ่งึ จะช่วยอำนวยความสะดวกในทางการค้า และขจดั การกดี กันทางการค้า ที่มาในรูปแบบของข้อกำหนดมาตรฐานต่างๆ และนอกจากนี้ยังต้องการให้ทุกประเทศในกลุ่มมีมาตรฐาน เดียวกัน ( สำหรับประเทศไทย หนว่ ยงาน สมอ (TISI ) เข้าร่วมเป็นสมาชิกประเภท Full member กบั IEC เมื่อปี พ.ศ 2534 )

2) มาตรฐานประจำชาติ - ประเทศอตุ สหกรรมทสี่ ำคญั ในโลก ตา่ งมมี าตรฐานของตนเองมานานแลว้ โดยมาตรฐานประจำชาติ ของแต่ละประเทศต่างร่างขนึ้ ใช้ภายในประเทศของตนเอง เพอื่ ให้ตรงวธิ ีปฎิบตั ิของตนเอง นอกจากนี้ยังขึ้นอยู่ กับสภาพภูมอิ ากาศและสภาพแวดลอ้ มของประเทศนัน้ ๆ ดว้ ย มาตรฐานประจำชาตทิ ี่สำคัญ ไดแ้ ก่ - ANSI (American National Standard Institute) ของประเทศสหรฐั อเมริกา - NEC (National Electrical Code) ของประเทศสหรัฐอเมรกิ า - BS (British Standard) ของประเทศอังกฤษ - DIN (German Industrial Standard) ของประเทศเยอรมันนี - VDE (Verband Deutscher Elektrotechniker) ของประเทศเยอรมันนี - JIS (Japan Industrial Standard) ของประเทศญ่ีปนุ่ - TIS หรอื มอก. (มาตรฐานผลติ ภณั ฑุอตุ สหกรรม) ของประเทศไทย - EIT หรอื วสท. (มาตรฐานการตดิ ตั้งทางไฟฟา้ ) ของประเทศไทย 3) มาตรฐานของแต่ละหน่วยงาน - ซงึ่ ก็เปน็ การนำเอามาตรฐานสากลหรือมาตรฐานประจำชาติตา่ งๆ เอามาประยุกต์ใชใ้ ห้เหมาะสมกบั แตล่ ะหน่วยงานน้นั ๆ สายไฟ คือ วสั ดหุ ลกั ในการนาพาหลงั งานไฟฟ้า เคร่ืองใชไ้ ฟฟ้า ยานพาหนะ ไปจนถึงเครื่องมือเครื่องใชใ้ นภาคอุตสาหกรรมต่าง ๆ สายไฟจึง เป็นปัจจยั สาคญั ในการขบั เคลือ่ นโลกอตุ สาหกรรมในโลกใบน้ี การกำหนดสีของสายไฟฟ้าห้มุ ฉนวน แรงดันต่ำ มาตรฐาน มอก. ที่มวี งกลม กับ ไม่มวี งกลม แตกต่างกันอย่างไร? เครอื่ งหมายมาตรฐานทั่วไป (จะไม่มีวงกลม) เป็นเครอื่ งหมายรบั รองคุณภาพผลติ ภัณฑ์ที่ สมอ. กำหนดมาตรฐาน ของผลิตภัณฑน์ น้ั ไว้แลว้ ซ่งึ ผู้ผลิตสามารถยืน่ ขอการรบั รองคุณภาพโดยสมคั รใจ (มาตรฐานท่ัวไป) เพ่ือการพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ใหเ้ ป็นไปตามเกณฑ์กำหนดในมาตรฐานและหลกั ประกันให้กบั ผู้บริโภคหรือผซู้ ื้อว่าผลติ ภัณฑ์น้นั มีคุณภาพ มี ความปลอดภัยคุ้มคา่ และเหมาะสมกับราคา เช่น ผลิตภัณฑอ์ าหารวัสดุก่อสรา้ ง วสั ดสุ ำนกั งาน เครื่องใชไ้ ฟฟา้ เป็นตน้

เครื่องหมายมาตรฐานบังคบั (จะมีวงกลม) เป็นเครื่องหมายรับรองผลิตภัณฑ์ที่กฎหมายกำหนดให้ต้องเป็นไป ตามมาตรฐาน (มาตรฐานบังคับ) ทั้งนี้เพื่อความปลอดภัยของผู้ บริโภคและป้องกันความเสียหายอันอาจจะเกิดต่อเศรษฐกิจและ สังคม โดย ส่วนรวม โดยกฎหมายบังคับผู้ผลิต ผู้นำเข้าและผู้ จำหน่าย จะต้องผลิต นำเข้า และจำหน่ายแต่ผลิตภัณฑ์ท่ี เป็นไป ตามมาตรฐานแล้วเท่านั้น ซึ่งจะต้องมีเครื่องหมายมาตรฐานบังคับ ติดแสดงไว้ทุกหน่วยเพื่อแสดงว่ า ผลิตภัณฑ์นั้น ได้ผ่านการตรวจสอบรับรองแล้วตามกฎหมาย เช่น ไม้ขีดไฟ สายไฟฟ้า บัลลาสต์ ผงซักฟอก ท่อพีวีซี ผลติ ภณั ฑ์ เหลก็ ถงั ดับเพลงิ ของเล่นเดก็ หมวกกันน๊อค เปน็ ต้น มาตรฐานสายไฟฟา้ เปลี่ยนไป ผรู้ บั เหมารูห้ รอื ยัง ? มาตรฐานสายไฟทเี่ ปลีย่ นไป เปล่ียนเฉพาะ มอก.11 เท่านนั้ สายไฟ มอก. 11 เป็นสายไฟที่มีตัวนำเป็นทองแดง และฉนวนเป็นพีวีซี แรงดันต่ำ (แรงดันตั้งแต่ 450 -750 โวลต์)ดังนั้นสายไฟที่ไม่ได้มีตัวนำเป็นเป็นทองแดง และไม่มีได้มีฉนวนเป็นพีวีซี จะไม่จัดอยู่ใน มอก.11 และก็ ยังคงใช้มาตรฐานตามเดมิ ทำความเข้าใจเก่ยี วกับ มาตรฐานสายไฟ มอก.11-2553 ที่มีผลบังคับใชไ้ ปแลว้ กบั มาตรฐานการติดต้งั ระบบ ไฟฟา้ ของ วสท.2556 การเปลี่ยนมาตรฐานและสีของสายไฟนั้น สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) ได้ เปลี่ยนมาตรฐานเป็น มอก11-2553 ซึ่งต้องการเปลี่ยนสีขนาดแรงดนั และชื่อของของสายให้ตรงกับมาตรฐาน IEC code ซึ่งมีใช้กันอย่างแพร่หลายทั่วโลก และร่วมถึงประเทศที่อยู่นี้กลุ่ม AEC ด้วย เมื่อมีกฎหมายสีของ ฉนวนสายไฟชนิดตัวนำทองแดงหุ้มฉนวนพีวีซีเปลี่ยน ตาม มอก.11-2553 นั้น แต่ในส่วนของสายไฟประเภท CV ซ่งึ เปน็ ฉนวนประเภท XLPE นน้ั ผผู้ ลติ ได้ทำการเปลยี่ นให้เอง ซึง่ ไมม่ ีกฎหมายบังคับ เพราะเห็นว่าจะทำให้ มีสไี ปในทางเด่ยี วกนั ในเม่ือกฎหมายการผลิตสายไฟมกี ารเปลย่ี น ในส่วนของ วศิ วกรรมสถานแห่งประเทศไทย (วสท) ซึ่งเป็น สถาบันอิสระที่ทำมาตรฐานต่างๆ เกี่ยวกับด้านวิศวกรรม ซึ่งรวมถึงมาตรฐานการติดตั้งระบบ ไฟฟ้า สำหรับประเทศไทยด้วย ซึ่งมาตรฐานนี้ไม่ถือเป็นกฎหมายบังคับใช้ แต่หลายๆองค์กร เช่น การไฟฟ้า MEA ,PEA รว่ มทัง้ กรมโยธาธิการและผังเมือง และหนว่ ยงานต่างๆ หรือแมแ้ ต่ใน กฎหมายบ้างมาตราเก่ียวกับ พรบ. ควบคุมอาคาร ก็ได้นำมาตรฐานนี้มาอ้างอิงและบังคับใช้ ดังนั้นเมื่อมาตรฐานสายไฟมีการปรับปรุง ทาง คณะกรรมการ ของ วสท. จึงถือโอกาสน้ีปรบั ปรุงมาตรฐานใหม่ให้มมี าตรฐานตรงกบั มาตรฐานสายไฟใหม่และ ปรับปรุงเกี่ยวกับการหาขนาดกระแสของสายไฟ ร่วมถึงสายที่ใช้ในวงจรช่วยชีวิต และรายละเอียดปลีกย่อย ต่างเพิ่มเติม ร่วมไปในครั้งนี้ด้วย เพื่อคำนึงถึงความปลอดภัยในการติดตั้งและการใช้ไฟฟ้าเป็นหลัก นั้นจึงเปน็ ทมี่ าของการปรับปรงุ มาตรฐาน วสท. ฉบับปี 2556

ทำไมตอ้ งเปลีย่ นสขี องสายไฟ ? เพือ่ ให้เปน็ ไปในแนวทางเดยี วกนั สรา้ งความเข้าใจทงี่ า่ ยมากข้นึ เมื่อมีโอกาสซอ่ มบำรุงหรือปรับปรุงอาคาร สขี องสายไฟฟา้ ที่เปล่ยี นไป มาตรฐานฉบบั ใหม่กำหนดให้ สายดินเปน็ สีเขยี วแถบเหลือง สายนวิ ทรลั เป็นสฟี า้ สำหรับสายเสน้ ไฟ จะใชส้ นี ำ้ ตาล สีดำ และสเี ทา ตามลำดบั สรุปดงั น้ี ❖ สายแกนเดย่ี ว ไม่กำหนดสี ❖ สาย 2 แกน สีฟ้า และน้ำตาล ❖ สาย 3 แกน สเี ขียวแถบเหลือง ฟา้ น้ำตาล หรอื นำ้ ตาล ดำ เทา ❖ สาย 4 แกน สีเขยี วแถบเหลือง น้ำตาล ดำ เทา หรอื ฟา้ น้ำตาล ดำ เทา ❖ สาย 5 แกน สีเขยี วแถบเหลือง ฟา้ น้ำตาล ดำ เทา 1 เฟส – นำ้ ตาล (L) , ฟ้า ( N), เขยี วแทบเหลอื ง (G) 3 เฟส – น้ำตาล (L_{1}) , ดำ (L_{2}), เทา (L_{3}), ฟา้ ( N), เขยี วแทบเหลือง (G) แรงดนั ไฟฟา้ ในมาตรฐานใหม่เปลย่ี นไป สายไฟฟา้ ตามมาตรฐานใหม่กำหนดแรงดันไฟฟา้ ใช้งานเป็นคา่ U_{0}/U ไวไ้ มเ่ กนิ 450/750 โวลต์ แรงดนั U_{0} หมายถงึ แรงดันไฟฟา้ วัดเทียบกบั ดนิ เป็นค่ารากของกำลงั สองเฉล่ีย ( V_{rms} )และ U หมายถึงแรงดันไฟฟ้าระหว่างตวั นำ เป็นคา่ รากของกำลงั สองเฉล่ยี เชน่ กนั

อุณหภูมิของสายก็มเี ปลี่ยนแปลงสายไฟฟ้าตามมาตรฐานเดมิ กำหนด อุณหภูมิใชง้ านไว้ที่ 70 ํC ค่า เดยี ว แตส่ ายตามมาตรฐานใหมน่ ก้ี ำ หนดอุณหภูมิใชง้ านของสายไว้สองคา่ คือ 70 ํC และ 90 ํC ชนดิ ของฉนวน ยงั คงเป็นพีวซี ี ฉนวนของสายไฟฟ้าตามมาตรฐาน มอก.11-2553 เปน็ พอลิไวนิลคลอไรด์ทงั้ ชนดิ ทม่ี ีอุณหภมู ิใช้งาน 70 ํC และ 90 ํC แต่ในรายละเอยี ดของฉนวนจะต่างกัน ฉนวนแบ่งเป็น 3 ชนิดคอื • PVC/C สำหรบั สายไฟฟา้ ใช้งานตดิ ตัง้ ถาวร • PVC/D สำหรับสายไฟฟ้าอ่อน (flexible cable) • PVC/E สำหรบั สายทนความร้อนท่ีใช้ ภายในอาคาร ขนาดกระแสของสายไฟฟา้ ขนาดกระแสของสายไฟฟ้าตามมาตรฐาน มอก. 11–2553 มาตรฐานสายไฟใหม่ มอก.11-2553 ท่ีประกาศเปน็ มาตรฐานบงั คบั ตามพระราชกฤษฎีกา ท่ีกำหนด ให้มาตรฐานผลติ ภัณฑ์อุตสาหกรรมสายไฟฟา้ หุ้มฉนวนพอลิไวนลิ คลอไรด์ แรงดนั ไฟฟา้ ท่ีกำหนดไม่เกิน 450/750 โวลต์ ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน มอก.11-2553 (ซงึ่ ของเดมิ เป็น มอก.11-2531) ซงึ่ มีการ เปลีย่ นแปลงพอจะสรปุ ไดด้ งั น้ี 1. มาตรฐาน มอก.11-2553 น้สี ว่ นใหญ่อา้ งอิงมาตรฐานสายไฟมาจาก IEC Standards 60227 การ แบ่งชนดิ ของสายไฟฟา้ จะแบ่งตามมาตรฐาน IEC เปน็ รหัสตัวเลข 2 ตัว แตเ่ นอ่ื งจากป้องกนั ความ สับสน ผูผ้ ลติ จะระบุชื่อเดิมไว้ให้เช่น60227 IEC 01 (THW) 2. สีของฉนวนสายไฟจะกำหนดใหม่โดยเรียงจาก เฟสA, B, C, N, G ดังนี้น้ำตาล ดำ เทา ฟ้า เขียว แถบเหลือง ตามมาตรฐาน IEC จากมาตรฐานเดิมที่เป็น ดำ แดง นํ้าเงิน ขาว(เทา) เขียว การใช้งาน จะต้องเพิม่ ความระมดั ระวังโดยเฉพาะโครงการท่ีมีระยะเวลายาว หรืองานต่อเติมซ่อมแซมท่จี ำ เปน็ ต้องใช้สาย ท้งั 2มาตรฐานในงานเดยี วกันเชน่ สายVAFที่เดิมใช้สีเทาเปน็ สายนิวทรัลแตต่ ่อไปน้ีสายเส้นสีเทาจะเป็นสายเฟส ท่มี ไี ฟแลว้ ดงั น้นั การทำ เครอ่ื งหมายจงึ เป็นเรอื่ งสำคญั อยา่ งยง่ิ 3. กำหนดแรงดันใช้งาน 2คา่ U๐/Uไม่เกนิ 450/750โวลต์มีผลทำ ใหส้ ายไฟฟ้าบางชนิดเช่นสายVAF ที่ตามมาตรฐานเดิมไม่สามารถนำมาใช้กับระบบ3 เฟส4สาย230/400 โวลต์ได้แต่มอก.11-2553 ให้ใช้ได้ 4. อุณหภูมิที่ใช้งาน กำหนดไว้2 ค่าคือ70 และ90 องศาเซลเซียส ขณะที่มาตรฐานเดิมกำหนดไว้70 องศาเซลเซยี สคา่ เดียว จากการเปลี่ยนแปลงข้างต้น วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.) ได้ ปรับปรุงมาตรฐานการติดตั้งให้สอดคล้องกับสายไฟฟ้ามาตรฐานใหม่โดย ซึ่งมีข้อแตกต่างจากมาตรฐานเดิม พอสมควร ดังนนั้ การคำนวนหาขนาดสายไฟฟ้าเพือ่ นำ ไปใชง้ านควรจะพจิ ารณาตามขั้นตอนดงั ตอ่ ไปน้ี\\ 1. คำนวนโหลดหาคา่ กระแสท่ใี ชง้ าน และกำหนดขนาดเคร่อื งป้องกัน 2. พิจารณาชนดิ ของสายไฟฟ้าจำนวนตวั นำกระแส2เสน้ หรอื 3เสน้ (1เฟสหรือ3เฟส)ลกั ษณะ

ของ สายไฟเปน็ แบบแกนเดียวหรือหลายแกน ล้วนแต่มผี ลต่อการเลือกใช้ตารางกระแสไฟฟา้ ทง้ั สนิ้ 3. พจิ ารณาวธิ ีการติดตั้งซง่ึ แบ่งเป็น7 กลุ่ม(มาตรฐานเดิมมี5 กล่มุ ) ทนี่ ่าสงั เกตุคอื การเดินสาย ร้อย ท่อภายในฝ้าเพดานหรือผนังทนความร้อน มีคา่ กระแสแตกต่างจากการเดินสายรอ้ ยทอ่ ลอยหรือฝงั ใน คอนกรีต ตัวอยา่ งเชน่ ถ้าโหลด3 เฟส คำนวนหาขนาดเครือ่ งป้องกนั ได้100 แอมแปร์กรณเี ลือกใชส้ ายไฟฟา้ 60227IEC01(THW) เดินสายร้อยท่อลอยเกาะผนงั หรือเพดาน จะตอ้ งใช้สาย ขนาด50 ตร.มม. แต่ถา้ เป็นการ เดินสายรอ้ ยท่อภายในฝ้าเพดาน จะตอ้ งใชส้ ายขนาด70 ตร.มม. 4. พจิ ารณาตวั คณู ปรับคา่ เน่ืองจากอณุ หภมู ิโดยรอบ ซึ่งกำหนดท่ี40 องศาเซลเซียสในกรณีทั่วๆ ไปและ 30 องศาเซลเซียสในกรณฝี ังดนิ 5. พิจารณาตัวคณู ปรับค่า เน่ืองจากกลมุ่ วงจรในกรณีท่ีมตี ัวนำกระแสมากกวา่ 1 วงจร โดพิจารณา วงจร1 เฟส2สายนบั เปน็ 1 วงจร วงจร3 เฟส3สายหรอื 4สายนับเปน็ 1 วงจร ในกรณนี สี้ ่วนใหญจ่ ะใชใ้ นการเดิน สายในรางเคเบิล (cable tray) ที่มกี ารปรับปรุงแก้ไข ทส่ี ำคัญคือ ไม่อนญุ าตให้ใชส้ ายไม่มีเปลอื กติดตงั้ ในราง เคเบลิ และในมาตรฐานเดมิ กำหนดใหส้ ายในรางเคเบิลจะต้องไม่เลก็ กว่า 50 ตร.มม. มาตรฐานใหม่ยอมใหถ้ งึ สายขนาด25 ตร.มม. 6. ขนาดกระแสจากการปรับค่าในขัอ 4 และข้อ 5 7. หาขนาดสายไฟฟ้าจากตารางทถี่ ูกเลือกในข้อ 3 มาตรฐานใหมน่ ใี้ นระยะแรกยังไมม่ ีความคุ้นเคยอาจสบั สนอยู่บา้ ง คงต้องค่อยๆ พจิ ารณาตามลำดับไปก่อน หลงั จากนั้นคงคุ้นเคยเหมือนมาตรฐานเดมิ ในส่วนรายละเอยี ดสามารถอ่านเพมิ่ เติมไดจ้ ากมาตรฐานการติดต้งั ทางไฟฟ้าฉบับปรบั ปรงุ ใหม่ของ วสท.

แผนการเรียนรูท่ี 4 การเลือกวัสดุและอุปกรณไฟฟาใหเหมาะสมกบั งาน หมายถงึ การจัดลาํ ดบั ความสําคญั การจาํ แนก วัสดุและอุปกรณไฟฟาใหเหมาะสมกับงาน มีความปลอดภัย เช่ือถือไดถูกตองตามกฎระเบียบการไฟฟาสวน ภูมิภาค ราคาเหมาะสม การเลือกวสั ดอุ ปุ กรณสําหรบั การเดินสายไฟฟา ภายในบานมคี วามสําคญั มาก เพราะ หลังจากเดินสายไฟฟาและติดตั้งอุปกรณไฟฟา เราจะตองใชอุปกรณไฟฟาเหลาน้ีไปอีกนาน หากการเลือกใช วัสดุและอุปกรณไมเหมาะสมแลวอายุการใชงานของวัสดุและอุปกรณสั้น อาจเกิดอันตรายขณะใชงาน ทําให สูญเสยี ทรพั ยส ินไมคมุ คากบั การลงทุน เสียเวลาการทํางาน ผิดระเบยี บขอ บังคบั ของการไฟฟา สวนภมู ิภาค 4.1 วัสดแุ ละอปุ กรณใ นงานเดนิ สายไฟฟาดว ยเขม็ ขัดรดั สาย 1. ไขควง ไดแก ไขควงเทศไฟและไขควงใชขันสกรูทว่ั ไป ภาพที่ 1 ไขควงชนิดตา ง ๆ 2. คมี ไดแก คีมตดั คีมปากแหลม คีมรวม คีมปอกสาย คมี ยา้ํ หางปลา คีมลอ็ ก ภาพท่ี 2 คมี แบบตาง ๆ

3. มดี ปอกสาย มกั ราคาสงู แตค วรใชเ พื่อความปลอดภัยในการทํางาน แตทั่วไปนิยมใชคตั เตอร เพราะ สะดวกและงายตอ การจัดหางาย ภาพท่ี 3 มีดปอกสายและคัตเตอร 4. คอนเดินสายไฟฟา ขนาดกระชบั มอื บริเวณคอ นจะออกแบบใหแ หลมมนเพอื่ ใชต อกตะปใู นบริเวณ แคบ ๆ ภาพที่ 4 คอ นเดินสายไฟฟา 5. บดิ หลา ใชสําหรบั เจาะแผงไมต า ง ๆ เชน ใชเจาะรูกอนทจ่ี ะติดตั้งคตั เอาต ภาพท่ี 5 บิดหลา

6. บักเตา ใชส าํ หรับตเี สน ใหตรงหรอื ไดระดับกอนท่ีจะตอกตะปูเดนิ สายไฟฟา วิธีงาน ภาพที่ 6 การใชป ก เตา 7. สวาน ปจ จุบันนยิ มใชสวานไฟฟา ประกอบสวา นเจาะไม เหลก็ และสวานกระแทกใชเจาะปนู คอนกรตี สาํ หรับงานเจาะคอนกรีตสว นใหญจ ะนิยมใชส วานโรตาร่ี ขนาดของสวานไฟฟาเรยี กตามขนาดของหวั จบั เชน ขนาด 3 หนุ 4 หุน เปน ตน ภาพที่ 7 สวา งทใ่ี ชใ นงานไฟฟา ทว่ั ไป 8. ตลับเมตร ระดับนา้ํ และลกู ดงิ่ • ตลับเมตร ใชวดั ระยะ มหี นวยเปนเซนติเมตร (cm) และเปนน้ิว (inch) • ระดับนํ้า ใชตรวจสอบความเท่ียงตรงในงานเดนิ สายไฟฟา และการดัดทอ • ลูกดิง่ ใชจ บั ระดับในแนวตั้ง น้าํ หนักขนาด 400 กรมั 9. เหล็กนําศูนยและเหลก็ สง • เหลก็ นาํ้ ศูนย ผลติ จากเหลก็ แขง็ ใชสาํ หรับตอกนาํ บนอาคารทฉ่ี าบดวยปูนซเี มนตเ พ่ือปองกนั ตะปู งอ ซึง่ จะทําใหเ สียเวลาในการปฏบิ ตั ิงาน ในทางปฏิบตั ิจะใชต ะปคู อนกรตี โดยการเจยี นปลายให แหลม • เหล็กสง ใชส าํ หรบั ตอกตะปูในทีแ่ คบ ไมสามารถใชคอนตอกหัวตะปูไดโ ดยตรง

10. ส่ิว ใชบากแปนไมรองสวิตช หรอื แผงคตั เอาต เพ่อื ใหสามารถสอดสายเขา ไปไดท ่ีใชง านทวั่ ไป คอื สวิ่ ปากบาง และส่วิ เดือย ภาพท่ี 8 สว่ิ 11. เลื่อย ใชต ัดไมข นาดตาง ๆ ภาพที่ 9 เลือ่ ยทใี่ ชง านในการเดินสายไฟฟา 12. มัลตมิ ิเตอร เปน เครื่องมอื วัดอเนกประสงค เพือ่ ตรวจสอบสภาพสายไฟฟา อุปกรณต า ง ๆ เพื่อใหเ กดิ ความแนใจวา อุปกรณและวสั ดทุ กุ ชิ้นทจ่ี ะนําไปติดตั้งอยูในสภาพทพ่ี รอ มจะใชง านดวยความปลอดภัย เคร่ืองมือสําหรับงานเดินสายไฟฟาในทอ รอ ยสาย 1. เครื่องมอื ดัดทอ (bender) 2. คดั เตอรตดั ทอ (cutter) 3. ปากกาจบั ทอ (pipe vise stands) 4. เครื่องมอื ตาปเกลยี ว (pipe threader) 5. เคร่อื งมือลบคมทอ (reamer) ใชสําหรับลบคมบริเวณปลายทอ 6. ลวดดึงสายไฟ (fish tape) มสี องขนาดหรอื ยาว 25 ฟุต 50 ฟุต และ 100 ฟุต 7. น็ตกเอาตพนั้ ซ (knock out punch) เจาะในตโู หลดเซ็นตเตอร หรือกลอ งตอ สาย ตาง ๆ 8. เครอื่ งเจียร 9. ประแจ เชน ประแจเล่ยื น ประแจคอมา เปน ตน

ภาพที่ 10 เครอื่ งมือสําหรบั เดนิ สายไฟฟาในทอ รอยสาย อปุ กรณและวสั ดุ อุปกรณแ ละวัสดุสาํ หรบั เดินสายไฟฟา ดว ยเขม็ ขัดรดั สาย 1. เขม็ ขัดรัดสาย หรอื ที่เรยี กท่ัวไปวา คลิป (clip) หรอื ก๊ปิ ผลิตจากอะลมู เิ นยี มขัน้ รปู เปนแผน บาง ๆ แต มคี วามเหนียว มีหลายขนาด เชน เบอร ¾ ,0 ,1 ,1½ , 2, 2 ½, 3, 4, 5 และเบอร 6 ซึ่งมขี นาดใหญ ทีส่ ุด ตง้ั แตเบอร 3 ถงึ เบอร 6 จะมสี องรู ขนาดอนื่ ๆ จะมรี เู ดียวสําหรบั ตอกบนอาคารทีเ่ ปน ไม 2. ตะปู ขนาด 3/8 น้ิว 5/16 นว้ิ ใชตอกบนอาคารฉาบปูน และขนาด ½ น้ิวสาํ หรับตอกบนอาคารท่เี ปน ไม 3. พุก (Fixer) ใชง านคกู บั สกรูเพ่อื ใหการจับยดึ อุปกรณเ ครื่องใชไฟฟาตา ง ๆ มีความแข็งแรง พกุ ทีใ่ ชงาน ท่วั ไปมี 3 แบบ คอื 3.1 พกุ พลาสตกิ ใชก บั งานตดิ ตั้งขนาดเล็ก เชน ตดิ ตัง้ แปนไม แผงคัตเตอรจ ะใชพ กุ ขนาด M7 (เอ็ม – เจด็ ) กลาวคอื ตองใชด อกสวานขนาด 7 มลิ และใชส กรูขนาด 5 – 6 มม. นอกจากนี้ยังมีขนาดอ่นื ๆ เชน M8 จะ โตกวา M7 3.2 พกุ ตะก่วั ใชก ับงานขนาดกลาง เน่อื งจากทนแรงกดและนาํ้ หนกั ไดด กี วา เชน การติดตงั้ ตูโหลดเซ็น เตอร 3.3 พกุ เหลก็ หรือทเ่ี รยี กวา โบลต (bolt) ใชก บั งานท่ีตองการความแขง็ แรงทกุ ประเภท เนื่องจากรบั น้ําหนักไดดี แตม รี าคาแพง

ภาพที่ 11 พกุ แบบตา ง ๆ 4. สายไฟฟา (wire) ในงานตดิ ต้ังไฟฟา ในอาคารจะเปน สายแบนแกนคู (สาย VAF) หมุ ดวยฉนวนพวี ีซี สองชน้ั ลกั ษณะภายนอกมสี ีขาว รายละเอยี ดเกี่ยวกับอักษรและตัวเลขท่รี ะบุไวบ นสายไฟฟามคี วามหาย ดงั น้ี • 2 x 2.5 SQ.MM หมายถึง ขนานของสายไฟฟา มีรายละเอียดดังน้ี 2 : จํานวนสายทองแดง 2.5 : SQ.MM ขนานเสนผาศนู ยก ลางของสายไฟฟามีหนวยเปน ตารางมิลลิเมตร • VAF หมายถงึ ชนดิ ของสายเปนแบบ วีเอเอฟ • 300 V หมายถึง ทนแรงดนั ไฟฟาไดไ มเ กิน 300 โวลต • 70 c หมายถึง ทนความรอนทอี่ ุณหภูมิ 70 องศาเซลเซยี ส • PVC/PVC หมายถงึ หมุ ดวยฉนวนทเี่ ปนพวี ซี ี (PVC: poly Vinyl chloride) • TIS 11-2531 หมายถงึ มาตรฐานที่รบั รอง • TABLE 2 หมายถงึ ตารางละเอยี ดเกยี่ วกบั ไฟฟา ของบรษิ ัทที่ผลิตสายไฟฟา 5. สกรู เรียกอีกอยางหน่งึ วา ตะปูเกลยี วปลอย มสี องชนดิ คือ ชนิดหวั แฉก และชนดิ หัวแบน 6. แปนไม ใชสําหรับรองรับอุปกรณไ ฟฟาตาง ๆ มหี ลายชนิด อาทิ 4 x 6 นว้ิ , 8 x 10 นิ้ว เปนตน ปจ จบุ ัน มกี ารผลติ แปนพลาสตกิ ออกมาใชงานควบคกู บั แปนไม ซงึ่ ไดรบั ความนิยมใกลเ คยี งกนั 7. สวติ ช ใชส าํ หรบั ปด – เปดวงจรไฟฟา ใด ๆ เชน ใชป ด – เปด วงจรหลอดฟลอู อเรสเซนต คุณลกั ษณะ ของสวิตซขึน้ อยกู ับพกิ ดั กระแส พิกัดแรงดัน สวิตซแบง ไดเ ปนสองชนิดตามลักษณะการทํางานและ การตดิ ต้ัง

7.1 แบงตามลักษณะการทํางาน แตล ะบทจะถกู นําไปใชงานตามคุณสมบตั ิ • สวติ ซห นึง่ ขาสบั ทางเดยี ว (Single pole single throw switch) หรือ S.P.S.T เรียกอีกอยางหนง่ึ วา สวติ ชทางเดียว ใชกับระบบไฟฟา เฟสเดียว (single phase) • สวิตซสองขาสบั ทางเดียว (Double pole single throw switch) หรอื D.P.S.T ใชเ ปนอุปกรณต ัดตอน ในระบบเฟสเดียว ตวั อยา งเชน คัตเอาตท ใี่ ชตามบา นเรือนทั่วไป • สวติ ซส องขาสบั สองทาง (Double pole double throw switch) หรอื D.P.D.T • สวิตซส ามขาสบั ทางเดียว (Triple pole single throw switch) หรือ T.P.S.T ใชเ ปน อปุ กรณตัดตอน ระบบสามเฟส (Three phase) ตัวอยา งเชน คัตเอาตสามเฟส • สวิตซส ามขาสบั สองทาง (Triple pole Double throw switch) หรือ T.P.D.T ใชกับระบบสามเฟส 7.2 แบง ตามลกั ษณะการติดตัง้ แบงออกเปนสองแบบ คือ • แบบติดลอย กลองสวิตซจ ะยึดกับผนังอาคารโดยตรง • แบบฝง กับผนัง กลองสวติ ซจะฝงไวใ นผนงั อาคาร และสว นใหญจะออกแบบใหทนกระแสไดสงู แบบติด ลอย 8. เตารับเรียกอกี อยา งวา ปลั๊กตัวเมยี ทําหนา ท่เี ปนสอื่ กลางเพอื่ ถายโอนพลังงานไฟฟาไปยงั อปุ กรณ เครื่องใชไฟฟา ตาง ๆ ลกั ษณะการตดิ ตงั้ เหมอื นกบั สวติ ซ 9. เตา เพดาน ใชสาํ หรบั หอ ยดวงโคมลงมาจากเพดานเพ่ือใหแ สงสวา งเฉพาะจุด กอ นจะหอยโคมลงมา ตองขมวดปมสายไวใ นเตาเพดาน เพ่อื รองรับนาํ้ หนักของดวงโคม 4.2 วสั ดุและอุปกรณในงานเดนิ สายไฟฟา ดวยทอ รอนสาย 1. ทอรอยสาย (conduit) ปรกอบดวยทอโลหะหนา (Rigid Steel Conduit; RSC) หนาปานกลาง (Intermediate Metal Conduit; IMC) และทอโลหะบาง (Electrical Metallic Tubing; EMT) ทอ โลหะออน ทอพวี ซี ี ทอ ชนดิ กันนํา้ ได ภาพท่ี 12 ทอสําหรับรอยสายไฟฟา

2. กลองตอสาย (box) กลองตอสายที่ใชประกอบทอ รอ ยสาย มีดังน้ี 2.1 handy box ใชส าํ หรบั ตดิ ตัง้ สวติ ซแ ละเตา รับ ชนิด Handy box ขนาด (นิว้ ) แบบตนื้ 2x2x1–½ แบบลึก 2x2x1–½ ภาพท่ี 13 Handy box 2.2 square box สว นใหญจะตดิ ตง้ั ในตําแหนงทตี่ อ งการตอ สาย ชนดิ square box ขนาด (นิ้ว) แบบตนื้ 4x4x1–½ แบบลึก 4x4x2 ภาพที่ 14 square box

2.3 octagon box ใชติดตงั้ บนเพดานหรอื ติดลอย ชนดิ octagon box ขนาด (นว้ิ ) แบบตนื้ 3–½x3x½x1–½ แบบลึก 3-½x3-½x2 ภาพท่ี 15 octagon box 3. ฝาปด กลอง (box cover) 3.1 ฝาปด handy box ใชส าํ หรบั ครอบสวติ ซ ปล๊กั ภาพท่ี 16 ฝาปดกลองสวิตซ handy box 3.2 ฝาปด square box ภาพท่ี 17 ฝาปด กลอ งตอ สายแบบ square box

3.3 ฝาปด octagon box ภาพที่ 18 ฝาปด กลอ งพักสาย 4. คอนเนคเตอร (connector) ใชเ ช่อื มตอ ระหวา งทอ กบั กลองตอสาย ภาพท่ี 18 คอนเนคเตอร แบบตา ง ๆ 5. ล็อกนทั (lock nut) ผวิ ดานในจะทาํ เปน เกลียว ใชยดึ ทอเขากับกลอ งตอสาย ภาพท่ี 19 ลอ็ กนทั

6. บชุ ชงิ่ (bushing) บุชชงิ่ สวมปลายทอ IMC, RSC และ Connector ใชปอ งกันทอไฟฟา ขดู กบั ฉนวน ภาพที่ 20 บชุ ชงิ่ 7. ขอตอหรือคัปปลิง้ (coupling) ใชตอ ทอ สองทอนเขา ดวยกัน มที ้ังแบบสกรแู ละแบบเกลยี วหมุน ภาพท่ี 21 ขอตอหรอื คปั ปลงิ้ 8. แคลมป (Clamp) เรยี กอกี อยางวา สแตรป (Strap) ใชส าํ หรับทอใหแ นบชิดกบั ผนงั ภาพที่ 22 แคลมปหรือสแตรป

9. อนดเู ลต (Condulet) ใชสาํ หรบั เดินสายหกั มมุ ขา มสงิ่ กดี ขวางของทอ โลหะหนา (RSC) มหี ลาย ลักษณะ ภาพที่ 23 คอนดูเลตแบบตาง ๆ 10. หัวงเู หา (service entrance) เรยี กอีกอยา งวา ฝาครอบทอรบั สาย ใชสาํ หรับนําสายเมนจากภายนอก เขา สูตวั อาคารและชว ยปอ งกันความชื้น ภาพท่ี 24 หัวงเู หา 11. อี.วาย.เอส (E.Y.S) ขอ ตอแยกสามทาง สาํ หรับทอโลหะหนา และใชอดุ Compound เพอื่ ปอ งกันไฟ ไหมสาย ภาพที่ 25 อ.ี วาย.เอส

12. รางตวั ชี (C-Channel) ใชสาํ หรบั ยึดทอจาํ นวนหลาย ๆ ทอน บนรางตวั ซี เพียงตวั เดียว ทาํ ใหส ะดวก ในการตดิ ต้งั และวดั วางทอเปน ระเบยี บสวยงาม ภาพท่ี 26 รางตวั ชี

แผนการเรียนรูท ่ี 5 5.1 ขอกําหนดการเดินสายไฟฟาและวัสดุ • สายไฟฟาของระบบไฟฟา ท่มี แี รงดันตา งกัน ใหเ ปนไปตามขอกาํ หนดดงั น้ี (1) ระบบแรงต่ําทั้ง AC และ DC ใหติดตั้งสายไฟฟารวมกันอยูภายในทอสายหรือเครื่องหอหุมเดียวกันได ถา ฉนวนของสายทัง้ หมดท่ตี ิดตง้ั นัน้ เหมาะสมกบั ระบบแรงดันสงู สดุ ทีใ่ ช (2) หามติดตั้งสายไฟฟาระบบแรงต่ํารวมกับสายไฟฟาระบบแรงสูงในทอสายหรือเคร่ืองหอหุมเดียวกัน ยกเวน ในแผงสวติ ซ บอ พักสายหรอื เครอื่ งหอหมุ อื่นที่ไมไ ดใ ชเพ่อื การเดนิ สาย • สายไฟฟาตอ งมีการปอ งกนั ความเสียหายทางกายภาพดังนี้ (1) การเดินสายทะลผุ านโครงสรางไม รูท่ีเจาะผานโครงสรางตองหางจากขอบไมไ มนอยกวา 3 เซนติเมตร หา กรูท่ีเจาะหางจากขอบนอยกวา 3 เซนติเมตรหรือเดินสายในชองบาก ตองปองกันไมใหตะปูหรือหมุดเกลยี วถูก สายได (2) การเดินสายชนิดท่ีมีเปลือกนอกไมเปนโลหะทะลุผานโครงสรางโลหะที่เจาะเปนชองหรือรูตองมี bushing grommet ยึดตดิ กับชอ งหรือรู เพอื่ ปองกันฉนวนของสายชาํ รดุ ยกเวน ชอ งหรอื รูทีม่ ีขอบมน หรือผิวเรยี บ (3) การเดินสายทะลุผานโครงสรางอ่ืน ตองมีปลอกที่เปนฉนวนไฟฟาสวมหรือจัดทํารูใหเรียบรอย เพ่ือปองกัน ฉนวนทีห่ ุม สายเสียหาย • การปอ งกันการผุกรอ น ทอสาย เกราะหุมเคเบิล (Cable armor) เปลือกนอกของเคเบิล กลอง ตู ทอโคง ขอตอและเครื่อง ประกอบการเดินทออ่ืน ๆ ตองเปนวัสดุท่ีเหมาะสมหรือมีการปองกันท่ีเหมาะสมกับสภาพแวดลอมท่ีส่ิงน้ันติด ตั้งอยู การปองกันการผุกรอนตองทํา ทั้งภายในและภายนอกเคร่ืองอุปกรณ โดยการเคลือบดวยวัสดุท่ีทนตอ การผุกรอน เชนสังกะสี แคดเมียม หรือ enamel ในกรณีที่มีการปองกันการผุกรอนดวย enamel หามใชใน สถานท่ีเปยกหรือภายนอกอาคาร กลองตอสายหรือตูที่ใชกรรมวิธีปองกันการผุกรอนดวย organic coating ยอมใหใ ชภายนอกอาคารไดเฉพาะ เมื่อไดรบั ความเห็นชอบจากการไฟฟาสว นภูมภิ าคแลว เทานั้น • การตดิ ตง้ั วสั ดุและการจับยึด (1) ทอสาย รางเดินสาย รางเคเบิล อุปกรณจับยึดเคเบิล กลอง ตูและเครื่องประกอบการเดินทอ ตองยึดกับท่ี ใหม ั่นคง

(2) ทอสาย เกราะหุมและเปลือกนอกของเคเบิล ท้ังที่เปนโลหะและท่ีไมใชโลหะ ตองตอเนื่องระหวางตู กลอง เคร่อื งประกอบการเดินทอ สงิ่ หอหมุ อยา งอืน่ หรอื จดุ ตอ ไฟฟา (3) การเดินสายในทอสาย สําหรบั แตล ะจุดทม่ี ีการตอสาย ปลายทอ จดุ ตอไฟฟา จดุ ตอสายแยก จุดติดสวิตซ หรือจุดดึงสาย ตอ ง ติดต้ังกลองหรือเครื่องประกอบการเดินทอ ยกเวน การตอสายในส่ิงหอหุมสายที่มีฝาเปดออกไดและเขาถึงได ภายหลงั การติดตั้ง (4) สายไฟฟาในทอสายแนวดิ่งตองมีการจับยึดสายที่ปลายบนของทอสายและตองมีการจัดยึดสายเปนชวง ๆ ยกเวน ถา ระยะตามแนวดงิ่ นอยกวา รอ ยละ 25 ของระยะที่กาํ หนด ไมต อ งใชท จี่ ับยดึ จุดเปล่ียนการเดินสายจากวิธีใชทอสายหรือรางเคเบิลเปนวิธีเดินสายในที่โลงหรือเดินสายซอน ตองใช กลอ งหรือเครื่องประกอบการเดินทอ เชน service entrance connector ตรงปลายทอ ท่มี ีรเู ปน บุชชงิ่ แยกกัน 1 รู สําหรับ 1 ทอ อนุญาตใหใชบุชช่ิงแทนการใชกลองหรือ terminal fitting ท่ีปลายทอในเมื่อปลายของทอ สายเดนิ ล้ําเขาไปในแผงสวติ ซแบบเปดหรอื แผงควบคมุ แบบเปดได • ตอ งปองกนั ไมใหเ กิดกระแสเหนีย่ วนาํ ในเครอื่ งหอ หุมหรอื ทอ สายที่เปนโลหะดงั ตอ ไปนี้ (1) เม่ือติดตั้งสายสําหรับระบบไฟฟากระแสสลับในเคร่ืองหอหุมหรือทอสายท่ีเปนโลหะ ตองจัดทํามิใหเกิด ความรอนแกโลหะท่ีลอมรอบ เนื่องจากผลของการเหนี่ยวนํา เชน โดยการรวมสายทุกเสนของวงจรและสาย นวิ ตรอล (ถาม)ี รวมท้ังสายดินของเคร่ืองอุปกรณไฟฟาไวในสง่ิ หอหมุ หรือทอ สายเดยี วกัน (2) เมอื่ สายเดี่ยวของวงจรเดนิ ทะลผุ านโลหะท่มี คี ณุ สมบตั เิ ปน แมเ หล็กจะตอ งจดั ใหผ ลจากการเหนี่ยวนํามีนอย ที่สุด โดยการตัดรองใหถึงกันระหวางรูแตละรูท่ีรอยสายแตละเสน หรือโดยการรอยสายทุกเสนของวงจรผาน ชองเดยี วกัน • ทอสาย กลอ ง ตู เครื่องประกอบ และเครอื่ งหอ หมุ ทเ่ี ปน โลหะ ตองตอ ลงดิน • ในทอ สายและรางเคเบิล ตอ งไมมีทอ สาํ หรับงานอน่ื ที่ไมใชงานไฟฟา เชน ทอไอนํ้า ทอประปา ทอกา ซ ฯลฯ เมื่อเดินทอสายผานที่มีอุณหภูมิแตกตางกันมาก เชน เดินทอสายเขา-ออก หองเย็น ตองมีการปองกันการ ไหลเวียนของอากาศภายในทอ จากสวนท่ีมีอุณหภูมิสูงไปสวนที่มีอุณหภูมิเย็นกวาเพ่ือไมใหเกิดการควบแนน เปน หยดนาํ้ ภายในทอ • การกาํ หนดสีของสายไฟฟาหุม ฉนวน (1) สายนวิ ตรอล ใชสายสเี ทาออ น หรอื ขาว

(2) สายดนิ ใชสายสีเขยี ว หรอื สเี ขยี วแถบเหลอื ง (3) สายเสนไฟ ใชส ายทีม่ ีสตี างไปจากสายนิวตรอลและสายดิน ขอยกเวนท่ี 1 สายไฟฟาท่ีมีขนาดโตกวา 16 ตารางมิลลิเมตร ใหทําเคร่ืองหมายแทนการกําหนดสีที่ ปลายสาย ขอยกเวนที่ 2 สายออกจากมิเตอรถึงเมนสวติ ซ 5.1.1 การเดินสายบนผวิ หรอื เดินสายเกาะผนงั (Surface Wiring) 1. ใชเดินสายระบบแรงต่าํ ทั่วไปภายในอาคาร โดยใชส ายไฟฟา ตาม มอก.11 2. การเดนิ สายตองปอ งกนั ไมใหฉนวนของสายชาํ รุด 3. การเดินสายโดยใชเ ขม็ ขดั รดั สาย ตอ งมีระยะหา งของเข็มขัดรัดสายไมเกนิ 20 เซนติเมตร 4. การตอและการตอแยกสายใหทาํ ในกลองตอสายสาํ หรับงานไฟฟาที่มคี ุณสมบัตติ ามขอ 6.21 เทาน้ัน 5. การเดินสายทะลุผานผนังหรือส่ิงกอสราง จะตองมีการปองกันสาย โดยจะตองรอยสายผานปลอก ฉนวนทเี่ หมาะสมและไมดูดความช้นื เพือ่ ปองกันฉนวนของสายไฟฟา เสียหาย 6. การเดนิ สาย ใหตดิ ตั้งเรยี งเปน ช้ันเดยี ว หามซอ นกัน 7. สายไฟฟาหุมฉนวนและเปลือกแกนเดียว สายแบน 2 แกน และสายแบน 3 แกน (VAF) ตาม มอก.11 หากเดินบนผวิ ภายนอกของอาคาร ยอมใหเ ฉพาะติดตง้ั ไดชายคาหรอื กนั สาด 5.1.2 การเดินสายในทอ โลหะ การเดินสายในทอ โลหะหนา ทอ โลหะหนาปานกลาง และทอ โลหะบาง 1. ขอกาํ หนดการตดิ ตงั้ • ในสถานท่ีเปยก ทอโลหะและสวนประกอบท่ี ใชยึดทอโลหะ เชน สลักเกลียว (Bolt) สแตรป (Strap) สกรู (Screw) เปนตน ตอ งเปนชนดิ ท่ที นตอ การผุกรอ น • ปลายทอทถ่ี ูกตดั ออกตองลบคม เพ่อื ปองกนั ไมใหบ าดฉนวนของสาย การทําเกลยี วทอ ตองใชเ ครือ่ งทํา เกลยี วชนิดปลายเรยี ว • ขอตอ (Coupling) และขอตอยึด (Connector) ชนิดไมมีเกลียวตองตอใหแนน เม่ือฝงใบอิฐกอหรือ คอนกรีตตองใชชนิดฝงในคอนกรีต (Concrete Tight) เมื่อติดตั้งในสถานที่เปยกตองใชชนิดกันฝน (Rain Tight)

• การตอสาย ใหตอไดเฉพาะในกลองตอสายหรือกลองจุดตอไฟฟาที่สามารถเปดออกไดสะดวก ปริมาตรของสายและฉนวน รวมท้ังหัวตอสายเมื่อรวมกันแลวตองไมเกินรอยละ 75 ของปริมาตร ภายในกลอ งตอ สายหรอื กลองจุดตอไฟฟา • การติดตั้งทอ รอยสายเขา กบั กลองตอสาย หรอื เครื่องประกอบการเดนิ ทอตองจัดใหม ีบขุ ชงิ เพือ่ ปองกัน ไมใหฉนวนหุมสายชํารุดยกเวน กลองตอสายและเครื่องประกอบการเดินทอท่ีไดออกแบบเพื่อปองกัน การชาํ รดุ ของฉนวนไวแ ลว • หามทาํ เกลียวกับทอ โลหะบาง • มุมคัดโคงระหวา งจดุ ดึงสายร วมกันแลว ตอ งไมเ กนิ 360 องศา 2. หามใชทอไลหะบางฝงดิน โดยตรงหรือใชในระบบไฟฟแรงสูง หรือที่ซึ่งอาจเกิดความเสียหายหลังการ ติดตง้ั 3. หามใชท อ โลหะขบาดเล็กกวา 15 มลิ ลิเมตร 4. ทอท่ีขนาดใหญก วา 15 มิลลิเมตร หากรอยสายชนิดไมมปี ลอกตะกั่ว รศั มีดดั โคง ดา นในของทอตองไมนอย กวา 6 เทาของขนาดเสนผานศูนยกลางของทอ ถาเปนสายไฟฟาชนิดมีปลอกตะก่ัว ศมีดัดโคงนในตองไม นอยกวา 10 เทาของเสนผานศูนยกลางของทอ สําหรับทอขนาด 15 มิลลิเมตร หากรอยสายชนิดไมมี ปลอกตะกั่ว รัศมีดัดโคงดานในของทอตองไมนอยกวา 8 เทาของเสนผานศูนยกลางของทอ และถาเปน สายไฟฟา ชนดิ มีปลอกตะกั่ว รศั มดี ัดโกง ดา นในตองไมน อ ยกวา 12 เทา ของเสนผานศนู ยกลางของทอ การ ดัดโกง ตองไมท ําใหท อ ชาํ รดุ เสยี หาย 5. ตองติดตั้งระบบหอ ใหเ สรจ็ กอ น จงึ ทาํ การเดนิ สายไฟฟา 6. การเดินสายดวยทอโลหะไปยังบริภัณฑไฟฟา ควรเดินดวยทอโลหะโดยตลอดและชวงตอสายเขาบริภัณฑ ไฟฟาควรเดินดวยทอ โลหะออ น หรือใชวธิ ีการอ่นื ตามทีเ่ หมาะสม 7. หา มใชท อ โลหะเปนตัวนําสาํ หรับตอลงดิบ 8. ทอรอยสายตองยืดกบั ที่ใหม่ันคงดวยอุปกรณจับยดึ ที่เหมาะสม โดยมีระยะหางระหวางจุดจับยดึ ไมเ กิน 30 เมตร และหา งจากกลองตอ สาย หรอื อุปกรณตา งๆ ไมเกนิ 0.9 เมตร การเดนิ สายในทอ โลหะออ น (Flexible Metal Conduit) 1. ลกั ษณะการใชงานตองเปนไปตามขอกาํ หนดทกุ ขอ ตงั นี้ • ในสถานที่แหง • ในท่เี ขา ถงึ ได และเพื่อปอ งกันสายจากความเสียหายทางกายภาพ หรอื เพ่ือการเดินซอ นสาย • ใหใชสาํ หรบั เดนิ เขาบรภิ ณั ฑไฟฟา หรือกลอ งตอ สายและความยาวไมเ กิน 2 เมตร 2. หา มใชทอ โลหะออ นในกรณดี งั ตอไปนี้ • ใบปลอ งลิฟตห รือปลอ งขบของ

• ในหอ งแบตเตอร่ี • ในบริเวณอันตราย บอกจากจะระบไุ วเปนอยางอ่ืน • ฝง ในดินหรือฝงในกอนกรตี • หามใชในสถานที่เปยก นอกจากจะใชสายไฟฟาชนิดท่ีเหมาะสมกบั สภาพการติดต้ัง และในการติดตัง้ ทอ โลหะออ นตองปองกันไมใหนาํ้ เขา ไปในชองรอ ยสายทที่ อ โลหะออนน้ตี อ อยู 3. หามใชทอโลหะออนทีม่ ีขนาดเลก็ กวา 15 มิลลิเมตร ยกเวนทอโลหะออนที่ประกอบมากบั ข้ัวหลอดไฟและ มคี วามยาวไมเกิน 1.80 เมตร 4. จํานวนสายไฟฟส งู สดุ ในทอไลหะออ นตอ งเปน ไปตามทีก่ าํ หนดในตารางท่ี 3, 4 และ 5 5. มมุ ดดั โคงระหวางจุดดงึ สายรวมกันแลวตองไมเกิน 360 องศา 6. ตองตดิ ตงั้ ระบบทอใหเ สร็จกอน จึงทําการเดนิ สายไฟฟา 7. หา มใชท อโลหะออนเปน ตัวนําสาํ หรบั ตอลงดิน 8. ระยะหางระหวางอุปกรณจับยึดตองไมเกิน 1.50 เมตร และหงจากกลองตอสายหรืออุปกรณตางๆ ไมเกิบ 0.30 เมตร 9. ขนาดกระแสของสายไฟฟใ หเปนไปตามทกี่ ําหนดในตารางท่ี 8. 9 และ 10 การเดินสายในทออโลหะแข็ง (Rigid Nonmetallic Conduit) หออโลหะแข็งและเครื่องประกอบการเดินทอตองใชวัสดุที่เหมาะสม ทนตอความช้ืนสภาวะอากาศและ สารเคมี สําหรับทอท่ีใชเหนือดินตองมีคุณสมบัติตานเปลวเพลิง (Flame-Retardant) ทนแรงกระแทกและ แรงอัด ไมบิดเบี้ยวเพราะความรอนภายใตสภาวะท่ีอาจเกิดข้ึนเม่ือใชงาน ในสถานท่ีใชงานซ่ึงทอรอยสายมี โอกาสถกู แสงแดดโดยตรงตองใชท อรอยสายชนิดทนตอแสงแดด สาํ หรบั ทอ ท่ใี ชใตด นิ วสั ดุทีใ่ ชตองทนความช้ืน ทนสารท่ีทําใหผุกรอนและมีความแข็งแรงเพียงพอ ท่ีจะทนแรงกระแทกไดโดยไมเสียหาย ถาใชฝงดิบโดยตรง โดยไมมคี อนกรีตหุม วัสดุที่ ใชตองสามารถทนนํ้าหนกั กดทีอ่ าจเกิดขน้ึ ภายหลังการตดิ ตงั้ ได 1. อนุญาตใหใชทออโลหะแขง็ ในกรณีดังตอ ไปน้ี • เดินซอ นในผนงั พืน้ และเพดาน • ในบริเวณท่ีทําใหเกิดการผุกรอนและเก่ียวของกับสารเมีถาทอและเครื่องประกอบการเดินทอได ออกแบบไวส ําหรับใชงานในสภาพดงั กลา ว • ในท่ีเปย กหรือชื้นซง่ึ ไดจัดใหมีการปอ งกนั นํา้ เขาไปในทอ • ใบที่เปด โลง (Exposed) ซง่ึ ไมอ าจเกดิ ความเสยี หายทางกายภาพ • การติดตัง้ ใตดินโดยตองเปนไปตามทกี่ ําหนดใบขอ 43 2. หามใชทออโลหะแขง็ ในกรณีดังตอ ไปน้ี

• ในบรเิ วณอันตราย นอกจากจะระบไุ วเปน อยางอน่ื • ใชเปน เครื่องแขวนและจบั ยึดดวงโคม • อณุ หภมู โิ ดยรอบหรืออณุ หภมู ิใชง านของสายเกินกวา อณุ หภูมขิ องทอ ทีร่ ะบุไว • ในโรงมหรสพ นอกจากจะระบุไวเ ปน อยางอน่ื 3. เมื่อเดนิ ทอเขากลอ งหรอื สว นประกอบอืน่ ๆ ตองจัดใหม ีบชุ ชิงหรือมีการปองกันไมใหฉนวนของสายชาํ รดุ 4. หามใชท ออโลหะแขง็ ทม่ี ขี นาดเล็กกวา 15 มิลลิเมตร 5. มุมคัดโคง ระหวางจุดดึงสายรวมกนั แลว ตอ งไมเกิน 360 องศา 6. ตอ งตดิ ตั้งระบบทอใหเสรจ็ กอน จงึ ทาํ การเดินสายไฟฟา 5.2 วธิ ีการเดินสายไฟฟา ดว ยเข็มขดั รัดสาย 5.2.1 วัสดแุ ละอุปกรณ • คอนเดินสาย ใชสําหรับตอกตะปู หัวคอนทําดวยเหล็กชุบแข็ง หนักประมาณ 100 - 250 กรัม หนา คอนเปนรูปส่ีเหล่ยี มจตั ุรัส ดามคอนทําดวยไม การจับคอนควรจับบริเวณปลายดามคอน เพื่อชวยใหมี แรงตอกมากขึ้น นอกจากน้ียังใชกะระยะหางของเข็มขัดรัดสายโดยใชระยะ 1 หัวคอน หรือบวกเพ่ิม อีกเลก็ นอยประมาณ 1 - 4 เซนตเิ มตรตามตอ งการ • ตลับเมตร ใชว ัดระยะในการตดิ ต้ังอปุ กรณไฟฟา มคี วามยาวหลาย ขนาดใหเ ลอื กใช แตโดยทวั่ ไปจะใช ขนาดยาว 2 เมตร เม่ือดึงแถบเทปออกมา จะมีปุมสําหรับล็อคเทปไว เม่ือคลายปุมล็อค เทปจะมวน กลับโดยอัตโนมัติ การใชงานหามดึงเทปออกมายาว เกินกวาขีดกําหนด มิฉะน้ันเทปอาจหลุดออก จากตลบั หรอื ไมส ามารถมวนกลับได • สวานไฟฟา ควรเปนแบบกระแทกที่เลือกปรับไดท้ังใชเจาะรูวัสดุท่ัวไป (เชน โลหะ, ไม, พลาสติก) และเจาะคอนกรตี สวานบางชนิดยงั สามารถปรบั ความเร็ว ไดด ว ย

• บิดหลา ใชเจาะรูไมกอนท่ีจะขันสกรูเกลียวปลอยเพ่ือยึดอุปกรณไฟฟา ควรใชบิดหลาเจาะรูนํา ใหมี ขนาดเลก็ กวาขนาดสกรู • ไขควง ที่ใชในงานไฟฟาดามจับตองหุมดวยฉนวนมิดชิด มีท้ังไขควงปากแบน และไขควงปากแฉก นอกจากน้ีควรมีไขควงวัดไฟ เพื่อใชตรวจสอบสายไฟวา มีไฟหรือไมและยังใชตรวจไฟรั่วของอุปกรณ ไฟฟาไดดวย การใชไ ขควงวดั ไฟ หามใชกบั แรงดันทส่ี ูงกวา คา ทรี่ ะบบุ นดามไขควง • มีด ใชสําหรับปอกฉนวนของสายไฟ การปอกสายไฟดวยมีดควรปอกเฉียงๆ คลายการเหลาดินสอทํา มุมไมเกิน 60 องศา เพอ่ื ไมใ หคมมดี บาดตัวนาํ จนขาด • คมี รวมหรือคมี ผสม ใชใ นงานตดั สายไฟ ตดั ลวดเหลก็ ตดั ปลายตะปู จับชิ้นงาน • คีมปากจิ้งจก หรือคีมปากยาว ใชในงานหยิบจับสงิ่ ของขนาดเล็ก • คีมตัด ใชตัดสายไฟท่ีมีและไมมีฉนวนหุม คีมตัดบางชนิดมีรูเล็กๆ สําหรับปอก ฉนวนของสายไฟได ดว ย • เหล็กนําศูนย ใชในการเดินสายบนคอนกรีต โดยใชเหล็กนําศูนยตอกคอนกรีต ใหเปนหลุมเล็กๆ กอน แลวจึงตอกตะปูยึดเข็มขัดรัดสายลงไปจะชวยใหการตอก ตะปูทําไดงายขึ้น อาจใชตะปูตอกคอนกรีต เจียรปลายใหเลก็ และแหลมแทนการ ใชเ หลก็ นําศูนยไ ด

• เหลก็ สง ทาํ ดวยเหลก็ กดั ปากตดั หรือเหลก็ เสนแบนยาวประมาณ 7-10 ซม. ใชตอกเขม็ ขัดรัดสายกรณี เดนิ สายชดิ มมุ ผนัง • สกดั ใชเ ม่อื ตอ งการสกดั ผนงั คอนกรตี เพื่อฝงกลอ งสวิตซหรอื ปลก๊ั • เลอื่ ย อาจจําเปนตองใชใ นการตดั วสั ดมุ ี 2 แบบคือ เล่ือยลันดาสําหรบั ตัดไม และเล่ือยตดั เหล็ก • มัลตมิ ิเตอร ใชใ นการตรวจวัดแรงดนั ไฟฟา ตรวจสอบวงจรและตรวจสภาพ ของอุปกรณไ ฟฟา • ปกเตา ใชในการตีแนวเสนกอนตอกตะปูยึดเข็มขัดรัดสาย ชวยใหไดแนวสาย ที่ตรงสวยงาม ภายใน ปกเตาจะประกอบดวยเสนดายและสีฝุน เมื่อดึงเสนดาย ออกมาทาบกับผนังหรือเพดานและขึงใหตึง ณ จุดทีต่ อ งการ จากน้นั ดึงดายขน้ึ แลว ดีดกลบั ไปยังผนังก็จะเหน็ แนวเสนตามตอ งการ • เข็มขัดรัดสายและตะปู ทําดวยอลูมิเนียมบางๆ มีรูตรงกลางสําหรับตอกตะปูยึดกับผนัง ขนาดเข็มขัด รัดสายตามมาตรฐานจะระบุเปนเบอรคือ เบอร 0, 1, 2, 3, 4, 5 และ 6 เข็มขัดรัดสายเบอร 0 จะมี ขนาดเล็กที่สุดและเบอร 6 มีขนาดโตสุด โดยเบอร 3 ขึ้นไปจะมีรูสําหรับตอกตะปู 2 รู ในการยึดเข็ม ขัดรัดสาย จะใชตะปูขนาดเล็กยาว 3/8 นิ้ว ตอกยึดกับผนังในทองตลาดปจ จุบนั อาจพบเข็มขัดรัดสาย ท่มี ีเบอรตางไปจากท่ีกําหนด แตกส็ ามารถใชไดเชน กัน

5.2.2 การตเี สน การตเี สน เมือ่ ทราบตาํ แหนง ทจ่ี ะเดนิ สายไฟฟา ชา งจะทาํ การตีเสน ดว ยบักเตา ขอ ดขี องการตีเสนมดี งั นี้ 1. รตู ําแหนง การตอกตะปู 2. ไมเสียเวลาเลง็ แนว เม่ือจะตอกตะปูตวั ถัดไป 3. กรณีท่ีเดินสายในระยะก่ึงกลางเสา แนวสายจะตองวางใหอยูก่ึงกลางพอดีถาเปนอาคารคอนกรีตการ รื้อตะปูเพื่อตอกใหมจะทําใหเสามรี มู ากข้ึนหรอื ทาํ ใหเ สาแตกไมส ามารถตอกตะปูบรเิ วณดังกลาวไดอ กี 4. สามารถปฏิบัตงิ านไดเร็วข้นึ และมีความภมู ิใจตอ ผลงานของตนเอง 5.2.3 การใชเ ขม็ ขดั รัดสายและระยะเขม็ ขดั รดั สาย การใชเข็มขัดรัดสาย เมื่อทราบขนาดและจํานวนสายไฟฟาท่ีจะเดินไปยังจุดตางๆ ชางเดินสายไฟฟา จะตองเลือกเข็มขัดรัดสายใหพอดี เพ่ือความรวดเร็วขณะปฏิบัติงาน เมื่องานเสร็จสมบูรณจะมองดูสวยงาม มี หลักปฏิบัตงิ ายๆ ดังน้ี 1. กรณเี ดนิ สายเสน เดียว ควรเลือกขนาดเขม็ รดั สายใหพอดีกับขนาดของสายไฟฟา 2. กรณีเดินสายต้ังแต 2 เสนข้ึนไป เชนสายจํานวน 3 หรือ 4 เสน ถาหากสามารถรัดดวยเข็มขัดรัดสาย เพียงตัวเดียวจะทําใหปฏิบัติงานใหเร็วข้ึน แตควรพิจารณาถึงความแข็งแรงในการยึดระหวางสายไฟ กบั ผนงั อาคาร ระยะเข็มขัดรัดสาย ระยะหางระหวางเข็มขัดรัดสายหรือทเ่ี รียกวาคลิป ในทางปฏิบัติหางกันประมาณ 10- 12 ชม. แตไมกิน 20 ซม. ดังรูป ในบางชวงที่ตองการเดินสายหลายๆ เสน อาจตอกตะปูใหถ่ีมากข้ึนเพื่อให สามารถรับน้ําหนักของสายไฟฟาและใหสายแนบชิดกับผนังในทางปฏิบัติจะวัดระยะดวยความยาวของหัวคอ น เดินสายไฟฟาเพ่อื ความรวดเร็วที่สาํ คัญคอื ตองหนั หัวเขม็ ขดั รดั สายไปในทิศทางเดียวกนั ระยะหา งเขม็ ขัดรัดสาย

5.2.4 การคล่ีขดสายไฟฟา การคลี่สายฟฟา โรงงานผูผลิตจะขดสายซอนทับกันไว ความยาวขดละ 100 เมตรถาหากคลี่สาย ถูก วิธี สายจะตรง ไมตองเสียเวลารีดสาย ตรงกันขามการดึงสายไฟฟาออกจากขดโดยตรงจะทําใหสายงอบิดเปน เกลยี ว ตอ งเสียเวลา กบั การรดี สายในภายหลงั วิธกี ารคล่ีสายมดี งั นี้ 1. แกะพลาสติกที่หอหุมสายฟฟาออก ระวังอยาใหของมีคมเชน มีด คัทเตอร เฉือนหรือปาดฉนวนของ สายไฟฟา 2. ยกมว นสายไฟฟา ขึ้น สอดแขนทง้ั สองขา งเขาไปในมวนสาย 3. วางปลายสายดานนอกลงกับพ้ืน จากกน้ันกมตัวลงเล็กนอย หมุนคลายสายออกจากขดพรอม กับเดิน ถอยหลังไปเรือ่ ยๆ จนไดความยาวตามตองการ 5.2.5 การรีดสายไฟฟา และการรดั สายไฟฟา การรัดสายไฟฟา กอนจะรัดสายไฟฟาตองรีดสายใหตรงไมใหบิดหรืองอ เม่ือนําไปเดินบนผนังจะได แนบชดิ กับผนงั อาคารมองดูสวยงามวธิ ีการรดี สายมีหลกั ปฏิบัตงิ านๆดงั นี้ 1. วางสายไฟฟาลงบนเขม็ ขดั รัดสาย ถาหากมีสายฟฟา หลายเสน ตอ งจัดใหสายเรียงชดิ กนั กอน 2. กดสายไฟฟาใหแนน ใชมืออีกขางหนึ่งจับปลายเข็มขัดรัดสายสอดเขากับรูท่ีอยูบนหัวของเข็มขัดรัด สาย 3. ดึงปลายเข็มขดั รัดสายใหตงึ จากน้ันพับสายกลบั ไปทิศทางเดมิ 4. ใชคอนเคาะเบาๆ เพื่อใหร อยพับเรียบสนิทกับสายไฟฟา 5.2.6 การเดินสายไฟโคงมมุ ฉาก การเดินสายหักมุม ภายในอาคารหรือบานเรือนท่ัวไปจะมีรูปทรงเปนสีเหล่ียมผืนผา เมื่อตองเดินสาย ผานบริเวณดังกลาวตองหักมุมโคงไปตามผนังหรือมุมของตนเสาระยะหางระหวางเข็มขัดรัดสายตัวสุดทาย กับ รัศมีความโคง ตองใหมีระยะหางพอสมควร อยาใหใกลหรือหางจนเกินไปจําทําใหสายไมเรียบ โดยจะสังเกต เห็นแสงลอดผานใตสายไฟฟา ตัวอยางเชน สาย VAF ขนาด 2 x 2.5 (มม.)3 ตองใชรัศมีความโคง ไมต่ํากวา 25.5 เซนติเมตร ดงั รปู

รูปท่ี 5.5 การหักมมุ โคง สาย VAF ขนาด 2 x 2.5 (ตร.มม.) ถาหากหักมุมโคงของสายหลาย ๆ เสน อาจจะตองเพ่ิมเข็มขัดรัดสายตามมุมโคงอีกหน่ึงตัวเพื่อใหการ จับยดึ ใหแขง็ แรงมากขนึ้ ดังรูป รปู ที่ 5.6 การตดิ ตงั้ เขม็ ขัดรดั สายตามมมุ โคง เม่อื ตองโคง สายหลายๆเสน 5.3 วธิ กี ารเดินสายไฟฟา ดวยทอโลหะบาง ทอโลหะบาง ( Electrical Metallic Tubing; EMT ) ทําดวยแผนเหล็กกลาชนิดรีดรอนหรือรีดเย็น หรือแผนเหล็กกลาเคลือบสังกะสี ผิวภายในเคลือบ ดวยอีนาเมล ทําใหผิวทอเรียบท้ังภายใน และภายนอกทอ และมีความมันวาว ปลายทอเรียบทั้ง 2 ดานไมสามารถทําเกลียวได มาตรฐานกําหนด ใหใช ต ัวอักษรสีเขียว ระบชุ นิด และขนาดของทอ เรยี กกันทั่วไปวาทอ EMT ปจ จบุ นั มขี นาดตงั้ แต 1/2\" - 2\" และยาวทอนละ 10 ฟตุ หรอื ประมาณ 3 เมตร ดงั รูป ทอ EMT ใชเดินลอยในอากาศ หรือฝงในผนังคอนกรีตได แตหามฝงดิน หรือฝงในพื้นคอนกรีต ใน สถานที่อันตราย ระบบแรงสูง หรือบริเวณ ท่ีอาจเกิดความเสียหายทางกายภาพ ขนาดทอท่ีมีขายในทองตลาด คือ 1/2\" , 3/4\" , 1\" , 1 1/4\" , 1 1/2\" , 2\" การดัดทอชนิดน้ีใช bender ที่มีขนาดเทากับขนาดทอ สําหรับทอ ที่มขี นาดใหญ อาจใชขอ โคง สําเร็จรปู (Elbow) ทีว่ างขายทวั่ ไปไดเ ชน ขอ โคง 90 องศา ดังรปู

ตวั อยางขอ มลู ทอ EMT แสดงดงั ตาราง ( ของ NIPPON white conduit ) 5.3.1 วธิ ดี ดั ทอ โลหะบางเปน โคง มุมฉาก การดดั ทอแบงออกเปน 2 วธิ ี คือ วิธีท่ี 1 ใชเบนเดอรในการดัดทอ วิธีการ คือ นําทอสอดเขากับเบนเดอร วางลงบนพื้นราบใชเทา เหยียบเบนเดอรืและอกี ขางหนง่ึ เหยยี บที่ใหแนนกับพน้ื จากนัน้ ใชม อื ดึงเบนเดอรเ ขา หาลาํ ตวั วิธีที่ 2 ใชแรงกด วิธีการคือตั้งเบนเดอรใหอยูกับท่ี นําทอสอดเขากับเบนเดอร จากน้ันกดทอ ลง ดานลาง 2.1 ระยะความสงู ของเบนเดอรด ดั ทอ เบนเดอรส าํ หรบั ดดั ทอ จะมรี ะยะความสงู (take up ) ดงั ตาราง ท่ี 5.2 ซึ่งเปนระยะที่ทอถูกดัดใหโคงงอ ดังรูป ใชเบนเดอร 1/2 นิ้ว ดัดทอ1/2 น้ิว โคงทํามุม 90 องศา ระยะ take up เทา กับ 5 นว้ิ ตารางที่ 5.2 ระยะ take up ของเบนเดอร ขนาดเบนเดอร (น้วิ ) ระยะ take up (นว้ิ ) 1/2 5 3/4 6 18

รปู แสดงการดดั ทอ และวดั ระยะ take up 2.2 การคํานวณความยาวจากปลายทอ เชน ตอ งการดดั ทอขนาด ¾ นิ้วใหสูงจากพน้ื 38 นว้ิ วิธกี าร คือใชร ะยะความสงู ลบดว ยระยะ take up (6 นว้ิ ) ดังนัน้ หัวลกู ศรบนเบนเดอรจ ะตรงกบั ระยะ 2 นิ้ว (วดั จาก ปลายทอ) เมอ่ื ดบั เปนมุม 90 องศา จะวัดระยะความยาวจากปลาย ทอ เทากบั 38 น้ิวพอดี ดงั รปู การคาํ นวณความยาวของทอ ¾ น้วิ 5.3.2 วิธดี ดั ทอโลหะบางเปน รูปตวั ยู การดัดทอรูปตัวยู(U) วิธีการคือดัดทอที่ปลายดานหน่ึงใหโคงงอ 90 องศา ลําดับตอไปวัดและทํา เคร่ืองหมาย (mark) บนทอจากจุที่อยูกับท่ี (จุดX) ไปยังจุดท่ีตองดัดทอ (จุด Y) โดยใหจุด Yตรงกับตําแหนง B บนเบนเดอรจากนนั้ คอยๆ ดัดทอ ใหโคง ทํามุม 90 องศา จะไดทอ รูปตวั ยดู ังรูป รปู แสดงการดัดทอ รูปตัวยู (U)

5.3.3 วธิ ีดดั ทอ โลหะบางเปนรูปคอมา การดัดคอมา เรียกอีกอยางวาการทําออฟเซต (OFF SET) หมายถึง การยกระดับความสูงของทอให สงู ข้นึ และโคงงอเทากันแตกระทาํ ในทิศทางตรงกันขา ม วตั ถุประสงคข อง การทาํ OFF SET คอื 1. เพือ่ ตอเขา กบั กลองตอสาย กลอ งสวิตช/ ปลั๊ก 2. เพ่ือดดั ทอ ขามสิง่ กดี ขวาง (ทํา OFF SET จํานวน 2 คร้ัง) การดัดทอคอมาเริ่มจากการดัดทอใหโคงพอประมาณ เมื่อเสร็จแลวใหถอดเบนเดอรออกพลิกทอกลับให อยูในทิศ ทางตรงกันขาม จากนั้นจึงดัดทออีกครั้งหนึ่งจนกระทั่งปลายทอทั้งสองดานขนานกันพอดี เมื่อดัด เสร็จเรียบรอยจะมีลักษณะ ดังรูปที่ 5.15 สําหรับการดัดทอขามส่ิงกีดขวางจะตองดัดออฟเซต จํานวน 2 คร้ัง หรือการดดั 3 ตาํ แหนงลักษณะดงั รปู (ก) และ(ข) การดดั คอมา (OFF SET) การดัดทอ ขา มส่ิงกดี ขวาง (ก) ทําออฟเซต 2 ครัง้ (ข) การดัด 3 ตาํ แหนง 5.3.4 การรอยสายไฟฟาเขาทอ รอ ยสาย การรอยสายเขาทอ เครื่องมือท่ีใชรอยสายไฟฟาเขาไปในทอเรียกวาฟสเทป (fish tape) ทําจากเหล็ก ที่ มีความเหนียวและที่บริวณปลายฟสเทปจะทําเปนหวงคลองเขากับสายไฟฟาเพ่ือปองกันสายหลุดขณะที่ กําลังรอยสายลักษณะดังรูป การรอยสายควรปฏิบัติงานอยางนอยสองคนกลาวคือคนหน่ึงสงสายและอีกคน หนง่ึ ดงั สายบางครั้งอาจจะตอ งใชส ารลดความฝดแตตอ งไมเปนอันตรายกับฉนวนของสายไฟฟา การประกอบทอ EMT

การรอยสายเขาทอ 5.4 วธิ กี ารเดนิ สายไฟฟาดว ยทอ พีวซี ี ทอ พวี ีซีทใี่ ชรอ ยสายไฟฟาเปนทอ พวี ีซีสเี หลืองหรือสขี าว ใชติดตั้งในผนงั พืน้ และเพดาน กรณีทเี่ ดินใน ที่โลงตองเปนบริเวณท่ีไมมีอะไรมากระทบกระแทก และหามใชเดินกลางแจง สวนการติดต้ังและรอยสายมี หลักเกณฑเ ชนเดยี วกบั ทออีเอม็ ที (EMT) การตัดทออีเอ็มที ทออีเอ็มทีสามารถใชเลื่อยเหล็กตัดใหขาดได เม่ือตัดแลวทอจะปรากฏมีรอยตัดท่ี แหลมคม เศษโลหะโผลออกมาเตม็ ไปหมด จึงจาํ เปน ตองมกี ารขจัดสง่ิ เหลาน้ีออกไปดว ยการใชเครอื่ งมอื การดัดตออีเอ็มที การตัดทอเดินสายไฟนี้จะตองมีความระมัดระวังและใชความชํานาญพอสมควร อาศยั เทคนคิ พรอมเครอ่ื งมือที่ใชใ นการดดั ทอ ใหโ คงงอเปนไปในลักษณะตา ง ๆ การดัดทอเปนมุม 90 องศา ทอดัด 90 องศา ใชในกรณีมุม 90 องศา ตามระยะที่กะไว ใหสังเกตวา ระยะที่กะและทําเคร่ืองหมายไวบนทอนั้นจะตองเปนระยะท่ีรวมถึงระยะท่ีเครื่องมือน้ันทาบไปชนทอนั้นดวย หากวางเครอ่ื งมอื ไปชนทอ ในระยะทีถ่ กู ตอ ง รอยโคง งอท่ีเกิดข้นึ กจ็ ะถูกตองตามท่ีตอ งการ

5.5 การตอสายไฟฟา การตอสายไฟฟาเขาดวยกันคือ การตอตัวนําตั้งแต 2 สายหรือมากกวาใหเปนตัวนําอันเดียวกัน ดวย การบิดตีเกลียวตัวนําเหลาน้ันดวยมือ คีม หรือเครื่องมือสําหรับการตอสายไฟ ดวยเหตุที่การตอสายไฟเขา ดว ยกนั น้ีมกั จะกอ ใหเกิดปญ หาขน้ึ บอยๆ ดังนนั้ จึงตอ งทาํ อยางระมดั ระวัง รอยตอสายไฟจะตองมคี วามทนทาน ตอแรงที่กดทับรอยตอน้ัน และกระแสไฟฟาจะตองสามารถไหลผานตัวนําสายไฟท่ีมิไดขาดจากกัน ถารอยตอ น้ันตีเกลียวหลวมไปจะนํากระแสไฟฟาไดไมดี และเกิดความรอนขึ้นเนื่องจากความตานทานของรอยตอนั้น และจะเกดิ ความเสยี หายข้นึ ได จุดประสงคของการตอสายไฟ ตองการใหแนน, แข็งแรง, ตรงรอยตอสัมผัสกันมากท่ีสุดและ แลดู สวยงาม การตอ สายไฟฟามีวธิ ีตอ ไดห ลายแบบ เครื่องมือในการตอสายไฟ ไดแก มีดคัทเตอร คีมปอกสายไฟ คีมปลายแหลมหรือคีมผสม เทปพัน สายไฟ 5.5.1 วธิ กี ารปลอกฉนวนสายไฟฟาดว ยมดี และคีม การปอกสายไฟฟา การปอกสายไฟฟาใหเหมาะสมกับการใชงาน และทาใหสายไมหักงองายทาไดโดยใชมีดปอก ฉนวนไฟฟา ออกในลักษณะเดยี วกบั การเหลา ดนิ สอ โดยใหฉ นวนเปน มุมประมาณ 30 องศา ดงั แสดงในรปู การ ท่ไี มปอกสายตรงๆเพราะจะทาใหสายไฟฟาเปน รอยและหักงาย

5.5.2 การตอสายไฟฟาเขากับหลักตอสาย การตอลงดนิ สาํ หรับระบบสายไฟฟา ภายในอาคารประกอบดวย 2 สว น คือ • การตอลงดินของระบบไฟฟา คือการตอระบบไฟฟาลงดินท่ีแผงเมนสวิตช (ตูเมนไฟฟา) ซ่ึงมาตรฐาน การติดต้ังทางไฟฟากําหนดใหตอสายเสนนิวทรัลลงดินโดยใชสายตอหลักดินผานลงไปท่ีหลักดินซึ่งฝง ลงไปในดิน โดยใหทําที่แผงเมนสวิตชเพียงจุดเดียวและไมใหมีการตอสายนิวทรัลเขากับสายดินท่ีจุด อนื่ ใดอกี • การตอลงดินของอุปกรณไฟฟา คือการเดินสายดินจากอุปกรณไฟฟาไปตอลงดินท่ีแผงเมนสวิตช โดย ใชหลักดินเดียวกันกับการตอลงดินของระบบไฟฟาในขอ1 สายดินเปนสายท่ีเดินเพ่ิมข้ึนอีกหน่ึงเสน จากสายเสนไฟและสายนิวทรัล โดยตอจากโครงหรือสวนท่ีเปนโลหะเปดโลงของอุปกรณไฟฟา เชน ดานหลังของตูเย็น , เคร่ืองปรับอากาศ , ไมโครเวฟ เปนตน ผานสายดินกลับไปท่ีแผงเมนสวิตชและ ตอ ลงดินทีห่ ลกั ดนิ ซงึ่ ในภาวะปกติสายดินจะไมม ีกระแสไฟฟา ไหลผาน เวนแตก รณที ่ีมีไฟรวั่ ท่ีอุปกรณ ไฟฟา กระแสไฟฟาจะไหลผา นสายดินไปลงดิน ทําใหไมเกิดอันตรายตอตัวบุคคลท่ไี ปสัมผัสบริเวณทม่ี ี ไฟรว่ั 5.5.3 การตอสายไฟฟา แบบหางเปย เปน การตอสายแบบไมร บั แรงดึง เหมาะสําหรับการตอสายไฟทม่ี ีขนาดเทากนั เชน ตอ ภายในกลองตอ สาย เริ่มตนดวยการใชคัทเตอรหรือคีมปอกสายไฟ ปอกฉนวนที่หุมสายออกขางละประมาณ 2 นิ้ว ใชคีมจับ สายไฟท้ังสองเสนไว แลวใชคีมปากจ้ิงจกหรือคีมปากจระเขมาบิดเปนเกลียวใหแนน จากนั้นใชคีมมาตัดเสน ทองแดงสวนปลายออกหรือใชคีมพับหรืองอปลายสายก็ได แลว บบี ใหแ นน โดยใหเหลือความยาวประมาณ 1-2 เซนตเิ มตร กอ นพันดว ยเทปพนั สายไฟหรือสวมดวยไวรน ทั (Wire Nut)

5.5.4 การตอ สายไฟฟาแบบตัวที การตอแยกสาย คือการตอแยกสายออกเปน 3 ทางหรือ 4 ทาง แลวแตงานซ่ึงแยกออกตามประเภท ของงาน คอื ก. แยกแบบเสน เดยี ว ข. แยกแบบหลายเสน 1. ทาํ การปอกสายไฟเสนทต่ี อ งการแยกประมาณ 1 น้วิ 2. ทาํ การปอกสายท่ีจะแยกออกประมาณ 3 น้ิว 3. วางปลายสายที่จะแยกลงบนเสน ที่ไมแยกตรงปอกแลว 4. ใชค มี ดึงและบิดเปนเกลียวใหแนน 5.5.5 การตอสายไฟฟา แบบตอ ตรง การตอสายเดี่ยวหรอื แบบตอตรงทาํ ดังนค้ี ือ 1. ทําการปลอกสายที่หุมฉนวนออกเสนละประมาณ 3 นว้ิ 2. ทาํ การขดุ ทาํ ความสะอาดสาย 3. เอาปลายทงั้ สองบดิ เขา หากันเปนเกลียว 4. ใชค มี บีบใหแ นน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook