Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สื่อการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย.docx จิรภัทร์

สื่อการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย.docx จิรภัทร์

Published by moddjiraphat02, 2019-07-18 04:08:52

Description: สื่อการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย.docx จิรภัทร์

Search

Read the Text Version

ส่ือการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย บทที่ 1 ภาษาไทยเพื่อการส่ื อสาร จั ด ทา โ ด ย นางสาว จิรภัทร์ บุญเหลือ อิเล็กทรอนิกส์ ช้ัน ปวช.2 เสนอ คุณครู นริ ศรา ทองยศ วิ ท ย า ลัย เ ท ค โ น โ ล ยี แ ล ะ ก า ร จัด ก า ร ห น อ ง ส อ ง ห้ อ ง

ภาษาเพื่อการสื่อสาร ความรเู้ บอ้ื งตน้ เกยี่ วกบั การส่อื สาร 1. ความหมายของการสือ่ สาร 2. ความสาคญั ของการส่ือสาร 3. องค์ประกอบของการ ส่อื สาร 4. หลักในการสื่อสาร 5. วตั ถปุ ระสงค์ในการสอ่ื สาร 6. ประเภทของการส่ือสาร 7. ปจั จยั ทชี่ ว่ ยให้การสอื่ สารประสบผลสาเร็จ 8. อุปสรรคในการสอื่ สาร จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกความหมายของการสื่อสารได้ถูกต้อง 2. บรรยายความสาคัญของการสอื่ สารได้ 3. จาแนกองคป์ ระกอบและประเภทของการสื่อสารได้ 4. ช้ีแจงหลักการและวตั ถปุ ระสงค์ของการส่ือสารได้ 5. วิเคราะหอ์ ุปสรรคและแกป้ ัญหาในการสื่อสารได้ ความหมายของการสอื่ สาร ความรู้พ้นื ฐานเรื่องการสื่อสาร การสอ่ื สารเป็นปัจจัยสาคัญในการดารงชีวิต มนษุ ยจ์ าเปน็ ตอ้ งติดต่อสอ่ื สารกนั อยู่ตลอดเวลา การส่อื สาร จึงเปน็ ปจั จัยสาคัญอย่างหน่ึงนอกเหนือจากปัจจัยพ้ืนฐานในการดารงชวี ิตของมนษุ ย์ การสอื่ สารมบี ทบาท สาคญั ตอ่ การดาเนนิ ชีวติ ของมนุษย์มาก การสื่อสารมีความสาคัญอย่างยิ่งในปัจจบุ ัน ซ่ึงได้ชอ่ื วา่ เปน็ ยุคโลกาภิ

วัตน์ เปน็ ยุคของข้อมลู ขา่ วสาร การสอ่ื สารมปี ระโยชนท์ ้ังในแงบ่ คุ คลและสังคม การส่ือสารทาใหค้ นมีความรู้ และโลกทัศน์ทกี่ ว้างขวางขนึ้ การส่ือสารเป็นกระบวนการท่ีทาให้สงั คม เจริญกา้ วหนา้ อย่างไมห่ ยุดย้งั ทาให้ มนุษย์สามารถสืบทอดพัฒนา เรยี นรู้ และรับรวู้ ัฒนธรรมของตนเองและสังคมได้ การสอื่ สารเป็นปัจจัยสาคญั ในการพัฒนาประเทศ สร้างสรรค์ความเจริญก้าวหน้าแก่ชมุ ชน และสงั คมในทกุ ด้าน ความหมายของการส่อื สาร คาวา่ การสอ่ื สาร (communications) มที มี่ าจากรากศัพท์ภาษาลาตนิ ว่า communis หมายถึง ความ เหมือนกนั หรือร่วมกัน การส่อื สาร (communication)หมายถงึ กระบวนการถ่ายทอดข่าวสาร ขอ้ มลู ความรู้ ประสบการณ์ ความรู้สึก ความคดิ เหน็ ความต้องการจากผู้สง่ สารโดยผ่านสือ่ ตา่ ง ๆ ท่ีอาจเปน็ การพูด การเขียน สญั ลกั ษณ์อื่นใด การแสดงหรือการจัดกจิ กรรมตา่ ง ๆ ไปยังผรู้ ับสาร ซง่ึ อาจจะใชก้ ระบวนการส่ือสาร ท่แี ตกต่างกันไปตามความเหมาะสม หรือความจาเปน็ ของตนเองและค่สู ือ่ สาร โดยมีวัตถปุ ระสงค์ใหเ้ กดิ การ รับรู้ร่วมกันและมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อกัน บริบททางการสือ่ สารท่เี หมาะสมเปน็ ปจั จัยสาคญั ทจ่ี ะชว่ ยให้การ ส่ือสารสัมฤทธผ์ิ ล บรบิ ททางการสอ่ื สาร ความสาคญั ของการสื่อสาร การสอ่ื สารมีความสาคญั ดงั นี้ 1. การส่ือสารเป็นปัจจัยสาคัญในการดารงชีวติ ของมนุษย์ทุกเพศ ทุกวยั ไมม่ ีใครทจี่ ะดารงชวี ติ ได้ โดย ปราศจากการสอื่ สาร ทุกสาขาอาชีพก็ต้องใช้การส่ือสารในการปฏิบตั งิ าน การทาธรุ กิจตา่ ง ๆ โดยเฉพาะ สังคมมนุษย์ท่มี ีการเปล่ยี นแปลงและพฒั นาตลอดเวลา พัฒนาการทางสงั คม จงึ ดาเนินไปพร้อม ๆ กบั พัฒนาการทางการสื่อสาร 2. การสอื่ สารก่อให้เกดิ การประสานสมั พนั ธ์กันระหว่างบุคคลและสังคม ช่วยเสริมสร้างความเขา้ ใจอนั ดี ระหว่างคนในสังคม ช่วยสืบทอดวฒั นธรรมประเพณี สะทอ้ นใหเ้ ห็นภาพความเจรญิ รงุ่ เรอื ง วถิ ีชวี ติ ของ ผูค้ น ช่วยธารงสังคมให้อยรู่ ่วมกันเป็นปกตสิ ุขและอยูร่ ว่ มกันอย่างสันติ 3. การสอื่ สารเป็นปจั จยั สาคัญในการพฒั นาความเจรญิ ก้าวหน้าทงั้ ตัวบุคคลและสังคม การพฒั นาทางสงั คมใน ดา้ นคุณธรรม จรยิ ธรรม วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฯลฯ รวมทง้ั ศาสตร์ในการสอ่ื สาร จาเป็นตอ้ งพฒั นาอยา่ ง ไมห่ ยุดย้ัง การสอ่ื สารเปน็ เครื่องมือในการพฒั นาคุณภาพชีวติ ของมนุษย์และพัฒนาความเจรญิ ก้าวหน้าในด้าน ต่างๆ

องคป์ ระกอบของการสื่อสาร องค์ประกอบทสี่ าคญั ของการส่ือสาร มี 4 ประการ ดังน้ี 1. ผู้ส่งสาร (sender) หรือ แหล่งสาร (source) หมายถงึ บคุ คล กลุ่มบุคคล หรอื หน่วยงานที่ทาหนา้ ท่ีในการ สง่ สาร หรอื เป็นแหล่งกาเนิดสาร ทเี่ ป็นผ้เู รม่ิ ตน้ ส่งสารดว้ ยการแปลสารน้ันใหอ้ ยูใ่ นรูปของสัญลกั ษณท์ ่ีมนษุ ย์ สร้างขน้ึ แทนความคดิ ได้แก่ ภาษาและอากัปกริ ิยาตา่ ง ๆ เพ่อื ส่ือสารความคิด ความรสู้ ึก ขา่ วสาร ความ ต้องการและวตั ถุประสงค์ของตนไปยังผ้รู ับสารด้วยวธิ กี ารใด ๆ หรอื สง่ ผ่านชอ่ งทางใดก็ตาม จะโดยตงั้ ใจ หรอื ไมต่ ้ังใจก็ตาม เช่น ผพู้ ูด ผู้เขียน กวี ศิลปนิ นกั จัดรายการวทิ ยุ โฆษก รฐั บาล องค์การ สถาบัน สถานวี ิทยกุ ระจายเสียง สถานีวิทยุโทรทศั น์ กองบรรณาธิการ หนงั สือพมิ พ์ หน่วยงานของรัฐ บริษัท สถาบันสือ่ มวลชน เป็นต้น คุณสมบตั ิของผสู้ ง่ สาร 1. เป็นผทู้ ่ีมีเจตนาแน่ชัดที่จะให้ผู้อ่ืนรบั รูจ้ ดุ ประสงค์ของตนในการสง่ สาร แสดงความคิดเหน็ หรือวจิ ารณ์ ฯลฯ 2. เปน็ ผทู้ ่มี ีความรู้ ความเข้าใจในเนอื้ หาของสารท่ีต้องการจะสื่อออกไปเป็นอย่างดี 3. เปน็ ผ้ทู มี่ บี ุคลิกลกั ษณะท่ีดี มีความน่าเชื่อถือ แคลว่ คล่องเปดิ เผยจริงใจ และมคี วามรบั ผิดชอบ ในฐานะ เปน็ ผสู้ ่งสาร 4. เป็นผทู้ สี่ ามารถเข้าใจความพร้อมและความสามารถในการรบั สารของผรู้ บั สาร 5. เปน็ ผู้ร้จู ักเลอื กใช้กลวิธที เ่ี หมาะสมในการสง่ สารหรอื นาเสนอสาร 2. สาร (message) หมายถึง เรื่องราวท่ีมีความหมาย หรอื สงิ่ ตา่ ง ๆ ท่ีอาจอยใู่ นรูปของขอ้ มูล ความรู้ ความคิด ความต้องการ อารมณ์ ฯลฯ ซง่ึ ถ่ายทอดจากผสู้ ง่ สารไปยังผู้รบั สารให้ได้รบั รู้ และแสดงออกมาโดย อาศัยภาษาหรือสัญลกั ษณใ์ ด ๆ ทส่ี ามารถทาใหเ้ กิดการรบั รรู้ ่วมกันได้ เช่น ข้อความที่พูด ขอ้ ความที่ เขียน บทเพลงทรี่ ้อง รปู ทว่ี าด เร่ืองราวที่อา่ น ท่าทางท่ีสื่อความหมาย เป็นต้น 2.1 รหัสสาร (message code)ได้แก่ ภาษา สญั ลักษณ์ หรือสัญญาณท่มี นุษย์ใชเ้ พื่อแสดงออกแทนความรู้ ความคิด อารมณ์ หรือความรู้สกึ ต่าง ๆ 2.2 เน้อื หาของสาร (message content) หมายถงึ บรรดาความรู้ ความคิดและประสบการณ์ท่ผี ู้ส่งสาร ต้องการจะถ่ายทอดเพ่ือการรบั ร้รู ว่ มกัน แลกเปลยี่ นเพื่อความเข้าใจร่วมกนั หรอื โตต้ อบกัน

2.3 การจัดสาร (message treatment) หมายถึง การรวบรวมเน้อื หาของสาร แลว้ นามาเรยี บเรยี งให้เป็นไป อย่างมรี ะบบ เพื่อให้ได้ใจความตามเนื้อหา ทตี่ ้องการดว้ ยการเลอื ก ใชร้ หสั สารทเี่ หมาะสม 3. สื่อ หรือชอ่ งทาง (media or channel) เปน็ องคป์ ระกอบทีส่ าคญั อกี ประการหนง่ึ ในการ สอ่ื สาร หมายถงึ สงิ่ ที่เป็นพาหนะของสาร ทาหนา้ ทนี่ าสารจากผสู้ ง่ สารไปยงั ผู้รับสาร ผสู้ ่งสารตอ้ งอาศัย สือ่ หรอื ช่องทางทาหนา้ ทนี่ าสารไปสู่ผรู้ บั สาร การแบ่งประเภทของส่ือมีหลากหลายต่างกันออกไป ดังนี้ (สถาบนั ราชภัฏสวนดสุ ติ , 2542: 6 ) เกณฑ์การแบง่ ประเภทของสื่อ ตัวอย่าง 1. แบง่ ตามวธิ กี ารเข้า และถอดรหสั ส่ือวัจนะ (verbal) ส่ืออวัจนะ (nonverbal) คาพดู ตัวเลข สีหน้า ท่าทาง นา้ เสยี ง หนงั สอื พมิ พ์ รปู ภาพ 2. แบ่งตามประสาทการรบั รู้ สอ่ื ท่ีรบั รู้ด้วยการเห็น สอื่ ที่รับรดู้ ว้ ยการฟงั สื่อท่ีรดู้ ้วยการเห็นและการฟัง นติ ยสาร เทป วทิ ยุ โทรทัศน์ ภาพยนตร์ วดี ทิ ศั น์ 3. แบ่งตามระดบั การสื่อสาร หรอื จานวนผรู้ ับสาร สื่อระหวา่ งบคุ คล สอ่ื ในกลมุ่ สอื่ สารมวลชน โทรศพั ท์ จดหมาย ไมโครโฟน โทรทัศน์ วทิ ยุ หนังสอื พิมพ์ 4. แบ่งตามยคุ สมัย สอ่ื ด้ังเดมิ สอื่ ร่วมสมยั ส่อื อนาคต เสยี งกลอง ควนั ไฟ โทรศัพท์ โทรทัศน์ เคเบลิ วีดโิ อเทกซ์ 5. แบง่ ตามลกั ษณะของส่อื ส่ือธรรมชาติ ส่ือมนษุ ย์หรอื ส่ือบุคคล สอ่ื สิง่ พมิ พ์ สือ่ อิเล็กทรอนิกส์ อากาศ แสง เสียง คนส่งของ ไปรษณยี ์ โฆษก หนังสือ นติ ยสาร ใบปลวิ วิทยุ วดี ทิ ศั น์ ศลิ าจารึก ส่ือพืน้ บ้าน หนงั สอื ใบข่อย

6. แบ่งตามการใชง้ าน สื่อสาหรบั งานทว่ั ไป สือ่ เฉพาะกิจ จดหมายเวียน โทรศัพท์ วารสาร จดุ สาร วีดิทศั น์ 7. แบ่งตามการมสี ่วนร่วมของผู้รบั สาร สอ่ื รอ้ น ส่อื เยน็ การพดู การอ่าน 4. ผรู้ บั สาร (receiver) หมายถงึ บคุ คล กลุม่ บคุ คล หรอื มวลชนท่ีรับเร่อื งราวขา่ วสาร จากผสู้ ง่ สาร และแสดงปฏกิ ิริยาตอบกลบั (Feedback) ต่อผู้สง่ สาร หรอื ส่งสารตอ่ ไปถึงผรู้ ับสารคนอื่น ๆ ตามจุดม่งุ หมายของผู้สง่ สาร เช่น ผู้เขา้ ร่วมประชมุ ผฟู้ ังรายการวทิ ยุ กลุ่มผู้ฟังการอภปิ ราย ผอู้ า่ น บทความจากหนังสอื พิมพ์ เปน็ ตน้ หลกั ในการสอ่ื สาร การสือ่ สารจะประสบความสาเรจ็ ตรงตามจุดประสงค์หรือไม่ผสู้ ่งสารควรคานงึ ถึงหลักการสอ่ื สาร ดงั น้ี (ภาควชิ าภาษาไทย สถาบันราชภฏั เทพสตรี ลพบรี, 2542: 13-14) 1. ผู้ทจี่ ะสื่อสารใหไ้ ด้ผลและเกิดประโยชน์ จะต้องทาความเขา้ ใจเร่ืององคป์ ระกอบในการสอ่ื สาร และปัจจัย ทางจิตวทิ ยาทเ่ี กี่ยวข้องกบั ระบบการรบั รู้ การคิด การเรียนรู้ การจา ซง่ึ มผี ลตอ่ ประสทิ ธิภาพ ในการสือ่ สาร 2. ผู้ทจี่ ะสื่อสารตอ้ งคานึงถึงบริบทในการส่ือสาร บรบิ ทในการสอ่ื สาร หมายถึง สิ่งทอี่ ยู่แวดล้อมทีม่ ีสว่ นใน การกาหนดรู้ความหมายหรือความเข้าใจในการส่ือสาร 3. คานึงถงึ กรอบแห่งการอ้างองิ (frame of reference) มนุษยท์ ุกคนจะมีพน้ื ความรูท้ ักษะ เจตคติ ค่านิยม สังคม ประสบการณ์ ฯลฯ เรียกวา่ ภมู หิ ลงั แตกตา่ งกัน ถา้ คู่สื่อสารใดมีกรอบแหง่ การอ้างองิ คล้ายกนั ใกล้เคยี งกัน จะทาให้การส่ือสารงา่ ยขึน้ 4. การส่ือสารจะมีประสิทธผิ ล เม่ือผู้ส่งสารส่งสารอยา่ งมีวัตถปุ ระสงค์ชดั เจน ผ่านสื่อหรือชอ่ งทาง ที่ เหมาะสม ถึงผู้รับสารทีม่ ีทักษะในการสื่อสารและมีวตั ถปุ ระสงคส์ อดคล้องกนั 5. ผูส้ ่งสารและผูร้ ับสาร ควรเตรียมตัวและเตรยี มการล่วงหนา้ เพราะจะทาใหก้ ารสอื่ สารราบรื่น สะดวก รวดเร็ว เปน็ ไปตามวัตถปุ ระสงคแ์ ละสามารถแกไ้ ขได้ทันทว่ งที หากจะเกดิ อุปสรรค์ ที่จดุ ใดจดุ หน่ึง

6. คานงึ ถงึ การใช้ทกั ษะ เพราะภาษาเปน็ สญั ลักษณ์ทีม่ นษุ ยต์ กลงใชร้ ว่ มกันในการ สอ่ื ความหมาย ซ่ึงถือได้ว่าเป็นหัวใจในการส่ือสาร คสู่ ื่อสารตอ้ งศึกษาเรื่องการใช้ภาษา และสามารถใช้ภาษาให้ เหมาะสมกับกาลเทศะ บุคคล เน้อื หาของสาร และชอ่ งทางหรือสื่อ ที่ใชใ้ นการส่อื สาร 7. คานึงถงึ ปฏิกริ ิยาตอบกลับตลอดเวลา ถือเปน็ การประเมินผลการสื่อสาร ทีจ่ ะทาให้คู่สือ่ สารรับรูผ้ ลของการ สอื่ สารวา่ ประสบผลดีตรงตามวตั ถหุ รือไม่ ควรปรบั ปรุง เปลี่ยนแปลงหรอื แกไ้ ขข้อบกพรอ่ งใด เพื่อที่จะทาให้ การสอื่ สารเกิดผลตามท่ีต้องการ วตั ถปุ ระสงค์ของการสื่อสาร คณาจารย์ มหาวทิ ยาลยั จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (2551: 17) กลา่ วถงึ วัตถปุ ระสงค์ของการสอื่ สารไวด้ งั น้ี 1. เพ่ือแจ้งให้ทราบ (inform) ในการทาการสอื่ สาร ผู้ทาการสื่อสารควรมคี วาม ต้องการทจี่ ะบอกกล่าว หรอื ชีแ้ จงขา่ วสาร เรอ่ื งราว เหตุการณ์ หรือส่ิงอืน่ ใดให้ผู้รับสารไดร้ บั ทราบ 2. เพ่ือสอนหรือใหก้ ารศึกษา (teach or education) ผทู้ าการสื่อสารอาจมีวัตถปุ ระสงค์เพือ่ จะ ถา่ ยทอดวชิ าความรู้ หรอื เรอื่ งราวเชงิ วชิ าการ เพื่อใหผ้ ูร้ บั สารไดม้ ีโอกาสพัฒนาความรู้ใหเ้ พิ่มพนู ย่งิ ข้นึ 3. เพื่อสร้างความพอใจหรอื ใหค้ วามบนั เทิง (please of entertain) ผทู้ าการสื่อสารอาจ ใช้วัตถุประสงค์ ในการสอื่ สารเพือ่ สร้างความพอใจ หรือให้ความบนั เทงิ แก่ผู้รับสาร โดยอาศยั สารท่ีตนเองส่งออกไป ไมว่ า่ จะ อยใู่ นรปู ของการพูด การเขียน หรอื การแสดงกิริยาตา่ ง ๆ 4. เพื่อเสนอหรือชกั จงู ใจ (Propose or persuade) ผทู้ าการส่อื สารอาจใชว้ ตั ถุประสงคใ์ น การส่อื สาร เพ่อื ใหข้ อ้ เสนอแนะ หรอื ชกั จูงใจในส่ิงใดส่ิงหน่ึงต่อผู้รบั สาร และอาจชักจูงใจใหผ้ รู้ ับสารมีความคิดคล้อย ตาม หรอื ยอมปฏบิ ตั ิตามการเสนอแนะของตน 5. เพื่อเรยี นรู้ (learn) วตั ถปุ ระสงค์นมี้ ีความเก่ยี วข้องโดยตรงกับผู้รับสาร การแสวงหาความรู้ ของผูร้ ับ สาร โดยอาศยั ลกั ษณะของสาร ในกรณีนี้มกั จะเป็นสารท่ีมีเน้อื หาสาระเก่ยี วกบั วิชาความรู้ เปน็ การหาความรู้ เพม่ิ เติมและเป็นการทาความเขา้ ใจกบั เน้ือหาของสารที่ผู้ทาการสอื่ สารถา่ ยทอดมาถึงตน 6. เพ่ือกระทาหรือตัดสินใจ (dispose or decide) ในการดาเนินชีวิตของคนเรามี ส่ิงหนึง่ ทต่ี อ้ งกระทา อยเู่ สมอก็คือ การตดั สินใจกระทาการอยา่ งใดอยา่ งหนงึ่ ซ่งึ การตัดสินใจ นน้ั อาจได้รับการเสนอแนะ หรือชกั จงู ใจใหก้ ระทาอยา่ งนั้นอยา่ งนจ้ี ากบุคคลอื่นอยู่เสมอ ทางเลือกในการ ตดั สินใจของเราจงึ ขนึ้ อยู่กับ ขอ้ เสนอแนะน้นั

ประเภทของการสื่อสาร การจาแนกประเภทของการสื่อสาร มผี จู้ าแนกไวห้ ลาย ๆ ประเภท โดยใช้เกณฑใ์ นการพจิ ารณา ตาม จดุ ประสงคข์ องการศึกษาหรือวัตถปุ ระสงคท์ ี่ต้องการจะนาเสนอ ซ่ึงสรปุ ไดต้ ามตารางดังนี้ เกณฑ์การแบ่ง ประเภทของการสื่อสาร ตวั อย่าง 1. จานวนผูท้ าการสอ่ื สาร 1.1 การสือ่ สารภายในตัวบคุ คล (intrapersonal communication) - การพูดกบั ตัวเอง - การคดิ คานึงเร่ืองตา่ ง ๆ - การรอ้ งเพลงฟังเอง - การคิดถงึ งานท่ีจะทา เป็นต้น 1.2 การสื่อสารระหว่างบุคคล (interpersonal communication) - การพูดคุยระหว่างบคุ คล 2 คนข้นึ ไป - การพูดคุย - การเขยี นจดหมาย - การโทรศัพท์ - การประชมุ กลมุ่ ย่อย เป็นต้น 1.3 การสือ่ สารกล่มุ ใหญ่

(large group communication) - การอภิปรายในหอประชมุ - การพูดหาเรื่องเลอื กตัง้ - การปราศรยั ในงานสงั คม - การกลา่ วปาฐกถา ในหอประชมุ - การบรรยายทางวิชาการ ณ ศูนยเ์ รียนรวม เปน็ ต้น 1.4 การส่อื สารในองค์กร (organizational communication) - การสื่อสารในบริษทั - การสื่อสารในหนว่ ยงาน ราชการ - การสอ่ื สารในโรงงาน - การส่ือสารของธนาคาร เป็นตน้ 1.5 การส่อื สารมวลชน (mass communication) การสอื่ สารท่ีผ่านสื่อเหล่านี้ คือ - หนงั สือพมิ พ์, นติ ยสาร - วทิ ยุ - โทรทศั น์ - ภาพยนตร์ เป็นตน้

2.การเห็นหน้ากัน 2.1 การส่อื สารแบบเผชญิ หนา้ (face to face communication) - การสนทนาต่อหนา้ กัน - การประชุมสัมมนา - การสมั ภาษณ์เฉพาะหน้า - การเรยี นการสอนในชั้นเรียน - การประชมุ กลุ่มย่อย เปน็ ต้น 2.2 การสื่อสารแบบไม่เผชญิ หน้า (interposed communication) - เอกสารการส่ือสารทผ่ี า่ น สอ่ื มวลชนทุกชนิด คือ - หนังสอื พมิ พ์ - วิทยุ - โทรทัศน์ - วีดิทศั น์การสอ่ื สารท่ีผ่าน ส่ือมวลชนทกุ ชนดิ - จดหมาย/โทรเลข/โทรสาร - อินเตอรเ์ น็ต เป็นต้น 3. ความสามารถในการโต้ตอบ

3.1 การสอ่ื สารทางเดยี ว (one-way communication) การส่ือสารที่ผา่ นสื่อมวลชนทุกชนิด คอื - วทิ ยุ/โทรทศั น์/วดี ทิ ัศน์ - โทรเลข/โทรสาร - ภาพยนตร์ เป็นต้น 3.2 การส่ือสารสองทาง (two-way communication) - การส่อื สารระหว่างบคุ คล - การส่อื สารในกล่มุ - การพดู คุย / การสนทนา เป็นต้น 4. ความแตกตา่ งระหวา่ ง ผู้รับสารและผสู้ ง่ สาร 4.1 การสือ่ สารระหว่างเชื้อชาติ (interracial communication) - ชาวไทยสอื่ สารกบั คน ตา่ งประเทศ - คนจนี , มาเลย์, อนิ เดยี ใน ประเทศมาเลเซยี สอ่ื สารกัน เปน็ ตน้

4.2 การสอ่ื สารระหวา่ งวฒั นธรรม (gosscultural communication) - การสือ่ สารระหวา่ งคนไทยภาคใตก้ บั ภาคเหนือหรือ ภาคอน่ื ๆ - ชาวไทยสอ่ื สารกบั ชาวเขา เปน็ ต้น 4.3 การสอ่ื สารระหวา่ งประเทศ (international communication) - การเจรจาติดต่อสัมพนั ธท์ างการทูต - การเจรจาในฐานะตัวแทน รฐั บาล เปน็ ตน้ 5. การใชภ้ าษา 5.1 การส่อื สารเชิงวัจนภาษา (verbal communication) - การพดู , การบรรยาย - การเขียนจดหมาย, บทความ เปน็ ตน้ 5.2 การสอ่ื สารเชิงอวจั นภาษา (non-verbal communication) - การสอ่ื สารโดยไม่ใชถ้ ้อยคา, คาพูด - อาการภาษา, กาลภาษา, เทศภาษา, สัมผสั ภาษา, เนตรภาษา, วตั ถุภาษา และปรภิ าษา เปน็ ตน้ อุปสรรคในการสอื่ สาร

อุปสรรคในการสือ่ สาร หมายถงึ สง่ิ ท่ที าใหก้ ารส่ือสารไม่บรรลุตามวตั ถุประสงค์ ของผู้สอ่ื สาร และผรู้ บั สาร อุปสรรคในการสอื่ สารอาจเกิดขึ้นได้ทกุ ขัน้ ตอนของกระบวนการสื่อสาร ดังนั้นอุปสรรค ในการสือ่ สาร จากองคป์ ระกอบตา่ ง ๆ ดังนี้ 1. อุปสรรคท่ีเกิดจากผู้ส่งสาร 1.1 ผ้สู ง่ สารขาดความรคู้ วามเข้าใจและข้อมูลเกี่ยวกับสารท่ตี ้องการจะสื่อ 1.2 ผู้สง่ สารใช้วธิ กี ารถา่ ยทอดและการนาเสนอทไ่ี มเ่ หมาะสม 1.3 ผูส้ ่งสารไม่มีบุคลกิ ภาพท่ีไมด่ ี และไมเ่ หมาะสม 1.4 ผสู้ ่งสารมที ศั นคติท่ไี ม่ดีต่อการสง่ สาร 1.5 ผู้สง่ สารขาดความพร้อมในการส่งสาร 1.6 ผสู้ ง่ สารมีความบกพรอ่ งในการวเิ คราะห์ผรู้ บั สาร 2. อุปสรรคทเ่ี กดิ จากสาร 2.1 สารไมเ่ หมาะสมกับผ้รู ับสาร อาจยากหรอื งา่ ยเกนิ ไป 2.2 สารขาดการจัดลาดับทด่ี ี สลบั ซับซ้อน ขาดความชัดเจน 2.3 สารมีรปู แบบแปลกใหม่ยากต่อความเขา้ ใจ 2.4 สารทใี่ ชภ้ าษาคลุมเครือ ขาดความชัดเจน 3. อปุ สรรคท่ีเกิดขึน้ จากสอ่ื หรอื ช่องทาง 3.1 การใช้สื่อไม่เหมาะสมกับสารทีต่ ้องการนาเสนอ 3.2 การใชส้ ือ่ ท่ไี ม่มปี ระสิทธิภาพที่ดี 3.3 การใช้ภาษาท่ไี ม่เหมาะสมกับระดับของการส่ือสาร

4. อปุ สรรคท่เี กิดจากผูร้ บั สาร 4.1 ขาดความรู้ในสารท่ีจะรับ 4.2 ขาดความพรอ้ มทจ่ี ะรบั สาร 4.3 ผรู้ ับสารมที ศั นคติทีไ่ ม่ดตี ่อผ้สู ่งสาร 4.4 ผรู้ บั สารมีทศั นคติท่ีไม่ดตี ่อสาร 4.5 ผรู้ ับสารมคี วามคาดหวงั ในการสอ่ื สารสูงเกินไป ภาษาไทยเพื่อการส่อื สารธุรกิจ ความร้พู ้นื ฐานเก่ียวกับการสื่อสารธุรกิจ คากลา่ วท่วี ่า “มนษุ ย์เป็นสัตว์สงั คม” น่ันหมายความว่า มนษุ ย์ไม่อาจดารงชีวิตโดยลาพังได้ จาเป็นตอ้ งพง่ึ พาอาศัยกัน ดว้ ยเหตุนี้ มนษุ ยจ์ งึ ต้องมีการส่อื สารเพ่อื ส่งความนกึ คิดและความรู้สึกให้ผู้อื่นท่ีต้อง เกย่ี วข้องพ่งึ พาได้รบั รู้ เขา้ ถึง และเกดิ อาการตอบสนอง ซึ่งความนกึ คิดและความรสู้ กึ นน้ั เราเรยี กกนั วา่ “สาร” หรือบางบรบิ ทเรียกกนั วา่ ความหมาย สาระ ใจความ เป็นต้น การส่อื สาร จงึ หมายถึง กระบวนการท่ีมนษุ ย์เชื่อมโยงความนึกคิดและความร้สู กึ ใหถ้ ึงกัน เพื่อให้ เกดิ การตอบสนองในเชิงพ่ึงพาอาศยั ซึ่งกนั และกัน ในการประกอบธุรกจิ นอกจากจะมีความพร้อมทางปัจจยั ธุรกจิ ทีเ่ รยี กกนั วา่ 4M คือ คน (Man) ทุน (Money) การจัดการ (Management) และวตั ถุดิบ (Material) แล้วยงั ต้องมีองค์ประกอบอื่นๆ อีก หลายดา้ นท่เี ป็นองคป์ ระกอบย่อยและมคี วามสาคญั ในทางสนับสนุนและสง่ เสริมใหธ้ รุ กจิ ประสบความสาเรจ็ การตดิ ต่อสือ่ สารก็เป็นองคป์ ระกอบหนึ่งที่มคี วามสาคัญ เพราะทกุ กระบวนการของการจัดการกับปจั จยั ทาง ธุรกจิ ยอ่ มต้องอาศัยการสอ่ื สารเพอ่ื ให้ได้มา ใหเ้ ปลีย่ นแปลง ให้เกดิ ข้ึน เป็นตน้ และนามาซึง่ ความสาเร็จในทาง ธุรกจิ จงึ ถอื ได้ว่าหากไมม่ ีการสอ่ื สารก็คงยังไม่มกี ารดาเนินธรุ กจิ เกิดข้ึน ดงั เชน่ การจัดการดา้ นการตลาด กจ็ ะ เร่มิ ตน้ ท่ีการจดั ให้มีองค์กรทางการตลาด การจัดหาบุคลากร การปฏิบัตกิ ารทางการตลาด ซึง่ เราจะเหน็ วา่ ต้อง อาศยั การสื่อสารเพอ่ื สงั่ การ ประสานใจ จงู ใจ ติดต่อ ประชาสมั พันธ์ ในทกุ ขั้นตอน เปน็ ต้น

จุดประสงคข์ องการส่อื สารในองค์กรธรุ กิจ องค์กรธรุ กจิ มีความแตกต่างกันในด้านจุดประสงคข์ ององค์กร ซึ่งแต่ละองคก์ รก็จะมีวัตถุประสงค์ ของการส่ือสารแตกตา่ งกันไปดว้ ย แตอ่ ย่างไรก็ตาม เราสามารถแยกแยะถึงจดุ ประสงคข์ องการสอ่ื สารใน องค์กรธุรกิจไดด้ ังต่อไปน้ี 1. สื่อสารเพอ่ื ประชาสมั พันธ์ เป็นการสื่อสารให้ผูร้ บั สารไดร้ ับรขู้ า่ วสารเพื่อให้เกดิ ทัศนคติทดี่ ตี อ่ องค์กร ซงึ่ อาจจะออกมาในรูปของความศรทั ธา เกดิ ค่านยิ ม ความชอบ เปน็ ต้น ได้แก่ การแนะนาองค์กร การโฆษณา สนิ คา้ การประกาศ การต้อนรับ และการรบั รอง เปน็ ต้น 2. สอ่ื สารเพอ่ื การตดิ ต่อ เป็นการส่ือสารเพื่อเชื่อมโยงความสมั พันธ์ทางธรุ กจิ การงาน ได้แก่ การสอบถาม ขอ ความชว่ ยเหลอื ขออนญุ าต ขออนุมัติ และการสั่งซื้อ เป็นต้น 3. สอ่ื สารเพอื่ สงั่ การ เป็นการส่อื สารท่มี กั เกดิ จากการสื่อสารแนวลง เพื่อใหเ้ กิดการปฏบิ ัตแิ ละการ เปลี่ยนแปลง ไดแ้ ก่ คาสง่ั ผู้บงั คับบัญชา การแถลงนโยบาย การเสนอแนะ รวมถึงการส่ือสารตอบรบั จาก ผ้ใู ต้บงั คับบัญชา เป็นการเสนอแนะ การแสดงความคดิ เหน็ เปน็ ตน้ 4. สื่อสารไมตรจี ิต เปน็ การสอ่ื สารเพื่อสร้างมิตรภาพระหว่างบุคคลท้ังภายในองคก์ รและระหวา่ งองค์กร เพอ่ื ความราบร่ืนในธรุ การงาน ได้แก่ การแสดงความรสู้ กึ ในโอกาสตา่ งๆ การเชิญรว่ มเปน็ เกียรติ การแนะนาบคุ คล เปน็ ต้น 5. สื่อสารเพ่อื ให้ความรู้และแรงจูงใจ เปน็ การสอื่ สารเพื่อให้บุคคลทั้งภายในและภายนอกองค์กรได้มคี วามรู้ ดา้ นต่างๆ เพิ่มขน้ึ หรือเกิดกาลงั ใจในการทางาน ได้แก่ การบรรยายให้ความรู้ การสัมมนา การอบรม และการ ปฐมนเิ ทศ เป็นต้น 6. สอื่ สารเพอ่ื วจิ ยั หรือการสืบสวนสอบสวน เปน็ การส่อื สารเพือ่ หาคาตอบ หรือให้ได้มาซึ่งข้อมลู ตา่ งๆ ทเี่ ปน็ ประโยชน์ต่อองคก์ ร ไดแ้ ก่ การทารายงานทางวิชาการ การสัมภาษณ์ การทาแบบสอบถาม เปน็ ต้น 7. สอ่ื สารเพอ่ื รายงานและปรับความเข้าใจ เป็นการสอื่ สารเพื่อนาเสนอข้อเท็จจรงิ ท่เี ป็นปัญหาต่อองค์กร ตอ่ บุคคลในองค์กร หรือระหว่างองค์กร ได้แก่ การปรบั ความเขา้ ใจ การชีแ้ จง และการเสนอรายงาน เปน็ ต้น 8. ส่ือสารเพื่อประสานงาน เป็นการสอื่ สารเพ่ือใหเ้ กดิ ความร่วมมือในการทางานอยา่ งมปี ระสทิ ธิผล ไดแ้ ก่ การ ประชุมวางแผน การเสนอนโยบาย และการเปลยี่ นความคดิ เหน็ เป็นต้น 9. สื่อสารเพอ่ื นิติกรรม เปน็ การสือ่ สารเพ่ือให้เกิดข้อตกลงและเกย่ี วข้องกับกฎหมาย กฎระเบยี บต่างๆ ไดแ้ ก่ การเจรจาเพื่อตกลงทาสญั ญา การทาสญั ญา การทวงหนี้ และการฟอ้ งร้อง เปน็ ต้น

10. ส่ือสารเพือ่ บันเทงิ เปน็ การสอ่ื สารเพอื่ ใหเ้ กิดความร่นื เริงผอ่ นคลาย ได้แก่ การแสดงบนเวที การขับรอ้ ง กจิ กรรมนันทนาการ การเสนอข่าวสารทางหนังสอื พิมพ์ นิตยสาร วารสาร จุลสาร และการแสดงทอลค์ โชว์ เปน็ ตน้ หลักการเบื้องตน้ ในการสือ่ สารธรุ กิจ การส่ือสารในองค์กรธุรกิจมคี วามละเอียดอ่อนและลึกซ้ึง แตกตา่ งจากการส่ือสารทว่ั ไป ฉะนัน้ จงึ ควรคานงึ ถงึ หลกั การเบอ้ื งตน้ ดงั น้ี 1. มีความรบั ผดิ ชอบ การสื่อสารโตต้ อบในวงการธุรกจิ ย่อมมผี ลท่ีได้รบั กลับมาเสมอ ไม่ว่าผลจะออกมาใน ทางบวกหรอื ลบ ผ้สู อ่ื สารต้องรับผิดชอบและถือว่าเป็นคุณธรรมของการสอื่ สารท่ีสาคญั ฉะน้ัน ก่อนส่ือสารผู้ ส่ือสารจะต้องศึกษาคน้ คว้าไตรตรองถงึ ความถูกต้องผลได้ผลเสยี โดยคานงึ ถงึ เหตผุ ล ความถกู ต้องทาง กฎหมาย ความถูกต้องทางศลี ธรรม ถกู ต้องตามขนบธรรมเนียมประเพณี และถูกต้องตามสถานการณ์ 2. มีความประณตี การสอื่ สารทปี่ ระณีตหมายถึงการเลือกสรรถ้อยคาสานวนภาษาและการเลอื กเน้ือหาสาระ ตอ้ งมีความรอบคอบ ละเอียดออ่ น แม้ส่วนใหญจ่ ะใช้สานวนภาษาส้นั ง่าย และเป็นทางการกต็ าม แต่เมอ่ื ผลลพั ธ์ท่ไี ดม้ ีค่ามากมาย จึงจาเปน็ ต้องประณตี ทัง้ ถ้อยคาและสานวน ความกระชับ ความไพเราะ สุภาพ และ การเลือกวัสดุอปุ กรณจ์ ะต้องได้รบั ผลทางบวก 3. เหมาะสม การสื่อสารในทางธุรกิจจะตอ้ งคานงึ ถงึ กาลเทศะ บคุ คล จดุ ประสงค์ กฎระเบยี บ และ สถานการณ์ เพราะสง่ิ เหลา่ นเี้ ป็นตัวกาหนดการใช้ถ้อยคาสานวนภาษาและกาหนดเรือ่ งราวที่จะนามาสื่อสาร โดยอาจจะถามตนเองเสมอวา่ ส่อื ถึงใคร โอกาสใด สถานการณเ์ ป็นอย่างไร เพื่ออะไร หรือคานงึ ถงึ วิธีการ ส่อื สาร ตลอดจนคานงึ ถงึ วฒั นธรรมไปพร้อมๆ กนั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook