Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือทักษะความฉลาดทางดิจิทัลสำหรับครู

คู่มือทักษะความฉลาดทางดิจิทัลสำหรับครู

Published by 19 อณันฑิตา ช้างน้ํา, 2022-05-07 04:06:46

Description: คู่มือทักษะความฉลาดทางดิจิทัลสำหรับครู

Search

Read the Text Version

คคคคููท่ท่สวมสวมืาืำาาำาอองมงหมหททดดัฉรัิฉริกักัจบจลบิลิษทษทคาัคาัะลดะลดร ร ูู

จัดทำโดย นางสาวอณันฑิตา ช้างน้ำ เสนอ อ . ด ร . สุ จิ ต ต ร า จั น ท ร์ ล อ ย อ . ด ร . สุ ธิ ด า ป รี ช า น น ท์ รายงานนี้ เป็ นส่ วนหนึ่ งของวิ ชา การพั ฒนาความเป็ นครู (GD58201) หลั กสู ตรประกาศนี ยบั ตรบั ณฑิ ต สาขาวิ ชาชี พครู ปี การศึ กษา 2564 หมาวิ ทยาลั ยราชภั ฏหมู่ บ้ านจอมบึ ง

คำ นำ ก่ อ น ห น้ า จ ะ เ กิ ด ก า ร ร ะ บ า ด ข อ ง ไ ว รั ส C o v i d - 1 9 ห ล า ย ค น ห่ า ง ไ ก ล จ า ก า ร ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี บ น โ ล ก อ อ น ไ ล น์ แ ต่ เ มื่ อ เ กิ ด ก า ร ร ะ บ า ด ข อ ง ไ ว รั ส C o v i d - 1 9 เ ร า ทุ ก ค น ต้ อ ง ใ ช้ ชี วิต กั บ รู ป แ บ บ ที่ เ รีย ก ว่ า N e w N o r m a l ห รือ เ รีย ก อี ก อ ย่ า ง ว่ า ชี วิต วีถี ใ ห ม่ ซึ่ ง ทำ ใ ห้ เ กิ ด ก า ร ป รั บ เ ป ลี่ ย น พ ฤ ติ ก ร ร ม ใ น ก า ร ใ ช้ ชี วิต ป ร ะ จำ วั น ทั่ ว ไ ป แ ล ะ ใ ช้ ชี วิต อ ยู่ ใ น โ ล ก อ อ น ไ ล น์ ม า ก ขึ้ น พ บ เ จ อ ผู้ ค น ใ น ชี วิต จ ริง น้ อ ย ล ง ดั ง นั้ น ผู้ จั ด ทำ จึ ง ง ไ ด้ ร ว บ ร ว ม 8 ทั ก ษ ะ ค ว า ม ฉ ล า ด ท า ง ดิ จิ ทั ล ล ง ใ น ร า ย ง า น เ ล่ ม นี้ แ ล ะ ห วั ง ว่ า ร า ย ง า น เ ล่ ม นี้ จ ะ เ ป็ น ป ร ะ โ ย ช น์ แ ก่ ผู้ อ่ า น ทุ ก ท่ า น น า ง ส า ว อ ณั น ฑิ ต า ช้ า ง น้ำ ผู้ จั ด ทำ

ส า ร บั ญ หน้า เรื่อง ก ข -คำนำ 1 -สารบัญ 2 -8 ทักษะความฉลาดทางดิจิทัล -ทักษะที่ 1 เอกลักษณ์พลเมืองดิจิทัล 3 (DIGITAL CITIZEN IDENTITY) ทักษะที่ 2 การบริหารจัดการเวลาบนโลกดิจิ 4 ดิทัจ (SCREEN TIME MANAGEMENT) -ทักษะที่ 3 การจัดการการกลั่นแกล้งบนไซเบอร์ 5 (CYBERBULLYING MANAGEMENT) -ทักษะที่ 4 การจัดการความปลอดภัยบนระบบ 6 เครือข่าย (CYBERSECURITY MANAGEMENT) 7 -ทักษะที่ 5 การจัดการความเป็นส่วนตัว (PRIVACY MANAGEMENT 8 -ทักษะที่ 6 การคิดอย่างมีวิจารณญาน (CRITICAL THINKING) 9 -ทักษะที่ 7 ร่องรอยทางดิจิดิทัล (DIGITAL FOOTPRINTS) 10 -ทักษะที่ 8 ความเห็นอกเห็นใจและสร้างสัมพั นธ์ 11 ภาพที่ดีกับผู้อื่นทางดิจิดิทัล (DIGITAL 12. EMPATHY) -บทสรุป -บรรณานุกรรม -ประวัติผู้จัดทำ

8 ทักษะความฉลาดทางดิจิทัล ความฉลาดทางดิจิทัล (Digital intelligence) ความเป็นพลเมืองดิจิทัล (Digital Citizenship) เป็นพลเมืองที่มี ความสามารถในการใช้อินเทอร์เน็ตในการบริหารจัดการควบคุม กำกับ ตน รู้ผิดรู้ถูก และรู้เท่าทัน เป็นบรรทัดฐานในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล อย่างเหมาะสม มีความรับผิดชอบ เรียนรู้ที่จะใช้เทคโนโลยีอย่างชาญ ฉลาด และปลอดภัย พลเมืองดิจิทัลจึงต้อง ตระหนักถึงโอกาส และความเสี่ยงในโลกดิจิทัล เข้าใจถึงสิทธิและความรับผิดชอบในโลก ออนไลน์ ความเป็น พลเมืองดิจิทัล นับเป็นมาตรฐานหนึ่งด้านทาง เทคโนโลยีการศึกษาที่เสนอโดยสมาคมเทคโนโลยีการศึกษานานาชาติ (ISTE : International Society for Technology in Education) เพื่อให้ผู้เรียนสามารถแสดงความเข้าใจประเด็นทางสังคม วัฒนธรรม และความเป็นมนุษย์ ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศ และปฏิบัติ ตนอย่างมีจริยธรรมและตามครรลองกฎหมายให้ใช้ข้อมูลข่าวสารได้ อย่างปลอดภัย ถูกกฎหมาย ซึ่งมีความสำคัญในทักษะแห่งการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 ทักษะสำคัญที่จะทำให้เป็นพลเมืองดิจิทัลที่สมบูรณ์

1. เอกลักษณ์พลเมืองดิจิทัล (DIGITAL CITIZEN IDENTITY) เ อ ก ลั ก ษ ณ์ พ ล เ มื อ ง ดิ จิ ทั ล เ ป็ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ส ร้ า ง แ ล ะ บ ริห า ร จั ด ก า ร อั ต ลั ก ษ ณ์ ที่ ดี ข อ ง ต น เ อ ง ไ ว้ ไ ด้ อ ย่ า ง ดี ทั้ ง ใ น โ ล ก อ อ น ไ ล น์ แ ล ะ โ ล ก ค ว า ม จ ริง อั ต ลั ก ษ ณ์ ที่ ดี คื อ ก า ร ที่ ผู้ ใ ช้ สื่ อ ดิ จิ ทั ล ส ร้ า ง ภ า พ ลั ก ษ ณ์ ใ น โ ล ก อ อ น ไ ล น์ ข อ ง ต น เ อ ง ใ น แ ง่ บ ว ก ทั้ ง ค ว า ม คิ ด ค ว า ม รู้ สึ ก แ ล ะ ก า ร ก ร ะ ทำ โ ด ย มี วิจ า ร ณ ญ า ณ ใ น ก า ร รั บ ส่ ง ข่ า ว ส า ร แ ล ะ แ ส ด ง ค ว า ม คิ ด เ ห็ น มี ค ว า ม เ ห็ น อ ก เ ห็ น ใ จ ผู้ ร่ ว ม ใ ช้ ง า น ใ น สั ง ค ม อ อ น ไ ล น์ แ ล ะ รู้ จั ก รั บ ผิ ด ช อ บ ต่ อ ก า ร ก ร ะ ทำ ไ ม่ ก ร ะ ทำ ก า ร ที่ ผิ ด ก ฎ ห ม า ย แ ล ะ จ ริย ธ ร ร ม ใ น โ ล ก อ อ น ไ ล น์ เช่น การละเมิดลิขสิทธิ์ การกลั่นแกล้งหรือการใช้วาจาที่สร้าง ความเกลียดชังผู้อื่นทางสื่อออนไลน

2 . ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร เ ว ล า บ น โ ล ก ดิ จิ ทั ล (SCREEN TIME MANAGEMENT) ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร เ ว ล า บ น โ ล ก ดิ จิ ทั ล เ ป็ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ค ว บ คุ ม ต น เ อ ง ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร จั ด ส ร ร เ ว ล า ใ น ก า ร ใ ช้ ง า น อุ ป ก ร ณ์ ดิ จิ ทั ล แ ล ะ อุ ป ก ร ณ์ เ ท ค โ น โ ล ยี ไ ด้ อ ย่ า ง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ ร ว ม ถึ ง ก า ร ใ ช้ ง า น สื่ อ สั ง ค ม ( S O C I A L M E D I A ) แ ล ะ เ ก ม อ อ น ไ ล น์ ( O N L I N E G A M E S ) ด้ ว ย ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ต่ อ ต น เ อ ง ส า ม า ร ถ บ ริ ห า ร เ ว ล า ที่ ใ ช้ อุ ป ก ร ณ์ ยุ ค ดิ จิ ทั ล ร ว ม ไ ป ถึ ง ก า ร ค ว บ คุ ม เ พื่ อ ใ ห้ เ กิ ด ส ม ดุ ล ร ะ ห ว่ า ง โ ล ก อ อ น ไ ล น์ แ ล ะ โ ล ก ค ว า ม เ ป็ น จ ริ ง อี ก ทั้ ง ต ร ะ ห นั ก ถึ ง อั น ต ร า ย แ ล ะ สุ ข ภ า พ จ า ก ก า ร ใ ช้ เ ว ล า ห น้ า จ อ น า น เ กิ น ไ ป แ ล ะ ผ ล เ สี ย ข อ ง ก า ร เ ส พ ติ ด สื่ อ ดิ จิ ทั ล

3 . ก า ร จั ด ก า ร ก า ร ก ลั่ น แ ก ล้ ง บ น ไ ซ เ บ อ ร์ (CYBERBULLYING MANAGEMENT) การจัดการการกลั่นแกล้งบนไซเบอร์ เป็นความสามารถใน การป้องกันตนเอง การมีภูมิคุ้มกันในการ รับมือและจัดการ กับ สถานการณ์การกลั่นแกล้งบนอินเทอร์เน็ตได้อย่างชาญ ฉลาด การใช้อินเทอร์เน็ตเป็น เครื่องมือหรือช่องทางเพื่อก่อ ให้เกิดการคุกคามล่อลวงและการกลั่นแกล้งบนโลก อินเทอร์เน็ตและสื่อสังคม ออนไลน์ โดยกลุ่มเป้าหมายมักจะ เป็นกลุ่มเด็กจนถึง เด็กวัยรุ่น การกลั่นแกล้งบนโลกไซเบอร์ คล้ายกันกับการ กลั่นแกล้งในรูปแบบอื่น หากแต่การกลั่น แกล้งประเภทนี้จะกระทำผ่านสื่อออนไลน์หรือสื่อดิจิทัล เช่ น การส่ ง ข้ อความทางโทรศั พท์ ผู้ กลั่ นแกล้ งอาจจะเป็ นเพื่ อนร่ วม ชั้ น คนรู้ จั กในสื่ อสั งคมออนไลน์ หรื ออาจจะเป็ นคน แปลกหน้ าก็ ได้ แต่ ส่ วนใหญ่ ผู้ ที่ กระท าจะรู้ จั กผู้ ที่ ถู กกลั่ นแกล้ งรู ปแบบของการกลั่ น แกล้ งมั กจะเป็ นการว่ าร้ าย ใส่ ความ ขู่ ท าร้ าย หรื อใช้ ถ้ อยค าหยาบ คาย การคุ กคามทางเพศผ่ านสื่ อออนไลน์ การแอบอ้ างตั วตนของผู้ อื่ น การแบล็ กเมล์ การหลอกลวง การสร้ างกลุ่ มในโซเชี ยลเพื่ อ โจมตี โดยเฉพาะ

4. การจัดการความปลอดภัยบนระบบ เครือข่าย (CYBERSECURITY MANAGEMENT) การจัดการความปลอดภัยบนระบบเครือข่าย เป็นความสามารถ ในการสำรวจ ตรวจสอบ การป้องกัน และการรักษาความปลอดภัย ของข้อมูลในระบบเครือข่าย ป้องกันข้อมูลด้วยการสร้างระบบ ความปลอดภัยที่ เข้มแข็ง และป้องกันการโจรกรรมข้อมูลหรือ การถูกโจมตีออนไลน์ได้ มีทักษะในการรักษาความปลอดภัยของ ตนเองในโลกออนไลน์การรักษาความปลอดภัยของตนเองใน โลกไซเบอร์ คือการปกป้องอุปกรณ์ดิจิทัลข้อมูลที่ จัดเก็บและ ข้อมูลส่วนตัวไม่ให้เสียหาย สูญหาย หรือถูกโจรกรรมจากผู้ไม่ หวังดีในโลกไซเบอร

5. การจัดการความเป็นส่วนตัว (PRIVACY MANAGEMENT) ก า ร จั ด ก า ร ค ว า ม เ ป็ น ส่ ว น ตั ว เ ป็ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร จั ด ก า ร กั บ ค ว า ม เ ป็ น ส่ ว น ตั ว ข อ ง ต น เ อ ง แ ล ะ ข อ ง ผู้ อื่ น ก า ร ใ ช้ ข้ อ มู ล อ อ น ไ ล น์ ร่ ว ม กั น ก า ร แ บ่ ง ปั น ผ่ า น สื่ อ ดิ จิ ทั ล ซึ่ ง ร ว ม ถึ ง ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร รู้ จั ก ป้ อ ง กั น ข้ อ มู ล ส่ ว น บุ ค ค ล ข อ ง ต น เ อ ง เ ช่ น ก า ร แ ช ร์ ข้ อ มู ล ต่ า ง ๆ ด้ ว ย เ ค รื่ อ ง มื อ ดิ จิ ทั ล ก า ร ข โ ม ย ข้ อ มู ล อั ต ลั ก ษ ณ์ เ ป็ น ต้ น โ ด ย ต้ อ ง มี ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ฝึ ก ฝ น ใ ช้ เ ค รื่ อ ง มื อ ห รื อ วิ ธี ก า ร ใ น ก า ร ป้ อ ง กั น ข้ อ มู ล ต น เ อ ง ไ ด้ เ ป็ น อ ย่ า ง ดี ร ว ม ไ ป ถึ ง ป ก ปิ ด ก า ร สื บ ค้ น ข้ อ มู ล ต่ า ง ๆ ใ น เ ว็ บ ไ ซ ต์ เ พื่ อ รั ก ษ า ค ว า ม เ ป็ น ส่ ว น ตั ว ค ว า ม เ ป็ น ส่ ว น ตั ว ใ น โ ล ก อ อ น ไ ล น์ คื อ สิ ท ธิ ก า ร ป ก ป้ อ ง ข้ อ มู ล ค ว า ม ส่ ว น ตั ว ใ น โ ล ก อ อ น ไ ล น์ ข อ ง ผู้ ใ ช้ ง า น ที่ บุ ค ค ล ห รื อ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ข้ อ มู ล ส่ ว น ตั ว ร ว ม ถึ ง ก า ร ใ ช้ ดุ ล ย พิ นิ จ ป ก ป้ อ ง ข้ อ มู ล ส่ ว น บุ ค ค ล แ ล ะ ข้ อ มู ล ที่ เ ป็ น ค ว า ม ลั บ ข อ ง ผู้ อื่ น

6. การคิดอย่างมีวิจารณญาณ (CRITICAL THINKING) การคิดอย่างมีวิจารณญาณ หมายถึง ความสามารถในการตัดสิน ของบุคคลว่าควรเชื่อ ไม่ควรเชื่อ ควร ท า หรือไม่ควรท าบน ความคิดเชิงเหตุและผล มีความสามารถในการวิเคราะห์แยกแยะ ระหว่างข้อมูลที่ถูกต้อง และข้อมูลที่ผิด ข้อมูลที่มีเนื้อหาเป็น ประโยชน์และข้อมูลที่เข้าข่ายอันตราย ข้อมูลติดต่อทางออนไลน์ที่ น่าตั้ง ข้อสงสัยและน่าเชื่อถือได้ เมื่อใช้อินเทอร์เน็ต ทราบว่า เนื้อหาใดมีประโยชน์ รู้เท่าทันสื่อและสารสนเทศ สามารถวิเคราะห์ และประเมิน ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายได้ เข้าใจรู ปแบบ การหลอกลวงต่าง ๆ ในสื่อ ดิจิทัล เช่น ข่าวปลอม เว็บไซต์ปลอม ภาพตัดต่อ ข้อมูลอันที่เท็จ เ ป็ น ต้ น

เกรด: วันที่: 7. ร่องรอยทางดิจิทัล (Digital Footprints) ร่องรอยทางดิจิทัล เป็นความสามารถในการเข้าใจ ธรรมชาติของการใช้ชีวิตในโลกดิจิทัลว่าจะหลงเหลือ ร่องรอยข้อมูลทิ้งไว้เสมอ ร่องรอยทางดิจิทัล อาจจะส่ง ผลกระทบในชีวิตจริง ที่เกิดจากร่องรอยทาง ดิจิทัล เข้าใจผลลัพธ์ที่อาจเกิดขึ้น เพื่อน ามาใช้ในการจัดการ กับชีวิตบทโลกดิจิทัลด้วยความรับผิดชอบ ข้อมูล ร่อง รอยทางดิจิทัล เช่น การลงทะเบียน อีเมล การโพสต์ข้อความหรือ รูปภาพ ไฟล์งานต่าง ๆ เมื่อถูกส่งเข้าโลก อินเทอร์เน็ต แล้ว จะทิ้งร่องรอยข้อมูลส่วนตัวของผู้ใช้งานไว้ ให้ผู้อื่น สามารถติดตามได้ และจะเป็นข้อมูลที่ระบุ ตัวบุคคลได้ อย่างง่ายดาย

8. ความเห็นอกเห็นใจและสร้าง สัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่นทางดิจิทัล (Digital Empathy) นี่คือเคล็ดลับเกี่ยว กับวิธีการความ เห็นอกเห็นใจและ สร้างสัมพันธภาพ ที่ดีกับผู้อื่นทาง ดิจิทัล (Digital Empathy) ความเห็นอกเห็นใจและสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่นทาง ดิจิทัล เป็ นความสามารถในการเข้าใจผู้อื่น การตอบสนอง ความต้องการของผู้อื่น การแสดง ความเห็นใจและการ แสดงน้ าใจต่อผู้อื่นบนโลกดิจิทัลได้อย่าง เหมาะสม มี ปฏิสัมพันธ์อันดีต่อคนรอบข้าง ไม่ว่าพ่อแม่ ครู เพื่อนทั้ง ในโลกออนไลน์และในชีวิตจริง ไม่ด่วน ตัดสินผู้อื่นจาก ข้อมูลออนไลน์แต่เพียงอย่างเดียว และจะเป็ นกระบอก เสียงให้ผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือในโลก ออนไลน

สรุปได้ว่า! ความฉลาดดิจิทั ลในระดับพลเมืองดิจิทั ลเป็นทั กษะที่ สำคั ญสำหรับ นักเรียน และบุ คคลทั่วไปในการสื่ อสารในโลกออนไลน์เป็นอย่างยิ่ง ทั้งเอกลั กษณ์พลเมืองดิจิทั ล การบริหารจัดการเวลาบนโลกดิจิทั ล การจัดการการกลั่นแกล้ งบนไซเบอร์ การจัดการความปลอดภั ยบน ระบบเครือข่ายการจัดการความเป็นส่วนตั ว การคิ ดอย่างมี วิจารณญาณ ร่องรอยทางดิจิทั ล ความเห็นอกเห็นใจและสร้าง สัมพันธภาพที่ ดีกั บผู้อื่ น ทางดิจิทั ล หากบุ คคลมีทั กษะและความ สามารถทั้ง 8 ประการจะทำให้บุ คคลนั้นมีความสามารถในการใช้ อิ นเทอร์เน็ตในการบริหารจัดการ ควบคุม กำกั บตน รู้ผิดรู้ถูก และ รู้เท่ าทั น เป็นบรรทั ดฐานในการใช้เทคโนโลยีดิจิทั ลอย่างเหมาะสม เรียนรู้ที่ จะใช้เทคโนโลยีอย่างชาญฉลาด และปลอดภั ย ขอบคุณ

บรรณานุกรม ส ถ า บั น สื่ อ เ ด็ ก แ ล ะ เ ย า ว ช น . ( 2 5 6 1 ) . ก า ร จั ด ท า F A C T S H E E T ‘ ค ว า ม ฉ ล า ด ท า ง ดิ จิ ทั ล ’ ( D I G I T A L I N T E L L I G E N C E : D Q ) แ ล ะ ก า ร ศึ ก ษ า ก า ร รั ง แ ก กั น บ น โ ล ก ไ ซ เ บ อ ร์ ข อ ง วั ย รุ่ น . ก รุ ง เ ท พ ม ห า น ค ร : ส ถ า บั น สื่ อ เ ด็ ก แ ล ะ เ ย า ว ช น YUHYUN PARK. (2016). 8 DIGITAL SKILLS WE MUST TEACH OUR CHILDREN. RETRIEVED MARCH 8, 2017, HTTPS://WWW.WEFORUM.ORG/AGENDA/2016/06/8- DIGITAL-SKILLS-WE-MUST-TEACH OUR-CHILDREN

ป ร ะ วั ติ ส่ ว น ตั ว ผู้ จั ด ทำ ชื่อ : นางสาวอณันฑิตา ช้างน้ำ ชื่อเล่น : น้ำหวาน อายุ : 27 ปี ว/ด/ป : 4 ตุลาคม 2538 ที่อยู่ : เลขที่ 202 หมู่ 3 ตำบลเกาะศรีบอยา อำเภอเหนือคลอง จังหวัดกระบี่ 81130 การศึกษา : ปริญญาตรี