Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เบสสัก

เบสสัก

Published by suphatchaya0909155946, 2023-04-14 14:01:29

Description: เบสสัก

Search

Read the Text Version



๒ คำนำ เอกสำรผลกำรปฏบิ ตั ิงำนทด่ี ี (Best Practice) เลม่ นี้ จดั ทำข้ึนเพ่อื รำยงำนผลกำรดำเนินงำนท่ปี ระสบ ควำมสำเรจ็ งำนกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำนของ กศน.ตำบลดงมะไฟ ตำมยทุ ธศำสตรก์ ำรพัฒนำ นโยบำยและจุดเน้นกำร ดำเนินงำนกำรศึกษำนอกระบบและกำรศกึ ษำตำมอัธยำศยั ตลอดจนสอดคลอ้ งกับบริบทและควำมตอ้ งกำรของ กลมุ่ เปำ้ หมำยในพ้นื ทเ่ี พ่ือกำหนดเปน็ แนวปฏบิ ัตแิ ละแนวทำงในกำรดำเนินงำนใหเ้ ป็นไปตำมเปำ้ หมำยทต่ี ั้งไวอ้ ย่ำงมี ประสิทธภิ ำพและประสิทธผิ ลตอ่ ไป เอกสำรผลกำรปฏิบตั งิ ำนทด่ี ี (Best Practice) เลม่ น้ี ประกอบดว้ ย ๑.ควำมสำคญั ของแนวปฏบิ ัติทดี่ ีที่ นำเสนอ ๒.วัตถุประสงค์และเปำ้ หมำยกำรดำเนินงำน ๓.กระบวนกำรดำเนินงำน ๔.ผลกำรดำเนินงำน /ผลสมั ฤทธ/์ิ ประโยชนท์ ่ีได้รับ ๕.ปจั จัยควำมสำเรจ็ ๖.บทเรียนที่ไดร้ บั ๗.กำรแผยแพร่ เอกสำรผลกำรปฏิบตั งิ ำนที่ดี (Best Practice) เลม่ น้ี ประสบควำมสำเรจ็ ได้ดว้ ยดี เน่อื งจำกไดร้ บั กำร สนบั สนุนจำกนำยวนิ ยั แสงใส ผูอ้ ำนวยกำร กศน.อำเภอเมืองหนองบัวลำภู รกั ษำกำรในตำแหนง่ ผอู้ ำนวยกำร กศน.อำเภอสวุ รรณคูหำ ตลอดจนคณะครู กศน.อำเภอสวุ รรณคหู ำ นกั ศกึ ษำ กศน.อำเภอสุวรรณคูหำ ทใี่ หค้ วำม ร่วมมอื เปน็ อยำ่ งดี หวังเป็นอย่ำงยิ่งวำ่ เอกสำรฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์สำหรับโรงเรียนหรือผู้ที่สนใจ และผู้ที่กำลังจะ พฒั นำผลสมั ฤทธท์ิ ำงกำรเรียนใหม้ ีผลสมั ฤทธิ์ทสี่ ูงขนึ้ คณะผูจ้ ดั ทำ นำยทรงศักดิ์ พรชัย ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล

สำรบัญ ๓ เรอ่ื ง หน้ำ คำนำ สำรบญั ๑ ควำมสำคัญของ “แนวปฏิบัตทิ ่ีด”ี ๒ วตั ถุประสงคแ์ ละเปำ้ หมำยของกำรดำเนนิ งำน ๒ กระบวนกำรดำเนนิ งำน ๓ ผลกำรดำเนินงำน ๕ ประโยชน์ทไ่ี ด้รบั /รำงวลั ท่ีได/้ กำรเผยแพร่ ๕ ปัจจยั ควำมสำเร็จ ๖ บทเรยี นที่ไดร้ บั ๙ กำรเผยแพร่ ๑๐ ภำพกิจกรรม

๔ “แนวปฏบิ ัติท่ดี ”ี กำรยกผลสัมฤทธ์ิทำงกำรศกึ ษำระดับชำติ N-NET ชอ่ื ผลงำน “แนวปฏบิ ตั ทิ ดี่ ี” กำรพฒั นำคุณภำพกำรศกึ ษำเพอ่ื ยกระดบั ผลสมั ฤทธทิ์ ำงกำรศกึ ษำระดบั ชำติ (N-NET) โดยใช้รูปแบบ KTH MODEL ชอ่ื เจำ้ ของผลงำน นำยทรงศกั ดิ์ พรชัย ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบล สงั กัด กศน.อำเภอสุวรรณคหู ำ ๑. ควำมสำคญั ของ “แนวปฏบิ ัตทิ ด่ี ี” ทนี่ ำเสนอ กระทรวงศกึ ษำธกิ ำรได้กำหนดใหม้ ีกำรปฏริ ูปกำรศึกษำในทศวรรษท่ี ๒ (๒๕๕๒-๒๕๖๑) เพอ่ื ให้คนไทยได้ เรียนร้อู ยำ่ งมีคณุ ภำพ และได้ประกำศจดุ เนน้ กำรพฒั นำผู้เรยี นเพอื่ ขบั เคลอื่ นหลักสตู รกำรจัดกำรเรียนรู้ กำรวัดผล และประเมนิ ผลภำยใต้ยทุ ธศำสตร์กำรยกระดับคุณภำพและมำตรฐำนกำรศกึ ษำ โดยเน้นควำมสำคัญของทักษะท่ี จำเป็นพน้ื ฐำนที่ส่งผลสำเรจ็ ในกำรเรียนรขู้ องผ้เู รียนในแตล่ ะชว่ งวัย และจะเปน็ กำรกระตนุ้ เรง่ รัดส่งเสริมสนับสนุน กำรนำบุคลำกรทำงกำรศึกษำ ผูป้ กครอง ชมุ ชน และ สรำ้ งควำมเขม้ แขง็ ในกำรกำกบั ตดิ ตำมและประเมนิ ผล ซ่ึง สอดคล้องกับทิศทำงกำรพัฒนำคุณภำพ พระรำชบญั ญัตกิ ำรศกึ ษำแหง่ ชำติ พ.ศ.๒๕๔๒ หมวด ๔ วำ่ ดว้ ยแนวกำรจัดกำรศึกษำมำตรำ ๒๒ กำรจดั กำร ศกึ ษำตอ้ งยึดหลักว่ำผู้เรยี นทกุ คนมีควำมสำมำรถเรยี นรู้และพฒั นำตนเองได้ และถือวำ่ ผู้เรียนมีควำมสำคญั ท่สี ุด กระบวนกำรจดั กำรศึกษำตอ้ งสง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรียนสำมำรถพัฒนำตำมธรรมชำตแิ ละเตม็ ตำมศกั ยภำพ ในปี กำรศึกษำ ๒๕๖๔ แนวนโยบำยและแผนยทุ ธศำสตร์ ของสำนักงำน กศน.ไดเ้ นน้ กำรลดควำมเหลอ่ื มลำ้ ทำงกำรศึกษำ สรำ้ งโอกำส พร้อมท้งั ยกระดบั คณุ ภำพกำรศกึ ษำ และกำรศกึ ษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัย ปรับวธิ เี รยี น เปลยี่ นวิธจี ัดกำรเรียนรู้ โดยกำรพฒั นำหลักสูตร กำรพัฒนำรูปแบบกำรจดั กำรเรยี นรู้ จำกผลกำรประเมินทดสอบผลสัมฤทธทิ์ ำงกำรศึกษำระดับชำติ (N-NET)ของศนู ยก์ ำรศกึ ษำนอกระบบและ กำรศกึ ษำตำมอธั ยำศยั อำเภอสุวรรณคูหำ ทกุ รำยวชิ ำ ซ่งึ พบวำ่ อยู่ในระดับทีต่ ่ำ ศูนย์กำรศึกษำนอกระบบและกำรศกึ ษำ ตำมอธั ยำศยั อำเภอสุวรรณคหู ำ จงึ ไดจ้ ดั ทำโครงกำรสอนเสรมิ เติมควำมรเู้ พอ่ื ยกผลสัมฤทธิ์กำรทดสอบระดบั ชำติขน้ึ เพ่ือพฒั นำผูเ้ รยี นให้มีควำมรคู้ วำมสำมำรถในกำรคิดวเิ ครำะห์ คดิ สงั เครำะห์และวจิ ำรณญำณมคี วำมคดิ สร้ำงสรรค์ คดิ ไตรต่ รองและมีวิสัยทัศน์ มีทกั ษะท่จี ำเป็นตำมหลักสูตร ในกลมุ่ สำระ เพอ่ื พฒั นำกำรเรียนให้มปี ระสทิ ธิภำพมำกขน้ึ เพอื่ ให้สอดคลอ้ งกับจุดเนน้ ของ สำนกั งำนสง่ เสรมิ กำรศกึ ษำนอกระบบทตี่ ้องกำรยกระดับผลสมั ฤทธิท์ ำงกำรศึกษำให้ สงู ขนึ้ ตำมนโยบำยของสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำขน้ั พนื้ ฐำน เร่อื งกำรยกระดับผลสมั ฤทธิท์ ำงกำรเรียน สอดคล้องกบั นโยบำยและจุดเน้นของสำนักงำน กศน. ในกำรยกระดบั ผลสมั ฤทธทิ์ ำงกำรเรยี น ซึง่ ทำงศูนย์กำรศกึ ษำ นอกระบบและกำรศึกษำตำมอธั ยำศยั อำเภอสุวรรณคูหำได้ดำเนินกำร โดยให้ครแู ละบุคลำกรในในสังกดั ทกุ คนตดิ ตำม นกั ศึกษำท่ีมีรำยชื่อสอบ N-NET ในควำมรับผดิ ชอบของตนเองและไดใ้ หค้ ุณครไู ดก้ ำกับตดิ ตำมสอนเสริม ให้ทำ แบบทดสอบ และให้ครหู ำแนวขอ้ สอบมำใหน้ กั ศึกษำฝึกทำ ซง่ึ ในภำคเรียนท่ีผำ่ นมำจะเหน็ ว่ำผลสมั ฤทธท์ิ ำงกำรทดสอบ ระดับชำติ (N-NET) ของ กศน.อำเภอสุวรรณคหู ำจะไมผ่ ำ่ นเกณฑ์ ผอู้ ำนวยกำรสำนกั งำน กศน.จงั หวัดหนองบัวลำภจู ึง ไดม้ อบหมำยใหผ้ อู้ ำนวยกำร กศน.อำเภอกำกบั และติดตำมกำรดำเนนิ งำนกำรสอน กำรดูแลนกั ศกึ ษำทีจ่ ะจบกำรศกึ ษำ ให้เขม้ มำกย่ิงขน้ึ และเพอ่ื ใหน้ ักศกึ ษำท่ีจะจบกำรศึกษำสำมำรถดำรงชีวติ อยู่ในสังคมได้อยำ่ งสงำ่ งำมและมคี วำมสขุ และจัดกำรบรหิ ำรงำนรปู แบบ KTH MODEL

๕ ๒. วัตถุประสงคแ์ ละเป้ำหมำยของกำรดำเนินกำร ๑. เพอื่ ยกระดับผลสัมฤทธทิ์ ำงกำรเรยี นของนักศึกษำ กศน. ๒. เพือ่ พัฒนำคุณภำพกำรเรยี นกำรสอนของกศน.ตำบลดงมะไฟ ๓. เพือ่ ยกระดับคณุ ภำพชวี ิตของนกั ศกึ ษำที่จะจบกำรศึกษำทุกคนให้ดีขนึ้ ๓. กระบวนกำรดำเนนิ งำน กศน.ตำบลดงมะไฟ นำเสนอกระบวนกำร/วธิ กี ำรจัดกำรเรยี นร้ตู ำมศกั ยภำพของผู้เรียน โดยสร้ำงโอกำสให้ ผเู้ รียนทุกคนมสี ่วนรว่ มในกำรเรยี นร้ตู ำมควำมถนดั และควำมสนใจดว้ ยวธิ กี ำรท่หี ลำกหลำย ผ่ำนกระบวนกำรคดิ และ ปฏบิ ัติจรงิ มกี ำรบริหำรจดั กำรเรยี นรู้เชิงบวก สร้ำงปฏสิ ัมพันธท์ ่ดี รี ่วมกันแลกเปลย่ี นเรียนรู้ ที่สอดคล้องกบั บรบิ ทของ ทอ้ งถนิ่ เพ่ือให้เกิดกำรเรยี นรเู้ ตม็ ตำมศักยภำพ รวมทงั้ มกี ำรประเมินผลกำรเรยี นรู้ และนำขอ้ มลู ทไี่ ดจ้ ำกกำรประเมินผล มำใช้พฒั นำคณุ ภำพผ้เู รียนอย่ำงต่อเนือ่ ง และมีกำรบรหิ ำรจัดกำรโดยน้อมนำหลกั ปรัชญำของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มี กระบวนกำรจดั กำรเรยี นกำรสอนท่เี นน้ ผูเ้ รยี นเปน็ สำคญั จดั กำรเรยี นรูผ้ ่ำนกระบวนกำรคิดและปฏบิ ตั จิ รงิ รปู แบบ active learning ครูใชส้ อ่ื เทคโนโลยีสำรสนเทศและแหลง่ เรียนรทู้ ่ตี อ่ กำรเรยี นรู้ มีกำรบรหิ ำรจดั กำรช้นั เรียนเชิงบวก โดยนำนโยบำย No Child Left Behind “ไมม่ ีเดก็ คนใดถูกทอดทิง้ ไว้ขำ้ งหลัง” (NCLB) มำสร้ำงควำมตระหนกั แก่ ครผู ้สู อนโดยเน้นในเรอ่ื งกำรมอบหมำยงำนและใหใ้ บงำน กำรสอนเสรมิ กำรบริหำรจัดกำรชน้ั เรยี น และแหล่งเรียนรู้ และกำรพฒั นำหลักสูตรของสถำนศกึ ษำ สอดคล้องกับควำมสนใจและควำมแตกตำ่ งของผู้เรยี นโดยจัดกจิ กรรมบูรณำ กำร ๕ กลุ่มสำระ กศน.อำเภอสวุ รรณคหู ำมีเป้ำหมำยท่ีจะดำเนนิ กำร สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหค้ วำมช่วยเหลือแก่นักศกึ ษำ ดว้ ย ควำมรว่ มมือของคณะครูและบุคลำกรในสังกัดทกุ ทำ่ น ซงึ่ มคี รูทปี่ รึกษำเป็นหลักสำคญั ในกำรดำเนินกำร ตดิ ตำม กำกบั ดแู ลใหค้ วำมช่วยเหลือแกน่ ักศึกษำ มีกระบวนกำรทำงำนเชิงระบบโดยใช้วงจรคุณภำพ PDCA เพอ่ื พัฒนำคณุ ภำพกำรศกึ ษำและยกระดับผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรยี น (N-NET) ไดแ้ ก่ ขนั้ วำงแผน (Plan) ขั้นดำเนินกำร ตำมแผน (Do) ขั้นกำรตรวจสอบ (Check) และขั้นกำรรำยงำนผลเพอื่ ปรับปรุงพัฒนำ (Action) และบริหำรงำนโดยใช้ รปู แบบ KTH MODEL ดงั น้ี ๑. กำรบริหำรงำนโดยใชร้ ูปแบบ KTH MODEL เน้นระบบกำรนเิ ทศภำยใน โดยใชเ้ ปน็ หลกั ในกำรบรหิ ำร จดั กำรระบบคุณภำพ ดังนี้ K – Knowledge : กำรสร้ำงควำมรคู้ วำมเขำ้ ใจ T - Test : กำรทดสอบควำมรแู้ ละกำรวดั ประเมินผล H - High Qulity : กำรพฒั นำคณุ ภำพกำรศกึ ษำใหส้ งู ขึ้น ๒. ประชุม รบั นโยบำยจำกนำยวนิ ยั แสงใส ผู้อำนวยกำร กศน.อำเภอเมืองหนองบวั ลำภู รักษำกำรใน ตำแหนง่ ผูอ้ ำนวยกำร กศน.อำเภอสวุ รรณคูหำ ๓. คุณครูจัดเตรียมสื่อกำรเรียนรู้ ๔. แจ้งให้ผู้ปกครองทรำบและดำเนนิ กำรติดตำมนักศึกษำท่ีมสี ิทธส์ิ อบ N-NET ๕. ครูทปี่ รกึ ษำตรวจสอบรำยชอ่ื นกั ศกึ ษำทม่ี สี ิทธสิ์ อบ ๖. แจง้ ใหน้ กั ศกึ ษำทรำบ

๖ ๗. ครทู ี่ปรกึ ษำติดตำมนกั ศึกษำในควำมรับผดิ ชอบของตน จัดและดำเนินโครงกำรติวเข้มเพื่อยกผลสมั ฤทธิ์ N- NET ประจำภำคเรยี นที่ 2 ปีกำรศกึ ษำ 2565 ๘. สรุปรำยงำนผลเสนอผบู้ รหิ ำรทรำบ ขนั้ ตอนกำรดำเนนิ กำร PDCA ๑.ขนั้ วำงแผน (Plan) ประชุมครู/ตดิ ตำมผเู้ รียน ๒. ขั้นดำเนนิ กำรตำมแผน(Do) วิเครำะหห์ ลักสูตร/ออกแบบเครอ่ื งมอื /สร้ำงเครือ่ งมอื /จดั กจิ กรรม ๓. ขน้ั กำรตรวจสอบ (Check) นิเทศ กำกบั ตดิ ตำม/รำยงำนผล ๔. ข้นั กำรรำยงำนผลเพือ่ ปรบั ปรุงพฒั นำ (Action) สรปุ รำยงำน/นำผลประเมินมำปรบั ปรุง

๗ รปู แบบ KTH MODEL K – Knowledge กำรสรำ้ งควำมรคู้ วำมเขำ้ ใจ T – Test กำรทดสอบและกำรวัดประเมินผล H – High Qulity กำรพฒั นำคุณภำพกำรศกึ ษำให้สงู ขนึ้

๘ ๔. ผลกำรดำเนนิ งำน/ผลสมั ฤทธ/์ิ ประโยชน์ท่ไี ดร้ ับ จำกกำรทดสอบทำงกำรศกึ ษำระดับชำติขัน้ พ้ืนฐำน (N-Net) ครัง้ ที่ ๑ ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๕ เทียบกับครั้งที่ ๒ กำรศึกษำ ๒๕๖๕ พบวำ่ ครงั้ ที่ ๒ ปีกำรศึกษำ ๒๕๖๕ มคี ะแนนผลสัมฤทธเิ์ พิ่มสูงขนึ้ ทำให้ครแู ละนกั ศึกษำมคี วำมพึง พอใจตอ่ กำรดำเนนิ กำรพัฒนำคณุ ภำพกำรศกึ ษำเพื่อยกระดับผลสัมฤทธ์ทิ ำงกำรเรยี น (N-NET ) โดยกำรจดั ตวิ เตมิ เตม็ ควำมรใู้ นระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษำตอนตน้ และมัธยมศึกษำตอนปลำย ในระหว่ำงวันท่ี ๓๑ เดือนมกรำคม พ.ศ. ๒๕๖๖ ซง่ึ ครูทร่ี ับผิดชอบได้นำนกั ศึกษำทมี่ ีสิทธิส์ อบ N-NET มำรว่ มตวิ กับวทิ ยำกรทม่ี คี วำมรใู้ นแต่ละกลุ่มสำระกำรเรยี นรู้ ครู มกี ำรเตรยี ม ขอ้ สอบและเนือ้ หำในกำรติวเอง เพอื่ สรำ้ งควำมรู้ ควำมเขำ้ ใจใหก้ บั นักเรยี นมำกย่งิ ข้นึ จำกผลกำร ดำเนินกำรไดร้ ับควำมรว่ มมือจำกคณะครเู ปน็ อย่ำงดี ซึ่งเปรียบเทียบผลสมั ฤทธิ์ ได้ดงั น้ี



๑๐ ๕. ปัจจยั ควำมสำเรจ็ กศน.ไดป้ รับปรุงผลกำรดำเนินงำนอย่ำงตอ่ เนอื่ ง ดว้ ยระบบคุณภำพวงจรคุณภำพเดมมิ่ง Demming ‘ Circle (PDCA) โดยมกี ำรกำหนดโครงสรำ้ งกำรบริหำรงำนที่ชัดเจน มกี ำรจัดทำ ค่มู ือครู ระบุขอบขำ่ ย ภำระงำน เน้นกำรมสี ว่ นรว่ มในกำรเรียนกำรสอน โดยให้ทุกคนเรยี นรรู้ ว่ มกนั จดั อบรมสมั มนำแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ กลุ่มสำระกำรเรียนร้กู ำหนดนโยบำยกำรมงุ่ ผลสมั ฤทธ์ทิ ชี่ ดั เจน. และจัดทำบันทึกข้อตกลงกำรสอน กำรวดั ผลและประเมินผลกำรเรยี นรู้ระหว่ำงผ้อู ำนวยกำรกับครู Memorandum of Understanding (MOU) มกี ำร พฒั นำอย่ำงย่ังยนื เรมิ่ ดว้ ยกำรปรับปรุงหลกั สตู รสถำนศกึ ษำใหท้ ันสมยั สอดคลอ้ งกบั ควำมตอ้ งกำรของผู้เรยี นและชมุ ชน กำรพฒั นำผลสัมฤทธทิ์ ำงกำรเรียนของผเู้ รยี นและองคก์ รในภำพรวมโดยกระต้นุ ให้บุคลำกรครูจดั กำรเรียน กำรสอน กำรวดั ผลและประเมนิ ผลอย่ำงหลำกหลำยตำมแนวทำงของหลักสูตรกำรศกึ ษำนอกระบบ ระดับกำรศึกษำ ขั้นพน้ื ฐำน พทุ ธศักรำช ๒๕๕๑ ๖.บทเรยี นทไี่ ด้รบั นกั ศกึ ษำท่ีคำดวำ่ จะจบภำคเรยี นท่ี ๒ ปกี ำรศกึ ษำ ๒๕๖๕ ทมี่ ีสิทธส์ิ อบ N-NET มผี ลสัมฤทธ์ิ N-NET ที่สูงขน้ึ จะเหน็ ไดว้ ำ่ ครมู คี วำมรบั ผดิ ชอบในกำรดแู ลนักศกึ ษำทจี่ ะจบเปน็ รำยบุคคล มีระบบกำรช่วยเหลอื ผเู้ รียน มกี ำรจดั ทำ ส่ือนวัตกรรมกำรสอนทหี่ ลำกหลำยเพมิ่ มำกข้ึน นกั ศึกษำที่จะจบกำรศกึ ษำกไ็ ดเ้ ลง็ เหน็ ควำมสำคญั ในกำรสอบของ ตนเอง ทำใหม้ ที กั ษะทจี่ ะเรยี นรู้ทง้ั จำกครูผูส้ อน จำกส่อื ตำ่ ง ๆ ท่ีครูไดม้ อบหมำย กำรดำเนินกำรสอบคร้ังนี้จงึ ถือได้ วำ่ ประสบควำมสำเรจ็ เปน็ อยำ่ งดี กำรจดั กำรเรียนกำรสอนทีม่ ปี ระสิทธิภำพ มอี งคป์ ระกอบทีค่ วรคำนึงถงึ ดังน้ี 1. กำรบรหิ ำรจัดกำรเรียนกำรสอนที่มปี ระสิทธภิ ำพ มีลักษณะดังน้ี 1) กำรจดั เตรียมสถำนท่ี สอ่ื อุปกรณ์ในกำรจดั กำรเรยี นกำรสอนให้มสี ภำพทีพ่ ร้อมใช้ และเพยี งพอสำหรบั นักเรียนทกุ คนในห้อง 2) กำรใชเ้ วลำอยำ่ งมปี ระสิทธิภำพ กำรจัดกำรเรียนกำรสอนที่ดีขน้ึ อยกู่ ับกำรใช้เวลำ ในกำรดำเนินกิจกรรมอย่ำงมี ประสทิ ธภิ ำพ ครไู ม่ควรปล่อยใหม้ เี วลำว่ำงหรอื เวลำทีเ่ สยี ไปโดยเปล่ำประโยชน์ อันเนื่องจำกควำมไมพ่ ร้อมในดำ้ นวัสดุ อปุ กรณ์และกำรดำเนนิ กจิ กรรมทีไ่ มไ่ ดเ้ ตรยี มกำรลว่ งหนำ้ เพรำะ ควำมไมพ่ ร้อมจะทำใหเ้ กิดควำมวนุ่ วำย เสยี เวลำใน กำรแก้ปญั หำเฉพำะหนำ้ มำกและทำใหก้ ำรดำเนนิ งำน ไม่บรรลุวตั ถปุ ระสงค์ ครตู ้องบริหำรกำรใช้เวลำเพือ่ ใหน้ ักเรยี นได้ ใชเ้ วลำเพ่ือกำรเรียนรอู้ ยำ่ งเตม็ ท่ี

๑๑ 2. กำรจดั กำรเรียนกำรสอนอย่ำงเป็นระบบ คือกำรดำเนินกำรเรยี นกำรสอนให้เปน็ ไป ตำมลำดบั ขัน้ ตอนของรูปแบบ กำรเรียนกำรสอนทีใ่ ช้อยำ่ งมปี ระสิทธิภำพ โดยดำเนินกำรดงั น้ี 1) เริม่ ตน้ บทเรยี นอย่ำงมีประสทิ ธภิ ำพ โดยกระตุ้นให้ผเู้ รยี นมคี วำมสนใจซึ่งทำไดห้ ลำยวธิ ี วธิ ที ี่กระตุ้นกระบวนกำรคิด และสติปัญญำ ก็คือกำรสร้ำงควำมสงสยั ประหลำดใจใหก้ บั ผเู้ รียน ทำให้ ผูเ้ รยี นมคี วำมกระตือรือรน้ อยำกคน้ พบ คำตอบ เช่น กำรน ำเสนอข้อมูลหรอื ควำมคิดท่ีขดั แยง้ ไมส่ อดคล้อง กบั ควำมรู้ ควำมเขำ้ ใจเดมิ ของผูเ้ รยี นทำใหผ้ เู้ รยี น เกดิ ขอ้ สงสัย กงั ขำ กำรใช้คำถำมทสี่ ่งเสรมิ กระบวนกำรคดิ เป็นต้น 293 2) เนินกำรเรียนกำรสอนอยำ่ งมีประสิทธิภำพ เปน็ ข้นั ท่ีครจู ัดกำรเรยี นกำรสอนโดย เน้นผู้เรียนเป็น สำคญั ซง่ึ ทิศนำ แขมมณี (2555, หน้ำ 120) ได้ให้ควำมหมำยวำ่ เป็นกำรจัดกำรเรียน กำรสอนท่ยี ดึ ผเู้ รยี นเปน็ ตัวต้งั โดยคำนงึ ถึงควำมเหมำะสมกบั ผ้เู รยี นและประโยชน์สูงสุดท่ผี ้เู รียนควรจะ ได้รับและมกี ำรจดั กิจกรรมกำรเรียนรู้ท่ีเปดิ โอกำสให้ผ้เู รยี นมีบทบำทสำคัญในกำรเรยี นรู้ ได้มีส่วนรว่ มใน กจิ กรรมกำรเรยี นรอู้ ยำ่ งตืน่ ตวั และได้ใช้กระบวนกำร เรียนรตู้ ่ำง ๆ อนั จะนำผเู้ รยี นไปสกู่ ำรเกดิ กำรเรยี นรทู้ ี่ แทจ้ ริง ดังนั้นกิจกรรมกำรเรยี นรู้ที่เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั จึงมี ลกั ษณะทสี่ รุปไดด้ งั นี้ (1) กจิ กรรมทผ่ี ู้เรียนมสี ่วนรว่ มอย่ำงตืน่ ตวั ผ้เู รยี นเปน็ ผมู้ บี ทบำทอย่ำงเตม็ ท่แี ละ รบั ผิดชอบกำรเรียนร้ขู องตนเอง (2) กิจกรรมท่ที ำ้ ทำยให้ผู้เรียนกระตือรอื รน้ ในกำรค้นหำคำตอบ โดยครนู ำเสนอ ปัญหำและสถำนกำรณใ์ ห้คดิ ครมู ี บทบำทชว่ ยชี้ชอ่ ง แนะแนวให้นกั เรียนเหน็ ลู่ทำงในกำรแก้ปัญหำ (3) กจิ กรรมท่ีให้ผูเ้ รียนเปน็ ผลู้ งมอื ปฏิบัติเพ่ือค้นหำคำตอบ (4) กจิ กรรมทีใ่ หผ้ เู้ รยี นได้มปี ฏิสัมพนั ธ์ทำงสงั คม มกี ำรรว่ มมือและกำรแลกเปล่ยี น ควำมรู้ ควำมคดิ เห็น ตลอดจน ประสบกำรณ์ระหว่ำงผู้เรยี นเพือ่ ปรบั เติม เสริมแต่ง และตอ่ ยอดควำมรู้ (5) กิจกรรมท่สี ร้ำงควำมสะเทือนใจ ซำบซงึ้ ประทับใจ ทำให้ตนื่ ตัวในกำรเรียนรู้ (6) กิจกรรมทีผ่ เู้ รยี นได้เรียนรู้จำกผูท้ รงภูมิปัญญำในทอ้ งถิน่ (7) กจิ กรรมทผี่ ู้เรยี นไดน้ ำควำมรู้ไปทดลองใช้แก้ปญั หำหรือสรำ้ งสรรคช์ นิ้ งำน (8) กจิ กรรมทผ่ี ูเ้ รยี นใช้กระบวนกำรจัดกระทำกับข้อมูลทไ่ี ดร้ บั รู้เพอื่ ใหเ้ ขำ้ ใจและ จดจำได้ง่ำยและสำมำรถระลกึ ได้ เม่อื ตอ้ งกำรนำมำใช้ (9) กจิ กรรมที่ผเู้ รียนได้เรยี นรใู้ นบริบทจรงิ ทำให้เกดิ กำรเรยี นรู้ท่แี ท้จรงิ บทบำทท่สี ำคญั ของครูในกำรจัดกิจกรรม กำรเรียนรู้ท่เี นน้ ผู้เรียนเปน็ สำคัญ ไดแ้ ก่ กำร เปน็ ผเู้ ตรยี มกำรลำนวยควำมสะดวกใหเ้ กิดกำรเรียนรู้ กำรท ำหนำ้ ที่เปน็ ผใู้ ห้คำแนะนำปรึกษำ เป็น ผ้ชู ว่ ยเหลอื เป็นผูใ้ หข้ อ้ มูลย้อนกลบั บทบำทของครทู ่ีส่งเสริมกำรเรียนรู้กค็ ือบทบำทท่ที ำ หน้ำท่ีเหมือน โคช้ นักกฬี ำน่ันเอง 3) สรปุ บทเรยี นอย่ำงมีประสทิ ธภิ ำพ กำรสรปุ บทเรียนเปน็ ขน้ั ตอนทีส่ ำคญั เพรำะเปน็ ขั้นตอนในกำรเชอื่ มโยงและ ประมวลควำมรูร้ ะหว่ำงควำมร้แู ละประสบกำรณ์ใหมท่ ี่ได้รบั กับควำมรู้และ ประสบกำรณ์เดมิ ให้เปน็ ควำมคิดรวบยอด ใหม่ที่มคี วำมครอบคลุม ถูกตอ้ งและชดั เจนมำกยิ่งข้ึน ทำให้ ผู้เรยี นสำมำรถบันทกึ และจดจำไดท้ นนำน เพรำะเป็นกำร จดจำอย่ำงมคี วำมหมำย กำรสรุปบทเรียนจงึ มี ควำมสำคัญและควรทำร่วมกันระหวำ่ งครแู ละนักเรยี น โดยใหผ้ เู้ รียนเป็นผูส้ รปุ ด้วยควำมเขำ้ ใจใหมข่ อง ตนเอง ครทู ำ หน้ำท่ีให้แนวทำงกำรสรปุ ข้อมูล เช่นกำรแนะนำกำรใช้แผนภำพควำมคดิ (graphic organizer) แบบต่ำง ๆ ทม่ี คี วำม เหมำะสมกบั กำรสรปุ และนำเสนอขอ้ มลู สำรสนเทศท่ีต้องกำร และให้ขอ้ มูลย้อนกลบั กบั ผลงำนของนักเรียนเพ่ือเป็น สำรสนเทศสำหรบั กำรปรับปรุงแกไ้ ขงำนและกำรสร้ำงควำมคิดรวบยอดใหม่ ใหม้ ีควำมถูกตอ้ ง ชดั เจนมำกยง่ิ ข้ึน

๑๒ 4) ประเมินผลอยำ่ งมปี ระสิทธิภำพ กำรประเมินผลท่มี ปี ระโยชนต์ ่อกำรพัฒนำกำร เรียนรูข้ องผเู้ รียนคอื กำรประเมนิ ควำมกำ้ วหน้ำ ซง่ึ เปน็ กระบวนกำรท่สี ำมำรถทำพรอ้ มไปกบั กระบวนกำรเรยี นกำรสอน กำรประเมินครอบคลุมทั้งกำร ประเมนิ ผลกำรเรียนร้แู ละกระบวนกำรเรยี นรู้ ของผูเ้ รียน วิธีกำรประเมนิ ใชเ้ ครือ่ งมือหลำกหลำยประเภทให้เหมำะสม สอดคล้องกบั สิง่ ท่ปี ระเมนิ ผูท้ ำ หน้ำที่ประเมินไม่จำกัดอยู่ทค่ี รูเพียงฝ่ำยเดียว แตต่ อ้ งเปน็ ผลกำรประเมินทที่ ุกฝำ่ ย ไดแ้ ก่ ครู นักเรยี นและ แมแ้ ตผ่ ปู้ กครองหรือสงั คม มีส่วนรว่ มในกำรสะทอ้ นมุมมอง ควำมคดิ เหน็ ตำ่ ง ๆ อยำ่ งรอบด้ำน เทำ่ ท่ีจะ เป็นไปไดเ้ พอ่ื นำมำใช้ในกำรประเมินกำรเรียนรู้ จดุ ม่งุ หมำยสำคญั ของกำรประเมินคอื กำรประเมนิ เพอื่ พัฒนำ ผูเ้ รยี นไปสกู่ ำรเรยี นรทู้ ม่ี ีคณุ ภำพมำกขึน้ นน่ั เอง คณุ ลกั ษณะของครู คอชคั และเอกเกน (Kauchak & Eggen, 2007, p. 127) กล่ำวว่ำ ครทู ด่ี ีควรมลี ักษณะส ำคัญ 3 ประกำร คอื มี ทศั นคตทิ ดี่ ใี นกำรสอน มีทักษะในสื่อสำรทมี่ ปี ระสิทธิภำพ และมีทักษะกำรจดั กิจกรรม กำรเรยี นกำรสอน ลกั ษณะ ดังกลำ่ วสง่ ผลตอ่ ประสิทธิภำพของกำรเรียนกำรสอน ตัง้ แตช่ ่วงเริม่ ต้นแนะน ำ บทเรยี น ชว่ งตอนกลำงของบทเรยี น และช่วงปิดทำ้ ยบทเรียน ดังน้นั คณุ ลกั ษณะของครจู งึ มีอิทธพิ ลต่อ กำรเรยี นร้ขู องนักเรียนในหอ้ งเรียน 1. ทัศนคติของครู เป็นสิง่ ท่ีสำคญั ท่สี ุดในกำรเปน็ ครทู ี่ดีเพรำะทศั คติของครูมอี ทิ ธิพลต่อ กำรสอนและกำรถ่ำยทอด ควำมรูใ้ ห้กับเด็ก ทศั นคตขิ องครูประกอบด้วย ประสิทธิภำพทำงกำรสอนของ ครู กำรเปน็ แบบอยำ่ งและควำม กระตือรือรน้ ของครู และควำมคำดหวังของครู ท้ังสำมสงิ่ นสี้ ่งผลตอ่ ทศั นคติในกำรสอนของครู (Brunning et al., 2004) 1) ประสิทธภิ ำพทำงกำรสอนของครู ครทู ่มี ปี ระสทิ ธภิ ำพทำงกำรสอนสูงจะสง่ ผลดตี อ่ กำรเรียนรขู้ องผู้เรียน ทำให้ ผเู้ รยี นสำมำรถเรียนรูไ้ ด้เรว็ และมคี ณุ ภำพ ครูที่มีประสทิ ธิภำพทำงกำรสอน สูงมักให้คำชมเด็กและให้กำลังใจมำกกว่ำ กำรตหิ รอื ตอ่ วำ่ เมอื่ เดก็ ทำผดิ อีกท้ังยงั มคี วำมยดื หยุน่ ในกำรใช้ กลยุทธแ์ ละอปุ กรณก์ ำรเรียนกำรสอนใหม่ ๆ อกี ดว้ ย ตรงกันข้ำมกบั ครทู ่มี ปี ระสิทธภิ ำพทำงกำรสอนต่ำ ครเู หล่ำนัน้ มัก ตนิ ักเรียนเมอื่ ทำผดิ และยดึ ติดกับรปู แบบกำรสอนเดิม ๆ โดยไมป่ รบั เปลย่ี นใหเ้ ข้ำกบั เด็ก หรือบรรยำกำศกำรสอนใหม่ ๆ (Poole, Okeafor, & Sloan, 1989) 2) กำรเป็นแบบอยำ่ งและควำมกระตอื รอื ร้นของครู ครูมอี ิทธิพลอยำ่ งมำกตอ่ ควำมคดิ และแนวทำงกำรเรียนของเด็ก เดก็ มกั ไม่เลียนแบบหรือปฏบิ ตั ติ ำมคำพูดของครู แต่เด็กจะเลียนแบบ พฤตกิ รรมและกำรแสดงออกของครู เดก็ จะรวู้ ำ่ ทศั นคตขิ องครเู ป็นอย่ำงไรโดยดจู ำกกำรแสดงออก ทำงกำรกระทำเชน่ หำกครูบอกใหน้ กั เรียนแสดงควำมเห็นอย่ำง อิสระต่อประเด็นหนง่ึ ๆ แตค่ รกู ลับไม่ ยอมรบั ควำมคดิ เห็นน้นั เดก็ จะเร่มิ สังเกตวำ่ ครชู อบควำมคดิ แบบใดและพยำยำม แสดงควำมเห็นที่ตรง กับควำมต้องกำรของครู ควำมกระตือรอื รน้ ของครเู ป็นส่ิงทีส่ ำคญั ทีส่ ดุ ในกำรเปน็ แบบอยำ่ งท่ีดี ของเดก็ เพรำะเดก็ จะรู้สกึ สนุกและอยำกเรียนกบั ครูทม่ี คี วำมกระตือรอื ร้นในกำรสอน ครูที่มคี วำมกระตอื รือร้น ไม่ จำเป็นตอ้ งเล่ำเรอื่ งตลกท่ีนอกเหนอื จำกบทเรียนแต่ครูจำเปน็ ตอ้ งสือ่ สำรใหเ้ ด็กเข้ำใจได้ว่ำบทเรยี นมี ควำมน่ำสนใจและ จะเปน็ ประโยชน์ตอ่ ผู้เรยี นอยำ่ งไร กำรใช้ภำษำกำยในกำรสอ่ื สำรและใช้ภำษำพูดที่ เขำ้ ใจง่ำยจะชว่ ยใหเ้ ดก็ เกดิ ควำม สนใจในบทเรยี นนั้น ๆ มำกยง่ิ ขนึ้ 3) ควำมคำดหวังของครู ควำมคำดหวังของครคู ือส่ิงทเี่ กี่ยวกับควำมสำเรจ็ ทำงวชิ ำกำร พฤตกิ รรมและทศั นคตขิ อง นกั เรยี นในอนำคต ครูทด่ี มี กั จะมีควำมคำดหวังเชงิ บวกตอ่ กำรเรยี นของ นักเรียนและอธบิ ำยใหน้ ักเรยี นเข้ำใจถึง ควำมสำคัญของบทเรียนต่ำงๆ ครูควรชว่ ยเด็กทุกคนอย่ำงเทำ่ เทยี มกนั ให้ประสบควำมสำเร็จในกำรเรยี นและบรรลุ เปำ้ หมำยทำงวิชำกำรทตี่ นต้ังไว้ ควำมคำดหวังเชิง บวกของครตู ่อนักเรยี นส่งผลให้นักเรียนตงั้ ใจเรียนและท่มุ เทกับกำร เรียนมำกขน้ึ

๑๓ 2. ทักษะในกำรสือ่ สำรทีม่ ปี ระสทิ ธภิ ำพ กำรใชภ้ ำษำของครมู ีผลต่อควำมสำเร็จในกำร เรียนของนกั เรียนและควำมพงึ พอใจในกำรเรยี น กำรสอื่ สำรทช่ี ัดเจนมอี งคป์ ระกอบ 5 อยำ่ ง ไดแ้ ก่ 1) กำรใช้คำศพั ทท์ ีส่ อ่ื ควำมหมำยได้ใช้เจน โดยครูควรหลกี เล่ียงกำรใชค้ ำทีค่ ลุมเครอื เวลำสอ่ื สำรกบั เด็กเนอ่ื งจำกคำ เหล่ำน้ันทำใหป้ ระสิทธิภำพทำงกำรเรยี นของเด็กลดลงและยงั แสดงให้ เหน็ วำ่ ครเู ตรียมตัวมำไมด่ ี 2) กำรใชค้ ำเชอื่ มประโยคท่เี หมำะสม กำรส่อื สำรท่ีดตี ้องมคี ำเชือ่ มทน่ี ำไปสใู่ จควำม สำคัญของประโยค ค ำเช่ือมที่ ถูกต้องจะทำใหล้ ำดบั เหตุกำรณข์ องประโยคเชื่อมโยงกนั อยำ่ งสมเหตสุ มผล 3) กำรเชอ่ื มโยงควำมคดิ ในบทเรียน ครตู อ้ งทำให้นกั เรียนเข้ำใจถึงควำมสมั พนั ธ์ ระหว่ำงควำมคิดท่ีหนง่ึ และควำมคิดท่ี สองโดยกำรอธบิ ำยควำมเช่อื มต่อนน้ั 4) กำรเนน้ ย้ำ ครูควรเน้นยำ้ หัวข้อหรอื เน้ือหำท่มี คี วำมสำคญั หรือโดดเดน่ กว่ำเน้ือหำ อนื่ ๆ เพ่ือช่วยให้นกั เรียนไดเ้ ห็น ถงึ ระดบั ควำมสำคญั ทีต่ ำ่ งกันของเนอื้ หำในบทเรียน 5) ควำมสอดคลอ้ งของภำษำพูดและภำษำกำย กำรใช้ภำษำกำยประกอบกำรพูดควร เป็นไปในแนวทำงเดียวกับส่งิ ท่คี รู พูด ภำษำกำยมคี วำมสำคัญเนื่องจำกเดก็ สำมำรถประเมนิ ทัศนคติและ ควำมจริงใจของครูได้ผำ่ นทำงกำรแสดงออกของ ครู ดังนนั้ เม่ือครตู อ้ งกำรจงู ใจนักเรียน หรอื บอกให้ นกั เรยี นทำ อะไร ครตู อ้ งใชภ้ ำษำพูดและภำษำกำยทสี่ อดคล้องกัน 3. ทักษะกำรจดั กจิ กรรมกำรเรยี นกำรสอน กำรจัดกำรเรียนกำรสอนทด่ี ีนั้นตอ้ งเริ่มจำก กำรตรงตอ่ เวลำ ครูจำเป็นต้อง แบง่ เวลำกำรท ำกิจกรรมอยำ่ งเหมำะสมเพื่อไมใ่ หก้ ระทบตอ่ กิจกรรมอืน่ ๆ กำรเตรียมอปุ กรณ์กำรสอนลว่ งหน้ำก็เป็น อกี สิ่งหนึง่ ท่ีตอ้ งคำนึงถึง นอกจำกนีค้ รยู ังตอ้ งสรำ้ งกจิ วัตรทดี่ ี ใหก้ ับนกั เรียน เช่น เม่ือเด็กเข้ำมำในห้องเรยี น เด็กตอ้ งรู้ ว่ำส่ิงแรกทีค่ วรทำคืออะไร และเมอื่ เลิกเรียน ตอ้ งทำอะไร กำรจัดกำรหอ้ งเรยี นทมี่ ีระบบจะชว่ ยลดปญั หำต่ำง ๆ ใน ห้องเรยี น เช่นกำรสอนไม่ทนั และ ควำมไม่เป็นระเบียบในห้องเรยี น โดยสรปุ กำรเปน็ ครูทีด่ คี วรเริม่ จำกกำรมีทศั นคตทิ ี่ ดีตอ่ กำรเรยี นกำรสอน เพรำะทศั นคติจะ สง่ ผลต่อกำรแสดงพฤตกิ รรมต่ำง ๆ ของครู และปฏิสัมพนั ธข์ องครูตอ่ นกั เรียน ซง่ึ สง่ ผลต่อกำรเรียนรู้ ของนกั เรียน เพรำะนักเรียนสำมำรถรบั รู้ไดโ้ ดยอัตโนมัติวำ่ ครคู ดิ อยำ่ งไรและตอ้ งกำรอะไร เพ่อื ท่ีจะ ตอบสนองไปตำมควำมต้องกำรของครู นอกจำกนนั้ นกั เรยี นยังยดึ ถือครเู ปน็ แบบอย่ำง โดยกำร เลียนแบบกำร กรทำและคำพดู ของครู กำรมีทศั นคติที่ดจี ึงเปน็ จดุ เร่มิ ต้นสำคัญของคุณลักษณะอืน่ ๆ กำรจัดกจิ กรรมได้อยำ่ ง เหมำะสมตำมเป้ำหมำยกำรเรียนรู้ และจัดใหม้ ีกำรเรียนรู้ แบบรว่ มมอื กำรสรำ้ งบรรยำกำศทส่ี ง่ เสริมกำรเรยี นรู้ ประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบตอ่ ไปน้ี คอื กำรจงู ใจ ผู้เรียน สิ่งแวดลอ้ มในกำรเรียน กำรสอนท่ีมปี ระสิทธภิ ำพ และ คณุ ลักษณะของครู ๗.กำรเผยแพร่ ข้ำพเจำ้ ไดด้ ำเนนิ กำรจดั ทำเอกสำรผ่ำน E-BOOK เผยแพรเ่ อกสำรผ่ำนทำงงำนประชำสัมพนั ธ์ กศน.ตำบลดงมะไฟ Facebook : เพจกศน.ตำบลดงมะไฟ และ กำรนำเสนอขอ้ มลู ผำ่ น Youtube

๑๔ ภำพกิจกรรม Best Practice (แนวปฏิบตั ิท่ีด)ี “กำรพัฒนำคณุ ภำพกำรศกึ ษำเพ่ือยกระดบั ผลสมั ฤทธท์ิ ำงกำรเรยี น (N-NET) โดยใชร้ ูปแบบ KTH MODEL”

๑๕

๑๖

๑๗

๑๘

๑๙

๒๐

๒๑

๒๒ ทป่ี รึกษำ คณะผ้จู ดั ทำคณ นำยวินยั แสงใส ะทำงำน นำงสำวพิชชำพิมพ์ เพ็ชรเวยี ง นำงสำวอำรยำ วชิ ำสวัสดิ์ รักษำกำร ผอู้ ำนวยกำร กศน.อำเภอสวุ รรณคหู ำ นำยวชรพล เพยี เทพ ครูผูช้ ่วย นำยอภชิ ำติ สทุ ธโิ สม ครูผชู้ ว่ ย นำงสวุ รรณำ สทุ ธโิ สม ครูอำสำสมัครกำรศกึ ษำนอกโรงเรียน ครูอำสำสมัครกำรศึกษำนอกโรงเรยี น ครูอำสำสมคั รกำรศึกษำนอกโรงเรยี น คณะทำงำน ครู กศน.ตำบล ครู กศน.ตำบล นำงศุภชั ญำ พรชยั ครูศูนย์กำรเรยี นชุมชน นำยทรงศักดิ์ พรชัย นำงสำวปรยี ำรตั น์ ทนุ่ ใจ ผรู้ วบรวม/เรยี บเรียง/จดั รปู เลม่ ครู กศน.ตำบล ครู กศน.ตำบล นำยทรงศกั ดิ์ พรชยั ครู กศน.ตำบล ออกแบบปก นำยทรงศกั ดิ์ พรชยั เจ้ำของเอกสำร นำยทรงศกั ด์ิ พรชัย

๒๓


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook