91 ภาพ : พระยารกั ใหญ พระยารักนอ ย ที่มา : https://farm2.staticflickr.com/1532/23947628289_dcac7513a1_o.jpg สมัยรชั กาลที่ 3 ในรัชกาลน้มี ีการสรา งหลอพระประธานขนาดใหญ ตามวดั ทสี่ รางใหม เชน “พระพุทธตรโี ลกเชษฐ” พระประธานพระอุโบสถวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร และ “พระพุทธเสฏฐมุนี” พระประธานในศาลาการเปรียญวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร “พระเสฏฐตมมุน”ี พระประธานพระอโุ บสถวัดราชนดั ดารามวรวหิ าร และ “พระพุทธมหาโลกา ภนิ ันทปฏมิ า” พระประธานพระอุโบสถวัดเฉลมิ พระเกียรติวรวหิ าร นอกจากนีย้ งั ทรงสรางพระพุทธ ไสยาสน ยาว 90 ศอก ท่วี ดั พระเชตพุ นวมิ ลมังคลารามราชวรมหาวิหาร และพระพุทธรูปยืนทรงเคร่ือง กษัตรยิ าธิราชเจา 2 องค เพ่อื เปน ราชอนสุ รณแดพ ระอยั กา และพระราชบดิ าของพระองค ซึ่งเปน พระหลอสมั ฤทธ์หิ มุ ทองคาํ ประดับดว ยอัญมณีมีคา ถวายพระนามวา “พระพุทธยอดฟา จุฬาโลก” และ “พระพุทธเลิศหลานภาลัย” ประดิษฐานในพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม การสราง พระพทุ ธรปู ยืนทรงเคร่ืองปางหา มญาติขนาดใหญน ้ี นยิ มสรา งไวเปน จํานวนมาก ถอื เปนพระราชนิยม ของพระบาทสมเดจ็ พระนั่งเกลาเจา อยหู วั
92 ภาพ : พระพทุ ธมหาโลกาภินนั ทปฏมิ า พระประธานพระอุโบสถวดั เฉลมิ พระเกียรตวิ รวหิ าร ที่มา : http://mapio.net/pic/p-94874421/ ประติมากรรมระยะปรบั ตวั สมัยรัชกาลท่ี 4 ถึงรัชกาลที่ 5 เปนยุคสมัยของการปรับตัว เปดประเทศ ยอมรับ อิทธพิ ลตะวันตก ยอมรับความคิดใหมมาเปลยี่ นแปลงสงั คม ระเบยี บประเพณี เพอ่ื ประคองใหป ระเทศ รอดพนจากภยั สงคราม หรือจากลทั ธิลาอาณานคิ มตะวนั ตก ซ่งึ หลายประเทศในซกี โลกเอเชยี ยคุ นนั้ ประสบอยู การสรางงานศลิ ปกรรมทกุ สาขา รวมทงั้ ประติมากรรมก็ถูกกระแสการเมอื งน้ดี ว ย พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา เจาอยหู วั มพี ระราชดาํ รปิ น รูปเหมือนแบบตะวันตกข้ึน เปนครง้ั แรกในประเทศไทย จงึ โปรดเกลาฯ ใหหลวงเทพรจนา (พลับ) ซึ่งตอมาเปนพระยาจินดารังสรรค ปน ถวาย โดยปนจากพระองคจ ริง และเลียนแบบรปู ปน ของพระองค ท่ีฝร่ังปนจากรูปพระฉายท่ีสงมาถวาย แตไ มเ หมือน เม่ือทอดพระเนตรเหน็ พระรูปท่หี ลวงเทพรจนาปนขนึ้ ใหมก ็ทรงโปรด ตอมานาํ พระรปู องคนป้ี ระดิษฐานไว ณ พระท่ีนง่ั เวชยันตว ิเชียรปราสาทในพระนครคีรี จังหวัดเพชรบุรี ปจจุบันมี การหลอ ไวหลายองค ประดิษฐานท่ีพระตําหนักเพชร วัดบวรนิเวศวิหาร กรุงเทพฯ และหอพระจอม วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร กรุงเทพฯ จากพระรูปองคนี้ นับเปนการเปล่ียนศักราช ประตมิ ากรรมไทย ท่เี ดมิ ปน รปู ราชานสุ รณ โดยใชการสรางพระพทุ ธรูป หรือเทวรูปแทน มาสกู ารปน รปู ราชานุสรณเหมอื นรปู คนจริงข้ึน และจากจดุ นเี้ องสงผลใหม กี ารปรับตัวทางประตมิ ากรรมระยะ ปรับตัวไปสูประติมากรรมสมัยใหม การปนหลอพระพุทธรูปในยุคนี้ ไมใหญโตเทาสมัยรัชกาลที่ 3
93 มพี ทุ ธลกั ษณะทเ่ี ปน แบบฉบบั ของตนเอง มลี กั ษณะโดยสว นรวมใกลความเปนมนุษย มีการปนจีวร เปนร้ิว บนพระเศียร ไมมีตอมพระเมาลี พระพุทธรูปที่สําคัญเหลานี้ คือ พระสัมพุทธพรรณี พระนริ ันตราย และพระพทุ ธสิหังคปฏิมา พระประธาน ในพระอโุ บสถวดั ราชประดษิ ฐส ถติ มหาสมี าราม ราชวรวหิ าร ในรชั สมยั นี้ มกี ารสรางพระพทุ ธรูปยืนปางหามญาติเชนกัน แตจีวรพระสมัยนี้เปนริ้ว ใกลเคียงธรรมชาติมากขึ้น ประติมากรรมท่ีสําคัญอีกช้ินหน่ึง คือ “พระสยามเทวาธิราช” เปน เทวรูปขนาดเล็กหลอดวยทองคําท้ังองคสูง 8 น้ิวฟุต ลักษณะงดงามมาก เปนฝพระหัตถของ พระองคเ จาประดษิ ฐวรการ ภาพ : พระสยามเทวาธริ าช ทีม่ า : http://oknation.nationtv.tv/blog/home/blog_data/220/15220/images/2_Travel/001_Bangkok/2011/Mueseam/SakThong/038.JPG สมยั รัชกาลที่ 5 ระยะตน รัชกาล อายุกรงุ รัตนโกสินทรจะครบ 100 ป พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลา เจา อยูหัว ทรงทํานบุ ํารงุ ศลิ ปะแบบดัง้ เดิมอยางมาก มกี ารปฏสิ งั ขรณวัดวาอาราม ตา ง ๆ ปราสาทราชมณเฑยี ร โดยเฉพาะวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เกิดงานประติมากรรมตกแตง ท่ีสวยงาม ในศาสนสถานแหงน้ีมากที่สุด งานประติมากรรมสวนใหญเปนฝพระหัตถพระองคเจา ประดิษฐวรการทั้งสิ้น เชน รูปสัตวหิมพานต 7 คู บนชานชาลาไพที รอบปราสาทพระเทพบิดร รูปพระบรมราชานสุ าวรียป ระจํารัชกาลที่ 1, 2 และ 3 เปนรูปบุษบกประดิษฐานพระราชลัญจกร บนพานแวนฟา พรอมชางเผอื กและฉตั ร ตรงมุมดา นตะวันตกเฉียงเหนอื ของปราสาทพระเทพบิดร ปน หลอพระบรมรูป 3 รชั กาล คือ รัชกาลท่ี 1 รชั กาลที่ 2 และรชั กาลที่ 3 รวมท้ังปน แกไขรัชกาลที่ 4 ท่ีพระยาจนิ ดารังสรรคป น ไว พระบรมรปู ท้งั 4 รัชกาล ปจ จุบันประดิษฐานอยใู นปราสาทพระเทพบดิ ร เปนรูปเหมือนที่แปลกไปจากภาพเหมอื นโดยท่ัวไป เพราะเปนศิลปะระยะปรับตัว เปนการผสม ระหวา งความตอ งการท่ีจะใหร ูปปน เหมอื นรัชกาลน้ัน ๆ กบั การสรางรปู ใหม ีความงามแบบพระหรอื
94 เทวรูป ที่ตองการความเกลี้ยงเกลากลมกลึงของรูปทรง เปนคุณคาความงาม รูปเหมือนจึงแสดง ความเหมือนบคุ คลออกมา พรอมกบั ใหอารมณค วามรูสกึ แบบไทยดวย ในสมัยรัชกาลท่ี 5 มีการสรางพระพุทธรูปข้ึนใหมเหมือนกัน ที่สําคัญ คือ พระพุทธ นฤมลธรรโมภาส พระประธานวัดนิเวศธรรมประวัติ บางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ฝพ ระหตั ถพ ระองคเ จาประดษิ ฐวรการ นอกจากน้ี ยังมกี ารปน หลอพระพทุ ธรูปขนาดใหญ ซึ่งมีอยู ครัง้ เดียวในรชั กาลน้ี สรางในระหวาง พ.ศ. 2442 - 2444 ในคราวน้ันโกลาหลมาก เนื่องจากไมมี การปน พระขนาดใหญมานาน แตกส็ าํ เร็จลงดว ยดี พระพุทธรูปองคนี้ คือ พระพุทธชินราชจําลอง ปนหลอขึ้น เพ่ือนํามาประดิษฐานเปนพระประธานวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนารามราชวรวิหาร ตองลงไปปนหลอที่พิษณุโลก ผูปน หลอจําลอง คอื หลวงประสทิ ธปิ ฏมิ า ภาพ : พระพทุ ธนฤมลธรรโมภาส ทม่ี า : http://kanchanapisek.or.th/kp6/pictures14/s14-113-1.jpg ประตมิ ากรรมรว มสมัย อยูในสมยั รชั กาลท่ี 6 จนถึงรัชกาลปจ จุบัน เปนศิลปะที่มีผลสบื เนอื่ งมาจากความเจรญิ แบบตะวันตก ท่ีหลั่งไหลเขา มาในประเทศไทย ทาํ ใหเกดิ แนวความคิดใหมในการสรางสรรคศิลปะ เพื่อสาธารณะประโยชน นอกเหนือจากการสรางเพื่อศาสนาอยางเดยี ว
95 ภาพ : “มนุษยก ับความปรารถนา” ประตมิ ากรรมรว มสมัยหรือสมัยใหม ปน ดว ยปูนปลาสเตอร เข็มรัตน กองสุข เปนผูปน ทีม่ า : http://kanchanapisek.or.th/kp6/pictures14/s14-113-2.jpg สมัยรัชกาลที่ 6 ศิลปะตะวันตกเขามาสูชีวิตความเปนอยูของคนไทย และกําลังฝง รากลึกลงไปในสังคม และวัฒนธรรมไทย การตกแตงวังเจานาย อาคารราชการ อาคารพาณิชย สวนสาธารณะ และอาคารบานเรือนของคนสามัญ เร่ิมตกแตงงานจิตรกรรม และงานประติมากรรม ภาพเหมอื นมากข้นึ งานประตมิ ากรรมไทยที่ทําขึ้นเพื่อศาสนา เชน การสรางศาสนสถาน ปนพระพุทธรูป ท่เี คยกระทํากันมากถ็ ึงจดุ เส่ือมโทรมลง แมจะมีการทํากันอยกู เ็ ปน ระดับพืน้ บาน ท่พี ยายามลอกเลยี น สิง่ ดงี ามในยุคเกา ๆ ท่ตี นนิยม ขาดอารมณความรสู ึกทางการสรางสรรค และไมม ีรูปลกั ษณะที่เปน แบบแผนเฉพาะยคุ สมยั พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหวั ทรงหันมาสง เสริมศิลปะการชางสมัยใหม โดยตั้งโรงเรยี นเพาะชา งขน้ึ เมอ่ื พ.ศ. 2456 จัดสอน ศลิ ปะการชางทั้งแบบตะวันตก และแบบไทย การสรางงานศิลปะระดับชาติ ไดจางฝร่ังมาออกแบบ ตกแตงพระบรมมหาราชวัง หรือพระท่ีนั่ง ทรงเห็นความจําเปนท่ีตองใชชางทํารูปปนตาง ๆ เชน เหรียญตรา และอนุสาวรีย ซ่ึงชางไทย ยังไมชํานาญงานภาพเหมือนขนาดใหญ จึงสั่งชางปนมาจากประเทศอิตาลี ผูไดรับเลือก คือ ศาสตราจารย คอราโด เฟโรจี เขารับราชการเปนประติมากร กรมศิลปากร กระทรวงวัง เม่ือวันที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2466 ตอ มาโปรดเกลาฯ ใหศาสตราจารยคอราโด เฟโรจี เขาไปปนพระบรมรูปของ พระองคโดยใกลช ิด เปน พระบรมรูปเทาพระองคจริง ปจจุบันประดิษฐานในปราสาทพระเทพบิดร
96 นบั เปน งานภาพเหมอื นท่สี ําคัญในรัชกาลน้ี ตอ มาศาสตราจารยคอราโด เฟโรจี ไดโ อนสญั ชาติ และ เปลี่ยนชื่อเปนไทยวา ศิลป พีระศรี ทานผูนี้ ตอมามีความสําคญั ตอวงการศิลปกรรมไทยสมัยใหม ทกุ สาขาอยางท่ีสดุ รชั กาลที่ 7 - รัชกาลปจจุบัน ระยะแรกศาสตราจารยศลิ ป พีระศรี เปนชางปน ทส่ี าํ คญั แตผ เู ดียวในยุคนน้ั ไดดาํ เนินการปนรปู อนสุ าวรียพ ระปฐมบรมราชานุสรณเปนภาพเหมือนขนาดใหญ 3 เทาคนจริงเปน คร้ังแรกในเมืองไทย สงไปหลอทองแดงท่ีประเทศอิตาลี เสร็จทันมาติดตั้งที่เชิง สะพานพุทธยอดฟา เพื่อเปด สะพาน และฉลองกรุงครบ 150 ป เมือ่ พ.ศ. 2475 หลังจากการฉลองกรุงไมกี่วันก็เกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครองข้ึนในประเทศไทย โดยคณะทหารและพลเรือน อํานาจการปกครองและการบริหารประเทศ จึงไมตกอยูกับ พระมหากษัตริยอีกตอไป การสรางงานศิลปกรรม ซึ่งแตเดิมอยูในความดูแลของราชสํานัก ซึง่ มี พระมหากษัตริยทรงสงเสริมก็ส้ินสุดลง วิถีการดําเนินชีวิต ความรูสึกนึกคิดของประชาชน เปล่ียนแปลงไป คณะรัฐบาลมุงพัฒนาประเทศทางดานวัตถุมากกวาการพัฒนาดานจิตใจ โดยเฉพาะทางศิลปะ การสรางงานศิลปกรรมยุคตอมา ลวนตองตอสูด้ินรนอยูในวงแคบ ๆ แตก ระนั้นการตอ สูด ้นิ รน เพอ่ื ใหส งั คมเห็นคณุ คาในงานศิลปะ ยงั ดาํ เนนิ ตอไป โดยมศี าสตราจารย ศลิ ป พรี ะศรี เปน ผูนาํ เพ่ือทําใหผูนําประเทศและคนท่ัวไปเห็นคุณคา ทานตองทํางานอยางหนัก กลา วคอื นอกจากงานปน อนุสาวรยี ท ส่ี ําคญั แลว ทา นยงั ไดวางแนวทางการศึกษาศลิ ปะ โดยหาทาง จัดต้ังโรงเรียนประณีตศิลปกรรมข้ึน เม่ือ พ.ศ. 2477 ซ่ึงตอมาขยายตัวข้ึนเปนมหาวิทยาลัย ศิลปากรเม่ือ พ.ศ. 2486 จัดใหมีการเรียนการสอนทั้งดานจิตรกรรม และประติมากรรม ซึง่ การศกึ ษาและการสรางงานประตมิ ากรรม ตอ มาเปลย่ี นไปตามการพัฒนาวฒั นธรรมของสงั คม ที่ ตองการพ่ึงพาพลังงานใหม ๆ ภายใตอิทธิพลทางวิทยาศาสตร เศรษฐกิจ การเมือง และอื่น ๆ ซง่ึ เปน การกาวหนา แหง ยคุ โดยเฉพาะในรัชกาลปจ จบุ นั การส่อื สาร และการคมนาคมเปนไปอยาง รวดเรว็ ท่ัวถงึ เกอื บทุกมมุ โลก มลี ัทธทิ างศิลปะเกิดข้ึนมากมาย ท้งั ในยุโรป และสหรฐั อเมริกา และ ไดแ พรหลายเขามามีบทบาทในประเทศไทยดว ย ประตมิ ากรรมจงึ เขา สรู ปู แบบของศิลปะรวมสมัย เปน การแสดงออกทางดานการสรางสรรคท ม่ี อี สิ ระ ทง้ั ความคดิ เน้ือหาสาระ และเทคนิคการสรา งงาน สุดแตศ ิลปนจะใฝหา งานศลิ ปะที่แสดงออกมานนั้ จงึ เปนสญั ลกั ษณส ําคญั ทส่ี ะทอ นถึงเอกลกั ษณใ หม ของวัฒนธรรมไทยอกี รูปแบบหนึ่ง 3. ดา นจติ รกรรม งานจิตรกรรมในสมยั รัตนโกสินทรมที ้ังศิลปะไทยประเพณี ศิลปะไทยประยุกตและ ศลิ ปะแบบตะวันตก
97 สมัยรัตนโกสินทรตอนตน สกุลชางสมัยนี้พัฒนามาจากสกุลชางธนบุรีและอยุธยา ใชส หี นกั เปน พนื้ หลัง สว นใหญจะใชสีโทนเย็น นิยมการปดทองบนภาพมากข้ึน โดยเฉพาะสถานท่ี และบคุ คลสาํ คัญ ตัวละครใชส ีแสดงฐานะทางสงั คม ลักษณะจิตรกรรมฝาผนังสมัยรัชกาลที่ 1 มีแบบแผนการวางภาพที่นิยมกัน คือ ลวดลายเพดาน นยิ มทําดว ยไมจ ําหลัก ลงรักปดทอง ประดับดวยกระจก เปนลายดาวจงกล หรือ ลายดาวดอกใหญอยูตรงกลาง ฝาผนังดานหนาพระประธานนิยมเขียนภาพมารผจญ ดานหลัง พระประธานเปนภาพไตรภูมิ ดานขางท้ัง 2 ดาน ตอนบนเปนภาพวิทยาธร เทพชุมนุม ตอนลาง ระหวา งชอ งประตหู นา ตา ง เขียนภาพพทุ ธประวตั ิ หรือทศชาติชาดก บานประตหู นา ตางเขียนภาพ ทวารบาล ผนังวงกบประตูหนาตา งเปนภาพทวารบาลหรือเช่ียวกลาง หรอื ลายดอกไมร ว ง บานประตู หนา ตา งดา นในมกั เปน รูปดอกไมร ว ง ดอกไมประดษิ ฐห รือเครอ่ื งแขวน ภาพ : จติ รกรรมฝาผนังสมัยรัชกาลท่ี 1 สมยั รัชกาลท่ี 3 งานจติ รกรรมฝาผนังมีความเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึนอยางเห็นไดชัด สอดคลอ งกบั ความเปลีย่ นแปลงในดา นสถาปตยกรรม คือ อิทธพิ ลจากศลิ ปะจนี ลกั ษณะการใชส มี ดื เปนสีพ้ืนมีการใชคูสีระหวางสีเขียวกับสีแดงใหโดดเดนและเปนคูสีหลักกับการระบายพ้ืนดวย สมี ดื เปน เอกลักษณ เชน จิตรกรรมเครอ่ื งมงคลอยา งจนี หรอื เคร่ืองตงั้ ในพระอุโบสถวัดราชโอรสาราม ราชวรวิหาร วัดนาคปรกกับลักษณะงานที่ยังสืบทอดแบบประเพณี เชน วัดสุวรรณารามราช วรวิหารชางเขียนจิตรกรรมฝาผนังตองเขียนภาพอิงความสมจริงตามไปดวย ไมวาจะเปนความ หลากหลายของผูคน เชื้อชาติ และอาชีพที่เปนความเปล่ียนแปลงที่เกิดขึ้นจริงในสังคมขณะนั้น หรืออาคารบานเรือนทั้งแบบจีนและฝร่ังท่ีเริ่มมีการกําหนดแสงเงาและใชลักษณะการถายทอด ทีแ่ สดงความสมจริงของสว นประกอบในฉาก เชน ตน ไม นํ้าทะเล ผสมลงไป
98 ภาพ : จิตรกรรมประดบั เพดานอทิ ธิพลศิลปะจีนวดั ราชโอรสารามราชวรวิหาร ทีม่ า : https://www.chillpainai.com/scoop/620/ รัชกาลท่ี 4 เร่ิมมีอิทธิพลของตะวันตกเขามาผานผลงานจิตรกรรม คือ ภาพเขียน เปน ภาพ 3 มิติ มีการใชสี แสง - เงา และแสดงทัศนียภาพในระยะใกล - ไกล จิตรกรคนสําคัญ คือ ขรัวอินโขง ซ่ึงเปนผูวาดภาพปริศนาธรรมท่ีวัดบวรนิเวศราชวรวิหารและวัดบรมนิวาสราชวรวิหาร ตอ มาในสมัยรัชกาลที่ 5 มีการวาดภาพพระราชประวัติเขียนแบบจิตรกรรมประเพณีผสมกับทาง ตะวันตกและภาพเหมือนบุคคลไวที่ผนังพระท่ีนั่งทรงผนวช อยูท่ีวัดเบญจมบพิตรดุสิตวนาราม ราชวรวิหาร รชั กาลที่ 5 โปรดเกลาฯ ใหจติ รกรชาวยโุ รปวาดพระบรมสาทิศลกั ษณพระมหากษัตริย แหง ราชวงศจักรีทุกพระองค และพระบรมวงศานวุ งศท สี่ ําคญั ในรัชสมยั ของพระองค ประดิษฐานที่ พระทีน่ ่งั จกั รีมหาปราสาทและพระที่นงั่ ในพระราชวงั ตา ง ๆ ซง่ึ การวาดภาพเหมอื นและภาพทวิ ทศั น เหลา น้ีไดรบั ความนิยมอยา งแพรหลาย ประกอบกับในรัชกาลตอมา คอื รัชกาลท่ี 6 มกี ารจัดตง้ั โรงเรียน สอนศิลปะแบบใหม เชน โรงเรียนเพาะชาง โรงเรียนชางศิลป ทําใหมีจิตรกรชาวไทยท่ีมี ความสามารถท้งั การวาดภาพจติ รกรรมแบบไทยและสากล รัชกาลท่ี 6 ยังนิยมการถายภาพ ทําใหเกิดการบันทึกภาพบุคคลบานเมืองและ เหตุการณดวยเทคโนโลยีแบบใหมเพ่ิมขึ้นอยางรวดเร็ว ดังปรากฏจากพระบรมฉายาลักษณ พระฉายาลกั ษณแ ละภาพถา ยตา ง ๆ จาํ นวนมาก เปน หลกั ฐานประวตั ิศาสตรที่สําคัญ
99 รัชกาลท่ี 9 - รชั กาลปจจุบัน ในปจ จุบันภาพจิตรกรรมมิไดจํากัดจะมีอยูแคในเฉพาะ วัดกับวังเหมือนในอดีตท่ีผานมา แตไดมีการนําไปประดับตกแตงอาคารสถานที่เพ่ือใชในการส่ือสาร โฆษณาประชาสัมพันธอ ยางแพรหลายผานสอ่ื ตาง ๆ ภาพจิตรกรรมท่ีนําเสนอออกมา นอกจากจะ เปนภาพเก่ียวกับศาสนาและเอกลักษณไทยแลว ยังเสนอภาพที่มีแนวคิดสะทอนสังคม หรือมี เรอื่ งราวท่ีศิลปนมีความประทับใจ เชน ธรรมชาติ สิ่งแวดลอม บุคคล สถานท่ี จินตนาการภาพ นามธรรม (Abstract) ตลอดจนเทคนิคในการสรา งสรรคง านจติ รกรรมก็มีความหลากหลายกวา เดมิ และนาํ เอาเทคโนโลยีสมยั ใหมมาใชในการนาํ เสนอผลงานดว ย 4. ดา นวรรณกรรม วรรณกรรมสมยั รตั นโกสินทรน เี้ ปน การฟน ฟวู รรณคดีไทยและจารีตการเขยี นบนั ทกึ แบบเกา คอื เปน งานกวีนิพนธแ บบรอยกรองทีม่ ีความสมบูรณ ตอมาเริม่ เขียนแบบรอยแกว เพ่อื ให สอดคลองกบั การเปลยี่ นแปลงของบานเมืองและอทิ ธิพลจากภายนอก เปนผลใหเ กิดงานดานวรรณกรรม รูปแบบใหมข้นึ เปนจํานวนมาก ในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน (รัชกาลที่ 1) มีการฟนฟูบทประพันธชนิดรอยแกว ซงึ่ เปน บทประพนั ธไทยแทและมักเขยี นเรื่องราวของประเทศใกลเคียงกับไทย พระราชนิพนธที่ทรง ประพนั ธข น้ึ มจี ดุ มงุ หมายในการปลุกขวัญประชาชนมคี วามกลาหาญ เชน รามเกียรติ์ อณุ รทุ แมแต เร่ือง สามกก ราชาธริ าช ของเจาพระยาพระคลงั (หน) ก็มจี ุดมุงหมายไปในทางเดยี วกัน วรรณคดีที่มชี ื่อเสยี งในสมยั พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา จุฬาโลก ไดแก 1. พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟา จุฬาโลก ไดแก เพลงยาวรบพมาที่ทาดินแดง บทละครเร่ืองอุณรุท บทละครเรื่องรามเกียรต์ิ กฎหมายตราสามดวง บทละครเร่ืองดาหลังและ อเิ หนา 2. เจาพระยาพระคลงั (หน) ไดแก สามกก ราชาธิราช บทมโหรี เรื่องกากี ลิลิต- ศรีวิชัยชาดก ลลิ ิตพยหุ ยาตราเพชรทอง รายยาวมหาเวสสนั ดรชาดกกัณฑก ุมารและกัณฑม ทั รี 3. พระยาธรรมปรีชา (แกว) ไดแ ก ไตรภมู ิโลกวนิ ิจฉยั พระไตรปฎก 4. พระเทพโมลี (กลิน่ ) ไดแ ก รา ยยาวมหาเวสสันดรกัณฑมหาพน นิราศตลาดเกรียบ โคลงกระทเู บด็ เตล็ด 5. กรมพระราชวังหลัง ไดแ ก ไซฮ น่ั สมัยรัชกาลท่ี 2 นับเปนยุควรรณกรรมท่ีรุงเรืองที่สุด ราชสํานักไดฟนฟูวรรณคดี ท้ังเกาและใหมไวเ ปน มรดกสําคญั ทรงนิพนธบ ทละครไวหลายเร่อื ง แตท ่ีไดร บั การยกยองมากท่ีสุด คือ บทละครเรอื่ งอิเหนา กวเี อกสมยั น้ี คือ สุนทรภู ซึง่ มผี ลงานหลายประเภทดวยกัน มที งั้ บทละคร เสภา นิราศ บทเห และกลอน เชน เสภาเรอื่ งขุนชางขุนแผน นิราศภูเขาทอง กลอนสุภาษติ สอนหญิง ฯลฯ นอกจากนี้ สุนทรภูยังไดนํากลอนเพลงยาวมาแตงนิยาย คือ พระอภัยมณี ซ่ึงเปนผลงานชิ้นเอก
100 นบั เปนเรอ่ื งแรกของวรรณคดีไทยท่ีเปนการผกู เรือ่ งเอง แทนที่จะแตงเปนสํานวนใหมจากตนเรื่อง ทีเ่ ปนนิทาน นยิ ายหรือพงศาวดาร สมยั รชั กาลท่ี 3 - รัชกาลท่ี 5 งานวรรณกรรมเร่ิมกระจายไปสูประชาชน วรรณกรรมสมัยน้ี สอดคลอ งกบั นโยบายการพฒั นาบานเมอื งใหท นั สมัย จงึ เร่ิมมงี านประพันธดานรอยแกว อน่ึง ไดมี การจัดตั้งหอสมุดแบบพระนคร “หอสมุดวชริ ญาณ” รวบรวมรักษาเอกสารสําคัญของชาติ ผลงาน สําคญั มที ้ังของรัชกาลที่ 4 รัชกาลท่ี 5 สมเดจ็ พระเจาบรมวงศเธอกรมพระยาดาํ รงราชานภุ าพ ฯลฯ คร้นั เมอ่ื ถงึ สมยั รัชกาลท่ี 6 นบั เปนยุคทองของงานวรรณกรรมแบบใหม เริ่มมีการ เปล่ียนแปลงเปนแบบตะวันตกมากขึ้น จากการเขียนแนวรอยกรองมาเปนรอยแกว ซึ่งมีรูปแบบ เนอื้ หา แนวคดิ มีการจดั วางมาตรฐานของผลงาน โดยจัดต้ังวรรณคดีสโมสร วรรณกรรมในยุคนี้ เปนวรรณกรรมแปลและแปลงเปนสวนใหญ จนสามารถกลาวไดวาวรรณคดีและวรรณกรรม ปจจุบันเร่ิมตนจากสมัยน้ี และยังเปนยุคเร่ิมของแนวการเขียนนวนิยาย และเร่ืองส้ันอีกดวย นอกจากน้ี ยังมีผลงานของพระเจาบรมวงศเธอกรมพระนราธิปประพันธพงศ นายชิต บุรทัต พระราชวรวงศเธอกรมหมื่นพิทยาลงกรณ (น.ม.ส.) เจาพระยาธรรมศักดิ์มนตรี เสถียรโกเศศ และนาคะประทีป สมยั รชั กาลท่ี 7 วรรณกรรมในยุคนี้จึงเรม่ิ เปนของคนไทยมากข้ึน วรรณกรรมแปล และแปลงนอยลง หนุม สาวหันมาสนใจงานเขียนมากขึน้ กลา แสดงความคิดเห็นมากขึ้น งานเขียน มีท้ังวรรณกรรมสรางสรรคและผลงานท่ัวไปเปนรอยแกว เน้ือหามีหลากหลาย ทั้งดานการเมือง อุดมการณ บทวิเคราะหสถานการณ ตาํ ราวชิ าการ นิยายสะทอนการเปล่ยี นแปลงในสังคม เร่ืองแปล นทิ านนานาชาติ วรรณกรรมสาํ หรับเดก็ ฯลฯ โดยเฉพาะสิบปแรกหลงั การเปลยี่ นแปลงการปกครอง จะเนน ในเรื่องชาตินยิ ม วงการวรรณกรรมพยายามยกระดับคณุ ภาพงานเขียน พระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภูมิพลอดลุ ยเดช (รชั กาลที่ 9) ทรงพระราชนิพนธ วรรณกรรม เรอ่ื ง “พระมหาชนก” ดวยความประณีต และทรงตงั้ พระทัยเผยแพรอยางกวางขวาง ใหเปนเคร่ืองเตือนใจประชาชน เขาถึงจิตใจผูคนเพ่ือเปนเครื่องเตือนใจประชาชนผูมีจิตศรัทธา ใหเกดิ ความคดิ ในทางสรางสรรคถึงความเพียร เพอื่ ทจี่ ะฝา ฟนทกุ อุปสรรคใหผา นพนและกอใหเกิด สัมมาทัศนะในการดําเนินชีวิต ในทิศทางการพัฒนาประเทศในพระราชปรารภหรือคํานําของ พระราชนิพนธ คอื ทรงพระกรุณาโปรดเกลาโปรดกระหมอ มใหพมิ พในโอกาสเฉลิมฉลองกาญจนา ภิเษกแหงรัชกาล ใหเ ปนเครือ่ งพิจารณาเพ่ือประโยชนใ นการดาํ เนินชวี ติ ของสาธุชนท้ังหลาย ดังนี้
101 1. ในยามวกิ ฤต ตอ งคดิ พ่ึงตนเอง เทวดาจะชวยผูทช่ี ว ยตัวเองเทา น้ัน 2. ความเพยี รอนั บรสิ ุทธ์ิ หมายถึง ตอ งพยายามอยางถึงที่สุด เพ่ือทีจ่ ะกาวผา นวกิ ฤต สรา งเศรษฐกิจจรงิ ดวยงานหรือความเพียรอันบริสทุ ธ์ิ 3. สรางเศรษฐกิจดว ยการอนรุ กั ษแ ละเพ่ิมพูนทรัพยากร 4. โมหภมู ิและมหาวชิ ชาลยั หมายถงึ มนษุ ยจ ะสามารถปฏิรูปการเรียนรขู องมนษุ ย ตอ งหลุดพนจากอวชิ ชา เพอ่ื กาวไปสกู ารพัฒนาอยางแทจ รงิ 5. ดา นดนตรแี ละนาฏศิลป ในสมัยรัตนโกสินทรตอนตนยังคงรับแบบอยางจากสมัยอยุธยา โดยรัชกาลที่ 1 โปรดเกลาฯ ใหม กี ารฝกหัดโขนข้ึนทง้ั ในวังหลวงและวังหนา และใหประชุมครูละคร เพอื่ จดั ทาํ ตาํ รา ทารําขึ้นใหมแทนตําราท่ีสูญหายไปเม่ือคร้ังเสยี กรุงศรีอยธุ ยา ตอมาในสมัยรัชกาลท่ี 2 งานฟนฟู นาฏศิลปมีความรุงเรืองมาก พระองคโปรดเกลาฯ ใหปรบั ปรุงแกไขบทละครและวิธีรําใหมใหไพเราะ และงดงาม นอกจากนี้ พระองคทรงมีพระปรชี าสามารถอยางยิง่ ในการดนตรี โดยเฉพาะซอสามสาย ครน้ั ถึงสมัยรชั กาลที่ 3 โปรดเกลา ฯ ใหยกเลิกงานนาฏศลิ ปและดรุ ิยางคศลิ ปในพระบรมมหาราชวัง เปน ผลใหศ ลิ ปน ตอ งยายไปสังกดั กบั ขนุ นางผูม ฐี านะทรี่ บั อปุ ถมั ภง านศลิ ปะแขนงดงั กลา ว 1) ดนตรไี ทย การแสดงดนตรไี ทยในสมัยรตั นโกสินทร ถอื เปนยุคสมัยของการกอสรางบานเมือง ใหม นั่ คงเปน ปกแผน อีกทั้งยังมกี ารสงเสริมและฟนฟูศิลปวัฒนธรรมของชาติในทุกแขนงใหเจริญ รุงเรือง โดยเฉพาะดนตรีไทยในสมัยรัตนโกสินทรไดมีการเปล่ียนแปลงไปตามลําดับชวงเวลา ในรัชกาลตาง ๆ ดังน้ี สมัยรัชกาลท่ี 1 ดนตรีไทยในสมัยนี้ยังคงยึดถือรูปแบบและลักษณะมาจากสมัย กรุงศรีอยธุ ยา แตไ ดม ีการเปลี่ยนแปลงเครอ่ื งดนตรีในวงปพาทยและวงมโหรี โดยมีการเพิ่มกลองทัด อีก 1 ลูก เขา ไปในวงปพ าทย สวนวงมโหรีก็ไดเพิ่มระนาดเขา ไปอีก 1 ราง สมัยรัชกาลท่ี 2 เปนยุคสมัยที่การดนตรีไทยมีความเจริญรุงเรืองอยางมาก สืบเนื่องมาจากพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัยทรงสนพระทัยในเร่ืองดนตรีไทย อีกทั้ง พระองคยังทรงพระปรีชาสามารถเปนอยางย่ิงในดานดนตรีไทย นอกจากนี้ในสมัยรัชกาลที่ 2 วงปพาทยไดน ําไปใชบรรเลงประกอบการขับเสภาเปนคร้ังแรก รวมทั้งไดมีการนําเอา “เปงมาง” เขามาไวในวงปพาทย เพอื่ ตปี ระกอบจงั หวะในการบรรเลงดนตรขี บั เสภาวงมโหรกี ไ็ ดเ พ่มิ “ฆอ งวง” เขา เปนเครอ่ื งดนตรภี ายในวงอีกชนิดหนึ่งดว ย สมัยรัชกาลที่ 3 วงปพาทยไดเปลี่ยนไปเปน “วงปพาทยเครื่องคู” เพราะมีผูคิด ประดิษฐระนาดเพ่ิมเขามาในวงอีก 1 ราง ซึ่งมีขนาดใหญกวาระนาดแบบเดิมและตีดวยไมนวม
102 ใหเ สยี งทีต่ ่าํ กวานนั่ คือ “ระนาดทมุ ” นอกจากน้ยี งั สรา งฆองวงทมี่ ขี นาดเล็กและใหเสยี งสูงเรียกวา “ฆอ งวงเล็ก” รวมทง้ั การนําเอาปน อกเขา มาผสมในวงปพาทยด ว ย ดงั นั้น เครอื่ งดนตรีในวงปพ าทยเ คร่ืองหา ที่ประกอบไปดวย ปใ น ฆองวง ตะโพน กลองทัด ระนาด และฉ่ิง จึงเปล่ียนไปเปนวงปพ าทยเครื่องคู ซ่ึงมีเคร่ืองดนตรีในวง ดังตอไปนี้ ระนาดเอก ระนาดทมุ ฆองวงใหญ ฆอ งวงเล็ก ปใ น ปน อก ตะโพน กลองทัด ฉง่ิ ฉาบเล็ก ฉาบใหญ โหมง กลองสองหนา สมยั รชั กาลท่ี 4 “วงปพ าทยเครอื่ งใหญ” ซงึ่ เปน แบบแผนของวงปพาทยท่ีใชมาจน ปจจุบนั สืบเน่ืองจากรัชกาลที่ 4 ไดท รงสราง “ระนาดทุมเหลก็ ” และ “ระนาดเอกเหล็ก” เพิ่มเขา ไปในวงปพาทยเครื่องคู จึงทําใหวงปพาทยเคร่ืองคูมีวิวัฒนาการไปเปนวงปพาทยเคร่ืองใหญ ประกอบไปดว ย เคร่อื งดนตรชี นิดตา ง ๆ ดงั น้ี คอื ปใน ปนอก ระนาดเอก ระนาดทมุ ระนาดเอกเหล็ก ระนาดทุมเหล็ก ฆองวงใหญ ฆองวงเลก็ ตะโพน กลองทัด ฉ่งิ ฉาบเล็ก ฉาบใหญ โหมง สมยั รชั กาลที่ 5 สมเด็จพระเจา บรมวงศเ ธอเจาฟากรมพระยานรศิ รานวุ ัดตวิ งศ ทรงคดิ ประดิษฐว งปพ าทยขนึ้ มาในอีกรปู แบบหนง่ึ เพอื่ ใชบ รรเลงประกอบการเลนละครเรียกวา “วงปพาทย ดึกดาํ บรรพ” พระองคทรงนําเอาฆองชัย หรือ “ฆองหุย” จาํ นวน 7 ลูก เพิ่มเขามา นอกจากน้ี พระองคยังทรงตดั เคร่ืองดนตรีทมี่ เี สียงแหลมเสียงสงู และเสยี งท่ดี งั มาก ๆ ออกไป สวนระนาดก็ใหตี ดวยไมน วม ดังนั้นวงปพาทยดึกดําบรรพจึงมีเฉพาะเคร่ืองดนตรีที่บรรเลงแลวมีเสียงเบา ไพเราะ นุมนวลแตกตางไปจากวงปพาทยอ่ืน ๆ โดยเคร่ืองดนตรีในวงปพาทยดึกดําบรรพ ประกอบดวย ระนาดเอก ระนาดทุม ระนาดทมุ เหลก็ ฆอ งวงใหญ ซออู ขลุยอู ขลุย เพียงออ ฉง่ิ ฆองชัย หรือฆองหุย ตะโพน กลองตะโพน สมยั รชั กาลท่ี 6 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหวั ทรงสนพระทัยดนตรไี ทย เปน อยางย่งิ อกี ทัง้ ยังทรงทํานบุ าํ รุงและรักษาการดนตรีไทยอยา งมงุ ม่ันจรงิ จัง โดยพระองคทรงให ตั้งกรมมหรสพข้ึนมา ประกอบไปดวยกรมบัญชาการ กรมโขนหลวง กรมพิณพาทยหลวง กองเคร่อื งสายฝรั่งหลวงและกรมชางมหาดเลก็ เพ่ือสราง ซอ มแซม และรักษาสงิ่ ทเี่ ปน ศลิ ปะทงั้ หมด นับวายุคสมัยนี้ดนตรีไทยมีความเจริญรุงเรืองเปนอยางมากและถือไดวาเปนยุคทองของดนตรีไทย อกี ยคุ หนึง่ เชน กนั สมัยรัชกาลท่ี 7 พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว ทรงสนพระทัยดนตรีไทย เปนอันมาก และพระองคทรงตัง้ วงเคร่ืองสายสวนพระองคท ่สี มบรู ณทสี่ ุดวงหนึ่งขึ้นมา โดยพระองค ทรงสีซอดว ง สว นสมเด็จพระนางเจารําไพพรรณี พระบรมราชนิ ี ทรงสซี ออู นอกจากนี้ยังมเี จานาย อกี หลายพระองคท ี่เปน สมาชิกในวงเครือ่ งสายนด้ี วย ตอ มาในป พ.ศ. 2475 ไดม กี ารเปล่ียนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย ไปเปนการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ดนตรีไทยไดรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในคร้ังนี้ ดนตรีไทยคอย ๆ เส่ือมถอยลงเปนลําดับจนแทบสูญสิ้นไป แตภายหลังจากสงครามโลกครั้งท่ี 2
103 สิน้ สุดลง การฟนฟดู นตรีไทยจึงไดเร่มิ ตนข้นึ ใหมอ ีกคร้งั และมกี ารพฒั นาดนตรไี ทยใหเ จรญิ กา วหนา อยา งตอ เนือ่ งมาจนถงึ ยคุ สมยั ปจ จุบนั 2) โขน การแสดงโขน เปนการแสดงทา ราํ เตน มีดนตรีประกอบการแสดง มีบทพากยและ เจรจาตัวละครประกอบดวยยักษ ลิง มนุษย เทวดา ผูแสดงสวมหัวโขนจะไมรอง และเจรจาเอง แตปจ จบุ นั ผแู สดงเปน มนษุ ยเ ทวดาจะไมส วมหวั โขน การแตงกายแตง แบบยืนเครื่องเหมอื นละครใน ตามลกั ษณะตัวละคร ไดแก ตวั พระ ตวั นาง ยกั ษ ลิง และตัวประกอบ ศีรษะโขน ไดแ ก ศรี ษะเทพเจา ศรี ษะมนุษย ศรี ษะยกั ษ ศีรษะลิง และศรี ษะสัตวตา ง ๆ โขนสมัยกรงุ รตั นโกสนิ ทร แบงไดเ ปน 3 ยคุ คอื ยุคที่ 1 เปนโขน ในรชั สมัยพระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว ยุคที่ 2 เปนโขน ในรชั สมยั พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลาเจา อยูหวั ยคุ ที่ 3 เปนโขน ในสมัยเปลี่ยนแปลง การปกครอง โขนยคุ ท่ี 1 เม่อื พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ทรงสรางกรุงรัตนโกสินทร เปน ราชธานแี ละเสดจ็ ขึ้นเถลิงถวัลยราชสมบตั ิแลว ทรงฟน ฟูศิลปวัฒนธรรม สาํ หรบั ดา นการแสดง โขนทรงพระราชทานพระบรมราชานุญาต ใหเ จา นาย และขุนนางผใู หญ หดั โขนได โดยไมทรงหามปราม เพราะฉะน้นั เจานายและขา ราชการช้ันผใู หญ จึงไดฝ ก หัดโขน เพื่อประดับเกียรติของตนการแสดง โขนจงึ แพรห ลาย กวา งขวางขนึ้ นอกจากน้ี ยงั โปรดให นักปราชญร าชบณั ฑติ ชวยกันแตงบทละคร เรือ่ งรามเกียรต์ิ สําหรับใชเปนบทแสดงโขนละคร โดยพระองคทรงตรวจตราแกไข ครั้นถึงสมัย รัชกาลที่ 2 ก็ทรงพระราชนิพนธบทละครเรื่องรามเกียรติ์ขึ้นอีกสวนหน่ึง ซ่ึงมีเรื่องราวและ คาํ กลอนกระชบั ขึ้นเหมาะในการใชบทสาํ หรับแสดงโขนละคร โขนในยคุ ตนรัตนโกสินทรเจริญรุง เรอื ง เพราะเจา นายหลายองค และขนุ นางหลายทา น ใหการสนับสนุน โดยใหมีการหัดโขนอยูในสํานักของตน เชน โขนของกรมพระพิทักษเทเวศร (ตนสกุลกญุ ชร) โขนของ กรมหม่ืนเจษฎาบดินทร (พระบาทสมเดจ็ พระน่งั เกลาเจาอยูหวั ) โขนของ เจาพระยาบดนิ ทรเดชา และโขนของเจา พระนคร (นอย) เปนตน เม่ือเกิดมีโขนข้ึนหลายโรง หลายคณะ แตละโรง แตล ะคณะ กค็ งจะประกวดประชันกัน เปนเหตุใหศิลปะการแสดงโขนในสมัยน้ันเจริญ แพรหลาย เปนท่ีนิยมของประชาชนทั่วไป โขนของเจานายและขุนนางดังกลาวน้ี เรียกวา “โขนบรรดาศักด์ิ” ปลายสมัยรัชกาลที่ 5 พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ทรงดํารงพระราช อสิ รยิ ยศเปนสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามมกฎุ ราชกมุ าร ไดท รงเอาพระทยั ใส และทรงสนบั สนนุ การแสดงโขน โดยโปรดใหฝ ก หัดพวกมหาดเล็กแสดงโขน เรียกวา “โขนสมัครเลน” ผูทฝ่ี กหัดโขน
104 คณะนี้ลวนเปน โอรสเจานาย และลูกขุนนางมหาดเล็กในสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ทั้งส้ิน ตา งเขา มาฝก หดั โขนดวยความสมัครใจ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวทรงปรับปรุงบท โขน และทรงควบคมุ ฝกซอมบางครั้งก็ทรงแสดงดวยพระองคเอง โขนสมัครเลน โรงน้ี มีช่อื เสยี งวา แสดง ไดด แี ละเคยแสดงในงานสําคัญ ๆ สมยั ปลายรัชกาลที่ 5 หลายครั้ง โขนยคุ ที่ 2 เมื่อพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว เสด็จข้ึนครองราชยสมบัติแลว จงึ โปรดใหต้ังกรมมหรสพข้นึ และปรบั ปรงุ กรม กอง ตลอดจนการบริหารงานตาง ๆ เกี่ยวกับการ มหรสพใหดีขึ้น ทรงทํานุบํารุงสงเสริม ศิลปะ และฐานะของศิลปนใหเจริญกาวหนาถึงขีดสุด ทรงพระราชทานบรรดาศักดิ์แกศิลปนโขนผูมีฝมือ แมแตเจาหนาที่ผูรักษาเครื่องโขนก็โปรดใหมี บรรดาศกั ดดิ์ ว ย นอกจากน้โี ปรดใหต้งั โรงเรียนฝก หดั ศลิ ปะการแสดงโขนละคร ดนตรปี พาทยขนึ้ ใน กรมมหรสพเรยี กวา โรงเรียนพรานหลวง โขนยคุ ท่ี 2 ของกรงุ รตั นโกสินทร นับเปนยุคที่เจริญรุงเรือง ถึงขีดสดุ ท้ังศลิ ปะและฐานะของศิลปน โขนยุคท่ี 3 โขนยคุ ที่ 3 เปน ยุคเปลย่ี นแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสทิ ธริ าช มาสู ระบอบประชาธิปไตย เริม่ ต้งั แตเ มอื่ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว เสด็จสวรรคต โขนก็ ตกตาํ่ ลงทันที รัชกาลท่ี 7 โปรดใหยบุ กรมมหรสพ เพราะทรงเหน็ วา เปนการสน้ิ เปลอื งพระราชทรัพย จํานวนมาก มกี ารดลุ ยภาพขา ราชการออกจากราชการ รวมทั้งขาราชการกรมมหรสพดวย แตใน เวลาตอ มา พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยหู วั ก็โปรดใหข า ราชการกรมมหรสพท่ีมคี วามสามารถ รวมกันแลวต้ังเปนกอง เรียกวา กองมหรสพ สังกัดกระทรวงวัง มีการฝกหัดโขนข้ึนอีกครั้งหน่ึง โขนหลวง กระทรวงวัง สามารถออกโรงแสดงตอนรับแขกเมอื งในงานสําคัญ ๆ หลายงาน 3) ละคร ตง้ั แตก ารสถาปนากรุงรตั นโกสินทรเปนราชธานไี ทย เมื่อ พ.ศ. 2325 จนถึงปจ จบุ ัน (พ.ศ. 2542) เปน เวลา 217 ป กวไี ทยไดสรางสรรควรรณคดีที่สมควรรักษาเปนมรดกไทยไวจํานวนมาก ซึ่งเปนวรรณกรรมทงั้ ดานรอยแกว ไดแ ก สามกก โคลนติดลอ และ ดา นรอ ยกรอง ไดแก บทละคร เร่ืองรามเกียรต์ิ พระราชนิพนธในรัชกาลท่ี 1 บทละครเร่ืองอิเหนา พระราชนิพนธในรัชกาลที่ 2 บทเสภาเร่อื งขุนชา งขุนแผน ลลิ ติ ตะเลงพาย เปน ตน 4) รําและระบาํ สมัยรตั นโกสนิ ทร ระบาํ และรํา มคี วามสาํ คญั ตอราชพิธตี าง ๆ ในรูปแบบของพิธีกรรม โดยถือปฏบิ ัติเปน กฎมณเฑียรบาลมาจนถึงสมยั รตั นโกสินทรตอนตน (สมยั รชั กาลที่ 1 - รชั กาลท่ี 4) รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟาจฬุ าโลก โปรดรวบรวมตําราฟอนรํา และ เขยี นภาพทา รําแมบ ทบันทกึ ไวเปน หลกั ฐาน มีการพัฒนาโขนเปนรูปแบบละครใน มีการปรับปรุง
105 ระบาํ สบี่ ท ซ่งึ เปน ระบํามาตรฐานตั้งแตส ุโขทัย ในสมัยนไี้ ดเ กดิ นาฏศิลปข้ึนมาหลายชุด เชน ระบํา เมขลา - รามสูร ในราชนพิ นธร ามเกียรติ์ รัชสมัยสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย เปนยุคของนาฏศิลปไทย เนื่องจาก พระมหากษัตริยทรงโปรดละครรํา ทารํางดงามตามประณีตแบบราชสํานัก มีการฝกหัดท้ังโขน ละครใน ละครนอก โดยไดฝกผูหญิงใหแสดงละครนอกของหลวงและมีการปรับปรุงเครื่องแตงกาย ยนื เคร่ืองแบบละครใน รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระน่ังเกลาเจาอยูหัว โปรดใหยกเลิกละครหลวง ทําให นาฏศิลปไทยเปนที่นิยมแพรหลายในหมูประชาชน และเกิดการแสดงของเอกชนขึ้นหลายคณะ ศลิ ปนท่ีมคี วามสามารถไดสบื ทอดการแสดงนาฏศลิ ปไ ทยท่ีเปนแบบแผนกนั ตอมา รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว โปรดใหมีละครรําผูหญิง ในราชสํานักตามเดิมและในเอกชนมีการแสดงละครผูหญิงและผูชาย ในสมัยน้ีมีบรมครูทาง นาฏศิลป ไดช าํ ระพธิ โี ขนละคร ทลู เกลา ถวายตราไวเ ปนฉบับหลวง และมกี ารดัดแปลงการราํ เบกิ โรง ชดุ ประเรงิ มาเปน ราํ ดอกไมเ งินทอง รชั สมัยพระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจาอยูหัว ในสมัยนี้มีท้ังการอนุรักษและ พฒั นานาฏศลิ ปไทยเพื่อใหมคี วามทันสมยั เชน มีการพัฒนาละครในละครดึกดําบรรพ พัฒนาละครรํา ที่มีอยูเดิมมาเปนละครพนั ทางและละครเสภา และไดกําหนดนาฏศิลปเปนท่ีบทระบําแทรกอยูใน ละครเร่อื งตาง ๆ เชน ระบาํ เทวดา - นางฟา ในเรอื่ งกรุงพาณชมทวปี ระบาํ ตอนนางบุษบากับนาง กํานันชมสารในเรือ่ งอเิ หนา ระบําไก เปนตน รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว เปนศิลปะดานนาฎศิลป เจริญรุงเรืองมาก พระองคโปรดใหต้ังกรมมหรสพข้ึน มีการทํานุบํารุงศิลปะทางโขน ละคร และ ดนตรีปพาทย ทําใหศิลปะมีการฝกหัดอยางมีระเบียบแบบแผน และโปรดตั้งโรงเรียนฝกหัด นาฏศิลปในกรมมหรสพ นอกจากนี้ ยังไดมกี ารปรับปรุงวธิ ีการแสดงโขนเปนละครดกึ ดาํ บรรพ เรอื่ ง รามเกียรติ์ และไดเกิดโขนบรรดาศักดท์ิ ่ีมหาดเล็กแสดงคกู บั โขนเชลยศักดท์ิ ่เี อกชนแสดง รัชสมัยสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว โปรดใหมีการจัดต้ังศิลปากรข้ึนแทนกรม มหรสพท่ถี ูกยุบไป ทําใหศิลปะโขน ละคร ระบํา ราํ ฟอน ยังคงปรากฏอยู เพื่อเปนแนวทางในการ อนุรักษและพฒั นาสบื ตอไป รัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานนั ทมหิดลพระอฐั มรามาธิบดินทร หลวงวิจิตรวาทการ อธิบดีของกรมศิลปากร ไดกอต้ังโรงเรียนนาฏดุริยางคศาสตรขึ้นมา เพื่อ ปอ งกันไมใหศิลปะทางดา นนาฏศิลปสญู หายไป ในสมัยน้ไี ดเกิดละครวิจิตร ซ่ึงเปนละครปลุกใจให รักชาติ และเปนการสรางแรงจูงใจใหคนไทยหันมาสนใจนาฏศิลปไทย และไดมีการต้ังโรงเรียน นาฏศิลปแทนโรงเรียนนาฏดุริยางคศาสตร ซึ่งถูกทําลายตอนสงครามโลกครั้งที่ 2 เพื่อเปน
106 สถานศกึ ษานาฏศิลปและดรุ ยิ างคศลิ ปข องทางราชการ และเปน การทํานุบาํ รงุ เผยแพรน าฏศิลปไทย ใหเ ปน ท่ียกยองนานาอารยประเทศ รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9) นาฏศิลป ละคร ฟอน รํา ไดอยูในความรับผิดชอบของรัฐบาล ไดมีการสงเสริมใหผูเชี่ยวชาญ นาฏศิลปไทยคิดประดิษฐทารํา ระบําชุดใหม ไดแก ระบําพมาไทยอธิษฐาน ปจจุบันไดมีการนํา นาฏศิลปน านาชาตมิ าประยุกตใชในการประดษิ ฐทารํา รูปแบบของการแสดง มีการนําเทคนิคแสง สี เสียง เขา มาเปน องคป ระกอบในการแสดงชดุ ตาง ๆ ปรบั ปรงุ ลลี าทารําใหเหมาะสมกับฉาก บนเวที การแสดงมีการติดตั้งอุปกรณที่ทันสมัย ทั้งระบบมาน ฉาก แสง ควบคุมดวยระบบคอมพิวเตอร มีระบบเสียงทส่ี มบูรณ มีเครื่องฉายภาพยนตรประกอบการแสดงและเผยแพรศิลปกรรมทุกสาขา นาฏศิลป และสรางนักวิชาการและนักวิจัยในระบบสูง โดยมีการเปดสอนนาฏศิลปไทยในระดับ ปริญญาเอกอีกหลายแหง 5) การแสดงพน้ื เมอื ง การแสดงพนื้ เมอื งทเี่ กิดขนึ้ ในสมัยรตั นโกสินทร เปนศลิ ปะการรายรํา หรอื การละเลน ทีเ่ ปนเอกลักษณของกลุม ชนตามวัฒนธรรมในแตล ะภมู ิภาค สามารถแบง ไดต ามภมู ภิ าคได ดังนี้ 5.1 การแสดงพนื้ เมืองภาคเหนอื การแสดงพื้นเมืองทางภาคเหนือ เปนศิลปะการรําและการละเลน นิยมเรียกกัน ทว่ั ไปวา “ฟอ น” การฟอ นเปนวฒั นธรรมของชาวลานนา และกลุมชนเผาตาง ๆ เชน ชาวไต ชาวล้ือ ชาวยอง ชาวเขิน เปนตน ลักษณะของการฟอ น มีลีลา ทา รําที่งดงามออนชอย มีการแตงกายตาม วัฒนธรรมทองถนิ่ โอกาสท่แี สดงมกั เลน ในงานประเพณี ตอนรบั แขกบานแขกเมือง ไดแก ฟอนเลบ็ ฟอนเทียน ฟอนครวั ทาน ฟอ นสาวไหม และฟอนเจิง การฟอ นแบบพ้ืนบา นดัง้ เดิมในกลุมนี้ในเวลา ตอมาเมื่อราชสํานักสยามเขาปกครองราชอาณาจักรลานนาไทยในสมัยรัชกาลที่ 5 ชาวลานนา จึงไดรับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากราชสํานัก โดยเอาแบบแผนการรําของภาคกลางมาปรับปรุง การฟอ นแบบดง้ั เดมิ ตง้ั แตลีลาการรํา กระบวนการจัดแถวรํา การเดินสลับแถวและการใชดนตรี ประกอบการฟอ น
107 ภาพ : ฟอ นรํา ทางภาคเหนอื ทมี่ า : https://fonnthai.files.wordpress.com/2014/03/2342013826dsc_1414.jpg 5.2 การแสดงพนื้ เมืองภาคกลาง การแสดงพื้นเมืองภาคกลาง เปนศิลปะการรายรําและการละเลนของชาวภาคกลาง สว นใหญจ ะมีความเก่ยี วของและสอดคลอ งกับวิถีชีวิตทางดานเกษตรกรรม และยังสงผลตอความ บันเทิง สนุกสนาน เปนการพักผอนหยอนใจจากการทํางาน หรือเมื่อเสร็จจากฤดูเก็บเกี่ยว เชน การแสดงเพลงเก่ียวขาว เตน กําราํ เคยี ว รําโทน หรอื รําวง รําเถิดเทิง รํากลองยาว มีการแตงกาย ตามวฒั นธรรมทองถ่ิน โดยใชเครื่องดนตรีพื้นบาน เชน กลองยาว กลองโทน ฉ่ิง ฉาบ กรับ และ โหมง ศิลปะการเลนกลองยาว เริ่มปรากฏในเมืองไทยอยา งมีแบบแผนในสมัยรัชกาลท่ี 4 ในการแสดงละคร เรอื่ งพระอภัยมณี โดยรว มแสดงผสมผสานกบั วัฒนธรรมหลวงเปน คร้ังแรก ภาพ : ราํ กลองยาว ภาคกลาง ทม่ี า : https://sites.google.com/site/sinlapakarnsadangnattasin/kar/phakh-klang
108 5.3 การแสดงพน้ื เมืองภาคอีสาน การแสดงพ้ืนเมืองภาคอสี าน เปนศิลปะการราํ และการละเลน ของชาวพ้ืนบานภาคอสี าน หรือภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย เพือ่ ตอบสนองผลทางจิตใจท่ีมีตอการนับถือลัทธิความเชื่อ ตา ง ๆ และการนบั ถอื พุทธศาสนา ดังน้ัน การแสดงศิลปะในภูมิภาคนี้จึงเนนท่ีการระบํา รําฟอน เพือ่ การบวงสรวงส่งิ ศักดส์ิ ทิ ธ์ิ และการเฉลมิ ฉลองเทศกาลอันเกีย่ วขอ งกบั พุทธศาสนา ซึง่ แบบแผน ด้ังเดิมของการรําฟอน ไดแก ฟอนผูไทย หรือรําซวยมือ เซ้ิงบ้ังไฟ เครื่องดนตรีที่ใชบรรเลง ประกอบการรํา ไดแ ก แคน และกลองหาง เปนหลกั นอกจากนี้ยังมี พณิ กลองตมุ (ตะโพน) หมาก กลงิ้ กลอม (โปงลาง) สงิ่ (ฉ่ิง) แสง (ฉาบ) หมากกั๊บแก็บ (กรับ) ฆองโหมงและพังฮาด (ฆองโบราณ ไมมปี ุม) ผบู รรเลงดนตรเี ปนชาย นอกจากน้ีศิลปะการแสดงที่จัดเปนการละเลนด้ังเดิมของชาวอีสานที่ไดรับความ นิยมและเปนท่ีรูจักอยางแพรหลายในสมัยรัชกาลท่ี 5 คือ หมอลํา และหนังตะลุงอีสาน ซ่ึงใช เครื่องดนตรีพน้ื บานประกอบ ไดแ ก ระนาดเอก ซออู แคน กลองทดั ตะโพน ฉงิ่ ฉาบ ภาพ : การแสดงรําฟอ นทางภาคอสี าน หมอลํา ทม่ี า : https://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9480000159535 5.4 การแสดงพนื้ เมืองภาคใต การแสดงพ้ืนเมืองภาคใต มีความแตกตางไปจากภาคอ่ืน ๆ เนื่องจากสภาพ ภูมศิ าสตร เศรษฐกิจและสงั คม กอใหเกิดการแสดงอารมณอยางเรียบงาย ประสมประสานไปกับ ภาพสะทอนของการทาํ งานและการตอสูในชีวิต การละเลนจึงมีความเดนในดานการส่ือความคิด การใชภ าษาทข่ี ับรอ งดว ยบทกลอน เนนท่ีลํานําและจังหวะ เคร่ืองดนตรีที่ใชประกอบการละเลน ไมเนนเครอื่ งดดี สี เหมือนภาคอื่น ๆ ลีลาการรา ยราํ มีจังหวะฉบั ไว
109 การรําและการละเลน ของชาวพืน้ บานภาคใต เปน การผสมผสานระหวา งวัฒนธรรม แบง ได 2 กลุม คือ วัฒนธรรมไทยพุทธ ไดแก การแสดงโนรา หนังตะลุง เพลงบอก เพลงนาและ วฒั นธรรมไทยมสุ ลมิ ไดแก รองเง็ง ซําแปง มะโยง (การแสดงละคร) ลิเกฮูลู (คลายลิเกภาคกลาง) และสิละ มีเคร่ืองดนตรีประกอบที่สําคัญ เชน กลองโนรา กลองโพน กลองปด โทน ทับ กรับพวง โหมง ปก าหลอ ปไหน รํามะนา ไวโอลิน อัคคอรเดยี น 6. ดา นประเพณี ขนบธรรมเนยี มประเพณี เปนสิ่งแสดงใหเ หน็ วัฒนธรรมความเจริญรุงเรืองของชาติ พระมหากษัตริยในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน จึงทรงฟนฟูขนบธรรมเนียมประเพณีที่ถือปฏิบัติ มาชา นานตง้ั แตส มยั อยุธยา อาจกลา วโดยสงั เขป ดงั นี้ 1) ประเพณีเก่ยี วกับพระมหากษัตรยิ มีพระราชพธิ ีบรมราชาภิเษก (พธิ ขี ึน้ ครองราชย เปน พระมหากษตั รยิ ) พระราชพธิ โี สกันต (พิธโี กนจกุ ของพระราชวงศ) พระราชพิธีพระเมรุมาศ (พิธีเผาศพ) พระราชพิธีฉัตรมงคล (พิธีฉลองพระเศวตฉัตรในวันคลายวันบรมราชาภิเษก) พระราชพิธีสมโภช ชา งเผือก ฯลฯ 2) ประเพณีเกี่ยวกับบานเมือง มีพระราชพิธีถือน้ําพระพิพัฒนสัตยา พระราชพิธี อาพาธพินาศ (พิธีปดเปา โรคภยั มิใหเ บียดเบยี น) พระราชพธิ พี ชื มงคล (พิธีปลูกพชื เอาฤกษช ัย) ฯลฯ 3) ประเพณีเก่ียวกับพระพุทธศาสนา พิธีวิสาขบูชา พิธีอาสาฬหบูชา พิธีมาฆบชู า พิธีเขา พรรษา - ออกพรรษา พิธีบวชนาค เทศนม หาชาติ สวดภาณยกั ษ ฯลฯ 4) ประเพณพี ราหมณ พธิ ีโลชิงชา พธิ วี างศลิ าฤกษ พธิ โี กนจุก ฯลฯ 5) ประเพณีชาวบา น พธิ ใี นโอกาสสําคญั ๆ เชน แตงงาน ขึ้นบานใหม ทําขวัญนาค เผาศพ พิธตี รุษสงกรานต พิธสี ารท การละเลน ตาง ๆ เชน การเลน เพลงสกั วา เพลงเรอื เพลงฉอย ลเิ ก ลําตัด ฟอ นเลบ็ หนงั ตะลงุ หมอลํา พระราชประเพณีสบิ สองเดือน พระราชพธิ ีสบิ สองเดือนเปนพระราชนิพนธในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจา อยหู วั พระราชนพิ นธเ มือ่ พ.ศ. 2431 ตีพิมพใ นนิตยสารวชริ ญาณรายสปั ดาห จากนน้ั นาํ มารวบรวมเปนเลม พระราชนพิ นธเ ลม น้นี ับเปนวรรณคดชี ้ินเอกเลมหน่ึงของไทย พระราชพธิ ีสบิ สองเดอื น เปน ความเรยี ง เนอื้ เรอื่ งกลา วถงึ พระราชพิธีตา ง ๆ ที่กระทํา ในแตล ะเดือนตลอดทงั้ ป ทรงอธิบายตําราเดิมของพระราชพิธีการแกไขเปล่ียนแปลง หรอื เลิกพิธี เพอื่ ใหผ ูอา นไดรบั ความรูค วามเขา ใจเกย่ี วกับพระราชพธิ ีตัง้ แตตนปจนถงึ ปลายป ยกเวน พธิ เี ดอื น 11 ทมี่ ไิ ดร วมไว เน่อื งจากติดพระราชธุระจนไมไ ดแตง ตอ จวบสิน้ รัชสมยั ทรงศกึ ษาคนควา ขอ มลู ทงั้ จาก ตําราและจากคําบอกเลาของบุคคล เชน พระมหาราชครูพราหมณผูทําพิธี และจากการสังเกต เหตุการณท ่ที รงคนุ เคย นบั ไดวาหนังสือเลมนี้มีคณุ คา ทางดานสังคมศาสตร ทรงใชภาษาท่ีเขา ใจงา ย
110 และเขียนอธบิ ายตามลําดบั จากงา ยไปสยู าก จากอดีตมาสูปจจุบันเหมาะสมกับการเปนคําอธิบาย ใหเ กดิ ความรูความเขาใจ และมีผูน ิยมนาํ พระราชพธิ สี บิ สองเดือนมาวาดเปนรูปภาพลงบนฝาผนัง ตามวัดตาง ๆ ในสมยั รัตนโกสินทร พระราชพิธีสิบสองเดือน เปนหนังสือที่อานไดไมยาก มีรายละเอียดของพระราชพิธี ในสวนตาง ๆ อยางครบถว น นอกจากทรงเลา ถึงพระราชพิธตี ามตํารับโบราณแลว ยังทรงมีพระราชวินิจฉัย ในเรือ่ งตาง ๆ ไดอ ยา งแยบยล พระราชนพิ นธเ ลม นี้เปนแบบอยา งของการเขยี นความเรยี งและตาํ รา อางอิงที่สําคัญเก่ียวกับพระราชพิธีของไทย เม่ือสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ไดทรงพระกรณุ าโปรดเกลา ฯใหจ ดั ตั้งวรรณคดีสโมสรข้นึ พระราชนิพนธ พระราชพิธีสิบสองเดือน ก็ไดรับการยกยอ งวา เปน “ยอดของความเรียงอธบิ าย” 7. ดา นการแตงกายและอาหาร การแตงกาย การใชผ าเปนเครอ่ื งแตง กายนัน้ เดมิ คร้ังกรุงศรอี ยุธยาคงมีอยูระยะหนึ่ง ท่ีมีระเบียบเครงครัดวา คนชั้นไหนใชผา ชนดิ ใดไดบ า ง หรือชนิดไหนใชไมไ ด ตอมาระเบียบน้ลี ะเวน ไปไมเครงครัด จึงปรากฏวา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก รัชกาลท่ี 1 โปรดใหออก พระราชบัญญัติ วาดวยการแตง กายการใชผา บังคับและหา มไวใหม อีกครั้งหน่ึง จะเหน็ ไดวา การใชผา เครอื่ งประดับ ในสมัยรัตนโกสินทรตอนตน เปนการใชตาม ฐานะรวมถงึ บรรดาศักด์ิ ตาํ แหนงหนาที่การงาน และตามสกลุ ผาในสมัยน้คี งใชสืบตอ แบบเดียวกับ ที่ใชในสมัยกรุงศรีอยุธยา คือ สวนหน่ึงเปนผาทอในประเทศ อีกสวนหนึ่งเปนผาสั่งเขามาจาก ตางประเทศ ผา ไทย ไดแ ก ผา ยก ผาไหม ผา สมปก ผายกทองระกําไหม สมัยรัชกาลที่ 2 มีผาลาย ซ่งึ เจา นาย และคนสามญั นยิ มใชจะตางกันตรงที่ลวดลายวา เปนลายอยาง หรือผาลายนอกอยาง (ผา ซงึ่ คนไทยเขียนลวดลายเปนแบบอยาง สงไปพิมพในตางประเทศ โดยเฉพาะอินเดีย) ถาเปน ของเจานายชั้นสูง ผาลายจะเขียนลายดวยสีทอง เรียกวา ผาลายเขียนทอง ใชไดเฉพาะระดับ พระเจา แผน ดินถึงพระองคเ จาเทา นนั้ ผา ชนิดนี้นิยมใชเ ชน เดยี วกับผายก ผาท่ีนา สนใจอีกอยา งหนง่ึ ของพวกเจา นาย คือ ผาใยบัว ผา กรองทอง และผา โขมพสั ตร พวกชาวบานท่วั ไป มักจะใชผ า ตาบวั ปอก ผาดอก สม ดอกเทยี น ผา เล็ดงา ผาตามะกล่ํา ผา ตาสมุก ผาไหมมหี ลายชนิด เชน ผาไหมตาตาราง ผาไหมตะเภา การเพิม่ ความงามใหแ กเสื้อผา ที่ใช นอกจากปก ไหมเปน ลวดลายตา ง ๆ แลว ก็มีการปก ดวยทองเทศ ปกดวยปกแมลงทับ ซึ่งใชปกท้ังบนผาทรงสะพัก ผาสมรด หรือผาคาดเอว และเชิง สนับเพลาของเจานายผูชาย
111 การแตงกายไทยในสมัยรัตนโกสินทรน ้นั แบง ไดตามสมยั ในชว งรชั กาลตา ง ๆ ไดด งั ตอ ไปน้ี รชั กาลที่ 1 - รชั กาลที่ 3 การแตงกายของผหู ญิง : ผูห ญงิ จะนุง ผา จีบ หมสไบเฉยี ง ตัดผมไวปกประบา กันไรผม วงหนาโคง หากเปนชาวบา นอาจนงุ ผาถงุ หรือโจงกระเบน สวมเส้ือรัดรปู แขนกระบอก หม ตะเบงมาน หรือผา แถบคาดรดั อก แลว หม สไบเฉียง การแตง กายของผูช าย : ผชู ายจะนุงผา มวง โจงกระเบน สวมเส้ือนอกคอเปด ผา อก กระดุม 5 เม็ด แขนยาวหากเปนชาวบานจะไมสวมเส้ือการแตงกายของชาววังและชาวบาน จะไมแตกตางกันมากจะมีแตกตางกันก็ตรงสวนของเนื้อผาท่ีสวมใสซึ่งหากเปนชาววังแลวจะ หมผาไหมอยางดี ทอเนื้อละเอียด เลนลวดลายสอดดิ้นเงิน - ด้ินทอง สวนชาวบานท่ัวไปจะนุงผา พนื้ เมือง หรอื ผาลายเน้อื เรยี บ ๆ หากเปน ราษฎรทว่ั ไปทีม่ อี าชีพเกษตรกร ทาํ ไร ทาํ นาแลวจะนงุ ผา ในลักษณะถกเขมร คือ จะนงุ เปนโจงกระเบนแตจะถกส้ันขนึ้ มาเหนือเขา เพ่อื ความสะดวก ไมส วมเสื้อ หากอยบู านจะนุงลอยชาย หรือโสรง แลวมผี าคาดพงุ แตถาแตงกายไปงานเทศกาลตาง ๆ มักนุงโจงกระเบน ดวยผาแพรสีตาง ๆ และหมผาคลองคอปลอยชายทั้งสองยาวไวดานหนาการตัดผมของสตรีสาว จะตัดผมทรงดอกกระทุม ปลอยทายทอยยาวถึงบา หากเปนผูใหญแลวจะตัดผมปกแบบ โกนทา ยทอยสัน้ ภาพ : การแตง กายสมัยรชั กาลท่ี 1 -รชั กาล 3 สมยั รชั กาลที่ 4 เน่ืองจากสมัยโบราณคนไทยไมนิยมสวมเสื้อแมแตเวลาเขาเฝา ในสมัยรัชกาลที่ 4 พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลา เจา อยูหัว จงึ ประกาศใหข าราชการสวมเส้อื เขา เฝา และทรงสนบั สนนุ ใหมีการศกึ ษาภาษาองั กฤษ จึงทาํ ใหม ีการรบั วฒั นธรรมตะวันตกเขามา การแตงกายของสตรีจึงมี การเปลี่ยนแปลงไป
112 การแตงกายของผหู ญิง : ผูหญิงจะนงุ ผา ลายโจงกระเบน หรอื นุงผาจีบ ใสเสื้อแขนยาว ผา อก ปกคอตั้งเต้ีย ๆ (เสื้อกระบอก) แลวหมผาแพรสไบจีบเฉียงทับบนเส้ือ ตัดผมไวปกเชนเดิม แตไมยาวประบา การแตง กายของผูชาย : ผชู ายจะนงุ ผามว งแพรโจงกระเบน สวมเสอ้ื เปดอกคอเปด หรอื เปน เสื้อกระบอกแขนยาว เรอื่ งของทรงผมผูชายยังไวทรงมหาดไทยอยู สวนรัชกาลท่ี 4 จะไมทรงไว ทรงมหาดไทย ภาพ : การแตง กายสมยั รชั กาลท่ี 4 สมัยรชั กาลที่ 5 ในสมัยรัชกาลท่ี 5 น้ี ถือเปนยุคแหงการเปลี่ยนแปลงการแตงกายของคนไทย เนื่องจากรัชกาลที่ 5 ทรงเสด็จประพาสยุโรปและมีการนําแบบอยางการแตงกายของชาวยุโรป กลับมาประยุกตใชในประเทศไทยอีก ทั้งในสมัยนี้ยังมีกําเนิดชุดช้ันในรุนแรกที่ดัดแปลงจาก เส้ือพริ้นเซส ซึ่งตอมาไดพัฒนาใหเปนเสื้อชุดช้ันในที่เรียกวา เสื้อคอกระเชาท่ียังคงเปนที่รูจักกัน ในปจจุบันนี้ การแตง กายของหญิง : ผูหญงิ จะนงุ ผาลายโจงกระเบน เส้อื กระบอก แขนยาว ผาอก หมผาแพร จบี ตามขวางสไบเฉียงทับบนเสอ้ื อกี ชั้นหนงึ่ ถา อยูบา นจะหมแตส ไบ ไมสวมเสื้อ เม่ือมีงาน พิธจี ะนุงหม ผาตาด เลกิ ไวผ มป และหันมาไวผ มยาวประบา การแตงกายของชาย : ผชู ายจะนงุ ผามว งโจงกระเบน สวมเสอื้ ราชปะแตน สวมหมวก หางนกยูง ถือไมเทาและไวผมรองทรง หากไปงานพิธีจะสวมถุงเทาและรองเทาดวยการสวมเสื้อ แพรสจี ะสวมตามกระทรวงและหมวดตาง ๆ ดังนี้
113 1) ชน้ั เจา นาย สวมเสอ้ื สีไพล 2) ช้นั ขุนนางกระทรวงมหาดไทยสวมเสอ้ื แพรสีเขียวแก 3) ชั้นขุนนางกระทรวงกลาโหมสวมเสื้อแพรสีลกู หวา 4) ชั้นขนุ นางกรมทา (กระทรวงตางประเทศ) เสื้อแพรสีนาํ้ เงนิ (สกี รมทา ) 5) ชั้นมหาดเล็กสวมเสอ้ื แพรสเี หล็ก 6) พลเรอื น สวมเสื้อปก เปน เสือ้ คอปด มีชายไมย าวมาก คาดเข็มขัดไวน อกเสือ้ ภาพ : การแตงกายสมัยรชั กาลท่ี 5 ตอนตน ภาพ : การแตง กายสมยั รชั กาลท่ี 5 ตอนกลาง
114 ภาพ : การแตง กายสมยั รชั กาลท่ี 5 ตอนปลาย สมัยรชั กาลที่ 6 การแตงกายของหญิง : ผูหญิงเร่ิมมีการนุงผาซ่ินตามพระราชนิยม สวมเส้ือแพร โปรงบาง หรือผาพิมพดอกคอกวางขึ้น หรือแขนเสื้อสั้นประมาณตนแขน ไมมีการสะพายแพร สว นทรงผมจะไวยาวเสมอตน คอ ตดั เปน ลอน หรอื เรียกวา ผมบอบมีการดัดผมดานหลังใหโคงเขา หาตน คอเลก็ นอยนิยมคาดผมดวยผาหรือไขม ุก การแตง กายของชาย : ผูช ายยงั คงนงุ ผามว งโจงกระเบน สวมเสอ้ื ราชปะแตน แตเรม่ิ มี การนุง กางเกงแบบชาวตะวันตกในภายหลัง แตป ระชาชนธรรมดาจะนุงกางเกงผาแพรของจนี สวมเสอ้ื คอกลมสีขาว (ผา บาง) ภาพ : การแตงกายสมยั รชั กาลที่ 6
115 สมัยรชั กาลที่ 7 การแตงกายของหญิง : ผูหญิงเลิกนุงโจงกระเบน แตจะนุงเปนผาซิ่นแคเขา สวมเส้ือ ทรงกระบอก ไมมีแขนไวผมสนั้ ดัดลอน ซึง่ จะดดั ลอนมากข้นึ การแตง กายของชาย : ผูช ายจะนงุ กางเกงเปนสีตา ง ๆ แตขาราชการจะนุงผามวง หรอื สีน้ําเงินสวมเส้ือราชปะแตน สวมถุงเทาและรองเทา แตในป พ.ศ. 2475 มีการเปลี่ยนแปลง ระบอบการปกครองเปนระบอบประชาธปิ ไตย ทาํ ใหอ ารยธรรมตะวันตกมีอิทธพลตอ การแตงกายของ คนไทยมากขนึ้ ผูช ายจึงจะมกี ารนงุ กางเกงขายาวแทนการนุงผามวง แตถึงอยางไรสามัญชนท่ัวไป ยังคงแตง กายแบบเดมิ คอื ผชู ายสวมกางเกงแพรหรือกางเกงไทยสวมเส้ือธรรมดา ไมสวมรองเทา สว นผหู ญิงสวมเส้อื คอกระเชาเกบ็ ชายไวใ นผา ซ่ินหรือโจงกระเบนเวลาออกนอกบานจึงแตงกายสุภาพ ภาพ : การแตงกายสมัยรชั กาลท่ี 7 สมัยรชั กาลที่ 8 โดยสรปุ แลวในสมัยน้จี ะมกี ารแตงกายท่เี ปนสากลมากยง่ิ ขึน้ อีกทงั้ ยงั เปนยุครฐั นยิ ม ซึ่งจอมพล ป. พิบลู สงคราม ไดก ําหนดเครอ่ื งแตง กายออกเปน 3 ประเภท 1) ใชใ นทชี่ มุ ชน 2) ใชท าํ งาน 3) ใชตามโอกาส ผูหญิงจะสวมเสื้อแบบไหนก็ได แตตองคลุมไหลมีการนุงผาถุง แตตอมาจะเร่ิมนุง กระโปรง หรือผาถงุ สาํ เรจ็ สวมรองเทา สวมหมวกและเลิกกินหมาก สวนผูชายจะสวมเส้ือมีแขน คอปด หรอื จะเปด กไ็ ด
116 ภาพ : การแตง กายสมัยรชั กาลที่ 8 สมยั รชั กาลที่ 9 รชั กาลที่ 10 จนถงึ ปจ จุบัน ผาไทยแมจะเสื่อมความนิยมไปบางในบางเวลา แตก็ยังเปนท่ีนิยมอยูในปจจุบัน กลาวไดว า ดว ยพระมหากรุณาธิคณุ ของสมเดจ็ พระนางเจา สริ กิ ิต์ิ พระบรมราชนิ ีนาถ (ในรัชกาลที่ 9) ที่ทรงสนพระราชหฤทัยสนับสนุนการทอผาพ้ืนเมือง โดยเฉพาะการทอผามัดหมี่ของภาค ตะวนั ออกเฉียงเหนอื ใหแพรหลาย เปนท่ีรูจกั อยางมาก ทงั้ ในประเทศ และตางประเทศ เปนผลให เกิดการตื่นตัวท่ีจะอนุรักษ และพัฒนาการทอผาพ้ืนเมืองในภูมิภาคอ่ืน ๆ ของไทยเราให เจริญกา วหนายง่ิ ขึ้น เปน ทน่ี ยิ มของคนไทย ซื้อหานาํ มาใชโ ดยทัว่ ไปอีกดวยสมเด็จพระนางเจา สิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชินนี าถ (ในรชั กาลที่ 9) ทรงสนพระราชหฤทยั สนบั สนุนการทอผาพื้นเมือง โดยเฉพาะ ผามัดหมขี่ องภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ใหเ ปน ทีร่ จู กั กันอยา งแพรห ลาย ขอความแตโ บราณที่วา “ผูหญิงทอผา” น้ันเหมาะอยางย่ิงสําหรับคนไทย เพราะ แสดงถึงวัฒนธรรมอันสูงสง ท่ีไทยเรามีบรรพบุรษุ ซง่ึ ปราดเปรื่อง คดิ ประดิษฐกรรมวธิ ีการทอผา ทงั้ ผาฝาย และผาไหมไดอยางดีเลิศ และคิดวิธีไดหลากหลาย ไมวาจะทอผาพื้น หรือทอใหเกิด ลวดลายตาง ๆ ดวยวธิ ีที่เรียกวา ยก จก ขิด มัดหม่ี และลวง เปนตน และวัฒนธรรมนี้ ไดรับการ สืบทอดตอมา นานนับรอ ยพนั ปจนเปน เอกลกั ษณท ีโ่ ดดเดน ชุดไทยแบบด้ังเดิมนั้นแทบจะสูญหายไป ชุดไทยพระราชนิยมเกิดจากพระราช เสาวนียข องสมเด็จพระนางเจาสริ ิกิตติ์พระบรมราชินีนาถ (ในรัชกาลที่ 9) เพอ่ื หาแบบชดุ ไทยทร่ี วม สมัยเพ่ือทรงในระหวางเสด็จประพาสยุโรป โดยศึกษาคนควาจากภาพถายเกาและออกแบบ ปรับปรุงใหเขา กับสมัยนยิ มมีทงั้ สิน้ 8 แบบ ดงั นี้
117 1) ไทยเรือนตน ใชแ ตง ในงานท่ีไมเปนพิธี และตองการความสบาย เชน ไปเท่ียว 2) ไทยจิตรลดา เปน ชดุ ไทยพธิ ีกลางวนั ใชรบั ประมขุ ตา งประเทศเปนทางการหรืองาน สวนสนาม 3) ไทยอมรนิ ทร สําหรบั งานเลี้ยงรับรองตอนหวั คาํ่ อนุโลมไมคาดเขม็ ขดั ได 4) ไทยบรมพมิ าน ชดุ ไทยพธิ ตี อนคํา่ คาดเขม็ ขดั 5) ไทยจักรี คือ ชดุ ไทยสไบ 6) ไทยดุสิต สําหรับงานพิธตี อนคํา่ จดั ใหสะดวกสาํ หรับสวมสายสะพาย 7) ไทยจักรพรรดิ เปน แบบไทยแท 8) ไทยศิวาลยั เหมาะสําหรับเม่ืออากาศเยน็ ภาพ : การแตงกายสมัยรชั กาลที่ 9 - รัชกาลที่ 10 อาหารในสมัยรตั นโกสนิ ทร อาหารไทยมีจุดกาํ เนิดพรอมกับการต้ังชนชาติไทย และมีการพัฒนาอยางตอเนื่อง สมยั รัตนโกสนิ ทรมีการจาํ แนกความเปนมาของอาหารไทยเปน 2 ยุค คือ ยุคสมัยรัชกาลท่ี 1 จนถึง รชั กาลท่ี 3 และยุคสมัยรชั กาลที่ 4 จนถงึ ปจ จุบนั สมยั รัตนโกสนิ ทร ยุคท่ี 1 (พ.ศ. 2325 - พ.ศ. 2394) อาหารไทยในยุคตนรัตนโกสินทร มีลักษณะเดียวกับยุคสมัยธนบุรี คือ นอกจาก มอี าหารคาว และอาหารหวานแลว ยังมอี าหารวา ง เปน อาหารทีเ่ กิดขึน้ จากอิทธิพลทางวัฒนธรรม อาหารของประเทศจีน ตอมามีการปรับเปลี่ยนดัดแปลงจนกลายเปนอาหารไทย นอกจากน้ี
118 จดหมายความทรงจําของกรมหลวงรินทรเทวี ไดกลาวถึงเคร่ืองตั้งสํารับคาวหวานของพระสงฆ ในงานสมโภชพระพุทธมณีรตั นมหาปฏิมากร (พระแกวมรกต) แสดงใหเห็นวารายการอาหารในยุคนี้ นอกจากจะมีอาหารไทย เชน ผัก นํ้าพริก ปลาแหง และหนอไมผัด แลวยังมีอาหารท่ีปรุงดวย เครื่องเทศแบบอสิ ลาม มีอาหารจนี ซงึ่ ใชเน้อื หมใู นการประกอบอาหาร สาํ หรบั อาหารประเภทผดั ผกั ท่ีใชไฟแรงทุกชนิด คนไทยรับวัฒนธรรมการปรุงอาหารมาจากชาวจีน ที่อพยพเขามาอาศัยหรือ เดนิ ทางมาคาขายในประเทศไทย ในสมยั ตน รตั นโกสนิ ทร โดยคนไทยสามารถหาซ้ือกระทะเหล็กได จากคนจีนที่นําสินคา มาขายในประเทศไทยทางเรอื (สําเภาจีน) นอกจากนี้ การเผยแพรวัฒนธรรม การรับประทานอาหารจากชาวตะวันตกทเี่ ขามาเผยแพรศาสนา กท็ าํ ใหค นไทยเริม่ รับประทานอาหาร ตะวันตก เชน ขนมปง ไข เน้ือ เนย และนม เปน ตน บทพระราชนิพนธ “กาพยเหเรือชมเคร่ืองคาวหวาน” ของพระบาทสมเด็จ พระพทุ ธเลิศหลานภาลัย ไดทรงกลาวถึงอาหารคาวและอาหารหวานหลายชนิด ซ่ึงสะทอนภาพ ของอาหารไทยในราชสํานกั ไดอ ยางชัดเจนท่ีสุด และสามารถแสดงใหเห็นถึงลักษณะของอาหารไทย ในราชสาํ นกั ท่ีมีการปรุงกลิน่ และรสอยา งประณตี โดยใหความสําคญั กับรสชาตอิ าหารมากเปนพิเศษ และถือวาเปนยุคสมยั ทมี่ ศี ลิ ปะการประกอบอาหารท่ีคอ นขางโดดเดนที่สุด ทั้งในดา นรูป รส กล่ิน สี และการตกแตง ใหเกิดความสวยงาม รวมทงั้ มีการพัฒนาอาหารนานาชาติ ใหเ ปน อาหารไทยตวั อยา ง อาหารคาว เชน แกงชนดิ ตาง ๆ เครือ่ งจมิ้ และยาํ ทกุ ประเภท ตัวอยา งอาหารวางคาว เชน หมแู นม ลาเตียง หรุม รังนก และอาหารวางหวาน เชน ขนมดอกลําเจียก และขนมผิง รวมทั้งขนมที่ รบั ประทานกับน้ําหวานและกะทิเจืออยูด ว ย เชน ซาหริ่ม และบวั ลอย เปนตน ภาพ : อาหารคาว นอกจากน้ี วรรณคดไี ทย เรอ่ื งขุนชา งขุนแผน จัดวาเปนวรรณคดีที่สะทอนวิถีชีวิต ของคน รวมท้ังสะทอนถึงวัฒนธรรมการรับประทานอาหารชาวบาน ที่พบวามีความนิยม รับประทานขนมจีนน้ํายา และมีการรับประทานขาวเปนอาหารหลักรวมกับกับขาวประเภทตาง ๆ ไดแก แกง ตม ยํา และคว่ั โดยอาหารมคี วามหลากหลายมากขึ้นทัง้ อาหารคาว และอาหารหวาน
119 สมยั รัตนโกสนิ ทร ยคุ ที่ 2 (พ.ศ. 2394 - ปจ จุบนั ) ตั้งแตสมัยรัชกาลที่ 4 ประเทศไทยมีการพัฒนาดานความเจริญกาวหนาทาง เศรษฐกิจ สังคม และเทคโนโลยีเปนอยางมาก และมีการต้ังโรงพิมพข้ึนเปนแหงแรกในประเทศไทย ดังนัน้ ตํารบั อาหารการกินของไทยจึงเริ่มมีการบนั ทกึ มากข้ึน ซ่ึงขอ มูลเหลานไ้ี ดบอกเรือ่ งราว และ ลกั ษณะของอาหารไทยทม่ี คี วามหลากหลายในชวงเวลาตาง ๆ ทั้งทเี่ ปนวิธีการปรุงของราชสํานัก และวธิ ีการปรงุ แบบชาวบา นทสี่ บื ทอดมาจนถงึ ปจ จบุ นั นอกจากน้สี มัยรัชกาลที่ 4 มกี ารตงั้ โรงสขี า วขนึ้ ทาํ ใหเมลด็ ขาวมสี ีขาว สวย และแตกหกั นอ ยลง คนไทยจงึ คอย ๆ เลิกตําขาวกินเอง และหนั มาซอ้ื ขา ว จากโรงสีแทน ตอมามีการเลี้ยงสัตวขายเปนอาชีพ มีโรงฆาสัตว ทําใหการซ้ือหาเนื้อสัตวมาปรุง อาหารไดรบั ความนยิ มมากขึ้น สงผลใหเนื้อสัตวใหญเขามามีบทบาทในสํารับอาหารไทย ในเวลา ตอมา การใชเคร่ืองเทศหลายชนิด เพ่ือดับกล่ินคาวของเนื้อสัตวท่ีนํามาปรุงอาหารก็เกิดข้ึนในชวงน้ี แมคนไทยจะใชเ ครอื่ งเทศบางอยาง เชน ขิง และกระชาย เพื่อดับกล่ินคาวปลามานานแลวก็ตาม แตเมื่อมีการนําเน้ือสัตวประเภทวัว และควายมาปรุงอาหาร คนไทยจึงไดคิดและดัดแปลงการใช เครอื่ งเทศหลายชนดิ กบั เนอื้ สตั วเ หลาน้นั และสรางสูตรอาหารใหม ๆ ข้นึ มากมาย กจิ กรรมทายเรอื่ งท่ี 2 มรดกไทยสมยั รตั นโกสินทร (ใหผ ูเรยี นไปทาํ กิจกรรมทา ยเรือ่ งที่ 2 ท่สี มดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรยี นรปู ระกอบชดุ วิชา) เรือ่ งท่ี 3 มรดกไทยทม่ี ผี ลตอ การพฒั นาชาตไิ ทย คุณคา ของภูมิปญ ญาไทย ไดแก ประโยชน และความสําคัญของภมู ิปญ ญาท่บี รรพบรุ ษุ ไทย ไดสรางสรรค และสืบทอดมาอยางตอเนื่อง จากอดีตสูปจจุบัน ทําใหคนในชาติเกิดความรัก และ ความภาคภูมิใจ ท่ีจะรวมแรงรวมใจสืบสานตอไปในอนาคต เชน โบราณสถาน โบราณวัตถุ สถาปต ยกรรม ประเพณไี ทย การมนี ํ้าใจ ศกั ยภาพในการประสานผลประโยชน เปนตน ภูมิปญ ญาไทย จงึ มีคณุ คา และความสําคญั ดงั นี้ 1. สรา งความภาคภูมิใจ และศักดิ์ศรี เกยี รตภิ มู แิ กค นไทย คนไทยในอดีตทีม่ ีความสามารถ ปรากฏในบนั ทกึ ประวตั ศิ าสตร เปน ทยี่ อมรบั ของ นานาอารยประเทศ เชน มรดกทางภาษาและวรรณกรรม โดยที่มีอักษรไทยเปนของตนเองตั้งแตสมัยกรุง สุโขทยั และมวี ิวัฒนาการมาจนถึงปจจุบนั วรรณกรรมไทย ถือวาเปนวรรณกรรมท่ีมีความไพเราะ ไดอ รรถรสครบทุกดาน วรรณกรรมหลายเรอ่ื งไดร บั การแปลเปนภาษาตา งประเทศหลายภาษา
120 ดานอาหาร อาหารไทยเปนอาหารท่ีปรงุ งาย อาหารสวนใหญเปนพืชสมุนไพร ทห่ี าไดงายในทองถ่ิน ราคาถูก มีคุณคาทางโภชนาการสูง และยังปองกันโรคไดหลายโรค เพราะ สว นประกอบสว นใหญเปนพืชสมุนไพร เชน ตะไคร ขิง ขา กระชาย ใบมะกรดู ใบโหระพา ใบกะเพรา เปนตน 2. สามารถปรับประยกุ ตห ลกั ธรรมคาํ สอนทางศาสนา ใชก ับวถิ ีชวี ิตไดอยา งเหมาะสม คนไทยสวนใหญน ับถือศาสนาพทุ ธ โดยนาํ หลักธรรมคําสอนของศาสนา มาปรับ ใชในวิถชี วี ิตไดอ ยางเหมาะสม ทาํ ใหค นไทยเปนผอู อนนอมถอ มตน เอือ้ เฟอ เผื่อแผ ประนีประนอม รกั สงบ ใจเยน็ มีความอดทน ใหอภัยแกผูสํานึกผิด ดํารงวิถีชีวิตอยางเรียบงาย ปกติสุข ทําใหคน ในชมุ ชนพึ่งพากันได ทั้งหมดนี้สบื เนื่องมาจากหลักธรรมคาํ สอนของพระพทุ ธศาสนา เปน การนาํ เอา หลกั ของพระพุทธศาสนามาประยุกตใชกับชีวิตประจําวัน และดําเนินกุศโลบายดานตางประเทศ จนทําใหช าวพุทธท่ัวโลกยกยองใหประเทศไทยเปนผนู าํ ทางพทุ ธศาสนา 3. สรางความสมดุลระหวางคนในสังคม และธรรมชาติไดอยางย่ังยืน มรดกไทยมคี วามเดน ชดั ในเรอ่ื งของการยอมรบั นับถอื และใหความสาํ คญั แกค นสังคม และธรรมชาติอยางยิ่ง มีสิ่งท่ีแสดงใหเห็นไดอยางชัดเจนมากมาย เชน ตลอดทั้งปมีประเพณีไทย 12 เดือน ลวนเคารพคณุ คาของธรรมชาติ ไดแก ประเพณีสงกรานต ประเพณลี อยกระทง เปน ตน วิถีชีวิตความเปนอยูของคนไทยลวนมีความสัมพันธเชื่อมโยงกับธรรมชาติ ส่ิงแวดลอ ม ซง่ึ จะสะทอ นภาพชวี ติ แบบไทย ทั้งในดา นความเปน อยู ทศั นคติ คา นิยม และความเชื่อ เชน “บาน” หรอื “เรอื น” การสรางบา นในอดตี มีการกอสรางทอี่ ยูอาศยั โดยคาํ นงึ ถงึ สภาพอากาศ สภาพภูมิประเทศ และความเหมาะสมของทาํ เลท่ีต้ัง ถึงแมวาปจ จบุ นั การดําเนินชีวิตและรปู ลกั ษณ ของบานจะแปรเปลี่ยนไป ชีวติ ในบานของคนไทยยังไมเ ปล่ยี นแปลงไปมากนกั ซึง่ คา นิยมบางประการ ยงั คงดําเนินการสืบทอดจากคนรนุ หนง่ึ สคู นอีกรุน หน่ึงอยา งตอเนื่อง ดังจะเหน็ ไดว า ลักษณะของบานเรือนชี้ใหเ หน็ ถงึ ภมู ปิ ญ ญาของคนโบราณ ทง้ั ชาง ปลกู บานและชางออกแบบ ท่ีปลกู บา นเพ่ือประโยชนและความตองการใชส อย ทั้งนี้ คนไทยสวนใหญ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ไดแก ทาํ สวน ทาํ นา ทําไร ทาํ ประมง แมนํ้าลําคลองจึงเปรียบเสมือน เสน โลหิตหลอเล้ียงชีวิต เปนทั้งแหลงอาหาร แหลง พักผอน และเปนเสนทางคมนาคมต้ังแตอ ดีต จนถึงปจจุบัน ซ่ีงจะสรุปไดวาวิถีชีวิตของคนไทยมีความสมดุลกันท้ังอาชีพ ที่อยูอาศัย และ ธรรมชาตไิ ดอยางลงตัว กิจกรรมทายเรอ่ื งท่ี 3 มรดกไทยท่ีมผี ลตอการพฒั นาชาตไิ ทย (ใหผ เู รยี นไปทาํ กจิ กรรมทา ยเรอ่ื งท่ี 3 ท่สี มดุ บันทกึ กจิ กรรมการเรยี นรปู ระกอบชดุ วชิ า)
121 เรอ่ื งท่ี 4 การอนุรกั ษมรดกไทย ประเทศไทย เปนประเทศที่มีเอกลักษณอันโดดเดนทางดานมรดกทางวัฒนธรรม ทบ่ี รรพบุรษุ ไดส รา งสรรคเ อาไวมากมาย ไมวาจะเปนโบราณวตั ถุ ศิลปวัตถุ โบราณสถาน วรรณกรรม ศลิ ปหัตถกรรม นาฏศลิ ป ดนตรี ตลอดจนการดําเนินชวี ิต และประเพณีตาง ๆ ที่สืบทอดตอ ๆ กันมา ยาวนาน จนกลายเปน มรดกไทยอนั ทรงคณุ คา และเปน จุดเดน ของประเทศไทย แตในปจจุบันมรดกไทย ไดรบั ผลกระทบจากความเปล่ยี นแปลงของสังคมทง้ั ภายในประเทศ และจากตางประเทศ อีกทั้งมี การเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี สงผลมรดกไทยอันทรงคุณคาของไทยบางสวนตองเส่ือมสญู ไป อยา งนาเสียดาย ดงั นน้ั ประชาชนทกุ คนจึงควรรวมกนั อนุรกั ษมรดกไทย ตลอดจนใหขอมูล ความรู คําแนะนาํ แกค นรนุ หลังในการสงเสริมใหรูคณุ คา ของมรดกทีไ่ ดรบั การสืบทอดตอไปอยางไมสิ้นสุด ซึ่งนอกจากความภาคภูมิใจในมรดกไทยแลว ยังมคี ุณคาท่ีเปนประโยชนตอการพัฒนาการศึกษา ทางดานประวตั ิศาสตร ศลิ ปะศาสตร สุนทรียศาสตร ชาติพันธุวิทยา และมานุษยวิทยา อีกท้ังยัง สงเสริมการพฒั นาเศรษฐกจิ ของชุมชน และประเทศผา นทางการทองเทย่ี ว ของชาตติ ลอดมา ความหมาย การอนรุ ักษมรดกไทย คือ การท่ีคนรุนหลังตระหนัก และเห็นถึงความสําคัญของ สง่ิ ทีบ่ รรพบุรษุ ไดส รา งขึ้น โดยการอนุรักษนน้ั จะทาํ ในเชงิ ปฏบิ ตั ิ คอื การดแู ลรกั ษาและการสบื สาน วฒั นธรรมนน้ั ๆ ไมใ หหายไป ซึ่งการอนุรักษเปนเหมือนเครื่องชวยยึดเหนี่ยวจิตใจ ทําใหเกิดการ หวงแหนในมรดกของตน กอใหเกิดเปนความรักและความผูกพัน อีกทั้งยังสงเสริมใหเกิดความ สามัคคีอีกดว ย โดยสรุปการอนุรกั ษม รดกเปน สงิ่ สําคญั ที่คนรุนหลัง ควรใสใจหรอื ตระหนักถงึ ใหม าก เพราะมรดกจะส่ือถึงความเปนเอกลักษณข องชนชาติน้นั ๆ และยงั กอใหเ กดิ ความผูกพันหรือความรัก ในชาตขิ องตน สง ผลไปถึงการสรางจิตสาํ นกึ ทีด่ ใี นการรักชาติ ซึง่ เปนสงิ่ สาํ คญั ในการคงอยขู องชาตนิ ้นั ๆ สามารถทาํ ได คอื การสะสมและการสบื ทอดมรดกทางวัฒนธรรมใหคงอยูตอ ไป ความสาํ คญั ของการอนรุ ักษม รดกไทย มรดกไทย คือ มรดกทางวัฒนธรรมที่แสดงออกถึงสัญลักษณของความเปนชาติ ซ่ึงไดแก โบราณวัตถุ ศิลปวัตถุ โบราณสถาน วรรณกรรม ศิลปหัตถกรรม นาฏศิลปและดนตรี ตลอดจนถึงการดาํ เนินชีวติ และคุณคาประเพณตี าง ๆ อันเปนผลผลิตรว มกันของผคู นในผนื แผนดนิ ในชว งระยะเวลาที่ผา นมา
122 ประเทศไทยเปนประเทศทีม่ ีศลิ ปวัฒนธรรมทเ่ี ปนเอกลักษณอ ันโดดเดนมาเปน เวลา ชา นาน ศิลปวัฒนธรรมไทยนับวาเปนสิ่งสําคัญอยางยิ่ง ทจี่ ะหลอหลอมชาวไทยในภูมิภาคตาง ๆ ใหเ กิดความสมานฉันทเปน อนั หน่ึงอันเดียว แตเน่ืองจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคมท่ีเปนไปอยาง รวดเร็ว มีผลทําใหมรดกทางวัฒนธรรมในแขนงตาง ๆ นับต้ังแตโบราณวัตถุ โบราณสถาน วรรณกรรม ศลิ ปกรรม นาฏศลิ ป ดนตรี ตลอดจนวิธกี ารดาํ เนินชวี ติ คานิยมและระบบประเพณตี า ง ๆ ในทองถ่ินไดรับผลกระทบและถูกละเลยทอดท้ิง ประชาชนชาวไทยตองตระหนักและนึกถึง ความจําเปน และความสําคญั ในการอนุรักษมรดกวัฒนธรรมของชาติ เพ่ือใหทกุ คนเกิดแนวคิดที่จะ ทาํ นุบํารุงรักษาโบราณสถาน โบราณวัตถุ และศลิ ปวัฒนธรรมแขนงตาง ๆ ใหมีการสืบทอดตอ ไป กิจกรรมทายเร่อื งที่ 4 การอนุรกั ษมรดกไทย (ใหผ ูเรียนไปทาํ กิจกรรมทา ยเรอื่ งที่ 4 ทีส่ มดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรปู ระกอบชดุ วชิ า) เรื่องท่ี 5 การมีสวนรว มในการอนรุ กั ษมรดกไทย การมสี วนรวมในการอนรุ กั ษมรดกไทย ไดแ ก 1. คน ควา วิจัย ศึกษา และเกบ็ รวบรวมขอมลู 2. การอนรุ ักษโดยการปลกู จติ สํานกึ และสรา งจติ สาํ นึกทต่ี องรว มกนั อนรุ ักษ 3. การฟน ฟูโดยเลือกสรรมรดกทางวฒั นธรรมทกี่ าํ ลงั สูญหาย หรือที่สญู หายไปแลว มาทําใหมคี ุณคา และมีความสาํ คญั ตอ การดําเนินชวี ิต 4. การพฒั นาโดยรเิ ริม่ สรางสรรค และปรบั ปรุงมรดกทางวฒั นธรรมในยุคสมัย ใหเ กดิ ประโยชนใ นชวี ิตประจําวัน 5. การถา ยทอดโดยนาํ มรดกทางวัฒนธรรมมาเลือกสรร กลัน่ กรอง ดวยเหตแุ ละผล อยางรอบคอบ และรอบดา น แลวไปถายทอดใหคนในสงั คมรับรู 6. การสงเสริมกิจกรรมโดยการสงเสรมิ สนับสนนุ ใหเกดิ เครือขายการสืบสานมรดก ทางวฒั นธรรม 7. การเผยแพรแ ละแลกเปลย่ี นโดยการสงเสริม สนับสนุน ใหเกิดการเผยแพรและ แลกเปลย่ี นมรดกทางวฒั นธรรม อยางกวางขวางดว ยสอ่ื และวธิ กี ารตาง ๆ กิจกรรมทายเรือ่ งที่ 5 การมสี ว นรวมในการอนรุ กั ษม รดกไทย (ใหผ เู รียนไปทาํ กจิ กรรมทา ยเรอื่ งที่ 5 ทีส่ มดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรปู ระกอบชดุ วิชา)
123 หนว ยการเรยี นรูท ี่ 5 การเปล่ยี นแปลงของชาตไิ ทยสมัยรตั นโกสนิ ทร สาระสาํ คญั การเปล่ียนแปลงของชาติไทยสมัยรัตนโกสินทร ไดกลาวถึง เหตุการณสําคัญทาง ประวตั ศิ าสตรท ม่ี ีผลตอการพฒั นาชาตไิ ทย ในเร่ืองการสถาปนาอาณาจักรรัตนโกสนิ ทร สนธสิ ญั ญา เบาวร ิง การปฏิรปู การปกครองในสมยั รชั กาลที่ 5 การเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 และ สมัยจอมพล ป. พิบลู สงคราม มกี ารเปลีย่ นแปลงรูปแบบการปฏบิ ัติทางวฒั นธรรม แสดงใหเห็นถึง ความเปนชาตทิ ี่มีอารยธรรม ตวั ชวี้ ัด 1. วเิ คราะหเ หตุการณส าํ คญั ทางประวตั ิศาสตรท ่ีมีผลตอการพฒั นาชาติไทย 2. อภิปรายและนําเสนอเหตกุ ารณสําคญั ทางประวัติศาสตรท่มี ผี ลตอการพฒั นาชาตไิ ทย ขอบขา ยเน้ือหา 1. เหตุการณส ําคัญทางประวัตศิ าสตรทมี่ ผี ลตอ การพัฒนาชาติไทย 1.1 การสถาปนาอาณาจกั รรัตนโกสินทร 1.2 สนธสิ ัญญาเบาวร ิง 1.3 การปฏริ ูปการปกครองในสมัยรชั กาลท่ี 5 1.4 การเปลย่ี นแปลงการปกครอง 2475 1.5 ความเปนชาติไทยสมยั จอมพล ป. พบิ ลู สงคราม 2. ตัวอยางการวเิ คราะหและอภปิ รายเหตกุ ารณส ําคญั ทางประวัติศาสตรท่ีมีผลตอ การพัฒนาชาตไิ ทย ส่อื การเรียนรู 1. ชดุ วิชาประวัติศาสตรช าติไทย รหสั รายวิชา สค32034 2. สมดุ บนั ทึกกิจกรรมการเรียนรูประกอบชุดวิชา เวลาทใ่ี ชใ นการศึกษา 18 ช่วั โมง
124 เรอื่ งท่ี 1 เหตกุ ารณส าํ คญั ทางประวตั ิศาสตรที่มีผลตอ การพฒั นาชาติไทย ปจจัยท่ีมีผลตอการสถาปนาอาณาจักรไทยนับต้ังแตสมัยสุโขทัย จนถึงสมัย รัตนโกสินทรปจจุบัน เปนอาณาจักรตอเนื่องกัน นับเวลามานานกวา 700 ป มีปจจัยท่ีสงผลตอ การสถาปนาอาณาจกั รไทย ไดแก ปจ จัยดานภมู ิศาสตร และปจจัยดานการเมือง 1.1 การสถาปนาอาณาจกั รรตั นโกสนิ ทร (พ.ศ. 2325 - ปจ จบุ ัน) อาณาจักรรตั นโกสนิ ทร เปน ราชธานีเริ่มตง้ั แตการยายเมอื งหลวงเดิมจากกรงุ ธนบุรี มายงั กรุงเทพมหานคร ซงึ่ ตัง้ อยบู นฝง ตะวนั ออกของแมน ํ้าเจาพระยา ปจ จัยที่มผี ลตอการสถาปนา อาณาจักรรตั นโกสนิ ทร ดังน้ี ดานภมู ิศาสตร เปนพื้นท่รี าบลุมกวางใหญเหมาะแกการเพาะปลกู และใกลปากอาวไทย เหมาะสมแกการตดิ ตอ คา ขายกับชาวตา งประเทศ ดา นการเมอื ง ในชวงปลายสมยั ธนบรุ ีเกดิ กบฏพระยาสรรค ทําใหบานเมืองไมสงบ เรียบรอยสมเด็จเจาพระยามหากษัตริยศึก (พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ทรงดาํ รงตาํ แหนงในขณะน้นั ) ไดท ําการปราบกบฏพระยาสรรคไ ดส าํ เร็จ จึงไดส ถาปนาราชวงศจ กั รี และทรงยายเมืองหลวงจากกรุงธนบุรีมายงั กรงุ เทพมหานคร โดยลอกแบบสิ่งกอสรางบางประการ เลียนแบบในสมยั กรงุ ศรีอยธุ ยา เพ่ือสรา งความรูส กึ ใหประชาชนเขาใจวา กรงุ เทพมหานครเปน ราช ธานีทีส่ ืบทอดตอเนื่องมาจากสมยั กรงุ ศรีอยธุ ยา 1.2 สนธสิ ัญญาเบาวร งิ หนังสือสัญญาทางพระราชไมตรีประเทศอังกฤษ และประเทศสยาม (อังกฤษ : Treaty of Friendship and Commerce between the British Empire and the Kingdom of Siam)” หรอื บนปกสมุดไทย ใชช่อื วา หนงั สือสญั ญาเซอร จอหน เบาวร งิ หรอื ท่ีมักเรยี กกนั ทั่วไปวา สนธิสัญญาเบาวริง (อังกฤษ : Bowring Treaty) เปนสนธิสัญญาท่ีราชอาณาจักรสยามทํากับ สหราชอาณาจักร ลงนามเม่ือวันท่ี 18 เมษายน พ.ศ. 2398 โดยเซอร จอหน เบาวริง ราชทูต ท่ีไดรับการแตงตั้งจากสมเด็จพระบรมราชินีนาถวิกตอเรีย ถือพระราชสาสนสมเด็จพระนางเจา วิกตอเรียเขามาถวายพระเจาแผนดินไทยและใชเวลาประมาณ 1 สัปดาหเจรจากับ “ผสู ําเร็จ ราชการฝา ยสยาม” 5 พระองค ดงั นี้ สมเดจ็ เจา พระยาบรมมหาประยรู วงศ (สมเดจ็ เจา พระยาองคใ หญ) ผสู ําเร็จราชการ ทัว่ พระราชอาณาจักร ประธานผูแ ทนรัฐบาล พระเจา นองยาเธอ กรมหลวงวงศาธริ าชสนิท สมเด็จเจา พระยาบรมมหาพไิ ชยญาติ (สมเด็จเจาพระยาองคน อย) ผูสําเร็จราชการ พระนคร
125 เจาพระยาศรีสุริยวงศ (ชวง บุนนาค) รักษาในตําแหนงสมหุ พระกลาโหม บังคับ บัญชาหัวเมอื งชายทะเลปากใตฝ ายตะวันตก เจาพระยารววิ งศ พระคลัง และสําเร็จราชการกรมทา บังคับบัญชาหัวเมืองฝา ย ตะวนั ออก สาระสําคญั ของสนธสิ ัญญาเบาวริง มีดงั น้ี 1) คนท่ีอยใู นการบังคับอังกฤษ จะอยูภายใตอํานาจการควบคุมของกงสุลอังกฤษ นับเปนคร้ังแรกทสี่ ยามมอบสนธิสภาพนอกอาณาเขตแกป ระชากรตางประเทศ 2) คนท่ีอยูในการบังคับอังกฤษ ไดรับสิทธิในการคาขายอยางเสรีในเมืองทา ทกุ แหง ของสยาม และสามารถพํานกั อาศยั อยูในกรุงเทพมหานครเปนการถาวรได ภายในอาณาเขต ส่ีไมล (สองรอ ยเสน) 3) คนที่อยูในการบังคับอังกฤษ สามารถซื้อ หรือเชาอสังหาริมทรัพยในบริเวณ ดังกลาวได 4) คนทอ่ี ยใู นการบงั คบั อังกฤษ ไดร ับอนญุ าตใหเดินทางไดอยางเสรีในสยาม โดยมี หนงั สือทีไ่ ดรบั การรับรองจากกงสุล 5) ยกเลิกคาธรรมเนียมปากเรือ และกําหนดอัตราภาษีขาเขา และขาออกอยาง ชัดเจน 5.1) อัตราภาษขี าเขา ของสนิ คาทุกชนดิ กาํ หนดไวท ร่ี อยละ 3 ยกเวนฝน ทไ่ี มต อ ง เสียภาษี แตตองขายใหกับเจาภาษี สวนเงินทองและขาวของเคร่ืองใชของพอคาไมตองเสียภาษี เชนกนั 5.2) สินคาสง ออกใหมกี ารเก็บภาษชี ้ันเดียว โดยเลือกวา จะเก็บภาษีช้ันใน (จังกอบ ภาษีปา ภาษปี ากเรอื ) หรอื ภาษสี ง ออก 6) พอคาอังกฤษ ไดรับอนุญาตใหซื้อขายโดยตรง ไดกับเอกชนสยามโดยไมมีผูใด ผหู นงึ่ ขัดขวาง 7) รฐั บาลสยาม สงวนสทิ ธิ์ในการหา มสงออกขาว เกลือ และปลา เม่ือสินคาดังกลาวจะ ขาดแคลนภายในประเทศ
126 ผลที่ไดรับจากการทําสนธสิ ัญญาเบาวร งิ 1) อังกฤษประสบความสาํ เร็จอยางมาก โดยการทรี่ ัฐบาลสยามยอมใหอังกฤษเขา มาต้ังกงสุล มีอํานาจพิจารณาคดีที่คนอังกฤษมีคดีความกัน และรวมพิจารณาคดีที่คนไทยกับ องั กฤษมีคดีความกนั 2) ขาว เกลือ และปลาไมเปนสนิ คา ตองหา มอีกตอไป 3) มีการรบั เอาวทิ ยาการตะวนั ตกสมยั ใหมเขา สูประเทศ ซึ่งทําใหชาวตางประเทศ ใหก ารยอมรับสยามมากข้ึน 4) การแลกผกู ขาดการคาของรัฐบาลทําใหเกิดการเปล่ียนแปลงดานเศรษฐกิจที่สําคัญ อยา งหนึ่ง คอื ราษฎรสามารถซ้ือขายสินคา ไดโ ดยอิสระ รฐั บาลไมเ ขามาเกี่ยวขอ งกบั การขายสินคา มคี า เชน ไมฝาง ไมก ฤษณา หรอื งาชา ง เพราะรฐั บาลจะขาดทุน 5) ขาว ไดกลายมาเปนสินคาสงออกที่สําคัญที่สุดของไทย สงผลใหการทํานา แพรห ลายกวาแตกอน และทําใหราษฎรมีเงินตราหมุนเวียนอยูในมือ พรอมทั้งชาวนามีโอกาสไถ ลกู เมยี ท่ีขายใหแกผ อู ่นื และยงั ทําใหเ งินตราตา งประเทศเขาสรู าชสาํ นกั เปน จํานวนมาก 6) ฝรง่ั ท่เี ขา มาจางลกู จา งคนไทยใหค า จา งเปนรายเดอื น และโบนสั คดิ เปนมลู คา สงู กวา ขาราชการไทยเสียมาก สงผลใหรฐั บาลไดเ พ่ิมเงนิ เบย้ี หวัด และคาแรงแกขา ราชการและคนงาน มากข้ึน 7) พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงใหสรางถนน ไดแก ถนนหัวลําโพง ถนนเจริญกรงุ และถนนสีลม แตล ะเสนกวา ง 5 ศอก 8) ในสมัยปลายรัชกาลที่ 4 ฝร่ังตางก็เขามาตั้งโรงงานในสยามเปนจํานวนมาก ตง้ั แตโ รงสขี า ว โรงงานน้ําตาลทราย อูตอ เรอื โรงเลือ่ ยไม เปนตน 9) การใหสิทธิเสรีภาพในการถือครองท่ีดินแกราษฎรไทย และชาวตางประเทศ ซึง่ รัฐบาลแบง ทดี่ ินออกเปน สามเขต คือ ในพระนคร และหางกําแพงพระนครออกไปสองรอยเสน ทกุ ทิศ ยอมใหเชาแตไมยอมใหซ้ือ ถาจะซื้อตองเชาครบ 10 ปกอน หรือจะตองไดรับอนุญาตจาก เสนาบดีเขตท่ีลวงออกไป เจาของที่และบานมีสิทธิใหเชา หรือขายกรรมสิทธ์ิได โดยไมมีขอแม แตล วงจากเขตน้ไี ปอีก หามมิใหฝร่ังเชาหรือซ้ือโดยเด็ดขาด เมื่อราษฎรไดรับสิทธิในการถือครอง กรรมสิทธ์ิทด่ี นิ ราษฎรกม็ ที างทํามาหากินเพ่ิมข้ึนอีกทางหนึ่ง คือ การจํานองที่ดินเพ่ือกูเงิน หรือ ขายฝาก ขายขาดทด่ี นิ ของตนได 1.3 การปฏิรปู การปกครองในสมยั รชั กาลท่ี 5 ในรชั สมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลที่ 4) เปนลัทธิการลา อาณานิคมของชาวตะวันตก จึงไดทรงดําเนินนโยบายทางการทูต เพ่ือมิใหประเทศมหาอํานาจ ใชเ ปนขออางในการยึดครองประเทศไทย ครั้นตอมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา
127 เจา อยูหวั (พ.ศ. 2411 - 2453) เปน สมยั ทีม่ กี ารปฏริ ปู บานเมอื งในดา นตาง ๆ ทาํ ใหป ระเทศไทยเปน ประเทศทันสมัย ท่ีสามารถรอดพนจากลัทธิการลาอาณานิคมมาได เปนประเทศเดียวในภูมิภาค เอเชยี ตะวนั ออกเฉียงใต และยงั สง ผลใหเ กิดความเจริญแกป ระเทศชาตใิ นปจจบุ ัน สาเหตขุ องการปฏิรูปบา นเมือง ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว เปนชวงเวลาที่ชาติตะวันตก มีการลา อาณานิคม สงผลใหประเทศเพื่อนบานของไทยหลายแหง ตกอยูภายใตอิทธิพลของชาติ ตะวันตก เชน พมาอยูภายใตการปกครองของอังกฤษ เวียดนามตกเปนเมืองข้ึนของฝรั่งเศส นอกจากน้ี ประเทศองั กฤษและประเทศฝรงั่ เศส มีความพยายามขยายอํานาจเขามาในดินแดนของ ประเทศไทย และบริเวณโดยรอบดินแดนของประเทศไทย ทําใหพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจา อยหู วั ซ่ึงทรงติดตามเรื่องราวการขยายอํานาจของประเทศชาติชาวตะวันตก และความเจริญ ของประเทศชาตขิ องชาวตะวนั ตก จึงตองการปฏริ ปู บานเมืองใหท นั สมัยแบบเดียวกับประเทศชาติ ชาวตะวันตก เพื่อไมใ หใชเปนขออา งวาประเทศไทยเปนบานเมืองปาเถื่อน ดอยความเจริญ แลวถือ โอกาสเขา มายดึ ครอง ดังนั้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว จึงทรงดําเนินการปฏิรูป บา นเมือง โดยมแี นวความคิดในการปฏิรปู การปกครอง 3 ประการ คือ 1) การรวมอํานาจเขา สูส วนกลางมากขึ้นเปน การใชอ าํ นาจของรฐั บาลกลางในการยืนยัน อาณาเขตของประเทศไทย เพอ่ื ปองกนั ประเทศชาตติ ะวนั ตกอา งเอาดินแดนไปยึดครอง 2) การศาลและกฎหมายทีม่ มี าตรฐานเปนสากลมากขน้ึ 3) การพัฒนาประเทศ ทรงริเร่ิมนําสิ่งใหม ๆ เขามา เชน การไปรษณีย การรถไฟ การโทรเลข ฯลฯ การปฏริ ปู การปกครอง การปกครองกอนรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว การบริหาร บานเมืองน้ันอยูภายใตอาํ นาจบรรดาขุนนางผูใหญและเจานายที่มีทั้งกําลังทหาร อาวุธและ ไพรส ว นพระองค อีกท้ังยังมบี ทบาทในการควบคุมผลประโยชนทางดา นการคา ขาย เชน การเกบ็ ภาษี และการควบคุมไพร เปน ตน สง ผลใหพ ระราชอํานาจของพระมหากษัตริยเกดิ ความไมม ั่นคง พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวจึงทรงจัดระเบียบการปกครองเสียใหม และเปนรากฐานการปกครองมาจนถึงปจจบุ ัน โดยจาํ แนกออกเปน 3 สวนทส่ี ําคญั ดังนี้ 1. การปกครองสว นกลาง การปรับปรุงการบริหารราชการในสวนกลางของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยูห วั ทรงยกเลกิ ตาํ แหนงอัครเสนาบดี 2 ตําแหนง คือ สมุหกลาโหม และสมุหนายก รวมทั้ง จตสุ ดมภ โดยแบง การบรหิ ารราชการออกเปน กระทรวงตามแบบอารยประเทศ มีการจดั สรรอาํ นาจ
128 หนาที่ ความรับผิดชอบเปนสัดสวน เพ่ือใหมีประสิทธิภาพ และใหมีเสนาบดีเปนผูวาการแตละ กระทรวง กระทรวงที่ตง้ั ขนึ้ ทง้ั หมด เม่อื พ.ศ. 2435 มี 12 กระทรวง มีหนา ท่คี วามรบั ผิดชอบ ดังนี้ (1) กระทรวงมหาดไทย รบั ผิดชอบหัวเมอื งฝายเหนือและเมอื งลาวประเทศราช (2) กระทรวงกลาโหม รับผิดชอบหวั เมอื งฝา ยใต หัวเมืองฝา ยตะวนั ออก ตะวนั ตก และเมอื งมลายปู ระเทศราช (3) กระทรวงตา งประเทศ รบั ผดิ ชอบเกย่ี วกับการตา งประเทศ (4) กระทรวงวงั รบั ผิดชอบเกี่ยวกับกิจการในพระราชวงั (5) กระทรวงเมือง รบั ผิดชอบเกยี่ วกบั การตํารวจ บญั ชคี น และราชทัณฑ หรอื กระทรวงนครบาล (6) กระทรวงเกษตราธกิ าร รับผดิ ชอบเกี่ยวกับการเพาะปลูก เหมืองแร ปา ไม (7) กระทรวงคลงั รบั ผดิ ชอบเกีย่ วกบั ภาษอี ากรและเงนิ รายรับ งบประมาณ แผนดนิ (8) กระทรวงยตุ ิธรรม รับผิดชอบเกย่ี วกับการชาํ ระคดแี ละการศาล (9) กระทรวงยทุ ธนาธกิ าร รบั ผดิ ชอบเกี่ยวกบั การทหาร (10) กระทรวงธรรมการ รบั ผดิ ชอบเกี่ยวกับการศกึ ษา การสาธารณสุขและพระสงฆ (11) กระทรวงโยธาธิการ รบั ผดิ ชอบเกยี่ วกับการกอ สราง ถนน คลอง การชา ง ไปรษณยี โ ทรเลข และรถไฟ (12) กระทรวงมุรธาธิการ รบั ผดิ ชอบเกี่ยวกับการรกั ษาตราแผนดิน และงานระเบียบ สารบรรณ ภายหลงั ไดย บุ กระทรวงยทุ ธนาธิการไปรวมกับกระทรวงกลาโหม และยุบกระทรวง มุรธาธกิ ารไปรวมกบั กระทรวงวงั คงเหลอื เพียง 10 กระทรวง เสนาบดที ุกกระทรวงมฐี านะเทาเทียมกนั และประชุมรวมกันเปนเสนาบดีสภา ทําหนาท่ีปรึกษาและชวยบริหารราชการแผนดินตามที่ พระมหากษัตรยิ ทรงมอบหมาย เพราะอํานาจสูงสุดเด็ดขาดเปนของพระมหากษัตริยตามระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชยและทรงแตงตั้ง “สภาที่ปรึกษาราชการแผนดิน” ซ่ึงตอมาไดเปลี่ยนเปน “รัฐมนตรีสภา” ประกอบดว ย เสนาบดี หรือผแู ทน กับผทู ีโ่ ปรดเกลาฯ แตงตั้ง รวมกันไมนอยกวา 12 คน มจี ุดประสงคเพื่อใหเปนท่ีปรึกษาและคอยทัดทานอํานาจพระมหากษัตริย แตการปฏิบัติ หนาท่ขี องสภาดังกลาว ไมไดบรรลุจุดประสงคท่ีทรงหวังไว เพราะสมาชิกสวนใหญไมกลาโตแยง พระราชดําริ คณะท่ปี รกึ ษาสว นใหญม กั พอใจทีจ่ ะปฏบิ ัติตามมากกวา ที่จะแสดงความคิดเห็น
129 นอกจากนีพ้ ระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา เจา อยูห ัว ยังทรงแตง ต้งั “สภาทป่ี รกึ ษา ในพระองค” ซ่งึ ตอ มาไดเ ปลยี่ นเปน “องคมนตรสี ภา” ขน้ึ อกี มจี ดุ ประสงคเพ่ือสงเสริม สนับสนุน การดําเนินพระราชกรณียกิจตาง ๆ ที่ทรงมอบหมายใหสําเร็จลุลวงเกิดประโยชนตอราษฎรและ ประเทศชาติ ประกอบดวยสมาชิกเม่ือแรกตั้ง 49 คน มีท้ังสามัญชน ต้ังแตช้ันหลวงถึงเจาพระยา และพระราชวงศ องคมนตรสี ภานี้อยูในฐานะรองจากรฐั มนตรีสภา เพราะขอ ความที่ปรึกษา และ ตกลงกันในองคมนตรีสภาแลวจะตองนําเขาที่ประชุมรัฐมนตรีสภากอนแลวจึงจะเสนอเสนาบดี กระทรวงตา ง ๆ 2. การปกครองสว นภมู ิภาค พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงมีพระราชดําริใหยกเลิกการ ปกครองหวั เมอื ง และใหเปล่ียนแปลงเปนการปกครองสวนภูมิภาคที่มีความสัมพันธกับสว นกลาง โดยโปรดเกลา ฯ ใหต ราพระราชบัญญตั ลิ กั ษณะปกครองทองที่ ร.ศ. 116 ขึ้น เพื่อจัดการปกครอง เปน มณฑล เมอื ง อําเภอ ตําบล และหมูบาน ดังน้ี 1) มณฑลเทศาภิบาล ประกอบดวยเมืองตั้งแต 2 เมืองข้ึนไปมีสมุหเทศาภิบาล ที่พระมหากษตั ริยท รงแตง ต้งั ไปปกครองดูแลตางพระเนตร พระกรรณ 2) เมอื ง ประกอบดวยอาํ เภอหลายอาํ เภอ มีผูวาราชการเมืองเปนผูรับผิดชอบ ขึน้ ตรงตอ ขาหลวงเทศาภบิ าล 3) อาํ เภอ ประกอบดว ยทอ งทีห่ ลาย ๆ ตําบล มีนายอาํ เภอเปนผรู ับผดิ ชอบ 4) ตําบล ประกอบดวยทอ งท่ี 10 - 20 หมูบา น มกี าํ นนั ซ่งึ เลอื กตั้งมาจากผูใ หญบ าน เปน ผรู บั ผดิ ชอบ 5) หมูบาน ประกอบดวยบานเรือนประมาณ 10 บานขึ้นไป มีราษฎรอาศัย ประมาณ 100 คน เปนหนวยปกครองที่เล็กที่สุด มีผูใหญบานเปนผูรับผดิ ชอบตอมาใน สมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจา อยูหัว ไดยกเลิกมณฑลเทศาภิบาล และเปล่ียน เมือง เปน จังหวัด 3. การปกครองสวนทองถนิ่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงจัดใหมีการบริหารราชการ สวนทองถิ่นในรูปสุขาภิบาล ซึ่งมีหนาที่คลายเทศบาลในปจจุบัน เปนครั้งแรกเม่ือ พ.ศ. 2440 โดย โปรดเกลาฯ ใหตราพระราชกําหนดสุขาภิบาลกรุงเทพฯ ร.ศ. 116 (พ.ศ. 2440) ขึ้นบังคับใชใน กรุงเทพฯ ตอมาใน ร.ศ. 124 (พ.ศ. 2448) ไดขยายไปที่ทาฉลอม ปรากฏวาดําเนินการไดผลดี เปนอยางมาก ตอมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวไดโปรดเกลาฯ ใหตรา พระราชบัญญตั ิจดั การสุขาภิบาล ร.ศ. 127 (พ.ศ. 2451) ขน้ึ โดยแบงสุขาภิบาลออกเปน 2 ประเภท คือ
130 สุขาภิบาลเมอื ง และสขุ าภิบาลตําบล ทอ งถิ่นใดเหมาะสมทีจ่ ะจดั ตั้งเปน สุขาภิบาลประเภทใด ก็ให ประกาศตงั้ สุขาภิบาลในทอ งถิ่นนัน้ 1.4 การเปลีย่ นแปลงการปกครอง พทุ ธศกั ราช 2475 ในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 ไดทรงดําเนิน พระบรมราโชบาย ดังน้ี 1) ปลดปลอ ยไพรใ หเ ปนอสิ ระและทรงประกาศเลกิ ทาสใหเปน ไทยแกตนเอง 2) ผลจากปฏิรูปการศึกษาตามแบบตะวันตก เพื่อใหคนไทยทุกคนไดรับการศึกษา ถงึ ขัน้ อานออกเขียนไดและคิดเลขเปนไมวาจะเปนเจา นาย บตุ รหลานขนุ นาง หรือราษฎรสามญั ชน ท่พี นจากความเปนไพรหรือทาส ถาบุคคลใดมีสติปญญาเฉลียวฉลาดกจ็ ะมโี อกาสเดินทางไปศึกษา ตอยงั ประเทศตะวนั ตก 3) ผลการปฏิรูปการศึกษา ทําใหคนไทยบางกลุมท่ีไดรับการศึกษาตามแบบชาติ ตะวนั ตกเริ่มมกี ระแสความคิดเก่ียวกับการเมืองสมยั ใหม ท่ียดึ ถือรัฐธรรมนญู เปนกฎหมายสูงสุดใน การปกครองประเทศ และมีความปรารถนาที่จะเห็นการเปล่ียนแปลงการปกครองเกิดข้ึนใน ประเทศไทย เม่อื พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 6 เสด็จขึ้นครองราชสมบัติ พ.ศ. 2453 กลุมปญญาชนตางก็มุงหวังวา พระองคจะทรงเปลี่ยนแปลงการปกครองของประเทศ ไปสูระบอบประชาธิปไตย ทั้งน้ีเพราะพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว ทรงศึกษาอยูใน ประเทศอังกฤษ ซึ่งมีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยและคงไดทรงเตรียมพระองคดังท่ี พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจาอยูหวั มีพระราชดํารัสไว แตปรากฏวายังไมมีพระราชดําริใน เรอื่ งรฐั สภาและรฐั ธรรมนญู แตอ ยา งใด ในเวลาเดยี วกนั ประเทศจีนมีการปฏิวัติลมลางราชวงศแมนจู เปล่ยี นการปกครองประเทศเปน ระบอบประชาธปิ ไตยแบบสาธารณรฐั เปน ผลสาํ เรจ็ ทาํ ใหความคิด อยากจะไดป ระชาธิปไตยมมี ากขึน้ ประกอบกบั ความไมพอใจในพระราชจริยาวตั รบางประการของ พระมหากษตั รยิ พระองคใ หม จงึ ทําใหเ กดิ ปฏกิ ิรยิ าทจี่ ะลมลางระบอบการปกครอง ดังน้ัน เหตุการณสําคัญท่ีเกิดข้ึนในตนรัชกาลพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจาอยูหัว ก็คือ พวกนายทหารบกทหารเรือและพลเรือน รวมประมาณ 100 คน เรียกตัวเองวา คณะ ร.ศ. 130 ไดวางแผนการปฏิวัตกิ ารปกครองหวังใหพ ระมหากษตั ริยพ ระราชทานรัฐธรรมนูญ ใหแกปวงชนชาวไทย
131 สาเหตุทีน่ าํ ไปสกู ารเปลีย่ นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 คณะราษฎรโดยการนําของพันเอกพระยา พหลพลพยุหเสนา ไดเ ขา ยึดอาํ นาจการปกครอง มีสาเหตุทีส่ าํ คญั ดังนี้ 1) ความเส่อื มของระบอบสมบูรณาญาสิทธริ าชย 2) การไดรับการศึกษาตามแนวความคดิ ตะวนั ตกของบรรดาชนช้นั นาํ ในสังคมไทย 3) ความเคลื่อนไหวของบรรดาส่อื มวลชน 4) ความขัดแยงทางความคดิ เกย่ี วกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตย 5) ปญ หาสภาวะการคลงั ของประเทศ และของโลก คณะราษฎรกบั การเปลยี่ นแปลงการเมืองการปกครอง ในรชั สมยั ของพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจา อยหู ัว ราชอาณาจกั รสยามไดป กครอง ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย ชาติไดประสบกับปญหาซึ่งเกิดจากรัฐบาลตองรับมือกับปญหา เศรษฐกิจท่ีรายแรงและภัยคุกคามจากตางประเทศ (โดยเฉพาะประเทศอังกฤษและประเทศ ฝรัง่ เศส) คณะราษฎรภายใตการนําของพันเอกพหลพลพยุหเสนา เปนหัวหนาคณะราษฎร ประกอบดวย กลุมบุคคลผูตองการใหมีการเปล่ียนแปลงการปกครอง และมีสมาชิกท่ีมีความคิด แบบเดยี วกนั รวมท้งั สิน้ 7 คน ไดแ ก 1) หลวงสริ ิราชไมตรี (จรญู สิงหเสนี) ผูชวยราชการสถานทตู สยามในประเทศ ฝร่งั เศส 2) รอ ยโทประยูร ภมรมนตรี นกั เรียนวชิ ารัฐศาสตร ประเทศฝรง่ั เศส 3) รอ ยโทแปลก ขตี ตะสงั คะ นักเรยี นวชิ าทหารปน ใหญ ประเทศฝรงั่ เศส 4) รอยตรีทัศนัย มติ รภักดี นกั เรยี นวชิ าทหารมา ประเทศฝร่งั เศส 5) นายปรดี ี พนมยงค นักเรยี นวิชากฎหมาย ประเทศฝร่ังเศส 6) นายแนบ พหลโยธนิ นกั เรียนวชิ ากฎหมาย ประเทศองั กฤษ 7) นายตัว้ ลพานุกรม นกั เรียนวิชาวิทยาศาสตร ประเทศ สวติ เซอรแ ลนด และไดทําการประชุมครัง้ แรกท่บี านพักเลขที่ 9 ถนนซอเมอราร ในกรุงปารสี ประเทศ ฝร่ังเศส เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ พ.ศ. 2469 ซ่ึงติดตอกันนานถึง 4 คืน 5 วัน โดยมีรอยโท แปลก ทีส่ มาชิกคณะราษฎรคนอนื่ ๆ เรียกวา “กัปตัน” เปนประธานในการประชุม ที่ประชุมมีมติตกลง ที่จะทําการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย มาเปนการปกครอง
132 ในระบอบประชาธปิ ไตยท่มี กี ษัตรยิ อยูใ ตกฎหมาย โดยตกลงที่ใชวิธีการ “ยึดอํานาจโดยฉับพลัน” รวมท้ังพยายามหลกี เลีย่ งการนองเลือด เหมือนกับท่ีเคยเกิดข้ึนแลวในการปฏิวัติประเทศฝรั่งเศส และการปฏิวัติในประเทศรัสเซีย ท้ังนี้เพ่ือเปนการปองกันการถือโอกาสเขามาแทรกแซงจาก มหาอํานาจทมี่ ีอาณานิคมอยูลอมรอบประเทศสยามในสมัยนั้น คือ ประเทศอังกฤษและประเทศ ฝรัง่ เศส ในการประชุมครั้งน้ัน กลุมผูกอการไดต้ังปณิธาน 6 ประการในการเปลี่ยนแปลง การปกครอง ซึ่งตอ มาหลังจากปฏวิ ัติยึดอาํ นาจไดแ ลว ก็ไดน าํ ประกาศเปาหมาย 6 ประการน้ีไวใน ประกาศคณะราษฎร ฉบับที่ 1 และตอมาไดเ รยี กวา “หลกั 6 ประการของคณะราษฎร” คอื 1) จะตองรักษาความเปนเอกราชท้ังหลาย เชน เอกราชในบานเมือง ในทางศาล ในทางเศรษฐกิจของประเทศไวใ หมนั่ คง 2) จะรักษาความปลอดภัยในประเทศ ใหก ารประทษุ รา ยตอกันลดนอยลงใหม าก 3) จะตองบํารงุ ความสมบรู ณข องราษฎรในทางเศรษฐกจิ ไทย รัฐบาลใหมจะพยายาม หางานใหร าษฎรทําโดยเต็มความสามารถ จะรางโครงการเศรษฐกิจแหงชาติ ไมปลอยใหราษฎร อดอยาก 4) จะตองใหราษฎรไดมสี ิทธิเสมอภาคกัน ไมใชใ หพ วกเจามีสทิ ธยิ ่งิ กวาราษฎรเชน ที่ เปนอยู 5) จะตองใหราษฎรไดมีเสรีภาพ มีความเปนอิสระ เม่ือเสรีภาพน้ีไมขัดตอหลัก 4 ประการ ดงั กลา วแลวขางตน 6) จะตองใหมีการศึกษาอยางเต็มที่แกราษฎร และท่ีประชุมไดลงมติใหปรีดี พนมยงค เปน หวั หนา จนกวา จะหาผูท ีเ่ หมาะสมกวา ได หลงั จากการประชุมคร้ังนั้น คณะผูกอการไดกลับมาประเทศสยาม ไดพยายามหา สมาชิกเพื่อเขารวมกอการปฏิวัติ โดยไดติดตอประชาชนทุกอาชีพ ท้ังพอคา ขาราชการพลเรือน และทหาร ไดส มาชิกทงั้ สน้ิ 115 คน แบง เปนสายตา ง ๆ คือ 1) สายพลเรือน นาํ โดย หลวงประดษิ ฐม นธู รรม (ปรดี ี พนมยงค) 2) สายทหารเรือ นาํ โดย นาวาตรีหลวงสนิ ธุสงครามชยั (สนิ ธุ กมลนาวิน) 3) สายทหารบกชัน้ ยศนอ ย นําโดย พันตรีหลวงพิบูลสงคราม (แปลก พบิ ลู สงคราม) 4) สายนายทหาร ช้ันยศสูง นําโดย พันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน พหลโยธิน)
133 โดยท่ีประชุมคณะราษฎรตกลงกันวา ในเรอื่ งของการปฏิวตั ิ ความม่ันคง และความ ปลอดภัยของบรรดาสมาชิก และของประเทศ เปนหนาที่ของฝายทหาร และในสวนของการ รางคาํ ประกาศ ตลอดจนการรางกฎหมาย และการวางเคา โครงตาง ๆ ของประเทศ เปน หนา ทีข่ อง ฝา ยพลเรือน ในวันที่ 24 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2475 คณะผกู อ การสามารถยึดอาํ นาจและจับกุมบุคคล สาํ คัญฝายรัฐบาลไวไดโดยเรียบรอย และไดรว มกันจัดตั้งคณะราษฎรขนึ้ มาเพื่อทาํ หนา ที่รบั ผิดชอบ รวมทั้งออกประกาศแถลงการณของคณะราษฎร เพื่อช้ีแจงที่ตองเขายึดอํานาจการปกครอง ใหป ระชาชนเขาใจ นอกจากนค้ี ณะราษฎรไดแ ตงต้ังผูรกั ษาการพระนครฝา ยทหารข้ึน 3 นาย ไดแก พันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา พันเอกพระยาทรงสุรเดช พันเอกพระยาฤทธิ์อัคเนย โดยใหทํา หนาที่เปนผูบริหารราชการแผนดิน ขณะที่ยังไมมีรัฐธรรมนูญเปนหลักในการบริหารประเทศ หลังจากนั้น คณะราษฎรไดมหี นงั สือกราบบังคมทลู อัญเชญิ พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว เสด็จกลบั คืนสพู ระนคร ซ่งึ ขณะนั้นพระองคท รงประทบั อยูท ่วี งั ไกลกังวล จังหวัดประจวบคีรีขันธ เพื่อดํารงฐานะเปนพระมหากษัตริยภายใตรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรตอไป ภายหลังจากท่ี พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลาอยูเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 7 เสด็จพระราชดําเนินจากพระราชวังไกลกังวล กลับคืนสูพระนครแลว คณะราษฎรไดนําพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผนดินสยาม ชวั่ คราว ซึง่ นายปรีดี พนมยงค และคณะราษฎรบางคนไดร างเตรยี มไวขึ้นทลู เกลา ฯ ถวายเพ่ือทรง พระปรมาภิไธยมี 2 ฉบับ คอื พระราชบญั ญตั ิธรรมนญู การปกครองแผน ดนิ สยามชั่วคราว พ.ศ. 2475 และรฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รสยาม พ.ศ. 2475 1) พระราชบญั ญตั ิธรรมนญู การปกครองแผนดินสยามช่วั คราว พ.ศ. 2475 พระองคไดพระราชทานกลับคนื มาเมอ่ื วันท่ี 27 มิถุนายน พ.ศ. 2475 และไดมี พธิ เี ปด สภาผูแทนราษฎรครง้ั แรกในประเทศไทย เม่ือวันท่ี 28 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ซึ่งรัฐธรรมนูญนี้ มชี ่อื เรยี กวา “พระราชบญั ญัติธรรมนญู การปกครองแผน ดนิ สยามช่วั คราว” รัฐธรรมนูญช่ัวคราวน้ี กําหนดวา อาํ นาจสูงสดุ ในแผน ดิน ประกอบดว ย อํานาจนติ บิ ญั ญตั ิ อํานาจบรหิ าร และอาํ นาจตลุ าการ ซง่ึ แตเดิมเปนของพระมหากษัตริย จึงไดเปลี่ยนเปนของปวงชนชาวไทยตามหลักการของระบอบ ประชาธิปไตยเกี่ยวกับการไดมาของสมาชิกสภาผูแทนราษฎร ไดกําหนดแบงระยะเวลาออกเปน 3 สมยั คือ (1) สมัยที่ 1 นับแตวันใชรัฐธรรมนูญน้ีเปนตนไป จนกวาจะถึงเวลาที่สมาชิก ในสมัยท่ี 2 จะเขา รับตาํ แหนง ใหค ณะราษฎรซึ่งมีผูรักษาพระนครฝายทหารเปนผูใชอํานาจแทน และจัดต้งั ผแู ทนราษฎรชั่วคราวข้ึนเปนจํานวน 70 นาย เปน สมาชิกในสภา
134 (2) สมัยที่ 2 ภายในเวลา 6 เดือน หรอื จนกวาจะจดั ประเทศเปนปกติเรียบรอย สมาชิกในสภาจะตอ งมบี ุคคล 2 ประเภท ทํากจิ กรรมรว มกนั คอื ประเภททหี่ น่งึ ไดแ ก ผูแทนราษฎร ซ่ึงราษฎรไดเลือกขึ้นมาจังหวัดละ 1 นาย ตอราษฎรจํานวน 100,000 คน ประเภทที่สอง ผูเปน สมาชิกอยใู นสมยั ทีห่ น่งึ มจี ํานวนเทากับสมาชิกประเภททห่ี น่งึ ถาจํานวนเกินใหเลือกกันเองวาผูใด จะยังเปนสมาชกิ ตอไป ถา จํานวนขาดใหผูท่มี ตี ัวอยูเลอื กบุคคลใด ๆ เขา แทนจนครบ (3) สมัยท่ี 3 เมอื่ จํานวนราษฎรท่ัวราชอาณาจกั รไดสอบไลว ิชาประถมศึกษาไดเ ปน จํานวนกวา ครึ่ง และอยางชาตองไมเ กนิ 10 ป นับตงั้ แตวนั ใชรฐั ธรรมนูญ สมาชกิ ในสภาผแู ทนราษฎร จะเปน ผทู ี่ราษฎรไดเ ลอื กตั้งขึ้นเองทงั้ สิน้ สวนสมาชกิ ประเภททส่ี องเปน อันสนิ้ สุดลง ผูแทนราษฎร ช่ัวคราว จํานวน 70 นาย ซึ่งผูรักษาการพระนครฝายทหารจะเปนผูจัดตั้งขึ้นในระยะแรกนั้น ประกอบดวย สมาชิกคณะราษฎร ขาราชการชั้นผูใหญ ผูประกอบอาชีพสาขาตาง ๆ ซงึ่ มีความ ปรารถนาจะชว ยบา นเมือง และกลมุ กบฏ ร.ศ. 130 บางคนซ่งึ สมาชกิ ทั้ง 70 คน ภายหลังจากการ ไดร บั การแตง ตงั้ แลว 6 เดือน ก็จะมีฐานะเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรประเภทท่ี 2 ตามท่ีระบุไว ในรฐั ธรรมนูญฉบบั ช่ัวคราว ทางดา นอาํ นาจบรหิ ารนัน้ ในรฐั ธรรมนญู ไดบ ัญญตั ไิ วซ ง่ึ ตาํ แหนง บรหิ าร ที่สาํ คญั เอาไว คอื ประธานคณะกรรมการราษฎร (เทียบเทานายกรัฐมนตรี) ซึ่งจะตองเปน บุคคลที่สามารถประสานความเขา ใจระหวา งคณะราษฎรกบั พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลา เจาอยูหัว เปน อยางดี และเพื่อความราบรื่นในการบริหารประเทศตอ ไป คณะราษฎรจึงตกลงเหน็ ชอบท่ีจะให พระยามโนปกรณนิติธาดา (กอน หุตะสิงห) เปนประธานคณะกรรมการราษฎร คณะกรรมการ ราษฎร (คณะรัฐมนตรี) ในรัฐบาลของพระยามโนปกรณนิติธาดา ซึ่งเปนคณะรัฐมนตรีชุดแรก ทต่ี ้งั ข้ึนตามพระราชบัญญตั ิธรรมนูญการปกครองสยามชว่ั คราว พ.ศ. 2475 มีจํานวนท้ังสิน้ 15 นาย เปนผบู ริหารราชการแผน ดนิ 2) รฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2475 ภายหลังท่ีพระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัวไดทรงลงพระปรมาภิไธย ในรัฐธรรมนญู ปกครองแผนดินสยามชวั่ คราวแลว สภาผแู ทนราษฎรไดแ ตง ตง้ั อนกุ รรมการขนึ้ คณะหนง่ึ เพ่ือรางรัฐธรรมนูญฉบับถาวรเพื่อใชเปนหลักในการปกครองประเทศสืบไป ในท่ีสุดสภา ผแู ทนราษฎรไดพจิ ารณาแกไ ขรางรฐั ธรรมนญู ครง้ั สดุ ทา ยในวนั ที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2475 และ สภาผูแทนราษฎรไดลงมติรับรองใหใชเมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2475 โดยพระบาทสมเด็จ พระปกเกลาเจาอยหู วั ไดทรงลงพระปรมาภิไธยในรฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจักรสยาม
135 การประกาศใชรฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รสยามคณะราษฎรภายใตการนํา ของพันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา ไดทําการเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชยมาเปนระบอบการปกครองท่ีมีพระมหากษัตริยเปนประมุขภายใต รัฐธรรมนูญ โดยมิตองสูญเสียเลือดเนื้อแตประการใดนั้น เปนเพราะพระมหากรุณาธิคุณของ พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยหู วั ทีพ่ ระองคทรงยอมรบั การเปลย่ี นแปลงดังกลาว โดยมิไดทรง ตอตาน และคิดตอบโตคณะราษฎรดวยการใชกําลังทหารที่มีอยูแตประการใด และทรง พระราชทานรัฐธรรมนูญใหกับปวงชนชาวไทยตามที่คณะราษฎรไดเตรียมรางเอาไว เพื่อนําขึ้น ทลู เกลาฯ ถวายใหทรงลงพระปรมาภิไธย นอกจากนี้พระองคก็ทรงมีพระราชประสงคมาแตเดิม แลววา จะพระราชทานรัฐธรรมนูญใหเปนกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศแกประชาชนอยู แลว จึงเปน การสอดคลองกับแผนการของคณะราษฎร ประกอบกับพระองคทรงเห็นแกความสงบ เรยี บรอยของบา นเมืองและความสขุ ของประชาชนเปนสําคญั ยิ่งกวาการดาํ รงไวซึ่งพระราชอํานาจ ของพระองค รัฐธรรมนูญท่ีคณะราษฎรไดนําข้ึนทูลเกลาฯ ถวาย เพ่ือทรงลงพระปรมาภิไธย ในวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475 หลังจากน้ันไดทรงมีพระบรมราชโองการโปรดเกลา ฯ แตงตั้ง พระยามโนปกรณนิตธิ าดา เปน นายกรัฐมนตรี และตอมาทางราชการไดกําหนดใหถือเอาวันที่ 10 ธนั วาคม ของทกุ ป เปน “วนั รัฐธรรมนูญ” รฐั ธรรมนญู แหง ราชอาณาจักรสยาม พุทธศักราช 2475 มสี าระสาํ คญั พอสรปุ ได ดงั น้ี 1) อํานาจนิติบัญญัติ กําหนดใหมีสภาผูแทนราษฎร ประกอบดวย สมาชิก ซง่ึ ราษฎรเปนผเู ลอื กตัง้ แตมบี ทเฉพาะกาลกําหนดไววา ถา ราษฎรผมู ีสิทธิออกเสียงเลือกต้งั สมาชกิ ผูแทนราษฎรตามบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญน้ี ยังมีการศึกษาไมจบช้ันประถมศึกษามากกวา ครึ่งหนึ่งของจาํ นวนท้ังหมด และอยางชาตองไมเกิน 10 ป นับแตวันใชพระราชบัญญัติธรรมนูญ การปกครองแผน ดนิ สยามชัว่ คราว พ.ศ. 2475 สภาผแู ทนราษฎร ประกอบดว ย สมาชิก 2 ประเภท มจี ํานวนเทา กนั คือ สมาชกิ ประเภทท่ี 1 ไดแ ก ผทู ี่ราษฎรเลอื กตัง้ ข้นึ มาตามกฎหมายวาดว ยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผูแทนราษฎร สวนสมาชกิ ประเภทท่ี 2 ไดแ ก ผูทีพ่ ระมหากษตั ริยท รงแตงตงั้ ขึน้ ตามกฎหมายวาดวยการเลือกต้ัง สมาชิกสภาผูแทนราษฎร ในระหวางที่ใชบ ทบญั ญตั เิ ฉพาะกาลในรฐั ธรรมนูญแหงราชอาณาจักรสยาม 2) อํานาจบริหาร พระมหากษัตริยทรงแตงตั้งคณะรัฐมนตรีข้ึนคณะหนึ่ง ประกอบดวย นายกรฐั มนตรี 1 นาย และรัฐมนตรีอีกอยางนอย 14 นาย อยางมาก 24 นาย และ ในการแตง ตง้ั นายกรัฐมนตรี ประธานสภาผูแทนราษฎรเปนผูล งนามรับสนองพระบรมราชโองการ
136 กลาวโดยสรุปในภาพรวมของรัฐธรรมนูญท้ัง 2 ฉบับ ไดกอใหเกิดการเปล่ียนแปลงโครงสรางทาง การเมืองการปกครองและสังคมไทย ดังนี้ 2.1) อํานาจการปกครองของแผนดินซ่ึงแตเดิมเคยเปนของพระมหากษัตริย ใหตกเปนของปวงชนชาวไทยตามบทบัญญตั แิ หง รัฐธรรมนญู พระมหากษัตริยทรงดํารงฐานะเปน ประมุขของประเทศภายใตรฐั ธรรมนูญ พระองคจ ะทรงใชอ ํานาจอธิปไตยทัง้ 3 ทาง คือ อํานาจนิติบญั ญตั ิ ผานทางสภาผูแทนราษฎร อํานาจบรหิ ารผา นทางคณะรฐั มนตรี อํานาจตุลาการผา นทางผพู พิ ากษา 2.2) ประชาชนจะไดรับสิทธิในทางการเมือง โดยการเลือกสมาชิกสภาผูแทน ราษฎรเขาไปทําหนาที่ควบคุมการบริหารงานของรัฐบาล ออกกฎหมายและเปนปากเสียงแทน ราษฎร 2.3) ประชาชนมสี ทิ ธเิ สรภี าพในทางการเมืองมากขึ้น สามารถแสดงความ คดิ เหน็ วพิ ากษวจิ ารณในเร่อื งตา ง ๆ ได ภายใตบ ทบญั ญตั ขิ องกฎหมาย และคนทกุ คนมีความเสมอภาค ภายใตกฎหมายฉบับเดยี วกัน 2.4) ในระยะแรกของการใชรัฐธรรมนญู อาํ นาจบริหารประเทศจะตองตก อยภู ายใตการชี้นําของคณะราษฎร ซึง่ ถอื วา เปน ตัวแทนของราษฎรท้ังมวลในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง จนกวา สถานการณจ ะเขา สูความสงบเรียบรอ ย ประชาชนจึงจะมสี ทิ ธิในอํานาจอธิปไตยอยา งเต็มท่ี ผลกระทบทเี่ กิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 1) ผลกระทบทางดานการเมอื ง การเปลี่ยนแปลงสงผลกระทบตอสถานภาพของสถาบันพระมหากษัตริย เปนอยางมาก เพราะเปนการส้ินสุดพระราชอํานาจในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย ถึงแมวา พระบาทสมเด็จพระปกเกลาเจาอยูหัว จะทรงยอมรับการเปล่ียนแปลง และทรงยินยอม พระราชทานรัฐธรรมนูญใหกับปวงชนชาวไทยแลวก็ตาม แตพระองคก็ทรงเปนหวงวาประชาชน จะมไิ ดร บั อาํ นาจการปกครองท่ีพระองคท รงพระราชทานให โดยผานทางคณะราษฎรอยางแทจริง พระองคจ งึ ทรงใชความพยายามที่จะขอใหคณะราษฎรไดด าํ เนินการปกครองประเทศดว ยหลักการ แหงประชาธิปไตยอยางแทจริง แตพระองคก็มิไดรับการสนองตอบจากรัฐบาลของคณะราษฎร แตประการใด จนกระทั่งภายหลงั พระองคจึงทรงประกาศสละราชสมบัติใน พ.ศ. 2477 นอกจากน้ี การเปล่ยี นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ยังกอ ใหเ กิดความขดั แยง ทางการเมอื งระหวา งกลุม ผลประโยชนต า ง ๆ ท่ีมสี วนรวมในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ยงั ไมได ดาํ เนินการใหเ ปนไปตามคําแถลงที่ใหไ วก บั ประชาชน จากการท่ีคณะราษฎรไดมอบหมายใหนายปรีดี พนมยงค รางเคาโครงการ เศรษฐกิจแหงชาติ เพื่อดําเนินการปรับปรุงเศรษฐกิจของประเทศ ปรากฏวาหลายฝายมองวา เคา โครงการเศรษฐกิจมีลักษณะโนมเอียงไปในทางหลักเศรษฐกิจแบบคอมมิวนิสต ความขัดแยง
137 จึงเกิดขึ้นในหมูผูท่ีเกี่ยวของ ภายหลังการเปล่ียนแปลงการปกครองสิ้นสุดลงแลวไมนาน พระยามโนปกรณน ิติธาดา นายกรัฐมนตรี เหน็ วาการบริหารประเทศทา มกลางความขดั แยงในเรื่อง เคาโครงเศรษฐกจิ ไมส ามารถจะดาํ เนินตอ ไปได จงึ ประกาศปด สภาและงดใชร ฐั ธรรมนูญบางมาตรา อันสงผลใหพันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา นํากําลังทหารยึดอํานาจรัฐบาลพระยามโนปกรณ นิติธาดา ในวันท่ี 20 มถิ ุนายน พ.ศ. 2476 และหลังจากนั้น พันเอกพระยาพหลพลพยุหเสนา ไดเ ขา ดาํ รงตาํ แหนงนายกรฐั มนตรีบริหารราชการแผน ดินสืบไป เมื่อรฐั บาลของ พนั เอกพระยาพหลพลพยุหเสนา เขาบรหิ ารประเทศไดไมนาน ก็มีบุคคลคณะหน่ึงซึ่งเรียกตนเองวา คณะกูบานกูเมือง นําโดยพลเอกพระองคเจาบวรเดช ไดกอการรฐั ประหารยึดอาํ นาจรฐั บาลในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2476 โดยอา งวารัฐบาลไดทําการหมิ่น ประมาทองคพระประมุขของชาติ และรับนายปรีดี พนมยงค ซ่ึงเปนผูรางเคาโครงเศรษฐกิจ อันออ้ื ฉาวเขา รว มในคณะรฐั บาล พรอ มกับเรียกรองใหร ฐั บาล ดาํ เนนิ การปกครองประเทศในระบอบ รฐั ธรรมนูญทเ่ี ปน ประชาธิปไตยอยางแทจ ริง แตในทส่ี ุดรฐั บาลกส็ ามารถปราบรัฐประหารของคณะ กบู านกเู มอื งไดส ําเรจ็ ปญ หาการเมืองดงั กลา ว ไดก ลายเปน เงื่อนไขที่ทาํ ใหสถาบันทางการเมืองในยุคหลัง ๆ ไมค อ ยประสบความสําเร็จเทา ท่คี วร เพราะการพัฒนาการทางการเมอื งมิไดเ ปนไปตามครรลองของ ระบอบประชาธปิ ไตย และเปนการสรา งธรรมเนยี มการปกครองท่ไี มถ ูกตองใหกับนักการเมืองและ นกั การทหารในยุคหลงั ตอ ๆ มา ซงึ่ ทําใหระบอบประชาธปิ ไตยตองประสบกับความลมเหลว 2) ผลกระทบทางดา นเศรษฐกจิ การเปลย่ี นแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 นับไดวา เปนการเปล่ยี นแปลงทางการเมอื ง ท่ีสาํ คัญของไทย จากการท่คี ณะราษฎรไดม อบหมายใหนายปรดี ี พนมยงค เปน คนรางเคา โครงการ เศรษฐกิจเพื่อนําเสนอแตไมไดรับการยอมรับจากคณะราษฎรสวนใหญ ดังนั้น ระบบเศรษฐกิจ จงึ ยังคงเปนแบบทุนนยิ มเชนเดิม และเนน ท่กี ารเกษตรกรรมมากกวาอุตสาหกรรม นอกจากนี้กลุม ผลประโยชนท ่ีครอบครองที่ดินและทุนอันเปนปจจัยการผลิตท่ีสําคัญ ก็รวมตัวกันตอตานกระแส ความคดิ ท่ีจะเปลย่ี นแปลงกรรมสิทธท์ิ ี่ดินและเงนิ ทนุ จากของบุคคลเปนระบบสหกรณ การเปล่ียนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 ยังสงผลทาํ ใหช นชัน้ เจา นายและขนุ นาง ในระบบเกาถูกลิดรอนผลประโยชนทางเศรษฐกิจ เชน พระมหากษัตริยจะไดรับเงินจาก งบประมาณเพียงปละ 1 - 2 ลานบาท จากเดิมเคยไดประมาณปละ 2 - 10 ลานบาท เงินปของ พระบรมวงศานวุ งศถูกลดลงตามสวน ขนุ นางเดิมถกู ปลดออกจากราชการโดยรบั เพียงบํานาญ และ เจา นายบางพระองคถูกเรียกทรพั ยส ินสมบัตคิ นื เปนของแผนดนิ
138 3) ผลกระทบทางดา นสงั คม ภายหลงั การเปลีย่ นแปลงการปกครอง ประชาชนเริ่มไดรับเสรีภาพและมีสิทธิ ตาง ๆ ตลอดจนความเสมอภาคภายใตบทบัญญัติแหงรัฐธรรมนูญ และไดรับสิทธิในการปกครอง ตนเอง ในขณะที่บรรดาเจาขุนมูลนาย ขุนนาง ซึ่งมีอํานาจภายใตระบอบการปกครองดั้งเดิม ไดส ูญเสยี อาํ นาจและสิทธปิ ระโยชนต า ง ๆ ทีเ่ คยมมี ากอน โดยทคี่ ณะราษฎรไดเขาไปมีบทบาทแทน บรรดาเจานายและขนุ นางในระบบเกาเหลาน้นั รัฐบาลไดกระจายอํานาจการปกครองไปสูทองถิ่นดวยการจัดตั้งเทศบาลตําบล เทศบาลเมือง และเทศบาลนคร มีสภาเทศบาล คอยควบคุมกิจการบริหารของเทศบาลเฉพาะ ทองถน่ิ นน้ั ๆ โดยมเี ทศมนตรเี ปนผบู รหิ ารตามหนา ท่ี รฐั บาลของพันเอกพระยาพหลพลพยหุ เสนา ไดประกาศใชแผนการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2479 โดยกําหนดแบงการศึกษาออกเปน 2 ประเภท คอื สายสามญั ศึกษาและสายอาชีวศกึ ษา ซึ่งเปนการเนน ความสําคัญของอาชวี ศึกษาอยา งแทจ รงิ โดยไดก าํ หนดความมงุ หมายเพือ่ สงเสรมิ ให ผูท่ีเรียนจบการศึกษาในสายสามญั แตล ะประโยคแตละระดับการศึกษาไดเรียนวิชาอาชีพเพิ่มเติม นอกเหนือไปจากเรียนวิชาสามัญ ท้ังนี้เพ่ือประโยชนในการท่ีจะออกไปประกอบอาชีพและมี นโยบายท่ีจะสงเสรมิ การศกึ ษาของราษฎรอยางเตม็ ท่ี ตามหลกั 6 ประการของคณะราษฎร ดังนั้น รัฐบาลจงึ ไดโ อนโรงเรียนประชาบาลทตี่ งั้ อยใู นเขตเทศบาลที่รฐั บาลไดจัดตง้ั ขึน้ ใหเ ทศบาลเหลา นน้ั รับไปจดั การศกึ ษาเอง ตามทเ่ี ทศบาลเหลานั้นจะสามารถรับโอนไปจากกระทรวงธรรมการได ทาํ ให ประชาชนในทองถ่ินตา ง ๆ มสี ว นรวมในการทาํ นุบาํ รงุ การศึกษาของบตุ รหลานของตนเอง นําไปใช ประกอบอาชีพตอไปอยา งมน่ั คงและมคี วามสขุ หลังจากไดดําเนินการเปลี่ยนแปลงการปกครองสาํ เรจ็ เรยี บรอ ยแลว คณะราษฎรไดม ี บทบาทและอิทธิพลในทางการเมือง การปกครอง และสังคมของประเทศไทย เปนระยะเวลา ประมาณ 15 ป จนกระทง่ั ในปลายป พ.ศ. 2490 ไดเกิดการรฐั ประหารของคณะนายทหาร ภายใต การนําของพลโทผิน ชุณหะวัณ และจากน้ันไดใหจอมพล ป. พิบูลสงคราม ขึ้นดํารงตําแหนง นายกรัฐมนตรีตอ ไป
139 ความเปนชาตไิ ทยสมัย จอมพล ป.พบิ ลู สงคราม (ระหวา ง พ.ศ. 2481 - 2487) ประวตั ิจอมพล ป.พิบูลสงคราม จอมพล ป.พบิ ูลสงคราม มชี ื่อเดมิ วา “แปลก ขีตตะสังคะ” ชอ่ื จริงคําวา “แปลก” เนื่องจากเมื่อแรกเกิดบิดามารดาเห็นวาหูท้ังสองขางอยูตํ่ากวานัยนตาผิดไปจากบุคคลธรรมดา จงึ ใหชอ่ื วา “แปลก” ภาพ : ประชมุ ครบรอบจอมพล ป.พิบลู สงครามถงึ แกก รรม
140 ในสมัยรัฐบาลของ จอมพล ป. พิบูลสงคราม มีการดําเนินนโยบายโดยรัฐบาล ใชร ะบบเศรษฐกจิ แบบทนุ นิยม และรฐั บาลสนับสนนุ ประชาชนคนไทยใหใชของที่ผลิตในประเทศ ไทยดังมีคําขวัญที่วา “ไทยทาํ ไทยใช ไทยเจริญ” แนวนโยบายของรัฐบาล จอมพล ป. พิบูลสงคราม หรือ “นโยบายสรางชาติ” มคี วามหมายตามที่ปรากฏในคาํ กลาวปราศรัยของจอมพล ป. วา “ความหมายของการสรางชาติ” น้นั มีวา ชาตไิ ทยมอี ยูแลว แตสถานะบางอยางของชาติยังไมขึ้นถึงข้ันระดับสมความตองการของ ประชาชาติไทย เราจาํ เปน ตองพรอมใจกัน สรา งเพิ่มเติมใหด ขี ึน้ กวา เดมิ ชวยกันปรบั ปรุงไปจนกวา เราทุกคนจะพอใจ หรอื อยางนอ ยกไ็ ดระดับเสมออารยประเทศ” นําไปสกู ารเปลี่ยนโฉมประเทศสยาม ไปจากเดิม เปน ลกั ษณะเฉพาะทเ่ี กดิ ขึน้ ในชว งนัน้ ก็คอื การประกาศสิง่ ทเ่ี รียกวา “รฐั นิยม” อันเปน ประกาศเกี่ยวกบั รปู แบบการปฏิบัติทางวัฒนธรรมสาํ หรับประชาชนที่จะแสดงใหเ หน็ ถงึ ความเปน ชาติ ทม่ี อี ารยธรรม ซงึ่ เปน แนวทางทก่ี ําหนดขน้ึ เพอ่ื ปรบั ปรุงแกไ ขวฒั นธรรมบางอยางของชาติ สําหรับ ใหใ ชเ ปนหลกั ใหป ระชาชนไดยึดถอื ปฏบิ ัติ ประกาศรฐั นยิ มออกมาในชวงระหวา ง พ.ศ. 2482 - 2485 รวมทั้งส้ินจํานวน 12 ฉบับ และไดม กี ารกําหนดบทลงโทษสําหรบั ผทู ีไ่ มปฏบิ ัติตามรฐั นิยมดังตอ ไปนี้ รัฐนิยมฉบบั ท่ี 1 : เรอื่ ง การใชชอ่ื ประเทศ ประชาชน และสญั ชาติ โดยทช่ี อื่ ของประเทศน้ี มเี รยี กกนั เปนสองอยาง คือ “ไทย” และ “สยาม” แตประชาชน นิยมเรียกวา “ไทย” รัฐบาลเห็นสมควรถือเปนรัฐนิยมใชชอื่ ประเทศใหตองตามชอ่ื เช้ือชาติและ ความนยิ มของประชาชนชาวไทย ดังตอ ไปน้ี ก. ในภาษาไทย ช่ือประเทศ ประชาชน และสญั ชาตใิ หใ ชว า “ไทย” ข. ในภาษาองั กฤษ 1) ช่ือประเทศ ใหใชว า THAILAND 2) ช่ือประชาชน และสัญชาติใหใ ชวา THAI แตไ มก ระทบถงึ กรณีทีม่ บี ทกฎหมายบญั ญตั คิ ําวา “สยาม” ไว ทั้งนต้ี ้ังแตวนั ท่ี 24 มิถนุ ายน พุทธศักราช 2482 เปน ตนไป ประกาศมา ณ วนั ท่ี 24 มถิ นุ ายน พุทธศกั ราช 2482
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168