41 การใชหลักฐานทางประวัติศาสตรที่เปนหลักฐานชั้นตนใชไดสะดวกพอสมควร แตบ างสว นอาจใชจ ากฉบบั สาํ เนา เพราะตนฉบับเดิมกระดาษกรอบและขาดงาย เนื่องจากอากาศ รอ นช้ืนและมอี ายมุ าก ดังนน้ั การใชจ ึงตองระมดั ระวงั และตองชว ยกนั ถนอมรกั ษา เพราะหลกั ฐาน เหลา นเ้ี ปนสมบตั ิที่สําคัญของชาติ ไมส ามารถจะหามาใหมท ดแทนได หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร หลักฐานทางประวัติศาสตร หมายถึง รองรอยหรือหลักฐานท่ีเกิดขึ้นในอดีตท่ีมี ความเกี่ยวของกับพัฒนาการและความเปนมาของมนุษย ซึ่งแสดงใหเห็นถึงความคิด ความเช่ือ แ ล ะ ก า ร ดํ า เ นิ น ชี วิ ต ข อ ง ม นุ ษ ย ใ น แ ต ล ะ ยุ ค ส มั ย ห ลั ก ฐ า น ท า ง ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร เ ป น สิ่ ง สํ า คั ญ ในการศกึ ษาเร่ืองราวทางประวัติศาสตร เพราะชว ยใหสามารถทําความเขาใจเก่ียวกับเร่ืองราวที่ เกิดข้ึนในอดีตไดอ ยางถูกตอ ง ตรงประเดน็ ทราบเรอ่ื งราวไดอ ยางใกลเคยี งกบั ความจริงทีส่ ดุ ตวั อยางหลักฐานทางประวัตศิ าสตรทใ่ี ชใ นการศึกษาเหตกุ ารณสาํ คญั ในสมยั รตั นโกสนิ ทร 1) จารกึ เปนหลักฐานทางประวตั ิศาสตรประเภท ลายลักษณอักษรที่มีการบันทึกลงในวัตถุตาง ๆ เชน แผนศิลา แผนผนัง แผนกระเบื้อง ใบลาน เปนตน มักเปนการบันทึก เรอื่ งราวของชวงเวลาน้ัน ๆ หรือบันทึกวิชาความรูตาง ๆ เมื่อทํา การจารึกแลว จะไมม ีการแกไข เพราะเปน การจารกึ เพยี งครงั้ เดียว จงึ มีความนา เช่อื ถอื เชน จารึกท่ีวัดพระเชตุพลวิมลมงั คลารามราช วรมหาวิหาร กรุงเทพฯ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระน่ังเกลาเจาอยูหัว (รชั กาลที่ 3) แหง กรุงรตั นโกสนิ ทรโปรดเกลาฯ ใหรวบรวมสรรพวิชา ท่ีสาํ คัญแลว จารึกไวบ นแผน ทมี่ า : www.attazone02.blogspot.com 2) พงศาวดาร เปน หลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรท ่มี ี ลักษณะเปนบันทึกเรื่องราวเก่ียวกับพระมหากษัตริยและราชวงศ เน้อื หามักเปนเรื่องท่ีเกิดขึ้นในอาณาจักรหรือราชสํานัก ซ่ึงชวยให ความรูเก่ียวกับพระมหากษัตริยและราชสํานักไดอยางดี เชน พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขา พระราชพงศาวดาร กรงุ รัตนโกสินทร เปน ตน ทมี่ า : www.rimkhobfabooks.com
42 3) บันทึกของชาวตางชาติ เปนหลักฐานทาง ประวัติศาสตรท่ีชาวตางชาติซึ่งเขามาในประเทศไทยไดบันทึก ถึงเหตุการณท่ีตนเองไดประสบพบเห็นในชวงเวลานั้น ๆ เชน การดําเนินชีวิตของผูคน ลักษณะทางภูมิศาสตร วัฒนธรรมและ ประเพณี เปนตน บันทึกของชาวตางชาติท่ีนาสนใจ เชน บันทึกของ เซอร จอหน เบาวร งิ่ ราชทตู ทสี่ มเดจ็ พระนางเจาวิคตอเรียแหง อังกฤษ สงมาเจริญสัมพันธไมตรีในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา เจา อยหู วั (รัชกาลท่ี 4) ใน พ.ศ. 2397 ซึง่ ไดม โี อกาสบนั ทึกถึงราชสํานัก ที่มา : www.rimkhobfabooks.com และบา นเมืองในสมัยนัน้ เปนตน 4) เอกสารทางราชการ เปนเอกสารทหี่ นวยงานราชการตาง ๆ ออกข้ึน เพอ่ื ใชใ นงาน หรือกจิ การที่มคี วามเก่ียวขอ งซงึ่ ถือเปน หลกั ฐานทม่ี คี วามนา เช่อื ถือ เพราะเปน บันทกึ ท่ีอยใู นชวงเวลานั้น เชน กฎหมายตราสามดวงที่ชําระแกไขในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลท่ี 1) เอกสารแจงขาวของกระทรวงการตางประเทศในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยหู วั (รัชกาลท่ี 5) พระราชหตั ถเลขาของพระมหากษัตริย ท่มี ีถงึ หนว ยงานตาง ๆ เปน ตน 5) แหลงโบราณสถาน โบราณสถานสําคัญท่ีสามารถใชในการศึกษาเรื่องราว ทางประวตั ศิ าสตรท เ่ี กิดขึน้ ในรัชสมัยรัตนโกสนิ ทรน น้ั มีดวยกันหลายแหงดว ยกัน เชน วดั พระศรรี ัตน ศาสดารามและพระบรมมหาราชวัง วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร วัดพระเชตุพลวิมล มังคลารามราชวรมหาวิหาร ปอ มพระสเุ มรุ พระทน่ี ัง่ จักรีมหาปราสาท พระทน่ี ่งั อนันตสมาคม เปนตน ภาพ : ปอ มพระสุเมรุ กรุงเทพฯ ภาพ : วดั พระศรรี ตั นศาสดาราม ภาพ : วัดอรณุ ราชวราราม ราชวรมหาวหิ าร
43 ขอมลู ที่ไดจากหลกั ฐานท้งั ความจรงิ และขอเท็จจริง ในการสรุปขอมูลท่ีไดจากหลักฐาน สิ่งท่ีผูทําการศึกษาคนควาจะมีท้ังขอเท็จจริง และความจรงิ ท่ีปรากฏอยบู นหลกั ฐาน ผูท่ีทาํ การศกึ ษาจะตองทําความเขา ใจกอ นวาขอเท็จจริงกับ ความจริงที่ไดจ ากหลักฐานนนั้ แตกตางกนั อยางไร ขอเท็จจริง คอื เรื่องราวหรือสิง่ ทปี่ รากฏอยใู นหลกั ฐานซึง่ มีทั้งสวนทเี่ ปนจรงิ (ขอ จริง) และสว นท่ไี มเปนความจริง (ขอ เทจ็ ) ปะปนกันอยู จึงตอ งไดรบั การประเมินและตรวจสอบความนา เชอื่ ถอื อยางรอบคอบ ความจรงิ คอื เรอ่ื งราวซึ่งไดร ับการประเมนิ และใหก ารยอมรับวามีความนาเชื่อถือ เปนเร่ืองราวท่ใี กลเคียงกบั ความเปนจรงิ มากท่สี ุด และมีหลักฐานทนี่ า เช่ือถือไดใ หการสนับสนนุ ดังนั้น การศึกษาเร่ืองราวทางประวัติศาสตร โดยใชขอมูลจากหลักฐานน้ัน จึงตอ งมกี ารแยกแยะถึงขอเท็จจริงและความจริงเสมอ เพราะเร่ืองราวในประวัติศาสตรเปนสิ่งท่ี เกดิ ข้ึนมาแลวในอดีต เราจึงไมสามารถทราบไดวาเร่ืองราวท่ีเกิดข้ึนนั้นเปนอยางไร การใชขอมูล จากหลักฐานจึงตองทําการพิจารณาอยางถี่ถวนจนกวาจะไดขอมูลท่ีมีความนาเช่ือถือเพื่อใหได เรอื่ งราวที่ใกลเคยี งกับความจรงิ มากทีส่ ดุ 3. การประเมินคณุ คา ของหลกั ฐาน/การวิเคราะหและตีความขอมลู ทางประวตั ศิ าสตร หลักฐานทางประวัติศาสตรท่ีคนความาได กอนที่จะทําการศึกษาจะตองมี การประเมินคุณคาวาเปนหลักฐานที่แทจริงเพียงใด การประเมินคุณคาของหลักฐานน้ีเรียกวา “วพิ ากษว ิธที างประวตั ศิ าสตร” มี 2 วธิ ี ดังตอ ไปนี้ 1) การประเมินคุณคาภายนอกหรือวิพากษวิธีภายนอก หมายถึง การประเมิน คณุ คาของหลักฐานจากลักษณะภายนอกของหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร บางคร้งั ก็มีการปลอมแปลง เพ่ือการโฆษณาชวนเช่ือ ทําใหหลงผิด หรือเพ่ือเหตุผลทางการเมือง การคา ดังนั้น จึงตองมีการ ประเมนิ วา เอกสารนนั้ เปนของจริงหรือไม ในสว นวิพากษวิธภี ายนอก เพือ่ ประเมินหลักฐานวาเปน ของแท พิจารณาไดจ ากสงิ่ ท่ปี รากฏภายนอก เชน เน้อื กระดาษ ของไทยแตเดิมจะหยาบและหนา สว นกระดาษฝรัง่ ทใ่ี ชก ันอยใู นปจจบุ นั เริ่มเขามาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระน่ังเกลาเจาอยูหัว (รชั กาลท่ี 3) แตท างราชการจะใชกระดาษฝรง่ั หรอื สมุดฝร่ังมากข้ึน ในตนรัชสมัยพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว (รัชกาลท่ี 5) เกี่ยวกับตัวพิมพดีดเริ่มใชมากข้ึนในกลางรัชสมัย พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา เจาอยหู วั ถาปรากฏวามีหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรไ ทยในรชั สมัย พระบาทสมเดจ็ พระน่ังเกลา เจาอยูหัวใชต วั พิมพดีด กค็ วรสงสัยวา หลกั ฐานนัน้ เปน ของปลอม
44 2) การประเมินคุณคาภายในหรือวิพากษวิธีภายใน เปนการประเมินคุณคา ของหลกั ฐานจากขอ มลู ภายในหลกั ฐานนนั้ เปน ตนวา มีช่อื บุคคล สถานที่ เหตกุ ารณ ในชวงเวลาที่ หลักฐานน้ันทําข้ึนหรือไม ดังเชน หลักฐานซ่ึงเช่ือวาเปนของสมัยสุโขทัยแตมีการพูดถึง สหรฐั อเมรกิ าในหลักฐานนน้ั กค็ วรสงสัยวาหลักฐานน้ันเปนของสมัยสุโขทัยจริงหรือไม เพราะใน สมัยสุโขทัยยังไมมีประเทศสหรัฐอเมริกา แตนาจะเปนหลักฐานท่ีทําขึ้น เมื่อคนไทยไดรับรูวามี ประเทศสหรัฐอเมรกิ าแลว หรือหลกั ฐานเปนของเกาสมยั สโุ ขทัยจริง แตก ารคดั ลอกตอกันมามีการ เตมิ ชอ่ื ประเทศสหรัฐอเมริกาเขา ไป เปน ตน วิพากษวิธีภายในยังสังเกตไดจากการกลาวถึงตัวบุคคล เหตุการณ สถานที่ ถอยคาํ เปน ตน ในหลกั ฐานวา มคี วามถูกตองในสมัยนน้ั ๆ หรือไม ถาหากไมถูกตองก็ควรสงสัยวา เปนหลักฐานปลอมแปลง หลักฐานท่ีแทจริงเทาน้ันท่ีมีคุณคาในทางประวัติศาสตร สว นหลกั ฐานปลอมแปลงไมม คี ณุ คา ใด ๆ อกี ทง้ั จะทําใหเ กิดความรูที่ไมถูกตอง ดังนั้นการประเมิน คุณคา ของหลกั ฐานจึงมีความสําคญั และจําเปน มาก 4. การวเิ คราะห สงั เคราะห และจัดหมวดหมูขอ มูล เม่ือทราบวาหลักฐานนั้นเปนของแท ใหขอมูลท่ีเปนขอเท็จจริงหรือความจริง ในประวัติศาสตรผ ูศึกษาประวัติศาสตรก็จะตองศึกษาขอมูลหรือขอสนเทศในหลักฐานน้ันวาให ขอมูลทางประวัติศาสตรอะไรบาง ขอมูลน้ันมีความสมบูรณเพียงใด หรือขอมูลนั้นมีจุดมุงหมาย เบื้องตน อยางไร มีจุดมุงหมายแอบแฝงหรือไม ขอมูลมีความยุติธรรมหรือไม จากน้ันจึงนําขอมูล ทงั้ หลายมาจัดหมวดหมู เชน ความเปน มาของเหตกุ ารณ สาเหตุทีท่ ําใหเกิดเหตุการณความเปนไป ของเหตกุ ารณ ผลของเหตุการณ เปนตน เมื่อไดขอ มูลเปนเร่อื ง เปนประเด็นแลว ผูศึกษาประวัติศาสตรเรื่องน้ันก็จะตอง หาความสัมพันธของประเด็นตาง ๆ และตีความขอมูลวามีขอเท็จจริงใดท่ีซอนเรนอําพราง ไมก ลา วถึงหรือในทางตรงกนั ขามอาจมีขอ มลู กลา วเกนิ ความเปน จริงไปมาก ในการวิเคราะห สังเคราะหขอมูล ผูศึกษาประวัติศาสตรควรมีความละเอียด รอบคอบ วางตัวเปนกลาง มจี นิ ตนาการ มคี วามรอบรู โดยศกึ ษาขอมูลทัง้ หลายอยา งกวา งขวาง และ นาํ ผลการศกึ ษาเรอ่ื งนั้นที่มแี ตเ ดมิ มาวิเคราะหเ ปรียบเทียบ รวมทั้งจัดหมวดหมขู อมลู ใหเปน ระบบ 5. การเรยี บเรียงและการนําเสนอขอ มลู /การเรยี บเรียง รายงาน ขอเท็จจริงทาง ประวตั ศิ าสตร ก า ร เ รี ย บ เ รี ย ง ห รื อ ก า ร นํ า เ ส น อ จั ด เ ป น ข้ั น ต อ น สุ ด ท า ย ข อ ง วิ ธี ก า ร ท า ง ประวัตศิ าสตร ซ่ึงมีความสาํ คัญมาก โดยผูศกึ ษาประวตั ศิ าสตรจ ะตองนําขอมูลทั้งหมดมารวบรวม และเรียบเรยี งหรือนําเสนอใหตรงกับประเด็นหรือหัวเรื่องท่ีตนเองสงสัย ตองการอยากรูเพิ่มเติม
45 ท้งั จากความรเู ดิมและความรใู หม รวมไปถงึ ความคดิ ใหมทไ่ี ดจากการศึกษาคร้งั นซี้ ึ่งเทา กับเปน การรื้อฟน หรอื จาํ ลองเหตุการณท างประวัติศาสตรข้นึ มาใหม อยางถูกตอ งและเปนกลาง ในข้ันตอนการนําเสนอ ผูศึกษาควรอธิบายเหตุการณอยางมีระบบและมีความ สอดคลองตอเน่อื ง เปน เหตุเปน ผล มีการโตแ ยงหรอื สนับสนนุ ผลการศึกษาวิเคราะหแตเดิม โดยมี ขอมูลสนับสนนุ อยางมีน้าํ หนกั เปน กลาง และสรุปการศึกษาวาสามารถใหค าํ ตอบทผี่ ูศกึ ษามีความสงสัย อยากรูไดเพยี งใด หรือมีขอ เสนอแนะใหสาํ หรบั ผูท่ตี องการศึกษาตอไปอยางไรบาง จะเห็นไดวาวิธีการทางประวัติศาสตรเปนวิธีการศึกษาประวัติศาสตรอยางมี ระบบ มคี วามระมัดระวัง รอบคอบ มเี หตผุ ลและเปน กลาง ซ่ือสตั ยตอ ขอมูลตามหลกั ฐานท่ีคน ความา อาจกลา วไดว า วธิ ีการทางประวตั ศิ าสตรเหมือนกับวิธีการทางวิทยาศาสตร จะแตกตางกันก็เพียง วธิ ีการทางวิทยาศาสตรส ามารถทดลองไดหลายคร้ัง จนเกดิ ความแนใ จในผลการทดลอง แตเ หตุการณ ทางประวตั ศิ าสตรไมส ามารถทาํ ใหเกิดขน้ึ ใหมไดอีก ผศู ึกษาประวตั ิศาสตรท ด่ี จี งึ เปน ผฟู น อดีตหรือ จําลองอดีตใหมีความถูกตองและสมบูรณที่สุด โดยใชวิธีการทางประวัติศาสตรเพ่ือที่จะไดเกิด ความเขาใจอดตี อนั จะนาํ มาสูค วามเขา ใจในปจจุบนั 6. ตัวอยางการนําวิธีการทางประวตั ิศาสตรมาใชศ ึกษาประวตั ศิ าสตรไ ทย การศึกษาเรื่องราวเก่ียวกับปอมพระจุลจอมเกลา จังหวัดสมุทรปราการ ดว ยวิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร 1. การกําหนดหัวเรื่องที่จะศึกษา/การต้ังประเด็นท่ีจะศึกษา จะตองตั้งประเด็น ปญหาเพอ่ื ใชเ ปนแนวทางในการศกึ ษากอน เพราะการตั้งประเด็นปญหาจะชวยกําหนดเปาหมาย ในการศึกษาประวัติศาสตรไทยไดอยางถูกตองและตรงประเด็น การต้ังกําหนดปญหาเพื่อใชเปน แนวทางในการศกึ ษานนั้ มดี วยกนั หลายอยาง ดงั น้ี “ปอมพระจลุ จอมเกลา สรา งขึ้นมาเมื่อใด” “ใครเปนผูท่ีสรางปอ มพระจลุ จอมเกลา นี้ข้นึ ” “ปอมพระจลุ จอมเกลาถกู สรา งข้นึ ไวในบริเวณใด” “ปอมพระจุลจอมเกลา ถกู สรางขน้ึ ดวยจุดประสงคใ ด” “ลักษณะโดยท่วั ไปของปอ มพระจุลจอมเกลา เปนอยางไร” “ปอมพระจลุ จอมเกลา มคี วามสําคญั อยา งไรในทางประวัติศาสตร”
46 ภาพ : ปอ มพระจลุ จอมเกลา 2. การรวบรวมหลักฐาน/สืบคน และรวบรวมขอ มูล ในการศกึ ษาเร่ืองราวเกีย่ วกับ ปอมพระจุลจอมเกลาน้ันผูท่ไี ดศึกษาจะตองทําการคนควาและรวบรวมขอมูลหลักฐานเกี่ยวกับ ปอมพระจุลจอมเกลาจากแหลงตาง ๆ ซ่ึงแหลงขอมูลที่สามารถรวบรวมขอมูลหลักฐานไดน้ัน มีดวยกันหลายอยาง เชน หองสมุดโรงเรียน หองสมุดประชาชน หอสมุดแหงชาติหอจดหมายเหตุ แหง ชาติ พพิ ธิ ภัณฑสถานแหงชาติ พพิ ิธภัณฑท หารเรอื จงั หวดั สมุทรปราการ ปอมพระจุลจอมเกลา จังหวัดสมุทรปราการ เว็บไซตตาง ๆ นิตยสาร สารคดี รวมถึงผูที่มีความรูเก่ียวกับประวัติศาสตร หรอื เกย่ี วกบั ปอมพระจุลจอมเกลา เปนตน 3. การประเมินคาของหลักฐาน/การวิเคราะหและตีความขอมูลทางประวัติศาสตร เม่ือทําการวิเคราะหข อมลู หลักฐานจนไดขอมูลที่มีความถูกตองและตรวจสอบความนาเช่ือถือของ ขอมูลหลักฐานเหลานั้น ทั้งน้ี ในการศึกษาเร่ืองราวเกี่ยวกับปอมพระจุลจอมเกลาน้ัน ควรใชขอมูล หลักฐานท่ีมีความหลากหลายและจะตองมีการเทียบเคียงขอมูลหลักฐานหลาย ๆ อยาง เพื่อใหได ขอมูลท่ีมีความถกู ตองมากทีส่ ดุ และจะตองวิเคราะหดว ยใจท่ีเปน กลาง ไมม ีอคติ 4. การวิเคราะห สังเคราะหและจัดหมวดหมูขอมูล เม่ือทําการวิเคราะหขอมูล หลักฐานที่มีจนไดขอมูลท่ีมีความถูกตองและใกลเคียงมากที่สุดแลว ผูที่ทําการศึกษาจะตองนํา ขอมลู ท่ีมีเหลาน้ีไปใชในการตอบประเด็นปญ หาทีต่ ั้งไวเ กย่ี วกับปอ มพระจลุ จอมเกลา ดังนี้ ปอมพระจุลจอมเกลาสรางขึ้นมาเมื่อใด เร่ิมสรางเม่ือ พ.ศ. 2427 รัชสมัย พระจุลจอมเกลา เจา อยูหัว พระมหากษัตรยิ รัชกาลท่ี 5 แหงกรุงรตั นโกสินทร ใครเปน ผูท่ีสรางปอมพระจุลจอมเกลานี้ขึ้น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจา อยหู ัว รชั กาลที่ 5 ปอ มพระจุลจอมเกลา ถกู สรางขึ้นไวใ นบริเวณใด บริเวณปากแมน ้ําเจาพระยา ฝง ขวาตําบลแหลมฟา ผา อาํ เภอพระสมุทรเจดยี จังหวัดสมทุ รปราการ
47 ปอมพระจุลจอมเกลาถูกสรางขึ้นดวยจุดประสงคใด เพ่ือสกัดก้ันการรุกราน ของกองเรือตา งชาติทจี่ ะรุกล้ําเขา มาบริเวณปากแมน ้ําเจา พระยา ลักษณะโดยท่ัวไปของปอมพระจุลจอมเกลาเปนอยางไร ปอมพระจุลจอมเกลา มลี ักษณะการสรา งเปนปอ มปน ใหญแ บบตะวนั ตก ประกอบดว ยหลุมปน ใหญจาํ นวน 7 หลุม ติดตั้ง ปนอารมสตรองขนาด 155 มิลลิเมตร เรยี กวา “ปนเสอื หมอบ”ซึ่งส่งั มาจากประเทศอังกฤษ ภายใน ประกอบดวยคหู าและหอ งสาํ หรับเก็บกระสุนปนใหญ มีการออกแบบปอม เพ่ือลดการสูญเสียหาก ถูกโจมตีดว ยการยิงจากปน ใหญจากฝายตรงขาม ภาพ : ปอ มพระจลุ จอมเกลา ภาพ : ปนเสอื หมอบ ปอ มพระจุลจอมเกลา มคี วามสําคัญอยางไรในทางประวัตศิ าสตร วิกฤติการณ ร.ศ. 112 (พ.ศ. 2436) ในชวงที่มหาอํานาจตะวันตกพยายามคุกคามประเทศไทยปอมพระจุลจอมเกลา มีบทบาทสําคัญในการสกัดก้นั การรกุ รานของกองเรือฝร่งั เศส จาํ นวน 3 ลาํ ทเี่ ขา มาบริเวณปากแมน้ํา เจาพระยา เกิดการตอสูกันและทหารท่ีปอมพระจุลจอมเกลาสามารถยิงเรือรบฝรั่งเศส จนเกยตื้นได 1 ลํา เรือรบที่เหลือของฝร่ังเศสไดรับความเสียหาย แตสามารถฝาเขาไปจนถึง กรุงเทพฯ ได ปจจุบนั ปอมพระจุลจอมเกลาอยใู นความดูแลของกองทัพเรอื โดยฐานทัพเรือกรงุ เทพ ซึง่ ไดเปดใหป ระชาชนทั่วไปเขา ไปเท่ยี วชม และศึกษาเรื่องราวท่ีสําคัญทางประวัติศาสตรของชาติ ตลอดจนชมทัศนียภาพของระบบนเิ วศทีอ่ ยูโ ดยรอบปอมพระจลุ จอมเกลาอกี ดวย 5. การเรียบเรียงและนําเสนอขอมูล/การเรียบเรียงรายงานขอเท็จจริงทาง ประวัติศาสตร ในการเรียบเรียงเรื่องราวทางประวตั ศิ าสตรนั้น ผทู ่ีทําการศกึ ษาจะตองลาํ ดบั เรือ่ งราว ใหมีความถกู ตอ งตามขอมลู ท่ไี ดมา และในการนาํ เสนอขอมลู ที่ไดจากหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรน นั้ สามารถทาํ ไดหลายวิธกี าร เชน การนาํ ขอมลู เกยี่ วกบั ปอมพระจลุ จอมเกลามาเลาใหเพื่อน ๆ ฟง การจัดทํา รายงานเก่ียวกับปอมพระจุลจอมเกลาและความสําคัญทางประวัติศาสตร การจัดนิทรรศการ เพ่ือเผยแพรค วามรู เปน ตน กิจกรรมทายเรอ่ื งท่ี 2 วธิ กี ารทางประวตั ศิ าสตร (ใหผ เู รียนไปทาํ กจิ กรรมทา ยเรือ่ งท่ี 2 ท่ีสมดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรปู ระกอบชดุ วชิ า)
48 หนว ยการเรยี นรทู ่ี 3 พระราชกรณียกจิ ของพระมหากษัตริยไทยสมยั รัตนโกสินทร สาระสาํ คัญ พระมหากษตั รยิ ไ ทยทุกพระองค ต้งั แตส มยั สุโขทยั อยุธยา จนถงึ สมัยรัตนโกสินทร ทรงมพี ระมหากรุณาธิคณุ ตอ แผนดินไทยทรงบําเพญ็ พระราชกรณียกิจ ทาํ นุบํารงุ สรางบา นแปลงเมอื ง สง เสรมิ ศลิ ปะ วัฒนธรรม วรรณคดี ศาสนา สืบตอประเพณี และดํารงอยูในความเปนไทย นับวา เปน บญุ คณุ ของแผนดนิ บญุ คณุ ของพระมหากษตั ริยและบรรพบุรษุ ทีส่ ําคญั ของชาวไทยทีม่ ีบทบาทเก่ียวกับ การเมอื งการปกครอง การรวมชาติ การสรางเอกราช การสรา งเสถยี รภาพทางการเมอื ง และการปฏริ ปู การปกครองแผนดนิ ต้ังแตอ ดีตจนถึงปจ จุบนั พระมหากษตั ริยแหง ราชอาณาจกั รไทยทรงมบี ทบาทสาํ คัญอยา งยงิ่ ตอ การสรางสรรค ความเจริญรุงเรืองและความม่ันคงของชาติ ตั้งแตสมัยสุโขทัยจนถึงปจจุบัน ตางทรงประกอบ พระราชกรณียกิจใหญนอยเพอ่ื สรางความมน่ั คงใหราชอาณาจกั ร ทรงปกครองอาณาประชาราษฎร ใหอยูอยางรมเย็นเปนสุข และสรางสรรคความเจริญรุงเรืองในดานตาง ๆ ใหเปนมรดกตกทอด มาจนปจจุบัน ตัวชว้ี ดั 1. อธิบายพระราชกรณยี กิจของพระมหากษตั รยิ ไ ทยสมัยรตั นโกสนิ ทร 2. อธิบายคณุ ประโยชนข องบุคคลสําคญั ท่มี ีตอการพฒั นาชาติไทย 3. วเิ คราะหพ ระมหากรุณาธคิ ณุ ของพระมหากษตั รยิ ไ ทยทม่ี ผี ลตอ การพัฒนาชาติไทย 4. เขยี นบรรยายคณุ คา ทไ่ี ดร ับจากการศกึ ษาประวัตศิ าสตรช าตไิ ทย ขอบขา ยเน้ือหา เร่อื งท่ี 1 พระราชกรณียกจิ ของพระมหากษตั ริยไ ทยสมัยรตั นโกสินทร เรอื่ งท่ี 2 คณุ ประโยชนของบคุ คลสําคญั 2.1 กรมพระราชวงั บวรมหาสรุ สงิ หนาท 2.2 ทา วสุรนารี 2.3 สมเดจ็ เจา พระยามหาศรีสรุ ิยวงศ (ชวง บนุ นาค) 2.4 กรมพระยาดํารงราชานุภาพ 2.5 กรมหลวงชมุ พรเขตอดุ มศักด์ิ 2.6 พระยาอนมุ านราชธน
49 ส่อื การเรียนรู 1. ชดุ วชิ าประวัตศิ าสตรช าติไทย รหสั รายวชิ า สค32034 2. สมดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรูประกอบชดุ วิชา เวลาทใ่ี ชใ นการศกึ ษา 27 ช่วั โมง
50 เรือ่ งที่ 1 พระราชกรณยี กจิ ของพระมหากษัตริยไทยสมยั รตั นโกสนิ ทร ความหมายของพระราชกรณยี กิจ พระราชกรณียกิจ หมายถึง งานท่ีพระเจาแผนดินทรงทํา (พจนานุกรม ฉบับ ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2554) ความสําคญั ของพระราชกรณียกจิ พระมหากษตั รยิ ไ ทย ทรงคาํ นงึ ถงึ พระราชกรณียกิจ ซึ่งทรงทําเพื่อพัฒนาคุณภาพ ชีวิตของประชาชน ทํานุบํารุงศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ใหมีความเจริญรุงเรือง ถาวร เปนมรดกของชาติสืบไป และทรงบําเพ็ญพระราชกรณียกิจนานัปการ เพื่อประโยชนสุขแกปวง อาณาประชาราษฎรและชาตบิ านเมอื งเปนอเนกประการ ยังผลใหพสกนิกรอยูอยางรมเย็นเปนสุข ภายใตรมพระบารมี สบื มาจนถงึ ทุกวนั น้ี พระราชกรณยี กจิ ของพระมหากษตั ริย ลว นกอ ใหเกดิ ประโยชนตอสวนรวม แมการปฏิบัติ พระราชกรณยี กจิ จะเปนพระราชภาระอนั หนัก แตก็ทรงกระทาํ อยางครบถวน สมํ่าเสมอ สามารถ ผกู จติ ใจของประชาชนใหเ กดิ ความจงรกั ภักดีตอพระมหากษตั ริยทกุ ๆ พระองค ซ่ึงพระราชกรณียกิจ ท่สี าํ คญั ๆ ของพระมหากษัตรยิ ไ ทยในสมัยรตั นโกสนิ ทร มีดงั นี้
51 1.1 พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟา จฬุ าโลกมหาราช (รัชกาลท่ี 1) พระราชประวัติ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช พระปฐมบรมกษัตริยแหงกรุง รัตนโกสินทร ผูทรงสถาปนากรุงเทพมหานคร (หรือกรุงรัตนโกสินทร) เปนราชธานี และทรง สถาปนาราชวงศจ กั รี มีพระนามเดมิ วา ดว ง หรือ ทองดว ง พระราชบิดา คือ สมเด็จพระปฐมบรม มหาชนก พระนามเดิมวา ทองดี สืบเช้ือสายมาจากเจาพระยาโกษาธิบดี (ปาน) พระราชมารดา พระนามเดมิ วา หยก หรือ ดาวเรอื ง เสด็จพระบรมราชสมภพเมอ่ื วนั พุธ ที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2279 เสด็จข้ึนครองราชสมบัติ เมื่อวันเสารท่ี 6 เมษายน พ.ศ. 2325 เสด็จสวรรคต เม่ือวันพฤหัสบดี ที่ 7 กนั ยายน พ.ศ. 2352 พระราชกรณยี กจิ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช ทรงบําเพ็ญพระราชกรณียกิจ เพื่อทํานุบาํ รงุ บานเมอื งใหเจรญิ รงุ เรืองนานปั การ โดยเฉพาะในดา นการสงคราม ทรงทําศึกสงคราม ปองกันและขยายพระราชอาณาจักรหลายครั้ง คร้ังสําคัญในรัชกาล คือ สงครามเกาทัพ ใน พ.ศ. 2328 ซึ่งไดรับชยั ชนะเปน ที่เล่อื งลือในยุทธวิธกี ารรบของกองทพั ไทยที่มีกําลังพลนอยกวา ขาศึกท่ยี กมาถึงเกาทัพ
52 ดานกฎหมายบานเมือง โปรดใหชําระพระราชกําหนดกฎหมายใหถูกตอง แลวใหอาลักษณชุบเสนหมึกไว ประทับตราพระราชสีห พระคชสีห และบัวแกว ซึ่งเปนตราของ สมุหนายก สมหุ พระกลาโหม และพระคลัง เพื่อใชบังคับท่ัวราชอาณาจักร กฎหมายน้ีเรียกกันวา กฎหมายตราสามดวง ดานศาสนา พ.ศ. 2331 โปรดเกลาฯ ใหมีการสังคายนาพระไตรปฎก ณ วัดนิพพานาราม (ปจ จบุ ัน คอื วดั มหาธาตยุ ุวราชรังสฤษฎ์ิ) และโปรดให ตรากฎพระสงฆควบคุมสมณปฏิบัติและขอพึงปฏิบัติ ของพุทธศาสนิกชน รวมทั้งพระราชกําหนดกวดขัน ศีลธรรมขาราชการและพลเมือง มีพระราชศรัทธา ทาํ นบุ ํารุงพระอารามท้ังในเขตพระนครและหัวเมือง หลายแหง วัดประจํารัชกาล คือ วัดพระเชตุพน ภาพ : วดั พระเชตุพลวมิ ลมังคลาราม วิมลมังคลาราม ดานขนบธรรมเนียมประเพณีและศิลปวัฒนธรรม โปรดใหสรางปราสาท พระราชวงั วดั วาอาราม เชน วดั พระศรีรตั นศาสดาราม วดั พระเชตพุ นวมิ ลมังคลาราม วดั สระเกศ และวดั สทุ ศั นเทพวราราม ทั้งยังฟนฟูทํานุบํารุงงานศิลปกรรม ขนบธรรมเนียมและราชประเพณี ตา ง ๆ ทม่ี ีมาแตค รง้ั กรุงศรอี ยุธยา เชน พระราชพิธีบรมราชาภเิ ษก พระราชพิธโี สกนั ต พระราชพิธี ถอื นํ้าพระพิพฒั นส ัตยา เปนตน ภาพ : วัดสทุ ศั นเทพวราราม
53 1.2 พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หลา นภาลยั (รชั กาลที่ 2) พระราชประวัติ พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหลานภาลัย พระนามเดิมวา สมเด็จเจาฟาฉิม เปน พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราชกับสมเด็จพระอมรินทรา บรมราชินี เสด็จพระบรมราชสมภพ เม่ือวันพุธท่ี 24 กุมภาพันธ พ.ศ. 2310 เสด็จขึ้นครอง ราชสมบัติ เมอ่ื วันพฤหัสบดีที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2352 เสด็จสวรรคต เม่ือวันพุธที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 พระราชกรณยี กจิ พระองคท รงมีพระราชกรณยี กจิ ที่สาํ คญั ตอ บานเมอื งและราษฎรหลายดา น เพอ่ื ให เกดิ ความมัน่ คงและเจรญิ รุงเรอื งของชาติไทย ซึ่งในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย ถอื วาเปนยคุ ทองของวรรณคดี เพราะวรรณคดีของชาติรงุ เรืองมาก ทรงสงเสริมศิลปะทุกประเภท ทรงพระปรีชาสามารถในงานวรรณกรรมและบทละครเปนอยา งยงิ่ ทรงพระราชนิพนธงานวรรณกรรม และบทละครตา ง ๆ ทที่ รงคุณคาไวจ ํานวนมาก เชน เสภาเรื่องขุนชางขุนแผน (บางตอน) บทละคร เร่ืองอิเหนา รามเกียรต์ิ คาวี ไกรทอง มณีพิชัย สังขทอง กาพยเหเรือ และบทพากยโขน ตอนเอราวณั นาคบาศ และนางลอย เปนตน
54 นอกจากน้ี พระองคยังสนพระราชหฤทัยดานศิลปะการดนตรีเปนอยางย่ิง ทรงเช่ียวชาญและโปรดซอสามสาย พระองคมีซอคูพระหัตถอยูคันหนึ่ง พระราชทานนามวา “ซอสายฟาฟาด” ท้ังนี้ พระองคยังพระราชนพิ นธท ํานองเพลงบหุ ลันลอยเล่อื น (บหุ ลนั เลอื่ นลอยฟา หรอื สรรเสรญิ พระจนั ทร บางแหงเรียกวา เพลงทรงพระสบุ นิ ) ซงึ่ ในรชั สมัยของพระองค ศิลปะดา น นาฏกรรมเจริญรุงเรืองมาก ความงดงามไพเราะท้งั บทละคร ทา ราํ ไดป รบั ปรงุ และใชเปน แบบแผน ทางนาฏศิลปของชาติมาจนปจจบุ ัน ดานการปกครอง ทรงทํานุบํารุงบานเมืองในทุกดาน โปรดเกลาฯ ใหสราง ปอ มปราการตาง ๆ สรางเมืองนครเขอื่ นขันธ เปน เมืองหนา ดานชายทะเลเพื่อปอ งกนั ขาศึกรุกราน ดานการคากับตางประเทศ ปรากฏวาการคากับจีนและประเทศทางตะวันตก เฟองฟูมาก ทรงสงเสริมการคากับตางประเทศ โดยทรงสงเรือสําเภาไปคาขายกับจีน เขมร ญวน มลายู มีเรือสนิ คาของหลวงเดนิ ทางไปจนี เปนประจาํ รวมทง้ั ประเทศตะวนั ตกตา ง ๆ เชน โปรตเุ กส อังกฤษ เปน ตน นาํ รายไดเขา สปู ระเทศจาํ นวนมาก ดานสังคม ทรงพระราชดําริวา การสูบฝนเปนอันตรายแกผูสูบ ทั้งกอใหเกิดคดี อาชญากรรมขึ้นมาก แมฝนจะนํารายไดจํานวนมากเขาพระคลังหลวง แตดวยพระมหากรณุ าธิคุณ ท่มี ตี อราษฎร ทรงตราพระราชกาํ หนดหามมิใหซ้ือขายและสูบฝน ทรงกําหนดบทลงโทษสําหรับ ผฝู าฝน ไวอ ยา งหนัก สว นการพระศาสนา ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหริเร่ิมการประกอบพิธีวิสาขบชู า ข้ึนใน พ.ศ. 2360 เปนครั้งแรกในสมัยรัตนโกสินทร พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย ทรงบริหารราชการโดยการกระจายอํานาจการบริหารไปสูบุคคลที่มีความสามารถในดานตาง ๆ ทรงมอบอํานาจการบริหารราชการแผนดินแกเจานายและขุนนางท่ีทรงไววางพระราชหฤทัย ทรงสงเสริมใหข าราชการปฏิบัติหนาที่ราชการตามความสามารถและความถนัดของบุคคลนั้น ๆ การปกครองหัวเมอื งประเทศราช ทรงใชนโยบายสรางดลุ อาํ นาจของขนุ นางในการบริหาร การปกครอง ดานความสัมพันธระหวางประเทศ ทรงใชนโยบายการทหาร การทูต และการคา ควบคูกันไป ตามแตสถานการณ ตลอดรัชสมัยของพระองค สงผลใหบานเมืองมีความสุข พสกนิกรไทย ตา งตระหนักถึงพระบารมีปกเกลาดานพุทธศาสนา อักษรศาสตร ศิลปะ และนาฏยศิลป อันเปน ตนแบบแหง ศาสตรและศิลปน านัปการ
55 1.3 พระบาทสมเดจ็ พระนัง่ เกลา เจาอยหู วั (รชั กาลที่ 3) พระราชประวตั ิ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวพระนามเดิมวา พระองคเจาทับ เปน พระราชโอรสพระองคใหญในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย กับเจาจอมมารดาเรียม เสด็จพระบรมราชสมภพ เมื่อวันจันทรที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2330 เสด็จขึ้นครองราชสมบัติ เม่อื วนั พุธที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 เสดจ็ สวรรคต เมอื่ วันพุธท่ี 2 เมษายน พ.ศ. 2394 พระราชกรณียกจิ ในรชั สมยั ของพระองค ไดรับการยกยองวามีความเจริญรุง เรอื งทางดานเศรษฐกิจ และศาสนาเปนอยางยิ่ง ทรงมพี ระปรีชาสามารถในการนํารายไดเขาสูทองพระคลังมาต้ังแตกอน ข้นึ ครองราชย ครั้นเม่ือเสวยราชยแลว ทรงสรา งความเปนปกแผน ทางเศรษฐกิจดวยการประหยัด รายจา ยและเพม่ิ พนู รายไดแผนดนิ โดยการแกไขวิธีเก็บภาษอี ากรแบบเดิม เชน เปลี่ยนเก็บอากร คานาจากหางขาวมาเปนเงิน ทรงต้ังภาษีอากรใหม อีก 38 ชนิด และทรงกําหนดระบบเจาภาษี นายอากรใหม โดยรัฐเก็บภาษีเองเฉพาะภาษีที่สําคัญบางอยางดวยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลา เจาอยหู ัวทรงพระปรีชาสามารถในการพาณิชยมานับแตสมัยรัชกาลท่ี 2 จนทรงไดรับการยกยอง จากสมเด็จพระบรมชนกนาถวา เปน “เจาสัว” เพราะทรงเชี่ยวชาญในดานการคากบั ตางประเทศ เปนอยางยิ่ง โดยเฉพาะการคากับจีน เปนผลใหมีพระราชทรัพยสวนพระองคเปนจํานวนมาก กอนเสด็จข้ึนครองราชย พระราชทรัพยดังกลาวนี้บรรจุไวในถุงแดงเก็บรักษาไวในพระคลังขางท่ี
56 ตอมาเรียกวา “เงินถุงแดง” (ถึงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลท่ี 5 พ.ศ. 2436 ทรงใชเ งินถุงแดงเปน คาปฏิกรรมสงคราม ภายหลงั เกิดเหตุการณความขัดแยงระหวาง ไทยกบั ฝรัง่ เศส เมื่อครง้ั วกิ ฤตการณ ร.ศ. 112) ดา นพระศาสนา ทรงเปนองคอ ัครศาสนปู ถัมภกตามพระราชประเพณี ในรัชสมัย ของพระองค ผลที่เกิดจากการท่ีทรงพระราชศรัทธาในพระพุทธศาสนา คือ ความเจริญรุงเรือง ทางศิลปกรรมแขนงตาง ๆ โดยเฉพาะสถาปตยกรรม ซ่ึงมีลักษณะเฉพาะเปนพระราชนิยม เชน การเปลีย่ นแปลงสวนหลังคาโบสถ ไมมีชอฟา ใบระกา หางหงส หนาบันประดับกระเบ้ืองเคลือบ จานชามจนี เชน ที่วดั ราชโอรสาราม จติ รกรรมกม็ ีลักษณะผสมผสานแบบจีน ตลอดรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว แผนดินสยามมีความม่ันคง ทงั้ ทางดานการปกครอง เศรษฐกจิ และสังคม ทั้งนี้ กด็ ว ยพระบารมีปกเกลา ดวยพระปรีชาสามารถ และพระวิจารณญาณที่กวางไกล พระราชภารกิจ ท่ีทรงมี ทําใหบา นเมอื งเปรียบเสมือนฐานแหงความม่ันคง และความเจริญของประเทศที่ไดรับการบูรณาการ โดยพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวในอีกหลายรชั กาล ตอมา จากการทพ่ี ระองคทรงประกอบพระราชกรณียกิจ เพื่อบานเมืองอยางเต็มพระสติกําลังตลอดเวลาแหง รัชกาล ทรงไดร บั การถวายราชสดดุ ีจากพระบาทสมเด็จ พระจอมเกลาเจาอยูหัววา “พระองคทานเปนหัวใจ แผนดิน” ภาพ : วดั ราชโอรสาราม
57 1.4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา เจา อยหู ัว (รชั กาลที่ 4) พระราชประวตั ิ พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกลาเจาอยูห ัว พระนามเดมิ วา สมเด็จเจาฟามงกุฎ เปน พ ร ะ ร า ช โอ ร ส ใ น พ ร ะ บ า ท ส ม เด็ จ พ ร ะ พุ ท ธ เ ลิ ศ ห ล า น ภ า ลั ย กั บ ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ศ รี สุ ริ เย น ท ร า บรมราชินี เสด็จพระบรมราชสมภพ เมอ่ื วันพฤหัสบดีที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2347 เสด็จขึ้นครอง ราชสมบตั ิ เมือ่ วนั พุธที่ 2 เมษายน พ.ศ. 2394 เสด็จสวรรคต เมอ่ื วันพฤหัสบดที ี่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2411 พระราชกรณยี กิจ ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ไทยตองเผชิญกับการคุกคาม โดยการแผขยายอํานาจและอิทธิพลของจักรวรรดินิยมตะวันตกรอบดาน โดยเฉพาะอังกฤษกับ ฝร่ังเศส ดังนั้น เพื่อความอยูรอดของประเทศไทยในฐานะประเทศเอกราชประเทศเล็กซึ่งดอยกวา อังกฤษและฝรงั่ เศส จึงตองดําเนินนโยบายการเจรจาผอ นปรนทางการทตู การทําสนธสิ ัญญาไมตรี และพาณชิ ยก ับประเทศตา ง ๆ พระราชกรณียกิจที่สําคัญย่ิงของพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว คือ การรักษาเอกราชของชาติ เพราะในรัชสมัยของพระองคตรงกับสมัยลัทธิจักรวรรดินิยมท่ี ชาติมหาอาํ นาจตะวนั ตกโดยเฉพาะองั กฤษและฝรั่งเศสกําลังแขงขันแสวงหาอาณานิคม พระองค ทรงตระหนักวาถึงเวลาท่ีสยามตองยอมเปดสัมพันธภาพกับประเทศตะวันตก โดยทําสนธิสัญญา
58 ในลักษณะใหม เม่ือสมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแหงอังกฤษทรงแตงต้ังเซอรจอหน เบาวริง เปนอัครราชทูตผูมีอํานาจเต็มเชิญพระราชสาสนมาเจรจาทําสนธิสัญญาทางไมตรีกับสยาม ใน พ.ศ. 2398 พระองคท รงตอ นรบั อยางสมเกยี รติ และโปรดเกลา ฯ ให เซอรจ อหน เบาวร ิง เขาเฝา เพ่ือเจรจากันเปนการภายในแบบมิตรภาพกอน ซึ่งเปนที่ประทับใจของอัครราชทูตอังกฤษมาก การเจรจาเปนทางการใชเวลาไมนานก็ประสบความสําเร็จ อังกฤษและสยามไดลงนามใน สนธิสัญญาไมตรีและพาณิชยตอกันในวันท่ี 18 เมษายน พ.ศ. 2398 เปนที่รูจักกันในนามวา สนธิสญั ญาเบาวริง ทีม่ า : https://www.napoleon.org/wp-content/thumbnails/uploads/2002/03/454871_1-tt-width-500-height- 247-crop-1-bgcolor-ffffff-lazyload-0.jpg พระองคทรงวางรากฐานในการยอมรับความเจริญกาวหนาแบบอารยประเทศ มาใชในสยาม เชน การรบั ชาวตางประเทศเขามารับราชการดวยการใหเปนลาม เปนผูแปลตํารา เปน ครูหดั ทหารบกและโปลิศ ซ่ึงโปรดใหจดั ต้งั ขน้ึ ตามแบบยโุ รป นอกจากกิจการดงั กลาวแลว ยังมี งานสมัยใหมเกิดขึ้นอกี มาก เชน การสาํ รวจทําแผนทชี่ ายแดนพระอาณาเขต การต้ังโรงพมิ พอักษร ในพระบรมมหาราชวัง เพ่ือพิมพหนังสือราชกิจจานุเบกษา เผยแพรกฎหมาย คําสั่ง ขาวราชการ ตา ง ๆ สรา งโรงกษาปณสทิ ธกิ าร (ปจจบุ นั เปน กรมธนารักษ) เพื่อใชทําเงินเหรียญแทนเงินพดดวง ใชอัฐทองแดงและดีบุกแทนเบี้ยหอย จัดต้ังศุลกสถาน (กรมศุลกากร) สถานท่ีเก็บภาษีอากร มีถนนสําหรบั ใชร ถมา เกดิ ตกึ แถวและอาคารแบบฝร่ัง โรงสไี ฟ โรงเล่อื ยจักร ฯลฯ นอกจากน้ีทรงทํานุบํารุงพระพุทธศาสนาใหเจริญรุงเรืองย่ิงขึ้น ทรงกอต้ังคณะ ธรรมยตุ ิกนกิ าย ทรงบูรณะและปฏสิ งั ขรณพ ระอารามท่ีสรางคางในรัชกาลกอนใหลุลวงเรียบรอย ท่สี าํ คัญยิง่ คือ ไดท รงปฏิสังขรณพระปฐมเจดียเปน งานใหญ ดา นการศึกษา พระองคทรงตระหนักถึงความสําคญั ของการศกึ ษาวา เปนรากฐาน สําคญั ในการพฒั นาบานเมืองใหท นั สมยั แบบตะวันตก จึงทรงรเิ ริม่ สนบั สนุนการศกึ ษาภาษาองั กฤษ และวิทยาการสมยั ใหมของโลกตะวนั ตก โดยเฉพาะดา นดาราศาสตร ทรงมีพระอัจฉริยภาพเปนที่
59 ประจักษเลื่องลือในวงการดาราศาสตรทั่วโลก ดวยทรงสามารถคํานวณวันเวลาและสถานท่ีเกิด สุริยปราคาไดอยา งถูกตอ งแมน ยาํ จนไดร บั การยกยองวาเปน “พระบิดาแหง วทิ ยาศาสตรไ ทย” 1.5 พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลาเจาอยูหวั (รัชกาลท่ี 5) พระราชประวัติ พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลาเจาอยหู ัว พระนามเดิมวา สมเด็จเจาฟาจุฬาลงกรณ เปน พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจา อยหู วั กบั สมเดจ็ พระเทพศิรินทรา บรมราชินี เสด็จพระบรมราชสมภพ เมื่อวันอังคารที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2396 เสด็จขึ้นครองราชสมบัติ เม่อื วันพฤหสั บดีท่ี 1 ตลุ าคม พ.ศ. 2411 เสด็จสวรรคต เม่ือวนั อาทติ ยท่ี 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453 พระราชกรณียกิจ พระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวมีมากมาย เปนอเนกประการ แตท่ีอยูในความทรงจําของอาณาประชาราษฎร ไดแก พระราชกรณียกิจที่ ทรงเลิกทาส โดยใชวิธีผอนปรนเปนระยะ พอมีเวลาใหผูเปนนายและตัวทาสเองไดปรับตัว ปรับใจ ทรงพระราชดาํ รเิ รม่ิ จัดการศึกษาในทุกระดับ ทรงตั้งโรงเรียนหลวงขน้ึ เพอื่ ใหก ารศกึ ษาแกค นทกุ ชนั้ ตั้งแตเ จานายในราชตระกลู ไปจนถงึ ราษฎรสามัญ ในตอนกลางและตอนปลายรชั กาลของพระองค การศึกษาเจรญิ กา วหนามากขึ้น มีโรงเรียนวิชาชีพช้ันสูงหลายแหงเกิดข้ึน เชน โรงเรียนนายรอย โรงเรียนนายเรือ โรงเรียนกฎหมาย โรงเรียนแพทยาลัย และโรงเรยี นยนั ตรศึกษา เปนตน
60 พระราชกรณยี กจิ สาํ คัญอกี ประการหนึ่ง คือ การปฏริ ูประบบการเงนิ การคลังของ ประเทศและการปฏริ ูประบบบริหารราชการแผนดิน ดา นการเงนิ การคลัง ทรงต้ังหอรัษฎากรพิพัฒน เม่ือ พ.ศ. 2416 เพื่อจัดระบบรายรับของประเทศใหเต็มเม็ดเต็มหนวยข้ึนกวาแตกอน ทดแทน วิธีการทีใ่ ชเจาภาษีนายอากรเปน เครอื่ งมือ ทรงพระราชดาํ ริแกไขระบบบรหิ ารราชการแผน ดนิ ครง้ั ใหญ เม่ือ พ.ศ. 2435 โดยทรงยกเลิกระบบเสนาบดีแบบเดิม แลวทรงแบงราชการเปนกระทรวงจํานวน 12 กระทรวง ทรงแบงหนาท่ีใหชัดเจน และเหมาะกับความเปนไปของบานเมืองในรัชสมัยของ พระองค นอกจากนี้ยังมีพระราชกรณียกิจดานการสาธารณูปโภค และสาธารณสุข โปรดเกลา ฯ ใหท ดลองจัดการสขุ าภิบาลหวั เมืองข้นึ เปนแหงแรกท่ีตําบลทาฉลอม เมืองสมุทรสาคร เม่อื พ.ศ. 2448 โปรดเกลาฯ ใหสรางทางรถไฟหลวง สายแรกระหวางกรุงเทพฯ - นครราชสีมา และริเริ่ม กิจการดา นไฟฟา ประปา และโทรเลข สวนดานการ สาธารณสุข โปรดเกลาฯ ใหกอต้ังโรงพยาบาลขึ้นเปน แหงแรก เมื่อ พ.ศ. 2431 พระราชทานนามวา “โรงศริ ิราชพยาบาล” ปจจบุ ัน คือ “โรงพยาบาลศิริราช” ภาพ : โรงพยาบาลศริ ริ าช สว นพระราชกรณยี กจิ ที่สาํ คญั ที่สดุ คือ การที่ทรงรักษาอิสรภาพของชาตไิ วไ ดรอด ปลอดภัย ในขณะที่ประเทศเพ่ือนบานโดยรอบทุกทิศตองตกเปนอาณานิคมของชาติตะวันตก แตชาติไทยสามารถดาํ รงอธปิ ไตยอยไู ดอยา งนา อศั จรรย โดยสรปุ พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา เจา อยหู วั ทรงดาํ เนนิ การปฏิรูปประเทศ ในลักษณะ “พลกิ แผน ดนิ ” ซึง่ สงผลเปนคุณประโยชนอ ยา งใหญหลวงตออาณาประชาราษฎร และ กอ ใหเ กดิ ความเจรญิ รุงเรอื งเปน อเนกอนันตแ กบานเมอื งทา มกลางกระแสการคุกคามของจกั รวรรดิ นยิ มตะวันตกในขณะนนั้ พระราชกรณียกิจตาง ๆ ลวนเปนการวางรากฐานและเปนตนแบบของ ความเจรญิ ทั้งดานการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของประเทศไทยสืบตอมาจนถึง ปจ จุบนั
61 1.6 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจา อยูหวั (รัชกาลท่ี 6) พระราชประวัติ พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว พระนามเดิมวา สมเด็จเจาฟามหาวชิราวุธ เป นพระ ราชโอรสในพระบาทสมเด็ จพระ จุ ลจ อมเกล าเจ า อยู หั วกั บสม เด็ จพร ะศรี พั ชริ นทร า บรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปหลวง เสดจ็ พระบรมราชสมภพ เมื่อวันเสารท่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2423 เสด็จข้ึนครองราชสมบัติ เมื่อวันอาทิตยท่ี 23 ตุลาคม พ.ศ. 2453 เสด็จสวรรคต เมอื่ วันพฤหสั บดีที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 พระราชกรณียกิจ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา เจาอยูหัว มีพระราชกรณียกิจอันเปนคุณูปการ ตอประชาชนชาวไทยและประเทศมากมาย ดวย พ ร ะ ปรี ช า ส า มา ร ถ ดุ จ นั กป ร า ช ญ ข อ งพ ร ะ อง ค โดยทรงวางแผนการพัฒนาดานตาง ๆ เรมิ่ จากการ ที่พระองคม ีพระราชดําริในการทีจ่ ะนําพาประเทศ ไปสคู วามเจริญใหท ัดเทียมกับนานาอารยประเทศ ซ่ึงทรงเนนการใหการศึกษาแกพสกนิกรเปน ภาพ : จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย
62 ประการสําคัญ ทรงปรับปรุงโรงเรียนมหาดเล็กซึ่งต้ังในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยูหัว เปน “โรงเรียนขาราชการพลเรือนของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว” เมื่อ พ.ศ. 2453 และโปรดสรางอาคารเรียนท่ีอําเภอปทุมวัน เมื่อ พ.ศ. 2458 ตอมาทรงสถาปนา ข้ึนเปน จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เม่ือ พ.ศ. 2459 โปรดใหตราพระราชบัญญัติโรงเรียนราษฎร ใน พ.ศ. 2461 พรอ มทัง้ ทรงขยายงานดานประถมศึกษาใหก วา งขวางขึน้ พระราชกรณียกิจการพัฒนาประเทศที่สําคัญ คือ ทรงเปลี่ยนธงชาติจาก ธงชางเผือกเปน “ธงไตรรงค” เชนปจจุบัน นอกจากนี้ยังมีพระราชกรณียกิจในการสรางความเจริญ กาวหนา ใหกบั ประเทศอีกดา นหนง่ึ คือ พระราชกรณียกิจเพ่ือการพัฒนาเศรษฐกิจ ทรงจัดต้ังคลัง ออมสิน (ปจจุบนั คอื ธนาคารออมสิน) ทรงกอตง้ั บรษิ ทั ปนู ซีเมนตไทย น อ ก จ า ก น้ี ยั ง มี พ ร ะ ร า ช ก ร ณี ย กิ จ ด า น กิ จ ก า ร ก อ ง เ สื อ ปา แ ล ะ ก อ ง ลู ก เ สื อ พระองคทรงจัดตั้งกองเสือปา เม่ือวันท่ี 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2454 มีพระราชประสงค ที่จะฝกหัดอบรมขาราชการพลเรือนใหไดรับ การฝกอบรมอยางทหาร เปนพลเมืองที่มี ระเบียบวินัยและมีความสามัคคีในชาติ สวน กองลูกเสือโปรดเกลาฯ ใหจัดต้ังเปนกิจการ ของเยาวชนตั้งขึ้นคูกับกองเสือปา เม่ือวันท่ี 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2454 และไดรับการยกยองวา เปนพระบดิ าแหง ลูกเสอื ไทย ภาพ : กองลูกเสือหลวง แมพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัว จะทรงพระปรีชาสามารถทางดาน การปกครอง ทรงมีความเปนประชาธปิ ไตยแตช าวไทยและชาวตางประเทศก็รจู ักพระองคและยกยอง พระองคทางดานอักษรศาสตรม ากกวามพี ระราชนพิ นธม ากมายท้งั ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เชน พระขรรคเพชร ศรอี ยุธยา นายแกวนายขวัญ เปนตน ในรัชสมัยของพระองคนับเปนยุครุงเรืองของกิจการพิมพและหนังสือพิมพ ทรงไดร บั การถวายพระราชสมัญญาวา “สมเดจ็ พระมหาธรี ราชเจา” หมายถึง พระมหากษัตรยิ ผ เู ปน ปราชญท่ยี ง่ิ ใหญ มใิ ชจะทรงเปนปราชญดา นอกั ษรศาสตร ผรู จนาคาํ ประพนั ธหลากหลายประเภท จํานวนมากเทานน้ั หากแตท รงเปนพระเจา แผน ดินผมู ีความสุขุมคัมภีรภาพ ทรงมพี ระราชวสิ ยั ทศั น ท่ีกวางไกล จึงทรงวางแผนบริหารประเทศในลักษณะ “การต้ังรับและปองกัน” ปญหาที่อาจจะ เกิดข้ึนในอนาคต เชน การปองกันตนเองของพลเรือน การวางระบบใหการศึกษาแกราษฎร ทั้งประเทศ
63 1.7 พระบาทสมเด็จพระปกเกลา เจา อยูห ัว (รชั กาลที่ 7) พระราชประวัติ พระบาทสมเดจ็ พระปกเกลาเจาอยูหัว พระนามเดิมวา สมเด็จเจาฟาประชาธิปก ศกั ดิเดชน เปน พระราชโอรสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวกับสมเด็จพระศรีพัชริน ทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปหลวง เสด็จพระบรมราชสมภพ เม่ือวันพุธที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2436 เสดจ็ ข้ึนครองราชสมบัติ เมื่อวนั พฤหสั บดีท่ี 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2468 ทรงสละราชสมบัติ เมื่อวันท่ี 2 มีนาคม พ.ศ. 2477 เสด็จสวรรคต เมื่อวันศุกรท่ี 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2484 พระราชกรณียกจิ พระองคทรงริเริ่มสิ่งใหมใหปรากฏในแผนดินหลายประการ ทั้งการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ และสงั คม โดยเฉพาะการวางรากฐานระบบขาราชการพลเรือนไทยในยุค ปจ จบุ นั อันมาจากแนวพระราชดําริ 4 ประการ คือ 1) ใหขาราชการพลเรือนอยูในระเบียบเดียวกัน 2) ใหเลือกสรรผูมีความรูความสามารถเขารับ ราชการ 3) ใหขา ราชการพลเรือนยึดถือการเขารับ ราชการเปนอาชีพ และ 4) ใหขาราชการพลเรือน มีวินยั ซึ่งจากแนวพระราชดาํ ริน้ี ทรงรางกฎหมาย วาดวยระเบียบขาราชการพลเรือนข้ึนเปนคร้ังแรก นอกจากน้ียังมีพระราชกรณยี กจิ ตาง ๆ ดังตอไปน้ี ภาพ : อนสุ าวรยี ป ระชาธิปไตย
64 ดานการปกครอง พระองคมีพระราชปรารภจะพระราชทานรัฐธรรมนูญ ใหแด คนไทยแตถูกทักทวงจากพระบรมวงศชั้นผูใหญ จึงไดระงับไปกอน ตอมาเกิดเหตุการณปฏิวัติ โดยคณะราษฎรในวันท่ี 24 มถิ ุนายน พ.ศ. 2475 พระองคจ ึงยนิ ยอมสละพระราชอาํ นาจ และเปน พระมหากษัตรยิ ภ ายใตร ฐั ธรรมนูญ นําไปสูการต้ังรัฐสภาและรัฐบาล เพ่ือบริหารราชการแผนดิน ตอมามีการรางรัฐธรรมนูญฉบับใหม และพระราชทานรัฐธรรมนูญสําหรับการปกครองแผนดิน เม่ือวนั ที่ 10 ธนั วาคม พ.ศ. 2475 ดานการศึกษาและการศาสนา ทรงปฏริ ปู มหาวิทยาลยั โดยทรงสรางกลไกการปฏิรูป มีการแตงต้ังคณะกรรมการปฏิรูปจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย นับเปนคร้ังแรกที่ผูหญิงและผูชาย ไดรับความเสมอภาคทางการศึกษา มีโอกาสเขารับการศึกษาระดับปริญญาตรี คณะแพทยศาสตร ดานศาสนา ทรงจัดพิมพพระไตรปฎกฉบับพิมพอักษรไทยสมบูรณ ขนานนามวา “พระไตรปฎก สยามรฐั ” 1.8 พระบาทสมเดจ็ พระปรเมนทรมหาอานันทมหดิ ล พระอัฐมรามาธิบดินทร (รชั กาลที่ 8)
65 พระราชประวัติ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร พระนามเดิมวา พระวรวงศเธอ พระองคเจาอานันทมหิดล เปนพระราชโอรสในสมเด็จ พระมหติ ลาธเิ บศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก กับสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี เสด็จพระบรมราชสมภพ เมื่อวนั อาทิตยที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2468 เสด็จข้ึนครองราชสมบัติ เมอื่ วันเสารที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2477 เสด็จสวรรคต เม่ือวนั อาทิตยที่ 9 มิถนุ ายน พ.ศ. 2489 พระราชกรณียกิจ พ ร ะ ร า ช ก ร ณี ย กิจ ใน กา ร บริ หา ร จั ด ก า ร ข อง พ ร ะ บา ทส มเ ด็ จ พ ร ะ ปร เ ม น ท ร มหาอานันทมหดิ ล ดานการปกครอง ไดพ ระราชทานรฐั ธรรมนญู แหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2489 ซ่ึงเปนรัฐธรรมนญู ฉบับถาวรฉบับที่ 2 ประกาศใชหลังจากรัฐธรรมนูญฉบับถาวร ฉบับที่ 1 พทุ ธศักราช 2475 ทปี่ ระกาศใชมาเปนเวลา 14 ป การแกไ ขความบาดหมางระหวางชาวไทย - จนี โดยพระองคไ ดเ สดจ็ ประพาสสาํ เพง็ อยางเปน ทางการ โดยมีพระราชประสงคสําคญั ทีจ่ ะเชื่อมสัมพันธไมตรีระหวางชาวไทยกับชาวจีน นอกจากน้ี พระองคไดทรงประกอบพระราชกรณียกิจท่ีมีความสําคัญและเปนคุณประโยชนแก ประเทศชาติอยา งไพศาล ในฐานะพระประมุขสูงสุดของ ประเทศไทย ซง่ึ เปนประเทศเอกราช โดยการเสด็จพระราช ดําเนินตรวจพลสวนสนามกองทหารสหประชาชาติ พรอ มดวยลอรด หลุยส เมานตแบตเตน ผูบัญชาการ ทหารฝายสัมพันธมิตรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต การเสด็จพระราชดําเนินในคร้ังนี้เปนการประกาศ ยื น ยั น แ น ชั ด ถึ ง ส ถ า น ภ า พ ค ว า ม เ ป น เ อ ก ร า ช ข อ ง ภาพ : ตรวจพลสวนสนามกองทหารสหประชาชาติ ประเทศไทย สรางขวัญและกําลังใจใหแกประชาชน ชาวไทยอยางดีย่ิง
66 1.9 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9) พระราชประวตั ิ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9) พระนามเดิมวา พระวรวงศเธอ พระองคเจาภูมิพลอดุลยเดช เปนพระราชโอรสในสมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวกิ รมพระบรมราชชนก กบั สมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี เสดจ็ พระบรมราชสมภพ เมื่อวันจันทรท ่ี 5 ธนั วาคม พ.ศ. 2470 เสด็จขึน้ ครองราชสมบัติ เม่ือวันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2489 และ ในวนั ที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2493 โปรดเกลาใหต้ังการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกตามแบบอยาง โบราณราชประเพณี มีพระปฐมบรมราชโองการแกประชาชนชาวไทยวา “เราจะครองแผนดิน โดยธรรม เพ่ือประโยชนสุขแหงมหาชนชาวสยาม” เสด็จสวรรคต เม่ือวันพฤหัสบดีท่ี 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 พระราชกรณียกจิ พระราชกรณียกิจของพระองคใ นระยะเรม่ิ แรก ทรงเนน การแกไ ขปญ หาเฉพาะหนา นําไปสูการพัฒนา เนนการเกษตรเปนหลัก เพราะราษฎรสวนใหญของประเทศประกอบอาชีพ กสกิ รรม ทรงตระหนกั วาเกษตรกรสว นใหญการศึกษานอ ย ขาดหลักวิชาสมยั ใหมตองเผชิญปญหา ดานทรัพยากรธรรมชาตินา้ํ ดนิ ปา ไม แตกตา งกนั ไปในแตละภูมิภาค พระองคมีพระราชประสงค ใหเ กษตรกรเรยี นรเู ร่ืองการอาชีพ มีการพัฒนาที่เหมาะสมสอดคลองกับสภาพแวดลอม ดังท่ีทรง พระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหจัดตง้ั ศูนยศ กึ ษาการพัฒนาอันเนอื่ งมาจากพระราชดาํ รขิ นึ้ ในภมู ภิ าคตา ง ๆ ไดแก
67 1. ศูนยศ ึกษาการพัฒนาหว ยฮองไคร จงั หวัดเชยี งใหม 2. ศูนยศ ึกษาการพัฒนาภูพาน จงั หวัดสกลนคร 3. ศูนยศ ึกษาการพัฒนาหว ยทราย จงั หวดั เพชรบุรี 4. ศนู ยศ กึ ษาการพฒั นาเขาหนิ ซอน จังหวัดฉะเชิงเทรา 5. ศูนยศ กึ ษาการพัฒนาอาวคงุ กระเบน จังหวัดจนั ทบุรี 6. ศนู ยศ กึ ษาการพฒั นาพิกุลทอง จังหวัดนราธวิ าส พระราชกรณียกิจดานการพัฒนาท่ีสําคัญ คือ การบริหารจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ มเปนส่ิงท่ที รงสนพระราชหฤทัยอยางย่ิง ทรงตระหนักวาปญหาเกษตรกร มาจากทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดลอมท่ีเส่ือมโทรม ถูกทาํ ลายจาํ นวนมาก ทรงคดิ คน ดัดแปลง ปรับปรุง และแกไขดวยการพัฒนาท่ีดําเนินการไดงาย ไมยุงยากซับซอน สอดคลองกับสภาพ ความเปนจรงิ ของความเปนอยู และระบบนเิ วศในแตละภูมภิ าค พระราชกรณียกิจที่ทรงปฏิบัติมา ตลอดรชั สมัยเปนท่ียอมรบั ทรงสรางรปู แบบที่เปนตัวอยางของการพัฒนาแบบยั่งยืน ผสมผสาน ความตอ งการของราษฎรใหเ ขา กบั การประกอบอาชีพ โดยทรงนําพระราชดําริมาปฏิบัติจริง และ สามารถพัฒนาใหเปน ทฤษฎีใหม ซึ่งเปนระบบการจดั การที่ดนิ และแหลงนา้ํ เพื่อการเกษตรท่ีย่ังยืน ทาํ ใหเกษตรกรสามารถดาํ เนินชวี ติ ไดอยางมคี วามสขุ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจ เพือ่ การพฒั นาประเทศ โดยทรงเนนคนเปนศูนยกลางตลอดมา พระองคเปนตนแบบการบริหาร จัดการท่ีดีในทุกพระราชภารกิจ ในฐานะพระมหากษัตริยภายใตรัฐธรรมนูญ ทรงเก้ือหนุน การบริหารราชการทุกรัฐบาล แนวพระราชดําริจํานวนมากท่ีพระราชทานใหรัฐบาลนําไปปฏิบัติ ลวนมีจุดมุงหมายใหประชาชนชาวไทยมีความสุข ไดรับบริการจากรัฐอยางท่ัวถึง เขาถึงทรัพยากร ของชาติอยา งเทาเทียมกนั และใชท รัพยากรอยา งชาญฉลาด พระราชกรณียกิจในชว งสมยั ตน ๆเปน ลกั ษณะ ของการพัฒนาสังคม เชน การรณรงคหาทุนเพ่ือ กอสรางอาคารพยาบาล การตอสูโรคเร้ือนของ มลู นธิ ริ าชประชาสมาสัย การจัดต้ังโรงเรยี นสงเคราะห เด็กยากจน พระราชกรณียกจิ ดา นการพฒั นาทส่ี าํ คญั ยงิ่ คือ งานพัฒนาท่ีเกี่ยวของกับน้ํา ศาสตรท้ังปวง ที่เกี่ยวกับนํ้า ทั้งการพัฒนา การจัดหาแหลงนํ้า การเกบ็ กกั น้ํา การระบาย การควบคุม การทาํ นา้ํ เสยี ใหเ ปน น้ําดี ตลอดจนการแกไขปญหาน้ําทวม นอกจากนี้ ยังมีพระราชดํารเิ กย่ี วกับการแกไ ขปญ หานาํ้ เสยี เชน โครงการ “นา้ํ ดไี ลนํา้ เสีย” ในการแกไข
68 ปญหามลพิษทางนํ้า โดยทรงใชนํ้าที่มีคุณภาพดีจากแมนํ้าเจาพระยาใหชวยผลักดันและเจือจางน้ํา เนา เสียใหอ อกจากแหลง น้าํ ของชมุ ชนภายในเมืองตามคลองตาง ๆ แนวพระราชดาํ รดิ านการเกษตรทสี่ ําคญั คอื “ทฤษฎใี หม” เปนการใชประโยชน จากพน้ื ท่ีทม่ี ีอยจู าํ กัดใหเ กิดประโยชนสงู สดุ พ.ศ. 2540 ประเทศไทยประสบปญหาภาวะเศรษฐกิจตกต่ํา พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระราชทานหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ทรงชี้แนะ แนวทางการดําเนินชีวติ ใหแกราษฎร เปนผลใหเกิดการพัฒนา สังคมและทรัพยากรบุคคลอยางมั่นคง ย่งั ยืน และสงบสุข โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดําริในรัชสมัยของ พระองคมที ้ังสน้ิ มากกวา 4,000 โครงการอยใู นความรับผิดชอบ ของสํานกั งานคณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงานโครงการ อันเน่อื งมาจากพระราชดาํ ริ (สาํ นกั งาน กปร.) น อ ก จ า ก น้ี พ ร ะ อ ง ค ยั ง ท ร ง มี พ ร ะ ป รี ช า ส า ม า ร ถ ในศาสตรส าขาตาง ๆ ซ่ึงสงผลตอการพัฒนาท้ังส้ิน ทั้งในดาน การประดิษฐ ไดแก การประดิษฐ “กังหันชัยพัฒนา” ซึ่งเปน เครอื่ งกลเตมิ อากาศแบบทนุ ลอย งานทางดานวรรณศลิ ป พระองคท รงเชย่ี วชาญในภาษาหลายภาษาทรงพระราชนิพนธ บทความ แปลหนังสือ เชน นายอินทรผูปดทองหลังพระ ติโต พระมหาชนก และพระมหาชนก ฉบับการตนู เปนตน งานทางดา นดนตรี พระองคท รงพระปรชี าสามารถเปนอยางมาก และรอบรูในเรื่อง การดนตรเี ปนอยา งดี พระองคท รงดนตรีไดหลายชนิด เชน แซ็กโซโฟนคลาริเน็ต ทรัมเปต กีตาร และเปย โน พระองคย ังไดป ระพันธเพลงที่มีความหมายและไพเราะหลายเพลงดวยกัน เชน เพลง พระราชนพิ นธแ สงเทียน เปนเพลงแรก นอกจากนยี้ งั มเี พลงสายฝน ยามเยน็ ใกลรุง ลมหนาว ย้ิมสู สายลม คา่ํ แลว ไกลกงั วล ความฝน อนั สูงสุด เราสู และเพลงพรปใ หม เปนตน
69 ตลอดรัชสมัยพระองคไดทรงทุมเทกําลัง พระวรกาย และกาํ ลังพระสติปญญา เพ่ือพสกนิกร ของพระองค ดังที่ปรากฏในโครงการอนั เนอ่ื งมาจาก พระราชดําริตาง ๆ ซึ่งเปนพระราชกรณียกิจดาน การพัฒนาเพ่ือบําบัดทุกขบํารุงสุขของประชาชน เพ่ือใหประชาชนของพระองคมีความเกษมสุข โดยเทาเทียมกัน กลาวไดวา นับแตเม่ือพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช เสด็จเถลิง ถวัลยราชสมบัติ พระองคทรงบําเพ็ญพระราช กรณียกิจนานัปการ เพื่อประโยชนสุขของปวงอาณา ประชาราษฎรและความเจริญกาวหนาของชาติ บานเมอื งเปนอเนกประการยังผลใหราษฎร อยูเย็น เปน สขุ ภายใตพ ระบรมโพธสิ มภารตลอดมา พระองค จึงทรงเปน ม่ิงขวญั ศนู ยร วมจติ ใจ และพลังสามัคคีของคนไทยทง้ั ชาติตลอดกาลนิรันดร
70 1.10 สมเดจ็ พระเจาอยหู วั มหาวชริ าลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกรู (รัชกาลท่ี 10) พระราชประวตั ิ สมเด็จพระเจาอยูหัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร พระนามเดิมวา สมเด็จพระเจาลูกยาเธอ เจาฟาวชิราลงกรณ เปนพระราชโอรสพระองคเดียวในพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช (รชั กาลที่ 9) กับสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ เสดจ็ พระราชสมภพ เม่อื วันจนั ทรที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2495 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลา โปรดกระหมอมใหป ระกาศสถาปนาสมเด็จพระเจาลูกยาเธอ เจาฟาวชิราลงกรณ ข้ึนเปน สมเด็จ พระบรมโอรสาธริ าช เจาฟา มหาวชิราลงกรณ สยามมกฎุ ราชกมุ าร เมอ่ื วันท่ี 28 ธันวาคม พ.ศ. 2515 ภายหลงั จากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช (รัชกาลท่ี 9) เสด็จสวรรคต เมอ่ื วนั ท่ี 13 ตุลาคม พ.ศ. 2559 สภานิติบัญญัตแิ หง ชาติรบั ทราบมตคิ ณะรัฐมนตรี กราบบังคมทูล เชญิ สมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราช เจา ฟา มหาวชิราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร เสด็จข้ึนครองสิริราช สมบัตสิ บื ราชสันตตวิ งศเ ปนพระมหากษตั รยิ รชั กาลท่ี 10 เม่ือวันที่ 29 พฤศจกิ ายน พ.ศ. 2559 ตอมาในวันท่ี 1 ธันวาคม พ.ศ. 2559 พลเอกเปรม ติณสูลานนท ผูสําเร็จราชการ แทนพระองค นายพรเพชร ลขิ ิตชลชยั ประธานสภานติ บิ ัญญัตแิ หงชาติ พลเอกประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรี นายวรี ะพล ตัง้ สวุ รรณ ประธานศาลฎกี า เขาเฝาทูลละอองพระบาท กราบบังคมทูลเชิญข้ึน ครองราชยเ ปน พระมหากษตั ริย รชั กาลที่ 10 แหงพระบรมราชจกั รีวงศ โดยสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช
71 เจาฟามหาวิชราลงกรณ สยามมกุฎราชกุมาร ทรงตอบรับข้ึนทรงราชย เฉลิมพระปรมาภิไธยวา “สมเด็จพระเจา อยหู ัวมหาวชิราลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกูร” พระราชกรณียกิจ สมเด็จพระเจาอยูหัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงปฎิบัติพระราช กรณียกิจ เพ่อื แบงเบาพระราชภาระในพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดช (รชั กาลท่ี 9) และสมเดจ็ พระนางเจาสิริกิต์ิพระบรมราชินีนาถ มาตั้งแตครั้งยังทรงพระเยาวเร่ิมตั้งแตการตาม เสดจ็ พระราชดาํ เนนิ ไปยงั ภูมิภาคตา ง ๆ เพื่อทอดพระเนตรความเปนอยูและ ความทุกขยากเดือดรอนของราษฎร ทรงเรียนรูแนวทางการพระราชทาน ความชว ยเหลือราษฎรซ่งึ ประสบปญหา แตกตางกันในแตละพ้ืนที่โดยเฉพาะ การพัฒนาอาชีพ การพัฒนาแหลงนํ้า และการพัฒนาชีวิตความเปนอยูของ ราษฎรผยู ากไรในถ่ินทรุ กันดาร ทําใหทรงเขา พระราชหฤทัยถึงความทกุ ขย ากของราษฎรทกุ หมเู หลา นอกจากนี้ พระองคทรงเอาพระราชหฤทัยใสเก่ียวกับการสงเสริมการศึกษาของ เยาวชนไทยโดยทรงรบั โรงเรียนหลายแหงไวใ นพระราชูปถัมภ เน่อื งจากทรงตระหนักวาการศึกษา จะสามารถพฒั นาเยาวชนซ่ึงเปนกําลังหลักในการพัฒนาประเทศชาติในอนาคต จึงพระราชทาน พระราชดําริดานการสงเสริมการศึกษา ไดแก “โครงการทุนการศึกษาสมเด็จพระเจาอยูหัว มหาวชิราลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกูร” เพ่ือสนบั สนนุ การสงเสริมการศกึ ษาแกเดก็ และเยาวชน ในยามท่ีราษฎรประสบความเดือดรอนเนื่องจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ เชน เม่ือครั้งเกิดมหาอุทกภัยในป พ.ศ. 2554 พระองคไดเสด็จพระราชดําเนินไปทรงเย่ียมพสกนิกร ยังพ้ืนทต่ี า ง ๆ เพอื่ สรางขวญั กาํ ลังใจ และยังไดพ ระราชทานความชวยเหลือแกร าษฎรผูประสบภัย สรา งความปล้มื ปต ิแกผไู ดรับพระมหากรณุ าธคิ ุณเปน อยางย่ิง เปนตน พระราชภาระสําคัญประการหนงึ่ ท่ีทรงปฏิบัติตอเนื่อง คือ การเสด็จแทนพระองค พระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลที่ 9) ไปทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจ ทง้ั ในประเทศและตา งประเทศ โดยการเสดจ็ พระราชดาํ เนนิ แทนพระองคไปทรงเยอื นมติ รประเทศ ทัว่ ทกุ ทวปี นอกจากจะเปน การเจรญิ สัมพันธไมตรีระหวา งประเทศไทยและประเทศตา ง ๆ ใหแ นน แฟน ย่งิ ข้ึนแลว ยงั ไดท อดพระเนตรกจิ การอนั เปน ประโยชนตา ง ๆ อนั จะนํามาใชในการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะดา นการทหาร
72 สาํ หรบั การเสด็จพระราชดาํ เนินแทนพระองคใ นประเทศนนั้ ไดเสด็จพระราชดาํ เนนิ ไปในการพระราชพธิ สี าํ คญั หลายโอกาส อาทิ การเปล่ียนเครือ่ งทรง “พระพทุ ธมหามณรี ตั นปฏมิ ากร” หรือ “พระแกวมรกต” ตามฤดูกาล การบําเพ็ญพระราชกุศล เน่ืองในวันสําคัญทางศาสนา การตรึงหมุดธงชัยเฉลิมพล และพระราชทานธงชัยเฉลิมพล การพระราชทานปริญญาบัตร ในสถาบันการศึกษาตาง ๆ การพระราชทานพระราชวโรกาสใหเอกอัครราชทูตประเทศตาง ๆ เฝาทลู ละอองพระบาทถวายราชสาสน และอกั ษรสาสน ตราต้ัง ทงั้ ยงั พระราชทานพระราชวโรกาส ใหนายทหารและนายตํารวจช้นั นายพล เฝา ทลู ละอองพระบาท ถวายสัตยปฏิญาณในโอกาสเขารับ ตําแหนง การทุมเทพระวรกายปฏิบัติพระราชกรณียกิจนอยใหญ โดยมิทรงวางเวนของ สมเด็จพระเจาอยูหัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร สะทอนถึงพระราชหฤทัยมุงมั่น ในการขจัดทุกขบ าํ รุงสขุ แกพ สกนกิ ร เพ่ือสืบสานพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทร มหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช (รัชกาลที่ 9) และสมเดจ็ พระนางเจาสริ ิกิตพ์ิ ระบรมราชนิ นี าถ ซ่งึ ยังประโยชนส ขุ แกราษฎรทกุ หมูเหลา สบื มา นอกจากนี้ สมเด็จพระเจาอยูหัวมหาวชริ าลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ยังทรง หวงใยและทรงคํานึงถึงความอยูดีมีสุขของประชาชนเปนสําคัญ และพระองคมีพระราชปณิธาน แนว แนทจ่ี ะทาํ ใหประเทศชาติมนั่ คงและประชาชนมชี ีวิตความเปน อยทู ด่ี ขี ้ึน ดว ยมพี ระราชประสงค ท่ีจะสบื สาน รักษา และตอยอดโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริและแนวพระราชดําริตาง ๆ ในการบําบัดทุกขและบํารุงสุขใหประชาชนและพัฒนาประเทศใหเจริญกาวหนาทรงพระกรุณา โปรดเกลา ฯ ใหห นว ยราชการในพระองค รว มกับหนว ยราชการตาง ๆ และประชาชน ทุกหมูเหลาที่มี จิตอาสา บําเพ็ญสาธารณประโยชนในพ้ืนท่ีตาง ๆ เพื่อบรรเทาความเดือดรอน และแกไขปญหา ใหแกป ระชาชน ไมวา จะเปนปญหาน้ําทว มในเขตชุมชน ปญหาการจราจร และอ่ืน ๆ เพ่ือสืบสาน พระราชปณิธานพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลท่ี 9) ที่ทรงหวงใย ปญหาน้ําทวมและปญหาการจราจร ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานครและจังหวัดตาง ๆ ซึ่งพระองค ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหจัดโครงการจิตอาสา “เราทําความดี ดวยหัวใจ” ระหวางวันท่ี 28 กรกฎาคม - 3 สิงหาคม พ.ศ. 2560 ในพื้นที่กรุงเทพมหานครกอน เพื่อเปนแบบอยางในการพัฒนา สภาพแวดลอม และความเปน อยใู นชมุ ชนใหมีสภาพที่ดขี นึ้ โครงการจติ อาสา “เราทาํ ความดี ดวยหัวใจ” โครงการในพระราชดําริ สมเด็จพระเจาอยูหัว ไดปลุกจิตสํานึกในการทําความดี ปลูกฝงใหคนทุกเพศทุกวัย ไดตื่นตัวในการบําเพ็ญตน ใหเปน ประโยชนแกส ังคม ชมุ ชน และประเทศชาติ กิจกรรมทายเร่อื งท่ี 1 พระราชกรณียกจิ ของพระมหากษตั ริยไ ทยสมัยรัตนโกสินทร (ใหผเู รยี นไปทาํ กจิ กรรมทายเรอ่ื งที่ 1 ที่สมดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรียนรูป ระกอบชุดวชิ า)
73 เรื่องท่ี 2 คุณประโยชนข องบคุ คลสําคัญ กรมพระราชวังบวรมหาสุรสงิ หนาท (บญุ มา) กรมพระราชวังบวรมหาสุรสิงหนาท ทรงรวมศึกสงครามขับไลอริราชศัตรูปกปอง พระราชอาณาจักรตลอดพระชนมชพี ของพระองค ซ่ึงพระองคไดเสด็จไปในการพระราชสงคราม ทั้งทางบกและทางเรือในรัชสมัยสมเด็จพระเจากรุงธนบุรี จํานวน 16 คร้ัง ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช จาํ นวน 8 ครัง้ โดยเฉพาะอยางยง่ิ ในการทาํ สงคราม เกาทัพกบั พมา นอกจากพระองคจะทรงอุทิศพระองคเสด็จไปในการศึกสงครามกอบกูเอกราชและ ปองกนั พระราชอาณาจักรตลอดพระชนมชีพแลว ยังทรงเสริมสรางความมั่นคงใหแกบานเมือง เมื่อทรงเห็นวาบานเมืองสงบเรียบรอยเปนปกติสุข ไดทรงอุปถัมภบํารุงการพระศาสนา ศลิ ปะ วรรณกรรม และสถาปตยกรรม ทรงเปน ประธานรวมกบั พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลก สังคายนาพระไตรปฎก ทรงสรางวัดชนะสงคราม (วัดตองปุ) วัดเทวราชกุญชร (วัดสมอแครง) วัดปทุมคงคา (วดั สาํ เพง็ ) วัดสวุ รรณดาราราม เปน ตน ทาวสุรนารวี รี สตรเี มืองนครราชสีมา เหตุการณประวัติศาสตรอันเปนที่มาแหงวีรกรรมของทาวสุรนารี เกิดข้ึนเม่ือ พุทธศักราช 2369 หลังจากพระบาทสมเด็จพระน่ังเกลาเจาอยูหัวเสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ ไดเ พยี ง 2 ป พระราชพงศาวดารกรุงรตั นโกสินทร รัชกาลท่ี 3 ฉบับเจาพระยาทิพากรวงศ บันทึก ความไววา \"เจา อนุเวียงจนั ทนเปน กบฏ..ฝา ยอนุเวียงจนั ทนต ัง้ แตกลับไปถงึ เมอื งแลวกต็ รกึ ตรอง ทีจ่ ะคดิ มาประทุษรา ยตอกรุงเทพมหานครจึงใหมหาอุปราช ราชวงศ สุทธิสารกับทาวเพ้ียขุนนาง ผูใหญมาปรึกษาวาที่กรุงเดี๋ยวน้ีมีแตเจานายเด็ก ๆ ขุนนางผูใหญก็นอยตัวฝมือทัพศึก ก็ออ นแอ ทั้งเจา พระยานครราชสมี ากไ็ มอ ยูห วั เมอื งรายทางกไ็ มม ีทก่ี ีดขวาง การเปนท่ีหนักหนาแลว ไมควรเราจะเปนเมืองขึน้ ชาวองั กฤษก็มารบกวนอยูเราจะยกทัพไปตีเอากรุงก็เหน็ จะไดโ ดยงา ย...\" เจาอนุวงศ หรือเรียกกันเปนสามัญวา เจาอนุตามท่ีกลาวถึงในพระราชพงศาวดารนี้ เปนบตุ รพระเจาบุญสารเสด็จขึ้นครองนครเวียงจนั ทน ตอจากเจาอินทวงศเปนผูมีความสวามิภักด์ิตอ กรุงเทพฯ มาแตรชั กาลพระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หลา นภาลัยและรบั ทาํ ราชการตาง ๆ โดยแข็งขัน สืบมา จนเปนที่สนิทชิดชอบพระราชอัธยาศัยสวนมูลเหตุที่เจาอนุวงศคิดเปนกบฏ จะเขามาตี กรุงเทพฯ กลา ววา เนือ่ งจากทลู ขอครวั ชาวเวยี งจนั ทน ท่ีถูกกวาดตอนมาแตครั้งกรงุ ธนบรุ ีเพือ่ จะนํา กลับไปบา นเมืองแตพ ระบาทสมเดจ็ พระนัง่ เกลาเจา อยูหัวไมพระราชทานใหตามประสงคดวยทรง
74 พระราชดําริวา ครัวชาวเวียงจันทนเ หลา น้ีไดต้งั ภูมิลาํ เนาอยเู ปน หลกั แหลงมนั่ คงแลว ซ่ึงเปน เหตุให เจา อนวุ งศมคี วามอปั ยศ จึงเปน กบฏจะยกทัพเขามาตกี รุงเทพมหานคร การเตรียมกําลังเขามาตีกรุงเทพฯ ครั้งน้ันเจาอนุวงศไดไปเกลี้ยกลอมบรรดา หวั เมืองตาง ๆ ใหเขารวมดวยเจาเมืองใดขัดขืนก็ฆาเสีย มีเจาเมืองกาฬสินธุ เปนตน ราษฎรและ เจาเมอื งอ่นื ๆ พากันกลวั อาํ นาจยอมเขาดวยหลายเมือง เม่ือเห็นวามีกําลังมากพอก็ใหยกกองทัพ ไปพรอ มกันที่เมอื งนครราชสีมา การท่ีกองทัพของเจาอนุวงศยกผานเมืองตาง ๆ ไปโดยสะดวกก็โดยใชอุบายลวง เจา เมอื งกรมการรายทางวา มศี ภุ อกั ษรจากกรุงเทพฯ โปรดใหเกณฑกองทัพมาชวยรบกับอังกฤษ เจาเมืองกรมการเมอื งหลงกลและพากันเช่ือฟงจัดหาเสบียงอาหารใหและไมมีใครขัดขวางยอมให ผานไปแตโดยดีทุกเมอื ง เม่ือเจาอนุวงศยกกองทัพมาตั้งอยูที่เมืองนครราชสีมานั้นเปนเวลาท่ีเจาพระยา นครราชสีมาไมอยู ไปราชการท่ีเมอื งขุขันธค งมีแตก รมการผูนอ ยรักษาเมืองอยู เชน พระยาพรหม ยกรบัตร เปนตนเจาอนุวงศไดสั่งใหพระยาพรหมยกรบัตรเตรียมกวาดครอบครัวขึ้นไปเมือง เวียงจันทนใหเสร็จภายในเวลา 4 วัน พระยาพรหมยกรบัตรกลัวอํานาจก็จําตองยอมทําตามและ แกลงจดั หาหญิงรูปงามใหเ จา อนวุ งศเพ่ือลวงใหต ายใจ ฝายพระยาปลัดซ่ึงไปราชการกับเจาเมอื งนครราชสีมาเมื่อทราบขาววาเจาอนุวงศ ลงมากวาดตอนครัวเมืองนครราชสีมาไปเปนจํานวนมาก จึงขออนุญาตเจาพระยานครราชสีมา กลับมาชว ยครอบครวั และชาวเมืองไดเขา เฝา เจา อนุวงศ โดยลวงเจาอนุวงศวา เจาเมืองนครราชสีมา หนีไปเสียแลวเจาอนุวงศหลงเช่ือ ก็มอบใหพระยาปลัด และพระยาพรหมยกรบัตรควบคุมครัว เมอื งนครราชสีมา ออกเดินทางไปเมืองเวยี งจนั ทน เหตุการณที่ครอบครัวชาวเมืองนครราชสีมา รวมกําลังกันตอสูครั้งนี้เอง ท่ีไดเกิด วีรสตรคี นสาํ คญั ขึน้ ในประวตั ิศาสตรของชาตไิ ทยน่นั คอื ทานผูห ญงิ โม ภริยาพระยาปลดั ไดค วบคุม กําลังฝายผูหญิงหนุนชวยสูรบอยางองอาจกลาหาญ โดยคบคิดวางแผนกับผูนําฝายชาย และ กรมการเมอื งจัดหาหญิงสาวใหน ายทัพนายกอง ทีค่ วบคมุ ครอบครวั ไปจนถึงช้ันไพรจนพวกลาวกับ ครอบครัวชาวเมืองสนทิ เปนอันดี แลว ออกอุบายแจงวาครอบครวั ทีอ่ พยพไปไดร ับความยากลําบาก อดอยาก ขอมดี ขวาน ปน พอจะไดย งิ เนือ้ มากินเปนเสบยี งเลย้ี งครอบครัวไปตามทาง เม่ือเดินทางถึงทุงสัมฤทธ์ิก็พรอมใจกันเขาสูทัพลาว ดวยอาวุธอันมีอยูนอยนิด บางกต็ ัดไมตะบองเสย้ี มเปนหลาว สามารถฆาฟน ศัตรลู มตายเปน จํานวนมาก หลังจากชัยชนะของ ชาวครอบครวั เมืองนครราชสมี าครัง้ น้ี ทําใหเ จา อนวุ งศหวาดหว่นั ไมกลาที่จะยกทัพลงมายังกรุงเทพฯ พากนั ถอยทพั กลบั ไป และถกู ปราบจบั ตัวมาลงโทษที่กรงุ เทพฯ ในที่สุด
75 จากวรี กรรมของคุณหญิงโมทีไ่ ดรวบรวมครอบครัวชายหญิงชาวเมืองนครราชสีมา เขาตอสูขาศึกศัตรูจนแตกพายไปครั้งน้ัน เปนเหตุใหเจาอนุวงศไมยกทัพไปตีกรุงเทพ ฯ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัวไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ พระราชทานบําเหน็จ ความชอบแตง ตั้งข้ึนเปนทา วสรุ นารี สมเด็จเจาพระยาบรมมหาศรสี รุ ยิ วงศ (ชว ง บญุ นาค) สมเด็จเจาพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ เปนบุคคลท่ีมีบทบาทเดนท่ีสุดทานหนึ่งใน ประวตั ศิ าสตรการเมอื งการปกครองของไทย ช่อื เสยี งและความสามารถของทา นเรม่ิ ปรากฏขน้ึ ตั้งแต ในรชั กาลที่ 3 เปน ตน มา นอกจากน้พี ระองคไ ดร บั การแตงตั้งเปน ผูส าํ เรจ็ ราชการแผน ดนิ ในระหวา งทร่ี ชั กาลท่ี 5 ยังไมทรงบรรลนุ ิติภาวะ จากการท่ีพระองคศึกษาภาษาอังกฤษทําใหเปนผูท่ีมีความคิดทันสมัย กา วหนากวา คนอ่นื ๆ ในสมัยนั้น พระองคไดนําความเจริญของตะวนั ตกทั้งทางดานศิลปวิทยาการ และเทคโนโลยีสมัยใหมมาใช ทางดานศาสนา พระองคไ ดท ํานุบํารุงพทุ ธศาสนาโดยการสรางและปฏสิ ังขรณว ดั วา อารามตา ง ๆ เปนจาํ นวนมากทัง้ ในพระนครและหัวเมอื ง ทางดานวรรณกรรม การละคร และดนตรี พระองคไดสงเสริมใหมีการแปล พงศาวดารจนี เปนภาษาไทย ทางดา นสถาปตยกรรมและการกอสราง พระองคไดรบั มอบหมายงาน ดานนี้มาตั้งแตสมัยรัชกาลท่ี 3 ใหทําการทํานุบํารุงบานเมืองใหมั่นคงและเจริญรุงเรือง ไดแก การสรางถนน ขุดคคู ลอง การสรางปอมปราการ สมเดจ็ พระเจา บรมวงศเ ธอ กรมพระยาดาํ รงราชานภุ าพ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ทรงเปนพระราชโอรส องคที่ 57 ในพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา เจา อยูหัว เจา จอมมารดาชุม ธดิ าพระอพั ภันตริกามาตย (ดิศ) ตน สกลุ “โรจนดิศ” เปน เจาจอมมารดา ประสูตใิ นพระบรมมหาราชวัง เมอื่ วนั ท่ี 21 มิถุนายน พ.ศ. 2405 ทรงประกอบพระกรณียกจิ ดานตาง ๆ ซึ่งลว นแตเ ปนงานใหญ และงานสาํ คัญอยางยิ่ง ของบา นเมือง ทรงเปนกาํ ลังสาํ คญั ในการบรหิ ารประเทศหลายดาน และทรงเปนท่ีไววางพระราช หฤทยั ในพระบาทสมเด็จพระจลุ จอมเกลา เจา อยูหัว เปนอยางสูง ผลงานดานตาง ๆ ของพระองค แสดงใหเหน็ ถึงพระอัจฉรยิ ภาพอันสูง เปนที่ประจักษแกมหาชนทุกยุคทุกสมัย พระราชกรณียกิจ ดา นตา ง ๆ ของพระองค มดี ังน้ี
76 1. ดานการศกึ ษา ถึงแมวาพระองคจะทรงปฏิบัติหนาที่ทางการศึกษา อยูในชวงระยะเวลาส้ันเพียง ประมาณ 3 ป (พ.ศ. 2333 - 2335) แตพระองค ทรงมีพระดําริริเริ่มเปนเย่ียมในพระกรณียกิจ ดา นนี้ ไดแก 1) ทรงเร่ิมงานจัดการศึกษาเปนคร้ังแรก เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา เจาอยูหัวโปรดเกลาฯ ใหเปลี่ยนสภาพ “โรงเรียนทหารมหาดเล็ก” ซ่ึงเปนโรงเรียนฝกสอนวิชา ทหารใหแกน ายรอย นายสิบ ในกรมทหารมหาดเลก็ มาเปน โรงเรียนสําหรับพลเรือน มีช่ือเรียกวา “โรงเรียนพระตาํ หนักสวนกุหลาบ” และพระองคทรงดํารงตาํ แหนง ผูจัดการโรงเรยี น 2) ในขณะที่ทรงดํารงตาํ แหนงอธบิ ดีกรมธรรมการ ไดท รงจัดวางระเบยี บการบรหิ าร ราชการของกรมและโรงเรียน กลา วคือ ทรงวางระเบยี บ ขอบงั คับตาํ แหนงหนาที่เสมียน พนักงาน ในการเขา รบั ราชการ การเล่ือนตาํ แหนง ลาออก ลงโทษ ตลอดจนทรงกําหนดใหมีการตรวจสอบ และรายงานผลตรวจโรงเรียนท้งั ในกรงุ และหัวเมืองของพนักงานดว ย 3) ทรงขยายการศึกษาโดยอาศัย “วัด” ซึ่งเปนสถานที่ถายทอดวิชาความรู และ อบรมศีลธรรมใหแกราษฎรมาแตโ บราณ และ “วดั มหรรณพาราม” เปนโรงเรียนหลวงแหงแรกท่ี ทรงจัดต้ังขึ้น ซ่ึงการศึกษาลักษณะน้ีไดขยายออกไปอยางกวางขวางทั่วกรุงเทพฯ ในเวลาตอมา และเมอ่ื ทรงปรับปรุงหลักสูตรและวิธีการสอน ตลอดจนจัดพิมพตําราเรียนเรียบรอยแลว ไดทรง ขยายการศกึ ษาออกไปสรู าษฎรตามหวั เมอื งตา ง ๆ โดยทรงจดั ตั้งโรงเรียนหลวงข้ึนทั่วประเทศ เม่ือป พ.ศ. 2435 4) ทรงรเิ รม่ิ จัดใหม ีการตรวจสอบตําราเรียนและออกประกาศรับรอง ท้ังน้ี เพ่ือให นักเรียนมีความรู และความสามารถอยางเหมาะสม และทรงกําหนดใหมีการปรับปรุงหลักสูตร ตําราเรียนข้ึนใหม คอื ตาํ ราแบบเรยี นเรว็ 5) ทรงจดั ตง้ั “โรงเรียนฝกหัดขา ราชการพลเรือน” เมื่อ พ.ศ. 2442 ในขณะท่ีทรง ดํารงตําแหนงเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย ซ่ึงตอมา ใน พ.ศ. 2453 พระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกลา เจา อยหู วั ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหเ ปลย่ี นชอื่ เปน “โรงเรียนมหาดเล็ก” และ เปลี่ยนเปน “จฬุ าลงกรณม หาวิทยาลยั ” ในเวลาตอมา 6) ทรงปรับปรุงและแกไขขอบกพรองตาง ๆ ของหอพระสมุดวชิรญาณ ซ่ึงเปน หอสมุดแหงเดียวในพระนคร เชน ทรงกําหนดใหมีการแตงตั้งคณะกรรมการดําเนินงาน จัดงบประมาณสําหรับซอ้ื หนังสือ กําหนดระเบียบวิธกี ารยืม และการเปนสมาชิก เปนตน
77 2. ดา นมหาดไทย เปนกิจการสาํ คญั ยงิ่ ในการบริหารประเทศ พระองคทรงมีบทบาทสําคัญยิ่งในการ กอตั้งและปฏิรูปการจัดระเบียบการปกครอง ภายในประเทศ และการบริหารราชการของ กระทรวงมหาดไทย ไดแ ก 1) ทรงจัดการบังคับบัญชางานภายในกระทรวง ใหมีรูปแบบเปนระบบราชการ ชัดเจนขนึ้ มลี ําดับข้นั การบังคับบญั ชา มกี ารแบง งานและเลอื กสรร ผมู คี วามรูค วามสามารถเขารับ ราชการ โดยการจัดสอบคดั เลือก ตลอดจนออกระเบียบวินัยตา ง ๆ เชน เลกิ ประเพณใี หข าราชการ ทํางานอยูที่บาน กําหนดใหมีการประชุมขาราชการทุกวัน กําหนดเวลาการทํางาน ตลอดจนจัด ระเบียบสง ราง เขยี น และเกบ็ หนังสอื ราชการ เปน ตน 2) ทรงจัดระบบการปกครองสวนภูมิภาค ซ่ึงเรียกวา “ระบบเทศาภิบาล” ไดเปน ผลสําเร็จ และนับวาเปนผลงานสําคัญท่ีสุดของพระองค โดยทรงรวมหัวเมืองตาง ๆ จัดเขาเปน “มณฑล” และมี “ขาหลวงเทศาภิบาล” เปนผูบังคับบัญชา อยูในอํานาจของเสนาบดี กระทรวงมหาดไทยอกี ชนั้ หนึง่ สาํ หรบั การแบง เขตยอยลงไปเปนจังหวัด อําเภอ ตําบล และหมูบาน นั้น ใน พ.ศ. 2440 ไดอ อก “พระราชบญั ญัติลกั ษณะการปกครองทองท”่ี บงั คับใชทั่วพระราชอาณาจักร พระราชกรณียกิจดานการปกครองสวนทองถิ่นท่ีสําคัญอีกประการหน่ึง คือ ทรงริเร่ิมจัดตัง้ “การสขุ าภบิ าลหัวเมือง” ในป พ.ศ. 2448 โดยเร่มิ ที่ ตาํ บลทาฉลอม จังหวัดสมุทรสาคร เปนแหงแรก และนับเปน การปูพืน้ ฐานการปกครองสวนทองถ่ินดังน้ัน พระกรณียกิจดานมหาดไทย ทุกประการ จงึ ลวนแตเปนคุณประโยชนแ กประเทศชาตแิ ละประชาชนยงั่ ยนื มาจนถงึ ปจ จุบนั นอกจากพระราชกรณียกิจดา นการศกึ ษาและดานมหาดไทยแลว พระองคยงั ทรงรบั พระราชภาระจัดการและมสี ว นรวมในการปรบั ปรงุ กิจการดานอ่นื ๆ อกี หลายดาน ไดแ ก ดานการ ปาไม ซึ่งทรงริเริ่มกอต้ังกรมปาไมข้ึน เพ่ือใหหนวยงานของรัฐไดเขาไปควบคุมดูแลกิจการปาไม โดยตรง และทรงริเริ่ม ใหดําเนินการออกพระราชบัญญัติ กฎกระทรวง และกฎขอบังคับตาง ๆ เพอื่ เปนผลประโยชนข องกรมปา ไมเ ปนหลักสําคัญ และเปนรากฐานในการ ปฏบิ ตั งิ านของกรมปา ไม มาจนถึงปจ จุบนั ทรงริเร่มิ การออกโฉนดทด่ี ิน 3. ดานสาธารณสขุ ทรงรบั ภาระในการจดั การโรงเรียนแพทยตอจาก พระเจานองยาเธอ พระองคเจา ศรีเสาวภางค ทรงมีพระดําริริเร่ิมใหมีโอสถศาลา สําหรับรับหนาที่ผลิตยาแจกจายใหราษฎรใน ตาํ บลหา งไกล ซง่ึ ปจ จุบัน คอื สถานอี นามยั และทรงจัดตง้ั ปาสตุรสภา สถานทีป่ อ งกันโรคพิษสุนัขบา ซ่ึงในปจจุบันโอนไปอยูในสังกัดของสถานเสาวภา สภากาชาดไทย นอกจากน้ีพระองคยังทรงรับ
78 พระภารกิจดานงานสรรพากร และงานอุตสาหกรรมโลหกิจ ซ่ึงเปนแนวทางพัฒนางานมาจนถึง ปจ จุบนั ดว ย 4. ดา นศลิ ปวฒั นธรรม ทรงริเริ่มและวางรากฐานการดําเนินงานของกิจการพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ หอสมุดแหงชาติ และพระองคทา นก็ทรง อทุ ิศเวลา ทรงพระนิพนธหนงั สือ ตาํ ราตาง ๆ ดานประวัติศาสตร และโบราณคดี อนั เปนมรดกทางปญญาของชาวโลกมาจนกระทั่งทุกวนั นี้ จนไดร บั การยกยอ งวา เปน บิดาทางโบราณคดีและประวตั ศิ าสตรไทย พลเรือเอกพระเจา บรมวงศเธอ กรมหลวงชมุ พรเขตอดุ มศักดิ์ พลเรือเอกพระเจา บรมวงศเธอ กรมหลวงชมุ พรเขตอดุ มศกั ด์ิ พระบดิ าแหงราชนาวไี ทย ถงึ แมว าเสด็จในกรมฯ จะทรงแกไข ปรับปรุง ระเบียบการศึกษาใหมีความกาวหนา แตสถานท่ตี ้ัง โรงเรยี นนายเรอื นั้นไมมที ตี่ ง้ั เปนหลักแหลงทม่ี น่ั คง ตอ งโยกยายสถานท่ีเรยี นบอ ย ๆ ซึ่งเปนเหตุผล ประการหนึ่งที่ทําใหผลการเรียนของนักเรียนนายเรือไมดีเทาที่ควร เสด็จในกรมฯ ทรงพยายาม ทกุ วถิ ที างทจ่ี ะปรบั ปรงุ กจิ การดา นน้ใี หก าวหนา จงึ ไดนําความขึ้นกราบบังคมทูล พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลา เจาอยูหัว ขอพระราชทานที่ดินเพ่ือตั้งเปนโรงเรียนนายเรือ ซ่ึงไดทรงพระกรุณา โปรดเกลาฯ พระราชทานทด่ี นิ บรเิ วณพระราชวงั เดิม ฝงธนบุรี และไดดดั แปลงเปน โรงเรียนนายเรอื เมือ่ ป พ.ศ. 2448 พระอัจฉริยะดา นการดนตรี พระองคทรงมีอจั ฉรยิ ะทางดา นการดนตรี ทรงพระราช นพิ นธเพลงไวห ลายเพลง ไดแก เพลงดอกประดู (เพลงสัญลักษณของกองทัพเรือ) เพลงเดินหนา เพลงดาบของชาติ ซ่งึ ทรงนพิ นธไ วเ ปน โคลงส่ีสภุ าพ และเพลงสรรเสริญพระบารมี สํานวนขับรอง ของทหารเรือนอกจากนีพ้ ระองคยังศึกษาวิชาแพทยแ ผนโบราณรบั รกั ษาบคุ คลทั่วไปโดยทรงเลา เรียน กับพระยาพิษณุฯ หัวหนาหมอหลวงแหงพระราชสํานัก โดยพระองคจะไมทรงยินยอมรักษาใคร จนกวา จะไดร ับการทดลองแมน ยําแลววา เปนยาทร่ี กั ษาโรคชนดิ พ้ืน ๆ ใหหายขาดไดเสียกอนท่ีจะ รักษาผปู ว ย ทรงตั้งฐานทัพเรือท่ีสัตหีบ ดวยพระองคทรงมีความเห็นทางดานยุทธศาสตรวา สมควรใชพื้นที่บริเวณตําบลสัตหีบสรางเปนท่ีมั่นสําหรับกิจการทหารเรือข้ึนตามชายฝงและ เกาะตาง ๆ ในอาวสัตหีบ เพราะทําเลเหมาะแกการสรางเปนฐานทัพเรือตามพระราชประสงค ดังน้นั พระองคจ งึ ทูลเกลาฯ ขอพระราชทานทด่ี ินที่สตั หีบเพอื่ เปนกรรมสทิ ธแิ์ กกองทพั เรอื ในดา นการปอ งกันฐานทัพ ทรงใหความเห็นวา ควรสรางปอมปนใหญขนาดต้ังแต 16 นว้ิ ลงมาจนถึง 4.7 นวิ้ และปน ยงิ เคร่ืองบินดว ย ไวบนยอดเกาะตา ง ๆ ในอา วสตั หีบ
79 ศาสตราจารยพระยาอนุมานราชธนราชบัณฑิต พระยาอนุมานราชธน เปนบุคคลผูใฝหาความรูมาต้ังแตเด็ก ชอบสะสมหนังสือ อานหนังสอื ศึกษาในชั้นตนที่โรงเรียนบานพระยานานาพิพิธภาษี (โต บุนนาค) ตอมาเขาเรียนท่ี โรงเรยี นอัสสมั ชัญ จบถึงชน้ั มธั ยมปที่ 4 เริ่มแรกทํางานที่โอสถศาลารฐั บาล และโรงแรมโอเรียลเต็ล ตามลาํ ดับ และไดเขารับราชการในกรมศุลกากร ตาํ แหนง เสมียนพนักงาน ดว ยความขยันในหนาที่ การงาน ทา นจงึ ไดร ับเล่อื นตาํ แหนง ตามลาํ ดับพรอ มกบั รับพระราชทานบรรดาศักด์ิเปน ขุน หลวง พระ พระยา โดยเปนพระยาอนุมานราชธน ตําแหนง ผชู ว ยอธบิ ดกี รมศุลกากร ตอมาหลวงวิจิตรวาทการ ซ่ึงขณะนั้นดํารงตําแหนงอธิบดีคนแรกของกรมศิลปากร ไดชักชวนใหท า นเขา รบั ราชการในกรมศลิ ปากรในตําแหนง หัวหนากองศิลปวิทยา จนในท่ีสุดเปน อธิบดีกรมศิลปากร ชวงที่ทานดํารงตําแหนงอธิบดีกรมศิลปากร ไดรับแตงต้ังเปนราชบัณฑิต หลังเกษียณอายุราชการทานไดด ํารงตําแหนงผูรกั ษาการตําแหนง นายกราชบัณฑิตยสถาน โดยเปน ประธานกรรมการชําระปทานกุ รม ประธานกรรมการทาํ อกั ขรานุกรมภมู ศิ าสตรไ ทย ประธานกรรมการ บัญญัติศัพทภาษาตางประเทศเปนภาษาไทย และประธานคณะบรรณาธิการคําสารานุกรมไทย เปน ตน ผลงานของพระยาอนุมานราชธน ทานเปน บคุ คลท่ไี ดร บั การยกยอ งวา เปน นกั ปราชญ เปนบุคคลท่ีแสวงหาความรู จึงเปนบุคคลผูรอบรูในหลายสาขาวิชา เปนที่รูจักของชาวไทยและ ตางประเทศ มดี งั นี้ 1. งานดา นประวตั ศิ าสตร ไดแ ก งานแปลเร่อื ง อารยธรรมยุคดึกดาํ บรรพ บันทึก ความรตู า ง ๆ ทเ่ี ปนจดหมายโตต อบระหวางพระยาอนุมานราชธนกบั สมเดจ็ เจาฟา กรมพระยา นรศิ รานวุ ตั ตวิ งษ 2. งานดานภาษาศาสตร ทานเปน นกั นิรกุ ตศิ าสตร เขยี นตํารานริ กุ ติศาสตรเผยแพร ทั้งภาษาไทยและภาษาตา งประเทศ และเปนตําราเรยี น 3. งานดา นมานษุ ยวทิ ยา ทานไดเขยี นตําราเรื่อง วัฒนธรรม ฟนความหลังชวี ิตชาวไทย สมัยกอนและการศึกษาเร่ืองประเพณีไทย ประกอบดวยประเพณีเกี่ยวกับชีวิต เกิด - ตาย ปลกู เรือน การแตงงาน ประเพณเี กี่ยวกบั เทศกาลตรษุ - สารท เปน ตน ทานเปน ผูวางรากฐานการศกึ ษาความรูทางดานคติชนวิทยา ซ่ึงไดรวบรวมงาน เกี่ยวกับนิทานพน้ื บาน การละเลน ความเช่อื และประเพณี โดยแปลนิทานของตา งประเทศ วิจารณ นิทานไทย ซึ่งผลงานของทานตีพิมพโดยใชนามปากกา “เสฐียรโกเศศ” รวมกับนาคะประทีป ผลงานบางเรือ่ งทีท่ า นแตง เอง ไดแ ก หโิ ตปเทศ ทศมนตรี นิยายเบงคลี กถาสริตสาคร ทิวาราตรี พันหน่งึ ทวิ า นิทานอิหรายราชธรรม สบิ สองเรื่อง ฯลฯ
80 4. ทางดานภาษาและวรรณคดี ทา นไดเขยี นสารานกุ รมพรอมคําอธบิ าย และไดจัดทํา พจนานกุ รมฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493 เพ่อื ใชอ า งอิงในภาษาไทยไดอยางถูกตอง ทานเปน ผูร เิ รมิ่ การเรียนวรรณคดี โดยพิจารณาถงึ วรรณศลิ ปและบญั ญตั ิศัพทวรรณคดีในภาษาไทย ผลงานทางดา นวชิ าการของทา นมมี ากมาย ซงึ่ ไดร ับการสรรเสริญทงั้ ภายในประเทศ และตา งประเทศ พรอ มยกยอ งใหทา นเปนปราชญข องประเทศไทย กจิ กรรมทา ยเร่ืองท่ี 2 คุณประโยชนข องบุคคลสาํ คญั (ใหผเู รียนไปทํากิจกรรมทา ยเร่อื งที่ 2 ท่ีสมดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรียนรูประกอบชุดวชิ า)
81 หนวยการเรยี นรูท ี่ 4 มรดกไทยสมัยรัตนโกสนิ ทร สาระสาํ คญั ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี ที่ไดรบั การสืบสานมายาวนานของไทย ตั้งแตอดีตจวบจนปจจุบันไดถูกส่ังสมและมีคุณคาจนกลายเปนมรดกไทย ซึ่งศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนยี ม ประเพณีอันโดดเดนเหลานี้ลวนเปนเอกลักษณท่ีบงบอกความเปนชาติไทยอยาง ชัดเจน หากแตวาการไดรับอิทธิพลทางวัฒนธรรมตางชาติ มีผลทําใหมรดกไทย ตลอดจน วิถีการดําเนินชีวติ คานยิ มและระบบประเพณตี าง ๆ ไดถกู แปรเปลย่ี นตามกาลเวลา ตวั ชว้ี ัด 1. อธิบายความหมายและความสาํ คัญของมรดกไทย 2. ยกตวั อยางมรดกไทยสมัยรตั นโกสนิ ทรไ ดอยา งนอ ย 3 เร่ือง 3. วิเคราะหม รดกไทยสมยั รัตนโกสนิ ทรท ่มี ผี ลตอ การพัฒนาชาติไทย 4. อธบิ ายความหมายความสาํ คัญของการอนรุ กั ษมรดกไทย 5. ยกตัวอยางการมสี ว นรวมในการอนรุ ักษม รดกไทย ขอบขา ยเนอ้ื หา เรอ่ื งท่ี 1 ความหมายและความสําคญั ของมรดกไทย เร่ืองที่ 2 มรดกไทยสมัยรัตนโกสนิ ทร 2.1 ดานสถาปต ยกรรม 2.2 ดา นประติมากรรม 2.3 ดานจิตรกรรม 2.4 ดานวรรณกรรม 2.5 ดานดนตรี และนาฏศิลป 2.6 ดานประเพณี 2.7 ดานการแตงกายและอาหาร 2.8 ตัวอยางการมสี ว นรวมการอนุรกั ษมรดกไทยสมยั รตั นโกสนิ ทร
82 เร่ืองท่ี 3 มรดกไทยทม่ี ีผลตอ การพัฒนาชาติไทย เรื่องท่ี 4 การอนรุ กั ษมรดกไทย เรอื่ งที่ 5 การมีสว นรวมในการอนรุ กั ษมรดกไทย สือ่ การเรยี นรู 1. ชดุ ประวัตศิ าสตรช าตไิ ทย รหสั รายวชิ า สค32034 2. สมดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรยี นรปู ระกอบชุดวชิ า เวลาทใี่ ชใ นการศกึ ษา 24 ชั่วโมง
83 เรอ่ื งที่ 1 ความหมายและความสาํ คญั ของมรดกไทย คณะกรรมการอํานวยการวันอนุรักษมรดกไทย ใหความหมายคําวา มรดกไทย หมายถึง มรดกทางวัฒนธรรมท่ีแสดงออกถึงสัญลักษณของความเปนชาติ ซ่ึงไดแก โบราณวัตถุ ศิลปวตั ถุ โบราณสถาน วรรณกรรม ศลิ ปหตั ถกรรม นาฏศลิ ป และดนตรี ตลอดจนถึงการดําเนินชีวิต และคณุ คา ประเพณตี า ง ๆ อันเปน ผลผลิตรว มกนั ของผูค นในผนื แผน ดนิ ในชว งระยะเวลาท่ีผานมา มรดกไทย สามารถแบง ได 7 ประเภท ดงั น้ี 1. โบราณวตั ถแุ ละศลิ ปวตั ถสุ มยั ตาง ๆ หมายถงึ ส่งิ ของ หรอื รองรอยของความเจริญ ในอดีตท่ีผานมา ซ่ึงมีคุณคาตอคนรุนหลัง เชน ศิลปะทวารวดี ลพบุรี สโุ ขทัย อยุธยา และศิลป รัตนโกสินทรโบราณวัตถุสวนมากเปนลวดลายปูนปนและลวดลายดินเผา เศียรพระพุทธรูป เครื่องสงั คโลก ปูนปน รปู ยักษเ ทวดา 2. ศิลปวัตถุ เปนผลงานสรางสรรคทางทัศนศิลปที่ประกอบดวย ผลงานศิลปะ ลกั ษณะตา ง ๆ เชน ภาพเขยี น รปู ปน เครือ่ งลายคราม เครอ่ื งถม เครื่องทอง และส่ิงท่ีทําดวยฝมือ อยางประณีต มคี ุณคา สูงสงในทางศลิ ปะ เปนตน 3. โบราณสถาน เปนหลักฐานเก่ียวกับประวัติของสถานทนี่ ั้น อันเปนประโยชน ในทางศลิ ปะ ประวตั ิศาสตร หรือโบราณคดี รวมถงึ สถานทท่ี ี่เปน แหลง โบราณคดี แหลง ประวัตศิ าสตร และอุทยานประวัติศาสตรดวย โบราณสถานโดยทั่วไป หมายถึง อาคารหรือสิ่งกอสรางท่ีมนุษย สรา งข้นึ ที่มคี วามเกาแก มปี ระวตั ิความเปนมาที่เปน ประโยชนทางดา นศลิ ปะ ประวัติศาสตร หรือ โบราณคดี และยังรวมถึงสถานที่หรือเนินดินที่มีความสําคัญทางประวัติศาสตร หรือมีรองรอย ทเี่ ปนกิจกรรมของมนุษยปรากฏอยู 4. วรรณกรรม หมายถงึ วรรณคดหี รือศลิ ปะ ทเี่ ปน ผลงานอันเกิดจากการคิด และ จินตนาการ แลวเรียบเรียง นํามาบอกเลา บันทึกขับรอง หรือสื่อออกมาดวยวิธีตาง ๆ โดยทั่วไป แลวจะแบงวรรณกรรมเปน 2 ประเภท คือ วรรณกรรมลายลักษณ คือ วรรณกรรมที่บันทึกเปน ตัวหนังสือ และวรรณกรรมมุขปาฐะ อันไดแก วรรณกรรมท่ีเลาดวยปาก ไมไดจดบันทึก ดวยเหตุนี้ วรรณกรรมจึงมีความหมายครอบคลุมกวา งถึงประวตั ิ นทิ าน ตํานาน เร่ืองเลา ขาํ ขนั เรื่องสน้ั นวนิยาย บทเพลง คาํ คม เปนตน 5. ศิลปหตั ถกรรม จาํ แนกเปน ประเภทตา ง ๆ ไดหลายลกั ษณะ เชน การจัดประเภท ของงานศิลปหตั ถกรรมไทยตามประโยชนใชสอย เชน ที่อยูอาศัย เคร่ืองมือประกอบอาชีพ อาวุธ เครอื่ งใชตา ง ๆ เคร่อื งนุงหม ยานพาหนะ และวัตถุท่ีเกี่ยวเนื่องกับความเช่ือ การจัดประเภทของ งานศลิ ปหตั ถกรรมไทยตามวัสดแุ ละกรรมวิธีการผลติ เชน การปน และหลอ การทอและเย็บปกถักรอ ย การแกะสลัก การกอสรา ง การเขยี นหรือการวาด การจกั สาน การทาํ เครอ่ื งกระดาษ และกรรมวธิ อี นื่ ๆ การจัดประเภทของงานศิลปหตั ถกรรมไทยตามสถานภาพของชา ง เชน ศิลปหตั ถกรรมฝม อื ชางหลวง ศลิ ปหัตถกรรมฝมอื ชาวบา น
84 6. นาฏศิลปและดนตรี “นาฏศิลป” หมายถึง ศิลปะการฟอนรํา หรือความรูแบบแผนของการฟอนรํา เปน สงิ่ ทีม่ นษุ ยประดษิ ฐด วยความประณีต งดงาม ใหความบันเทิง โนมนาวอารมณและความรูสึก ของผูชมใหคลอยตาม ศิลปะประเภทน้ีตองอาศัยการบรรเลงดนตรี และการขับรองเขารวมดวย เพือ่ สง เสรมิ ใหเกดิ คณุ คา ยิง่ ขึ้น “ดนตรีไทย” สันนิษฐานวาไดแบบอยางมาจากอินเดียเน่ืองจากอินเดียเปน แหลง อารยธรรมโบราณทส่ี าํ คญั แหงหน่ึงของโลก อารยธรรมตาง ๆ ของอินเดียไดเขามามีอิทธิพล ตอประเทศตา ง ๆ ในแถบเอเชียอยางมาก ท้ังในดานศาสนา ประเพณี ความเชอ่ื ตลอดจนศิลปะ แขนงตาง ๆ โดยเฉพาะทางดา นดนตรี และยังถอื เปนมรดกอันลํา้ คาของชาติไทยอีกดวย 7. ประเพณตี าง ๆ ประเพณไี ทยแบงออกไดเปน 2 ลกั ษณะ คอื 1) ประเพณีสวนบุคล ไดแก ประเพณีเกี่ยวกับการแตงงาน ประเพณีการเกิด ประเพณกี ารตาย ประเพณีการบวช ประเพณีการข้ึนบานใหม ประเพณีทาํ บญุ อายุ เปนตน 2) ประเพณีสวนรวม ไดแ ก ประเพณที างศาสนาตา ง ๆ เชน ประเพณีการทาํ บญุ เขา พรรษา ออกพรรษา ประเพณีตรุษ สารท ลอยกระทงประเพณเี ทศกาลสงกรานต และประเพณี วันสําคัญทางพระพุทธศาสนา เปนตน ความสําคญั ของมรดกไทย มรดกไทยเปนส่ิงท่ีบุคคลในชาติควรใหความสําคัญและหวงแหน เพราะเปนสิ่งที่ บงบอกความเปนเอกลักษณของชนชาติไทย ซึ่งแสดงใหเห็นความเจริญรุงเรืองของประเทศไทย ต้ังแตอ ดตี ทผี่ านมาจวบจนปจ จบุ ัน มรดกไทยจงึ มีความสาํ คญั ในดา นตา ง ๆ ดังน้ี 1) แสดงใหเหน็ ถึงประวตั ิศาสตรค วามเปนมาของชนชาตขิ องเผาพนั ธทุ อ งถ่นิ 2) แสดงถงึ เกยี รติและความภาคภูมิใจของคนในทอ งถ่ินและของคนในชาติ ทําให เกิดความรกั หวงแหน เห็นคุณคา 3) กอ ใหเ กิดความรูสกึ ความสามัคคี เปนอนั หนง่ึ อนั เดยี วกันในชาติ เปนความมนั่ คง ของชาติ 4) เปนหลักฐานท่ีเปนประโยชนตอการศึกษา คนควา วิจัย (การดําเนินการทาง วิชาการ) เพื่อการเผยแพรการสบื ทอดและนํามาใชในการพฒั นาคุณภาพชีวติ อันนําไปสกู ารพัฒนา สังคมเศรษฐกิจท่ียั่งยืนตอไป เชน การประกอบอาหาร การถักทอผา การคิดประดิษฐลายผา วธิ ีการตดั เยบ็ เครอื่ งมือ เคร่ืองใช เครอ่ื งเรือน การแพทย การผลิตยา เปน ตน กจิ กรรมทา ยเรอ่ื งท่ี 1 ความหมายและความสาํ คญั ของมรดกไทย (ใหผเู รียนไปทํากิจกรรมทายเรอ่ื งท่ี 1 ที่สมดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรยี นรปู ระกอบชดุ วชิ า)
85 เรอ่ื งท่ี 2 มรดกไทยสมยั รตั นโกสินทร ศิลปกรรมสมัยรัตนโกสินทรตอนตน เปนการสืบทอดและสรางเลียนแบบสมัย กรงุ ศรีอยุธยาทงั้ ประตมิ ากรรม สถาปตยกรรม จิตรกรรม หัตถศิลป การฟนฟูงานศิลปะประเภท ตาง ๆ โดยเฉพาะในสมัยรัชกาลที่ 2 ถึงรัชกาลที่ 3 มีการนําศิลปะจีนเขามาผสมผสานในงาน ศิลปกรรม ตง้ั แตส มัยรชั กาลท่ี 4 เปนตนมา วฒั นธรรมตะวันตกก็ไดเ ขา มามอี ิทธพิ ลตอลกั ษณะของ การสรางสรรคผลงานทัศนศิลปของไทยดวย สงผลใหงานศิลปะแบบด้ังเดิมเส่ือมความนิยมลง แตใ นปจ จุบันไดร ับการรอ้ื ฟน ใหมใ นรปู ของงานศลิ ปาชีพ ศิลปะประจําชาติ ตลอดจนงานภูมปิ ญ ญา ทอ งถิ่นตา ง ๆ 1. ดานสถาปต ยกรรม สถาปต ยกรรมทางศาสนา ไดแ ก 1.1 วัด ในยุครัตนโกสนิ ทรต อนตน มีรูปแบบการดาํ เนนิ รอยตามแบบสถาปต ยกรรมสมัย กรงุ ศรีอยธุ ยา เชน การสรางโบสถว ิหารใหมีฐานโคง การสรางหอไตรหรือหอพระไตรปฎกกลางน้ํา เปน ตน ตอมาเมอ่ื มกี ารทํามาคาขายกับตางชาติมากขึ้น จึงไดรับอิทธิพล ท่ีเห็นไดชัด คือ ในสมัย รัชกาลที่ 3 ที่ไดร ับอทิ ธพิ ลจากจนี การเปลยี่ นแปลงวัดที่เห็นไดชัด เชน การนําชอฟา ใบระกา หางหงส ออกจาก หลังคาโบสถ วิหาร แลวเปล่ียนมาเปนกออิฐถือปูนโดยการใชลวดลายดินเผาเคลือบประดับหนา แทนการใชไ มส ลกั แบบเดิม นยิ มใชเ สาเปนส่เี หล่ยี มทึบ ไมมีเสาบัว วัดที่มีการผสมผสานสถาปตยกรรมตะวันตก เชน วัดนิเวศธรรมประวัติราชวรวิหาร ในจังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา ทเ่ี ปนศิลปะแบบกอธิค 1.2 วัง ภาพ : พระทีน่ งั่ จกั รมี หาปราสาทและพระทน่ี งั่ อาภรณภ ิโมกขป ราสาท เปนสถาปตยกรรมในรตั นโกสนิ ทรต อนตน
86 พระบาทสมเด็จพระพทุ ธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช โปรดเกลา ฯ ใหสรางพระราชวัง ตามแบบกรุงศรีอยุธยา 3 แหง คือ พระบรมมหาราชวัง พระราชวังบวรสถานมงคล พระราชวัง บวรสถานพิมขุ โดยท้ังตาํ แหนง ที่ตั้งนั้นยึดหลักยุทธศาสตรเปนสําคัญ ตามตําราพิชัยสงคราม คือ “มแี มน าํ้ โอบลอ มภูเขาหรือหากไมมภี เู ขา มแี มนํ้าเพยี งอยา งเดียวกไ็ ด เรยี กวา นาคนาม” ท่ีอยูอาศัยของพระมหากษัตริย พระบรมวงศานุวงศ และขุนนางไทยผูสูงศักดิ์ ในสมยั น้ัน เรยี กขานตามแตบ รรดาศกั ดิ์ ใหเหน็ ถงึ บรรดาศกั ด์ิที่ชัดเจน อาทิ พระตําหนกั พระท่ีนั่ง พระวิมานหรือพระมหาปราสาท โดยเฉพาะพระวิมานและพระมหาปราสาท ใชเฉพาะเรือนที่มี เจา ของเปน พระมหากษตั รยิ เทาน้นั สว นที่ประทบั ของพระมหากษัตริยห รือแมจะเปนพระมหาอปุ ราช เรียกวาพระราชวัง เวนแตพระราชวังประทับถาวรของพระมหากษัตริยเทาน้ัน ท่ีเรียกวา พระบรมมหาราชวัง และวงั หลายแหงเปน จุดเริ่มตนของศลิ ปะไทยแขนงตาง ๆ เชน ชา งสิบหมู ลักษณะของปราสาท พระราชวัง พระบรมมหาราชวัง ของพระมหากษัตริย พระบรมวงศานวุ งศและขนุ นาง แบงไดเปน 3 สมัย คือ สมัยตน (รัชกาลท่ี 1 - 3) เปนยุคสืบทอด สถาปตยกรรมแบบกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย สมัยกลาง (รัชกาลที่ 4 - 6) ซ่ึงประเทศไทยไดรับ อทิ ธพิ ลสถาปตยกรรมตะวันตก และสมัยหลัง (รัชกาลท่ี 7 - ปจจุบัน) เปนยุคแหงสถาปตยกรรม รวมสมัย 1.3 ทพี่ กั อาศยั ภาพ : ตกึ แถว ยา นบางรกั https://th.wikipedia.org/wiki/สถาปตยกรรมสมัยรตั นโกสนิ ทร#/media/File:Thanon_Chaoren_Krung_3.JPG/ ในสมัยรัตนโกสินทรต อนตน หลงั จากทพ่ี ระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราช สถาปนากรุงเทพมหานครข้ึนเปนเมอื งหลวงแหงกรงุ รตั นโกสินทร พระองคมีพระราชประสงคท่ีจะ ทําใหกรุงรัตนโกสินทรเปนเหมือนกรุงศรีอยุธยาแหงท่ีสอง มีการสรางสถาปตยกรรมท่ีสําคัญ เลียนแบบกรุงศรีอยุธยา สวนบานพักอาศัย เรือนไทยที่คงเหลือจากสงครามก็ถูกถอดและนํามา ประกอบใหม
87 สมัยรัชกาลท่ี 4 เรม่ิ มีการติดตอกบั ชาติตะวันตกมากข้ึน มีการสรางอาคารรูปแบบ ตาง ๆ เพื่อรองรับกิจกรรมทางธุรกิจนอกเหนือจากท่ีอยูอาศัย และวัดวาอารามในอดีต ไดแก โรงงาน โรงสี โรงเลือ่ ย หางรานและที่พักอาศัยของชาวตะวันตก นอกจากน้ีการสรางอาคารของ ทางราชการ กระทรวงตาง ๆ และพระราชวงั ทม่ี รี ูปแบบตะวนั ตกผสมผสานกับสถาปตยกรรมไทย ในรูปแบบนโี อคลาสสคิ เชน พระทีน่ ่ังจักรมี หาปราสาท พระที่นั่งอนนั ตสมาคม เปนตน ภาพ : พระท่นี ัง่ อนนั ตสมาคม ซง่ึ มกี ารสรางในรูปทรงแบบยุโรป ท่มี า : https://mgronline.com/travel/detail/9590000026961 สําหรับท่พี กั อาศัย ในการประยกุ ตยคุ แรก ๆ เรือนไมจ ะนาํ ศิลปะตะวันตกมาประยุกต เชน เรือนปนหยา ซ่ึงดัดแปลงมาจากเรือนไมของยุโรป สรางข้ึนในพระราชวังกอนแพรหลาย สบู านเรือนประชาชน หลังคาเรือนปน หยาทมี่ ุงดว ยกระเบื้องทุกดา นของหลังคาจะชนกันแบบปรา มิด ไมม หี นาจ่ัวแบบสถาปต ยกรรมดงั้ เดมิ จากนัน้ ไดวิวัฒนาการเปนเรือนมะนิลา ในบางสวนอาจ เปนหลงั คาปน หยา แตเปดบางสวนใหมหี นา จัว่ หลงั จากน้นั ก็มีเรอื นขนมปงขงิ ซึง่ ไดร ับอทิ ธพิ ลจาก เรือนขนมปงขิงสมัยโบราณของตะวันตก ซึ่งมีการตกแตงอยา งหรูหรา มีครีบระบายอยางแพรวพราว โดยทง้ั เรอื นขนมปง ขิงและเรอื นมะนลิ า เปน ศลิ ปะฉลุลายทีเ่ ฟอ งฟมู ากในสมัยรชั กาลที่ 5 - รัชกาลที่ 6 ในสมยั รัชกาลท่ี 5 เริ่มมีการใหกรรมสิทธิ์ท่ีดนิ อีกท้ังเกิดยานตลาดเปนศูนยกลาง ชุมชน ทําใหเกิดที่พักอาศัยและรานคาตามยานหัวเมือง เรียกสถาปตยกรรมเชนน้ีวา เรือนโรง มลี กั ษณะเปน เรือนพนื้ ติดดิน ไมต้ังอยูบนเสาสงู เชน เรอื นไทยในอดตี ต้ังอยูยา นชมุ ชนการคาชาวจีน ทเี่ ขา มาทาํ การคาขาย โดยเปดหนา รา นสาํ หรบั ขายของ สว นดานหลังไวพ กั อาศัย สรา งเรยี งรายกัน
88 เปนแถว จึงกลายเปน หองแถวในเวลาตอมา ถึงแมว า เรือนไทยจะไดรับอทิ ธิพลตะวันตก แตค นไทยกย็ งั ถือเร่ืองคติการสรางบานแบบไทย ๆ อยู เชน การยกเสาเอกและการถือเรื่องทิศ ตอมาสถาปนิก และนักตกแตง ซึง่ สาํ เร็จการศึกษาจากตางประเทศไดกลับนํามาใชในการทํางาน ทําใหมีแนวโนม นาํ เอารปู แบบสถาปต ยกรรมแบบอ่ืนมาดว ย ในปจจุบันสถาปตยกรรมโดยเฉพาะในเมืองหลวงหรือตามเมืองใหญ ๆ แทบไม หลงเหลอื รูปแบบสถาปต ยกรรมไทยในอดีต สถาปต ยกรรมในยคุ หลงั อตุ สาหกรรม ไดเ นน การสรา ง ความงามจากโครงสราง วัสดุ การออกแบบโครงสรางใหมีความสวยงามในตัว เชน ใชเหล็ก ใชก ระจกมากขน้ึ ผนังใชอ ฐิ และปนู นอ ยลง ใชโครงสรา งเหล็กมากข้นึ ออกแบบรูปทรงใหเปน กลอง มผี นังเปน กระจกโลง เปนตน ภาพ : วดั ราชโอรสาราม ทม่ี า : http://www.painaidii.com/business/147899/photo/9/lang/th/#photo ภาพ : พระที่น่ังจกั รมี หาปราสาท เปนพระที่นั่งทีส่ รา งข้นึ ในสมัยสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลาเจาอยูหัว โดยไดร ับแนวความคิดมาจากสถาปตยกรรมตะวนั ตก ท่ีมา : https://mareenatravel.files.wordpress.com/2014/11/175517-90-2393.jpg
89 2. ดานประติมากรรม ประติมากรรมไทยสมัยรัตนโกสนิ ทร เรม่ิ ตัง้ แตสถาปนากรงุ รตั นโกสินทรเม่ือ พ.ศ. 2325 จนถึงปจจุบัน นับเปนยุคแหง การเปลย่ี นแปลงทางศลิ ปวฒั นธรรม ที่เปน ไปอยางรวดเรว็ ฉบั พลันมากกวา ยคุ สมัยในอดีตที่ผานมา เนอ่ื งจากอิทธิพลของความเจริญทางเทคโนโลยี อารยธรรมตะวันตกท่ีหล่ังไหลเขามาในประเทศ อยางรวดเร็วและมากมาย การติดตอ กับนานาประเทศทวั่ โลก เปน ไปอยา งกวางขวาง มีการส่ือสาร ที่ฉับพลัน มีสวนอยางมากตอการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย และการสรางงานประติมากรรม กลาวโดยสรปุ ประตมิ ากรรมไทยสมยั รัตนโกสนิ ทรแบงออกไดเปน 3 ระยะ คือ ประติมากรรมแบบ ด้งั เดิม ประตมิ ากรรมระยะปรบั ตวั และประตมิ ากรรมรวมสมยั ประตมิ ากรรมแบบดั้งเดมิ ในสมัยรชั กาลท่ี 1 ถึงรัชกาลท่ี 3 การสรางงานประตมิ ากรรม ดําเนินรอยตามแบบ ประเพณนี ยิ มทที่ าํ กันมาแตอดตี ของไทย สมัยรชั กาลท่ี 1 เปน ยคุ ท่ีเรมิ่ สถาปนากรุงรตั นโกสินทร เปนชวงเวลาแหงการสราง บานเมืองใหม จงึ มีการสรางพระพทุ ธรูปนอ ยมาก พระประธานทสี่ รา งในสมัยนี้ทสี่ าํ คัญ คือ พระประธาน ทีพ่ ระอุโบสถ และพระวิหาร วดั มหาธาตุยุวราชรงั สฤษฎร์ิ าชวรมหาวหิ าร ฝม ือพระยาเทวารังสรรค เปน พระพุทธรปู ทีม่ ขี นาดใหญ จนดเู กือบคบั อาคาร มีฐานชกุ ชีเตี้ย เปน ผลในการแสดงอํานาจราชศกั ด์ิ พระพุทธรูปสวนใหญเคล่ือนยายมาจากสุโขทัย และจังหวัดทางภาคกลางท่ีองคพระพุทธรูปเหลานี้ ถูกทอดทิง้ อยูตามโบราณสถานทปี่ รักหกั พงั ตอ งกราํ แดด กรําฝน นาํ มาบรู ณะใหมกวา 1,200 องค และสง ไปเปนพระประธานตามวัดตาง ๆ ในกรุงเทพฯ ที่เหลือนํามาประดิษฐานไว ณ ระเบียงวัด พระเชตุพนวมิ ลมังคลารามราชวรมหาวิหาร พันกวาองค ท้ังช้ันนอก และช้ันใน ประติมากรรมอ่ืน ๆ ที่สําคัญ คือ หัวนาค และเศียรนาคจําแลง และยักษทวารสําริดปดทอง ประจําประตูทางเขา พระมณฑป หอพระไตรปฎก หลังปราสาทพระเทพบิดร วัดพระศรีรัตนศาสดารามฝมือครูดํา ชางปน เอกสมัยรชั กาลท่ี 1
90 ภาพ : ยักษบ นฐานปลายพลสิงห เหนือบันไดทางข้นึ พระมณฑป วดั พระศรีรตั นศาสดาราม ทมี่ า : http://kanchanapisek.or.th/kp6/pictures14/s14-110-2.jpg สมัยรัชกาลท่ี 2 พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย โปรดเกลาฯ ใหบูรณะ ศลิ ปสถาน และงานศิลปะอ่ืน ๆ โดยเฉพาะดานประติมากรรมเปนพิเศษ เชน ทรงปนหุนพระยา รกั ใหญ รักนอ ย และรูปพระลกั ษณ พระราม ซงึ่ เปนหุนหลวงท่ีสวยงามมาก ปจ จุบันอยูในพพิ ธิ ภณั ฑ สถานแหงชาติ ทรงปน หุน พระพักตร พระพทุ ธประธาน 2 องค คอื พระพทุ ธจุฬารกั ษ พระประธาน พระอุโบสถวัดราชสิทธารามราชวรวิหาร และพระพุทธธรรมิศรราชโลกธาตุดิลก พระประธาน พระอโุ บสถวัดอรณุ ราชวรารามราชวรมหาวิหาร งานช้ินทส่ี าํ คัญอกี ช้นิ หน่ึง คอื ทรงรว มสลกั บานประตู พระวิหารหลวงวัดสุทัศนเทพวรารามราชวรมหาวิหาร รูปพรรณพฤกษาซอน 3 ชั้น มีภาพสัตว ประเภทนก และกระตา ยประกอบ
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168