Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน การยางแห่งประเทศไทยจังหวัดภูเก็ต 2565

คู่มือการบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน การยางแห่งประเทศไทยจังหวัดภูเก็ต 2565

Description: คู่มือการบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน การยางแห่งประเทศไทยจังหวัดภูเก็ต 2565

Search

Read the Text Version

ฉบับปี 2565 คู่ มื อ กแาลระบครวิหบาคุรมคภวาายมใเนสี่ยง (Risk Management & Internal Control Manual) ภู เ ก็ ตก า ร ย า ง แ ห่ ง ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย จั ง ห วั ด เขตภาคใต้ ตอนกลาง เลขที่ 3/8 หมู่ที่ 1 ถนนศรีสุทัศน์ ตำบลรัษฎา อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต หมายเลขโทรศั พท์ 076-213282 โทรสาร 076-211127

คำนำ การยางแห่งประเทศไทย (กยท.) ไดม้ กี ารประกาศนโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดี การบริหาร ความเสีย่ งและควบคุมภายใน และการกำกบั ดูแลการปฏิบัติงานของการยางแห่งประเทศไทย (นโยบาย GRC) ซึ่งประกาศ ณ วันที่ 16 สิงหาคม 2564 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้การดำเนินงานตามภารกิจของกยท. มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และส่งเสริมให้คณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย ผู้บริหาร พนักงาน ลูกจ้าง ทุกระดับในองค์กร มีส่วนร่วมในการกำกับดูแลกิจการที่ดี และเสริมสร้างจิตสำนึกด้านคุณธรรม และจริยธรรม มีการบริหารความเสี่ยงอย่างเป็นระบบภายใต้กระบวนการบริหารความเสี่ยงที่เป็นมาตรฐาน เดียวกัน รวมทั้งปลูกฝงั ให้การบริหารความเสี่ยงเปน็ ส่วนหนึ่งในการดำเนนิ งานปกติ และสร้างวัฒนธรรมการ บรหิ ารความเสี่ยง สนบั สนุนการใชท้ รพั ยากรและสนิ ทรัพยอ์ ยา่ งคุ้มค่า ป้องกนั การทจุ ริต ลดความผิดพลาดใน การปฏิบัติงาน และมีการปฏิบัติตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ มติคณะรัฐมนตรี และคู่มือการปฏิบัติงาน อันจะส่งผลให้องค์กรประสบความสำเร็จตามเป้าหมายที่วางไว้ ทั้งได้รับความน่าเชื่อถือและความไว้วางใจ จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ลูกค้า รวมถึงบุคคลทั่วไป ซึ่งเป็นไปตามแนวปฏิบัติที่ 2 ขององค์ประกอบที่ 3 ได้กำหนดให้ทุกส่วนงาน/หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการศึกษา วิเคราะห์ และทบทวนคำสั่ง กฎระเบยี บ ขอ้ บงั คบั ค่มู อื การปฏิบัติงาน เพื่อสนับสนนุ การทำงานให้มีประสิทธิภาพ และใหม้ ีการนำระเบียบ และข้อบังคับของกยท. ไปใช้ประกอบการจัดทำแนวปฏิบัติงานหรือคู่มือปฏิบัติงานในด้านต่าง ๆ ของ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมท้ังจัดให้มีกระบวนการสื่อสารคำสั่ง กฎระเบียบ ข้อบังคับของกยท. ให้แก่ทุก หน่วยงานในองค์กรอย่างเป็นรูปธรรม การยางแห่งประเทศไทยจังหวัดภูเก็ต (กยท.จ.ภเู ก็ต) จึงได้ดำเนินการจัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน (Work Manual) ของหน่วยงาน เพื่อให้พนักงานที่เกี่ยวข้องสามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัตงิ านได้ อยา่ งถกู ต้อง เปน็ ไปตามทิศทางเดียวกัน ซึง่ กอ่ ให้เกดิ ประสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ล อนั จะนำไปสู่ความม่ันคง เข้มแขง็ ของหน่วยงาน ส่วนงาน และองคก์ รต่อไป การยางแห่งประเทศไทยจังหวดั ภเู กต็ มกราคม 2565

สารบญั หนา้ คำนำ........................................................................................................................................................ 1 สารบัญ.....................................................................................................................................................2 รายการภาพประกอบ................................................................................................................................4 สว่ นที่ 1 ข้อมูลทว่ั ไปของการยางแหง่ ประเทศไทยจงั หวัดภูเกต็ ................................................................5 1.1 ขอ้ มูลทั่วไป .......................................................................................................................................... 5 1.2 โครงสร้างการบริหารงาน ..................................................................................................................... 6 ส่วนท่ี 2 ความสำคัญของคมู่ ือการบรหิ ารความเสี่ยงและควบคมุ ภายใน...................................................7 2.1 วตั ถปุ ระสงค์ของคูม่ ือการบริหารความเสย่ี งและควบคมุ ภายใน ............................................................ 7 2.2 ขอบเขตของคู่มอื การบริหารความเสย่ี งและควบคุมภายใน................................................................... 7 2.3 การปรบั ปรงุ คู่มอื การบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน................................................................... 8 2.4 คำจำกัดความ ...................................................................................................................................... 8 สว่ นท่ี 3 ท่ีมาและความสำคัญของการบริหารความเส่ียงและควบคมุ ภายใน ..........................................10 3.1 ความเป็นมาของการบรหิ ารความเสีย่ ง............................................................................................... 10 3.2 วัตถปุ ระสงค์ของการบริหารความเส่ยี ง............................................................................................... 11 3.3 องค์ประกอบของการบริหารความเส่ยี ง.............................................................................................. 11 3.4 ความเปน็ มาของการควบคมุ ภายใน.................................................................................................... 21 3.5 วตั ถุประสงค์ของการควบคุมภายใน ................................................................................................... 21 3.6 องคป์ ระกอบการควบคุมภายใน ......................................................................................................... 22 3.7 ขอบเขตของการปฏิบตั ิงานด้านการบรหิ ารความเสย่ี งและการควบคุมภายใน .................................... 26 3.8 โครงสร้างการบริหารความเสย่ี งและการควบคุมภายในของกยท. ....................................................... 27 3.9 โครงสรา้ งและหนา้ ที่ความรบั ผดิ ชอบของกยท.จ.ภูเกต็ ....................................................................... 28

สารบญั (ต่อ) หนา้ ส่วนท่ี 4 กระบวนการปฏิบตั ิงาน ............................................................................................................31 4.1 การจดั ทำคู่มือบริหารความเส่ยี งและควบคมุ ภายใน ประจำปงี บประมาณ 2565...............................31 สว่ นที่ 5 ภาคผนวก................................................................................................................................34 5.1 คำสงั่ .................................................................................................................................................. 34 5.2 คมู่ อื และแผนปฏบิ ตั ิการที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินการ ........................................................................ 36 5.3 ปัจจัยเสย่ี งระดบั องคก์ ร ประจำปี 2565............................................................................................. 38 5.4 การใช้งานระบบสารสนเทศสนับสนุนการบรหิ ารความเส่ยี งและการควบคุมภายใน............................ 38 ส่วนท่ี 6 อา้ งอิง......................................................................................................................................44

รายการภาพประกอบ หนา้ ภาพประกอบ 1 บรรยากาศท่ีตั้งการยางแห่งประเทศไทยจังหวดั ภูเก็ต............................................................ 5 ภาพประกอบ 2 โครงสรา้ งการบริหารงานการยางแห่งประเทศไทยจงั หวัดภเู ก็ต............................................. 6 ภาพประกอบ 3 การวเิ คราะห์ความเส่ยี งโดยการจัดทำ Risk Universe........................................................ 13 ภาพประกอบ 4 แนวทางในการกำหนดกจิ กรรมการควบคุม......................................................................... 14 ภาพประกอบ 5 การจัดลำดับความรนุ แรงความเสย่ี งของ กยท..................................................................... 15 ภาพประกอบ 6 คำอธิบายการบรหิ ารความเสี่ยงตามระดบั ความเสี่ยงของ กยท ........................................... 16 ภาพประกอบ 7 แผนผงั จดั ระดับความเสย่ี ง (Risk Assessment Matrix) ของ กยท..................................... 17 ภาพประกอบ 8 กลยทุ ธ์ 4T’s Strategies เพ่อื จดั การความเสย่ี ง ................................................................. 18 ภาพประกอบ 9 โครงสรา้ งการบรหิ ารความเส่ียงและการควบคุมภายในของกยท......................................... 27 ภาพประกอบ 10 ระบบบริหารความเสย่ี งและควบคุมภายใน....................................................................... 39 ภาพประกอบ 11 เข้าสรู่ ะบบ........................................................................................................................ 40 ภาพประกอบ 12 หน้าหลักของระบบ ........................................................................................................... 41 ภาพประกอบ 13 แถบคำสง่ั ระบบการบรหิ ารความเสยี่ ง............................................................................... 41 ภาพประกอบ 14 การรายงานผลการบริหารความเสยี่ งองค์กร ..................................................................... 42 ภาพประกอบ 15 แถบคำส่งั การควบคุมภายใน............................................................................................. 43 ภาพประกอบ 16 แถบคำสั่งดาวน์โหลดเอกสารคมู่ ือตา่ ง ๆ........................................................................... 43

สว่ นท่ี 1 ขอ้ มลู ทั่วไปของการยางแหง่ ประเทศไทยจงั หวดั ภเู กต็ 1.1 ขอ้ มลู ทว่ั ไป การยางแห่งประเทศไทยจังหวัดภูเก็ต เรียกโดยย่อว่า “กยท.จ.ภูเก็ต” เป็นหน่วยงานใน สังกัดส่วนงานการยางแห่งประเทศไทยเขตภาคใต้ตอนกลาง รับผิดชอบการปฏิบัติงานในเขตท้องที่จังหวัด ภูเก็ต ประกอบด้วย 3 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเมือง อำเภอถลาง และอำเภอกะทู้ และในเขตท้องท่ีจังหวัดพังงา ประกอบด้วย 1 อำเภอ ไดแ้ ก่ อำเภอเกาะยาว การยางแห่งประเทศไทยจังหวัดภูเก็ต รับผิดชอบดูแลการบริหารจัดการด้านยางพารา ส่งเสริม สนบั สนุน และให้ความช่วยเหลือเกษตรกรชาวสวนยาง สถาบนั เกษตรกรชาวสวนยาง และผู้ประกอบ กิจการยาง ด้านวิชาการ การเงิน การผลิต การแปรรูป การอุตสาหกรรม การตลาด การประกอบธุรกิจ การ ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการปลูกแทนและการปลูกใหม่ ตลอดจนการเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับยางพารา และ การดำเนินการอน่ื ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพอ่ื ยกระดบั รายไดแ้ ละคณุ ภาพชีวติ เกษตรกรชาวสวนยางใหด้ ขี ึ้น ภาพประกอบ 1 บรรยากาศที่ต้ังการยางแห่งประเทศไทยจังหวัดภูเกต็ เลขท่ี 3/8 หมู่ท่ี 1 บ้านเกาะสิเหร่ ถนนศรีสุทัศน์ ตำบลรษั ฎา อำเภอเมือง จังหวดั ภูเก็ต โทรศพั ท์ 076-213282 โทรสาร 076-213282 Facebook การยางแห่งประเทศไทยจังหวดั ภเู ก็ต คมู่ ือการบรหิ ารความเสยี่ งและควบคุมภายใน การยางแหง่ ประเทศไทยจงั หวดั ภูเกต็ 2565 5

1.2 โครงสรา้ งการบริหารงาน ภาพประกอบ 2 โครงสรา้ งการบรหิ ารงานการยางแห่งประเทศไทยจังหวดั ภเู กต็ จากภาพประกอบ 2 โครงสร้างการบรหิ ารงานการยางแห่งประเทศไทยจังหวัดภูเก็ต มีกรอบ อัตรากำลัง จำนวน 20 อัตรา แยกเป็นกรอบอัตรากำลังพนักงาน จำนวน 15 อัตรา และกรอบอัตรากำลัง ลกู จ้าง จำนวน 5 อตั รา ปัจจบุ นั (เดือนมกราคม 2565) มอี ัตราครอง จำนวน 13 อตั รา ประกอบดว้ ย พนักงาน จำนวน 9 อัตรา และลูกจ้างประจำ จำนวน 4 อัตรา กรอบอตั รากำลัง อัตราครอง อตั ราว่าง 20 อัตรา 13 อตั รา 7 อัตรา - พนักงาน 9 คน - พนกั งาน 6 คน - พนกั งาน 15 คน - ลกู จ้าง 4 คน - ลกู จ้าง 1 คน - ลกู จ้าง 5 คน คู่มอื การบรหิ ารความเสยี่ งและควบคุมภายใน การยางแห่งประเทศไทยจงั หวัดภูเกต็ 2565 6

สว่ นที่ 2 ความสำคัญของค่มู อื การบริหารความเสีย่ งและควบคมุ ภายใน 2.1 วัตถุประสงคข์ องคมู่ อื การบรหิ ารความเสี่ยงและควบคุมภายใน เพื่อให้ การยางแหง่ ประเทศไทยจังหวัดภเู กต็ (กยท.จ.ภเู กต็ ) มกี ระบวนการปฏบิ ตั ิงานทีช่ ัดเจน และ มีคมู่ ือปฏิบัตงิ าน (work manual) ท่มี ีมาตรฐาน โดยรวบรวมขน้ั ตอน กระบวนการ และเอกสารที่เก่ียวข้องใน งานด้านบรหิ ารความเสย่ี งและควบคุมภายในของการยางแห่งประเทศไทย เพือ่ ใหก้ ารปฏบิ ัติงานเป็นไปในทาง เดียวกัน ตลอดจนส่งเสริมและสนับสนนุ ให้การปฏบิ ตั งิ านมปี ระสทิ ธภิ าพและประสิทธผิ ล 2.2 ขอบเขตของคมู่ ือการบริหารความเส่ยี งและควบคมุ ภายใน คู่มือการบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน ครอบคลุมขั้นตอนในการดำเนินงาน ซึ่งสอดคล้องกับ เกณฑก์ ารประเมนิ ผลการดำเนนิ งานของรฐั วสิ าหกิจ (State Enterprise Assessment Model : SE-AM) โดย ประกอบไปด้วย 11 กระบวนการทีส่ ำคัญ คอื (1) การจดั ประชุมด้านการบริหารความเส่ียงและควบคมุ ภายใน (2) การติดตามและรายงานผลการดำเนนิ งานดา้ นการบริหารความเสย่ี งและควบคมุ ภายใน (3) การจัดทำและการทบทวนคูม่ ือ/แผนงานตา่ ง ๆ ด้านการบรหิ ารความเสยี่ งและควบคมุ ภายใน (4) การกำหนดแนวทางการทบทวน วธิ ีการปฏบิ ัตงิ านด้านการบริหารความเสยี่ งและควบคุมภายใน (5) การประเมินประสทิ ธผิ ลการดำเนินงานด้านการบริหารความเสย่ี งและควบคุมภายใน (6) การสำรวจความรคู้ วามเขา้ ใจ/ชอ่ งทางการสือ่ สาร ดา้ นการบริหารความเสี่ยงและควบคมุ ภายใน (7) การสร้างบรรยากาศและวฒั นธรรมสนบั สนนุ การบริหารความเสยี่ งและควบคุมภายใน (8) การกำหนดยทุ ธศาสตรแ์ ละวัตถปุ ระสงค์/เปา้ ประสงคเ์ ชงิ ยุทธศาสตร์ (9) กระบวนการบรหิ ารความเสย่ี ง (10) การพฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการสื่อสาร และการรายงานผลการบริหารความ เส่ียงและการควบคุมภายใน (11) การควบคุมภายใน และการกำกบั ดูแลการปฏบิ ตั งิ าน (Compliance) ค่มู ือการบรหิ ารความเสยี่ งและควบคมุ ภายใน การยางแห่งประเทศไทยจังหวดั ภเู กต็ 2565 7

2.3 การปรับปรุงคมู่ อื การบริหารความเสยี่ งและควบคมุ ภายใน กองบรหิ ารความเส่ยี ง มีการกำหนดให้ ส่วนงาน และหน่วยงาน มีการทบทวนและปรบั ปรงุ คู่มือการ บรหิ ารความเส่ยี งและควบคมุ ภายใน อย่างนอ้ ยปลี ะ 1 ครั้ง และให้แลว้ เสร็จภายใน ไตรมาสที่ 1 2.4 คำจำกดั ความ 2.4.1 การประเมินผลการดำเนินงานรัฐวิสาหกิจตามระบบประเมินผลใหม่ (SE–AM) หมายถึง กรอบการประเมินผลการดำเนินงานรัฐวิสาหกิจ โดยแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ผลการดำเนินงาน ( key performance area) (น้ำหนักร้อยละ 60+/-15) และด้านการบริหารจัดการองค์กร (core business enablers) นำ้ หนักรอ้ ยละ 40+/-15) 2.4.2 Core Business Enablers หมายถงึ หวั ขอ้ ในการประเมินผลการดำเนินงานรัฐวสิ าหกิจ ด้าน การบริหารจัดการองค์กร ซง่ึ ประกอบด้วยการประเมนิ ผล 8 ดา้ น ได้แก่ (1) ดา้ นการกำกบั ดูแลทด่ี ีและการนำองคก์ ร (2) ดา้ นการวางแผนเชงิ กลยทุ ธ์ (3) ดา้ นการบรหิ ารความเสยี่ งและควบคมุ ภายใน (4) ดา้ นการมุ่งเนน้ ผมู้ สี ว่ นไดส้ ่วนเสียและลกู คา้ (5) ด้านการพัฒนาเทคโนโลยีดิจทิ ัล (6) ด้านการบรหิ ารทุนมนษุ ย์ (7) ด้านการจดั การความร้แู ละนวัตกรรม (8) ด้านการตรวจสอบภายใน 2.4.3 Risk Management & Internal Control: RM & IC หมายถึง การบริหารความเสี่ยงและ ควบคุมภายใน 2.4.4 Compliance หมายถึง การกำกบั ดูแลการปฏิบัติงาน 2.4.5 Work Manual หมายถึง คู่มือการปฏิบัติงาน หรือเอกสารที่ส่วนงาน/หน่วยงาน สร้างขึ้นมา เพอ่ื ใชเ้ ปน็ แนวทางในการปฏิบัติงาน 2.4.6 ผวก.กยท. หมายถงึ ผ้วู ่าการการยางแหง่ ประเทศไทย 2.4.7 กบค. หมายถงึ กองบรหิ ารความเส่ียง คมู่ อื การบรหิ ารความเสย่ี งและควบคมุ ภายใน การยางแหง่ ประเทศไทยจงั หวดั ภเู กต็ 2565 8

2.4 คำจำกัดความ (ต่อ) 2.4.8 คณะทำงาน RIC หมายถึง คณะทำงานการบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายในของการยาง แหง่ ประเทศไทย 2.4.9 คณะอนุกรรมการ RMC หมายถึง คณะอนุกรรมการบริหารความเส่ียงและควบคุมภายในของ การยางแหง่ ประเทศไทย 2.4.10 คณะกรรมการ กยท. หมายถงึ คณะกรรมการการยางแหง่ ประเทศไทย 2.4.11 สว่ นงาน หมายถึง ฝ่าย/กยท.เขต/สำนกั /สถาบนั 2.4.12 หนว่ ยงาน หมายถึง กองในสำนกั งานใหญ/่ กยท.จ./ศูนย์วจิ ยั ยาง/ศูนย์บริการรับรองทดสอบ/ สำนักงานตลาดกลางยางพารา 2.4.13 Risk Owner หมายถงึ เจ้าของปัจจยั เสี่ยง 2.14 PA องค์กร หมายถึง Performance Appraisal หรือ ตัวชี้วัดการดำเนินงานที่สำนักงาน คณะกรรมการนโยบายรฐั วสิ าหกิจ ใชใ้ นการประเมินผลการดำเนินงานของ กยท. 2.4.15 สคร. หมายถงึ สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกจิ 2.4.16 ผังขน้ั ตอนในการปฏบิ ตั ิงาน (Flow Chart) จุดเริม่ ตน้ และสิน้ สดุ ของกระบวนการ กจิ กรรมและการปฏบิ ัตงิ าน การตัดสินใจ ทิศทาง/การเคลือ่ นไหวของงาน จุดเชื่อมต่อระหว่างขั้นตอน กรณีการเขียน กระบวนการไม่สามารถจบได้ ภายใน 1 หน้า เอกสาร/รายงาน ฐานข้อมูล จุดควบคุมกิจกรรมหลักที่คาดว่าจะเกิดปัญหา บ่อย/ตอ้ งควบคุมเปน็ พิเศษ คูม่ ือการบรหิ ารความเสยี่ งและควบคมุ ภายใน การยางแห่งประเทศไทยจงั หวดั ภเู กต็ 2565 9

สว่ นที่ 3 ทม่ี าและความสำคญั ของการบริหารความเส่ยี งและควบคุมภายใน การบรหิ ารความเสยี่ ง 3.1 ความเปน็ มา “การบรหิ ารความเส่ยี งขององคก์ ร (Enterprise Risk Management)” เปน็ กระบวนการ ที่มีระบบสามารถที่จะนำไปใช้ได้กับองค์กรทุกประเภท เพื่อบ่งชี้เหตุการณ์ความเสี่ยง ประเมินความเสี่ยง จัดลำดับความสำคัญ และจัดการความเสี่ยง ซึ่งช่วยสนับสนุนให้องค์กรสามารถพิจารณาระดับความเสี่ยงท่ี องคก์ รยอมรับได้ หรือตอ้ งการทจี่ ะยอมรับและกำหนดกรอบการดำเนินงานใหแ้ ก่องค์กรเพื่อให้สามารถบริหาร ความไม่แน่นอน ความเสี่ยงและโอกาสของธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพ (กองบริหารความเสี่ยง ฝ่ายยุทธศาสตร์ องคก์ ร, 2564) การบริหารความเสี่ยงถูกกำหนดให้เป็นหนึ่งในองค์ประกอบของตัวชี้วัดการประเมินผลงาน (Performance Criteria) เพอ่ื วัดประสทิ ธภิ าพการดำเนินงานของรัฐวิสาหกิจ เพ่ือส่งเสรมิ และผลักดันให้มีการ บริหารความเสี่ยงที่ดี ซึ่งสอดคล้องตามแนวปฏิบัติที่ดีของ COSO ERM (2017) และกลไกผลักดันให้มีแนว ทางการบริหารความเส่ยี งที่มีประสิทธภิ าพและสามารถสร้างมลู คา่ เพ่ิม (Value Enhancement) ใหก้ ับองค์กร โดยการกำหนดระดับที่สะท้อนพัฒนาการของการบริหารความเสี่ยง เช่น การกำกับและสร้างวัฒนธรรมความ เสี่ยง การกำหนดนโยบาย/กลยุทธ์ขององค์กรในการบริหารความเสี่ยง การกำหนดวัตถุประสงค์และ ยุทธศาสตร์องค์กรที่ชัดเจน กระบวนการในการจัดการความเสี่ยงที่เป็นระบบ รวมทั้งการสร้างความรู้ความ เข้าใจ ความตระหนักเรื่องการบริหารความเสี่ยง การบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการที่ดี (IT Governance) การพิจารณาให้การบริหารความเสี่ยงเป็นส่วนหนึ่งของการพิจารณาผลตอบแทนความดี ความชอบของคณะกรรมการ และการบูรณาการระหว่างการบริหารความเสี่ยงกับกำควบคุมภายใน (กอง บริหารความเสยี่ ง ฝา่ ยยทุ ธศาสตรอ์ งคก์ ร, 2564) ค่มู ือการบรหิ ารความเสยี่ งและควบคุมภายใน การยางแห่งประเทศไทยจงั หวัดภเู กต็ 2565 10

3.2 วัตถุประสงค์ของการบรหิ ารความเสีย่ ง 1) เพอ่ื ใหส้ ามารถตระหนกั ถงึ ภัยคุกคาม และลดการสญู เสยี ที่อาจเกดิ ขึน้ 2) เพอ่ื เปน็ เครอื่ งมือทส่ี ำคัญในการบรหิ ารงาน และชว่ ยให้การพฒั นาองคก์ รเปน็ ไปในทิศทาง เดยี วกนั 3) เพื่อสร้างฐานข้อมูลที่มีประโยชน์ต่อการบริหารและการปฏิบัติงานในองค์กร สะท้อน ภาพรวมของความเสี่ยงต่าง ๆ ที่สำคัญขององค์กรทั้งหมด และสนับสนุนการตัดสินใจของผู้บริหาร และมอง เป้าหมายในภาพรวม 4) เพื่อใหก้ ารจดั สรรทรัพยากรเปน็ ไปอยา่ งมีประสิทธิภาพและประสทิ ธิผล 3.3 องค์ประกอบของการบรหิ ารความเสี่ยง องคป์ ระกอบ Here การระบุปัจจยั เสี่ยง การจัดทำแผนจัดการความเส่ียงและการปรบั ปรุง การกำหนดกจิ กรรมการควบคมุ ท่ตี อบสนองตอ่ ความเสยี่ งองคก์ ร มกาารตบรกริหาราครวคบวาคมุมเภสาี่ยยงใแนบบบรู ณาการ การประเมินระดับความรนุ แรงของปจั จยั เส่ียง การตดิ ตามและรายงานผลการบรหิ ารความเสยี่ ง การจัดลำดบั ความเส่ียง การทบทวนผลการบริหารความเสย่ี ง คมู่ ือการบรหิ ารความเสย่ี งและควบคุมภายใน การยางแหง่ ประเทศไทยจงั หวดั ภเู กต็ 2565 11

การระบุปัจจยั เสีย่ ง (Identifies Risk) โดยพจิ ารณาใหค้ รอบคลมุ ความเสย่ี งทั้ง 5 ด้าน ไดแ้ ก่ 1 ด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk: SR) 2 ด้านการดำเนนิ งาน (Operational Risk: OR) 3 ดา้ นการเงนิ (Financial Risk: FR) 4 ด้านการปฏิบัตติ ามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบงั คับ (Compliance Risk: CR) 5 ปัจจัยเสี่ยงท่ีสร้างมลู ค่าเพิม่ (Intelligence Risk : IR) รวมทั้งต้องพิจารณาถึงปัจจัยภายใน ปัจจัยภายนอก ยุทธศาสตร์และเป้าหมายที่สำคัญขององค์กร จุดอ่อน ความตอ้ งการความคาดหวังของผูม้ สี ่วนได้สว่ นเสยี และตวั ชวี้ ัดท่สี ำคัญขององค์กร (Inherent Risk) การกำหนดกจิ กรรมการควบคุมที่ตอบสนองต่อความเสย่ี งองค์กร (Selects and Develops Control Activities) การประเมนิ ประสทิ ธิผลของการควบคมุ การประเมินประสิทธผิ ลของการควบคุม เป็นการวิเคราะห์ภายใต้แนวคิดการบริหารความเส่ียงทีร่ ะบุ ว่า ความเสี่ยงต่าง ๆ หากดำเนินการได้ภายใต้การควบคุมภายในที่เพียงพอก็สามารถยอมรับความเสี่ยงนั้นได้ แต่ถ้าหากยังมีความเสี่ยงคงเหลือก็ต้องจัดทำแผนจัดการความเสี่ยง เพื่อป้องกันหรือลดความเสี่ยง ซึ่งใน เบอ้ื งต้น กบค. ไดก้ ำหนดรูปแบบการประเมนิ ประสทิ ธิผลการควบคุมภายใน และการวเิ คราะหค์ วามเสีย่ ง คู่มือการบรหิ ารความเสยี่ งและควบคุมภายใน การยางแหง่ ประเทศไทยจงั หวดั ภูเกต็ 2565 12

โดยการจัดทำ Risk Universe รายละเอยี ดดงั ภาพประกอบ 3 ภาพประกอบ 3 การวิเคราะห์ความเส่ยี งโดยการจดั ทำ Risk Universe ท่มี า: คู่มือการบรหิ ารความเส่ียงและควบคุมภายใน กองบริหารความเสีย่ ง ฝ่ายยุทธศาสตร์องค์กร, 2564 โดยจะต้องดำเนินการวิเคราะห์ประสิทธิผลการควบคุมภายในทั้งปัจจัยเสี่ยงระดับองค์กรและปัจจัย เสี่ยงระดับส่วนงาน/หน่วยงาน/หน่วยงานย่อย ภายใต้แนวคิดของการบริหารความเสี่ยง ซึ่งหากระดับความ เพียงพอในการควบคุมภายในยังอยู่ในระดับที่ยังไม่เพียงพอให้ดำเนินการกำหนดกิจกรรมการควบคุม เพื่อทำ ให้มาตรการในการควบคุมภายในมีประสิทธิภาพ เมื่อมีการประเมินมาตรการควบคุมภายในแล้ว หากปัจจัย เสี่ยงนั้น ๆ ได้รับการพิจารณาแล้วว่าสามารถดำเนินการภายใต้การควบคุมภายในที่เพียงพอก็สามารถยอมรับ ความเสี่ยงได้ แต่ถ้าหากยังมีความเสี่ยงให้จัดทำแผนบริหารจัดการความเสี่ยง เพื่อป้องกันหรือลดความเสี่ยง ของงานหรือโครงการนั้น ๆ ต่อไป ซึ่งแนวทางในการกำหนดกิจกรรมการควบคุม มีทั้งสิ้น 4 แนวทาง ดัง ภาพประกอบ 4 คู่มือการบรหิ ารความเสย่ี งและควบคุมภายใน การยางแห่งประเทศไทยจังหวัดภูเกต็ 2565 13

ภาพประกอบ 4 แนวทางในการกำหนดกิจกรรมการควบคุม ทม่ี า: ค่มู ือการบริหารความเส่ียงและควบคุมภายใน กองบริหารความเสย่ี ง ฝ่ายยทุ ธศาสตรอ์ งค์กร, 2564 การประเมนิ ระดับความรุนแรงของปจั จัยเสย่ี ง (Risk Assessment) การประเมินระดับความรุนแรงของปัจจัยเสี่ยง หมายถึง การวัดระดับความรุนแรงของความเสีย่ งว่ามี มากน้อยเพียงใด โดยนำความเสี่ยงที่ได้จากการระบุความเสี่ยงมาทำการประเมินหาค่าระดับความเสี่ยง ควร ประเมินทั้งความเสี่ยงก่อนจัดการ (Inherent Risk) และความเสี่ยงที่เหลืออยู่หลังจากที่มีการจัดการแล้ว (Residual Risk) โดยมอี งค์ประกอบที่จะตอ้ งพจิ ารณาในการประเมินความเสย่ี ง ดังนี้ โอกาสที่จะเกิด (Likelihood) ดูได้จากความถี่ของการเกิดเหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดความสูญเสีย โดย อาจจำแนกเป็นระดบั ต่ำ ปานกลาง สูง หรอื รอ้ ยละของโอกาสที่จะเกิดขึน้ ได้ มี 5 ระดบั คอื บอ่ ยมาก (5) บ่อย (4) ปานกลาง (3) น้อย (2) น้อยมาก (1) ผลกระทบ (Impact) ดูได้จากความรุนแรงหรือขนาดของความเสียหาย เมื่อเหตกุ ารณเ์ กิดขึ้น ซ่ึงการ ประเมินความรุนแรงของการสูญเสียและการคาดการณ์มูลค่าของความสูญเสีย เมื่อเกิดภัยขึ้น มี 5 ระดับ คือ สูงมาก (5) สงู (4) ปานกลาง (3) นอ้ ย (2) นอ้ ยมาก (1) คูม่ อื การบรหิ ารความเสยี่ งและควบคุมภายใน การยางแห่งประเทศไทยจงั หวัดภเู กต็ 2565 14

การจดั ลำดับความเสยี่ ง (Prioritizes Risk) การจัดลำดับความรุนแรงของแต่ละปัจจัยเส่ียงสามารถพิจารณาไดโ้ ดยการใช้ตารางการจัดลำดับความ รุนแรงของความเสี่ยงที่ กยท. กำหนดขึ้น เพื่อที่จะประเมินระดับความเสี่ยงโดยรวม (Risk Exposure) ทำให้ สามารถมีมาตรการควบคุมความเสี่ยงได้อย่างเหมาะสมต่อไป จาก Risk Assessment Matrix นำรายการ ความเสี่ยงของแต่ละระดับความเสี่ยงที่ได้จัดเรียงลำดับไว้ (Risk Ranking) มาวิเคราะห์เปรียบเทียบกับเกณฑ์ ความสามารถในการยอมรับความเสีย่ ง (Criteria for Acceptability Risk) ของ กยท. การจดั ลำดบั ความรุนแรงความเสย่ี ง (Risk Ranking) ของ กยท. ภาพประกอบ 5 การจดั ลำดบั ความรนุ แรงความเสยี่ งของ กยท. ทีม่ า: คู่มือการบริหารความเส่ียงและควบคุมภายใน กองบริหารความเสี่ยง ฝา่ ยยุทธศาสตรอ์ งค์กร, 2564 คมู่ อื การบรหิ ารความเสยี่ งและควบคมุ ภายใน การยางแห่งประเทศไทยจงั หวัดภูเกต็ 2565 15

ระดับของความเส่ยี ง จาก Risk Assessment Matrix นำรายการความเส่ียงของแต่ละระดับความเสี่ยงที่ได้จัดเรียงลำดบั ไว้ (Risk Ranking) มาวิเคราะห์เปรียบเทียบกับเกณฑ์ความสามารถในการยอมรับความเสี่ยง (Criteria for Acceptability Risk) ภาพประกอบ 6 คำอธบิ ายการบริหารความเส่ียงตามระดบั ความเส่ียงของ กยท ที่มา: คูม่ ือการบรหิ ารความเส่ียงและควบคุมภายใน กองบริหารความเสย่ี ง ฝ่ายยทุ ธศาสตรอ์ งค์กร, 2564 คู่มอื การบรหิ ารความเสย่ี งและควบคมุ ภายใน การยางแหง่ ประเทศไทยจงั หวดั ภเู กต็ 2565 16

ภาพประกอบ 7 แผนผงั จดั ระดบั ความเส่ียง (Risk Assessment Matrix) ของ กยท. ทมี่ า: คมู่ ือการบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน กองบริหารความเสีย่ ง ฝา่ ยยทุ ธศาสตรอ์ งค์กร, 2564 การจดั ทำแผนจดั การความเส่ยี งและการปรับปรงุ มาตรการควบคุมภายใน การระบุทางเลือกในการจัดการความเสี่ยง การจัดการความเสี่ยงแต่ละวิธีอาจมีความเหมาะสมกับ บางสถานการณ์ แนวทางการจัดการความเสี่ยงใด ๆ อาจมีได้มากกว่า 1 แนวทาง โดยวิธีจัดการความเสี่ยง แบ่งออกได้เป็น 2 แนวทางหลัก ไดแ้ ก่ (1) การลดโอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ความเสียหาย (Reduce Likelihood) เป็นมาตรการควบคุม ความเสี่ยง (Risk Control) โดยมุ่งลดโอกาสที่จะเกิดเหตุการณ์ความเสียหาย เหมาะกับลักษณะงานที่ต้อง ปฏิบัติบ่อยครั้งหรือปฏิบัติเป็นประจำ เช่น การกำหนดให้มีการตรวจสอบล่วงหน้าเป็นประจำ เช่น ระบบ คอมพิวเตอร์ หรือการใช้ระบบงานอัตโนมัติ (Automation) ทดแทนกระบวนการที่ใช้คน (Manual) เป็น ผู้กระทำ ซึ่งจะเหมาะสมกับลักษณะงานที่ต้องปฏิบัติซ้ำ ๆ จำนวนมาก เพื่อปรับปรุงกระบวนการทำงานและ ลดความซับซ้อน (Complexity) ของกระบวนการต่าง ๆ (2) การลดขนาดของความเสียหาย (Reduce Impact) เป็นมาตรการจัดการความเสี่ยงโดย มุ่งเน้น การลดขนาดความเสียหาย ที่เหมาะสมกับความเสี่ยงที่เกิดจากปัจจัยภายนอกที่ควบคุมได้ยาก โดยอาจจะใช้ คู่มอื การบรหิ ารความเสย่ี งและควบคุมภายใน การยางแห่งประเทศไทยจังหวดั ภูเกต็ 2565 17

วิธีการกระจายความเสี่ยงไม่ให้เกิดการกระจุกตัวของความเสี่ยง (Diversification) โดยการจัดทำ Contingency Plan หรือ Business Continuity Plan เพอื่ ใหส้ ามารถดำเนนิ การได้อย่างต่อเนื่องในช่วงท่ีเกิด เหตุการณ์ความเสียหายและอยู่ระหว่างการแก้ไขระบบความเสียหาย โดยให้กลับคืนสู่สภาพการดำเนินงาน ปกติไดโ้ ดยเรว็ ท่ีสดุ ภาพประกอบ 8 กลยุทธ์ 4T’s Strategies เพื่อจดั การความเสยี่ ง ท่ีมา: คู่มือการบรหิ ารความเส่ียงและควบคุมภายใน กองบริหารความเส่ยี ง ฝ่ายยุทธศาสตร์องค์กร, 2564 คู่มือการบรหิ ารความเสยี่ งและควบคมุ ภายใน การยางแหง่ ประเทศไทยจงั หวดั ภูเกต็ 2565 18

การบริหารความเสย่ี งแบบบรู ณาการ (Risk Correlation) Map) การบริหารความเสี่ยงแบบบูรณาการ คือ เครื่องมือที่จะช่วยในการบริหารจัดการความเสี่ยง โดยมี การพิจารณาถึงความสัมพันธข์ องความเสี่ยงและผลกระทบท่ีมรี ะหว่างหนว่ ยงานต่าง ๆ ภายในองค์กรและช่วย ให้รัฐวิสาหกิจสามารถจดั การความเสี่ยงที่ตน้ เหตไุ ด้อย่างชัดเจน โดย Risk Correlation Map ขององค์กรควร แสดงถงึ การนำไปใชง้ านได้จริง รวมถงึ ควรเผยแพร่ใหผ้ ู้บรหิ ารและพนักงานไดร้ ับทราบผ่านช่องทางที่องค์กรมี อยู่ โดยองคป์ ระกอบของ Risk Correlation Map ท่ีดีต้องประกอบดว้ ย 1) มกี ารกำหนดสาเหตขุ องความเส่ียง น้ำหนกั ของสาเหตุ และระดับความรนุ แรงของสาเหตุ 2) มกี ารวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปจั จยั เสีย่ งในระดับองคก์ รและความสัมพันธ์ของสาเหตุ 3) สามารถนำ Risk Map ไปใชใ้ นการกำหนดแผนการบริหารความเสี่ยง 4) มกี ารสร้างความเข้าใจในเรื่อง Risk Map ใหก้ ับบุคลากรในองค์กร/สว่ นงาน/หน่วยงาน การตดิ ตามและรายงานผลการบรหิ ารความเสยี่ ง (Risk Monitoring) การติดตามและรายงานผลการบริหารความเสี่ยง เป็นการกำหนดกระบวนการรายงานผลการ บรหิ ารความเส่ียงตามแผนจดั การความเสย่ี งและกจิ กรรมควบคุมท่ีกำหนดครบถว้ น โดยรายงานผลตอ่ ผบู้ ริหาร สายงาน คณะทำงาน และคณะอนุกรรมการบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายใน เป็นรายไตรมาส และนำส่ง รายงานการประเมินผลการควบคุมภายในตามหลักเกณฑ์การปฏิบัติการควบคุมภายในสำหรับหน่วยงานของ รัฐได้ครบถ้วนและเป็นไปตำมระยะเวลาที่กำหนด โดยกระบวนการรายงานผลการบริหารความเสี่ยงสามารถ เชื่อมโยงกับการพัฒนาระบบสารสนเทศ/ระบบดิจิทัลขององค์กรในการติดตามและรายงานผลการดำเนินงาน ซง่ึ การรายงานผลการบริหารความเสยี่ งมีองคป์ ระกอบท่ีครบถว้ นและรายงานผลได้ครบทุกไตรมาส โดยมีความ เชื่อมโยงและสอดคล้องกับความคืบหน้าของการติดตามผลตามแผนปฏิบัติการประจำปีที่เกี่ยวข้อง และ รายงานผลพร้อมการรายงานผลการดำเนินงานขององค์กรและเช่ือมโยงกบั การพัฒนาระบบเทคโนโลยีดิจิทัลที่ สนับสนุนกระบวนการบรหิ ารความเสยี่ งและระบบเตือนภยั ลว่ งหน้ำ (Early Warning System) คู่มือการบรหิ ารความเสยี่ งและควบคมุ ภายใน การยางแห่งประเทศไทยจงั หวดั ภเู กต็ 2565 19

การทบทวนผลการบรหิ ารความเสยี่ ง (Review Risk and Performance) การทบทวนผลการบริหารความเสี่ยง เป็นการกำหนดกระบวนการในการทบทวนและปรับปรุงผล ความเสย่ี งสมำ่ เสมอตามสภาพแวดล้อมที่เปล่ียนแปลงไป หรือในกรณที ีผ่ ลการบรหิ ารความเส่ียงไม่เป็นไปตาม เป้าหมายที่กำหนด โดยการติดตามผลการดำเนินงานตามกิจกรรมในแผนบริหารความเสี่ยง รวมทั้งเป้าหมาย การบริหารความเสีย่ งในเชงิ ของระดบั ความรุนแรงและค่าเป้าหมายที่กำหนด พร้อมรายงานผลการดำเนินงาน ขององค์กร เพื่อให้สามารถวิเคราะหป์ ระเดน็ ความเส่ียงท่ีอาจเกดิ ข้ึนใหมจ่ ากการเปลีย่ นแปลงที่สำคัญ รวมท้ัง การประเมินประสทิ ธผิ ลของทุกข้นั ตอน และทุกขนั้ ตอนไดป้ ระสิทธผิ ลตามท่กี ำหนด (ความครบถ้วนของปัจจัย, กระบวนการ, ผลผลิต, ระยะเวลาที่แล้วเสร็จ) และการทบทวนและปรับปรุงผลความเสี่ยง และผลการบริหาร ความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจริง มีความเชื่อมโยงกับกระบวนการปรับเปลี่ยนแผนงาน (ตามปกติและสถานการณ์ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว) วัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ขององค์กร วิสัยทัศน์ และตัวชี้วัดท่ีสำคัญ และ กระบวนการตดิ ตามผลการดำเนนิ งานตามแผนงานและตวั ช้ีวัดที่สำคญั ขององค์กร เช่น แผนปฏบิ ัติการทสี่ ำคัญ แผนการบริหารทรพั ยากรบคุ คล แผนแมบ่ ทเทคโนโลยดี จิ ทิ ัล คมู่ อื การบรหิ ารความเสยี่ งและควบคุมภายใน การยางแห่งประเทศไทยจังหวดั ภูเกต็ 2565 20

การควบคมุ ภายใน 3.4 ความเปน็ มา การควบคุมภายในเป็นกลไกที่จะทำให้องค์กรสามารถบรรลุวัตถุประสงค์การควบคุมภายใน ได้แก่ ด้านการดำเนินงาน ด้านการรายงาน และด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับ ซึ่งเป็น ส่วนประกอบที่แทรกอยู่ในการปฏิบัติงานตามปกติและเป็นสิง่ ที่ต้องกระทำอย่างเป็นขั้นตอนและตอ่ เนื่อง โดย บุคลากรทุกระดับเป็นผู้มีบทบาทสำคัญ ตั้งแต่การกำหนดนโยบาย ระบบงาน คู่มือการปฏิบัติงานและ แบบฟอรม์ ดำเนินงาน รวมทั้งจะต้องมีการนำไปปฏิบตั ิเพ่ือให้มีความเช่ือมั่นอย่างสมเหตุสมผลว่าจะบรรลุตาม วตั ถปุ ระสงคแ์ ละภารกจิ ขององค์กร 3.5 วตั ถุประสงค์ของการควบคุมภายใน การยางแห่งประเทศไทยตอ้ งใหค้ วามสำคญั กับวตั ถุประสงค์ของการควบคมุ ภายในแตล่ ะด้าน ดังน้ี 1) วัตถุประสงค์ด้านการดำเนินงาน (Operations Objectives) เป็นวัตถุประสงค์เกี่ยวกับ ความมี ประสิทธิผลและประสิทธิภาพของการดำเนินงาน รวมถึงการบรรลุเป้าหมายด้านการดำเนินงาน ด้าน การเงิน ตลอดจนการใช้ทรัพยากร การดูแลรักษาทรัพย์สิน การป้องกันหรือลดความผิดพลาดของการยางแห่ง ประเทศไทย ตลอดจนความเสียหาย การร่วั ไหล การสนิ้ เปลอื ง หรือการทจุ ริตในการยางแหง่ ประเทศไทย 2) วัตถุประสงค์ด้านการรายงาน (Reporting Objectives) เป็นวัตถุประสงค์เกี่ยวกับการ รายงานทางการเงินและไม่ใช่ทางการเงนิ ที่ใช้ภายในและภายนอกการยางแห่งประเทศไทย รวมถงึ การรายงาน ท่เี ชอื่ ถอื ไดท้ ันเวลา โปร่งใส หรอื ขอ้ กำหนดอนื่ ของทางราชการ 3) วัตถุประสงค์ด้านการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ และข้อบังคับ (Compliance Objectives) เป็นวัตถุประสงค์เกี่ยวกับการปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับ หรือมติคณะรัฐมนตรีที่ เกย่ี วขอ้ งกบั การดำเนนิ งาน รวมทงั้ ข้อกำหนดอ่นื ของทางราชการ ค่มู อื การบรหิ ารความเสย่ี งและควบคุมภายใน การยางแหง่ ประเทศไทยจังหวัดภูเกต็ 2565 21

3.6 องค์ประกอบการควบคุมภายใน การยางแห่งประเทศไทยได้กำหนด วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ วัตถุประสงค์ โดยการควบคุม ภายในจะเป็นเครื่องมือสนับสนุนให้การยางแห่งประเทศไทยสามารถขับเคลื่อนการปฏิบัติงานให้บรรลุ วตั ถปุ ระสงค์ที่กำหนด ทัง้ น้ี การควบคุมภายในจะประกอบด้วย 5 องคป์ ระกอบ 17 หลักการ ดงั น้ี องค์ประกอบของมาตรฐานการควบคุมภายใน ได้แก่ 1. สภาพแวดลอ้ มการควบคุม (Control Environment) 2. การประเมินความเสยี่ ง (Risk Assessment) 3. กจิ กรรมการควบคุม (Control Activities) 4. สารสนเทศและการส่อื สาร (Information and Communication) 5. กิจกรรมการติดตามผล (Monitoring Activities) 3.6.1 สภาพแวดลอ้ มการควบคุม (Control Environment) สภาพแวดล้อมการควบคุม เปน็ ปจั จยั พื้นฐานในการดำเนนิ งานทีส่ ่งผลให้มีการนำการควบคุมภายใน มาปฏิบัติทัว่ ท้ังการยางแห่งประเทศไทย ทั้งนี้ ผู้กำกับดูแลและฝ่ายบริหารจะต้องสร้างบรรยากาศให้ทุกระดับ ตระหนักถึงความสำคัญของการควบคุมภายใน รวมทั้งการดำเนินงานที่คาดหวังของผู้กำกับดูแลและฝ่าย บริหาร ทั้งนี้ สภาพแวดล้อมการควบคุมดังกล่าวเป็นพื้นฐานสำคัญที่จะส่งผลกระทบต่อองค์ประกอบของการ ควบคมุ ภายในอนื่ ๆ สภาพแวดล้อมการควบคุมประกอบด้วย 5 หลกั การ ดังน้ี 1) การยางแห่งประเทศไทยแสดงให้เห็นถงึ การยดึ มั่นในคณุ ค่าของความซ่ือตรงและจริยธรรม 2) คณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย แสดงให้เห็นถึงความเป็นอิสระจากฝ่ายบริหาร และมีหน้าที่กำกับดูแลให้มีการพัฒนาหรือปรับปรุงการควบคุมภายใน รวมถึงการดำเนินการเกี่ยวกับการ ควบคมุ ภายใน 3) ผู้ว่าการการยางแห่งประเทศไทยจัดให้มีโครงสร้างองค์กรสายการบังคับบัญชา อำนาจ หนา้ ท่ี และความรับผิดชอบทเี่ หมาะสมในการบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ของการยางแห่งประเทศไทยภายใต้การกำกับ ดแู ลของคณะกรรมการการยางแหง่ ประเทศไทย คู่มอื การบรหิ ารความเสยี่ งและควบคมุ ภายใน การยางแหง่ ประเทศไทยจงั หวดั ภเู กต็ 2565 22

4) การยางแห่งประเทศไทยแสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นในการสร้างแรงจูงใจ พัฒนา และ รกั ษาบุคลากรที่มีความรูค้ วามสามารถ ทสี่ อดคลอ้ งกบั วัตถปุ ระสงคข์ องการยางแห่งประเทศไทย 5) การยางแห่งประเทศไทยกำหนดให้บุคลากรมีหน้าที่ และความรับผิดชอบต่อผลการ ปฏิบตั งิ านตามระบบการควบคุมภายใน เพ่ือใหบ้ รรลุวัตถปุ ระสงคข์ องการยางแหง่ ประเทศไทย 3.6.2 การประเมนิ ความเสี่ยง (Risk Assessment) การประเมินความเสี่ยงเป็นกระบวนการที่ดำเนินการอย่างต่อเนื่องและเป็นประจำ เพื่อระบุและ วเิ คราะหค์ วามเสย่ี งทมี่ ีผลกระทบตอ่ การบรรลวุ ัตถุประสงค์ของการยางแหง่ ประเทศไทย รวมถึงกำหนดวิธีการ จัดการความเสี่ยงน้ัน ฝ่ายบริหารควรคำนึงถึงการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมภายนอกและภารกิจภายใน ทั้งหมดที่มีผลต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ของการยางแห่งประเทศไทย การประเมินความเสี่ยงประกอบด้วย ๔ หลกั การ ดงั น้ี 6) การยางแห่งประเทศไทยระบุวัตถุประสงค์การควบคุมภายในของการปฏิบัติงานให้ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ขององค์กรไว้อย่างชัดเจนและเพียงพอที่จะสามารถระบุและประเมินความเสี่ยงท่ี เกย่ี วขอ้ งกบั วัตถปุ ระสงค์ 7) การยางแห่งประเทศไทยระบุความเสี่ยงที่มีผลต่อการบรรลุวัตถุประสงค์การควบคุม ภายในอยา่ งครอบคลมุ ทงั้ องคก์ ร และวเิ คราะห์ความเส่ียงเพอ่ื กำหนดวิธกี ารจดั การความเส่ยี งนน้ั 8) การยางแห่งประเทศไทยพิจารณาโอกาสที่อาจเกิดการทุจริต เพื่อประกอบการประเมิน ความเสย่ี งที่สง่ ผลต่อการบรรลุวตั ถุประสงค์ 9) การยางแห่งประเทศไทยระบุและประเมินการเปลี่ยนแปลงที่อาจมีผลกระทบอย่างมี นยั สำคัญต่อระบบการควบคุมภายใน คู่มอื การบรหิ ารความเสยี่ งและควบคุมภายใน การยางแห่งประเทศไทยจงั หวดั ภูเกต็ 2565 23

3.6.3 กจิ กรรมการควบคุม (Control Activities) กิจกรรมการควบคุมเป็นการปฏิบัติงานที่กำหนดไว้ในนโยบายและกระบวนการดำเนินงาน เพื่อให้ มั่นใจว่า การปฏิบัติตามการสั่งการของฝ่ายบริหารจะลดหรือควบคุมความเสี่ยงให้สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ กิจกรรมการควบคุมควรได้รับการนำไปปฏิบัติทั่วทุกระดับของการยางแห่งประเทศไทย ในกระบวนการ ปฏิบัตงิ าน ขน้ั ตอนการดำเนินงานต่าง ๆ รวมถงึ การนำเทคโนโลยีมาใชใ้ นการดำเนนิ งาน กิจกรรมการควบคุม ประกอบดว้ ย 3 หลกั การ ดังนี้ 10) การยางแห่งประเทศไทยระบุและพัฒนากิจกรรมการควบคุม เพื่อลดความเสี่ยงในการ บรรลุวตั ถปุ ระสงคใ์ หอ้ ยใู่ นระดบั ท่ยี อมรับได้ 11) การยางแห่งประเทศไทยระบุและพัฒนากิจกรรมการควบคุมทั่วไปด้านเทคโนโลยี เพื่อ สนบั สนนุ การบรรลวุ ตั ถุประสงค์ 12) การยางแห่งประเทศไทยจัดให้มีกิจกรรมการควบคุม โดยกำหนดไว้ในนโยบาย ประกอบด้วยผลสำเร็จที่คาดหวังและขน้ั ตอนการปฏบิ ตั งิ าน เพ่อื นำนโยบายไปสกู่ ารปฏิบตั ิจริง 3.6.4 สารสนเทศและการสอ่ื สาร (Information and Communication) สารสนเทศเป็นส่ิงจำเป็นสำหรับการยางแห่งประเทศไทยทจี่ ะชว่ ยให้มีการดำเนนิ การตามการควบคุม ภายในที่กำหนด เพื่อสนับสนุนให้บรรลุวตั ถุประสงคข์ องการยางแหง่ ประเทศไทย การสื่อสารเกิดข้ึนได้ท้ังจาก ภายในและภายนอก และเป็นช่องทางเพื่อให้ทราบถึงสารสนเทศที่สำคัญในการควบคุมการดำเนินงานของการ ยางแห่งประเทศไทย การสื่อสารจะช่วยให้บุคลากรในหน่วยงานมีความเข้าใจถึงความรับผิดชอบ และ ความสำคัญของการควบคุมภายในที่มีต่อการบรรลุวัตถุประสงค์ สารสนเทศ และการสื่อสาร ประกอบด้วย 3 หลกั การ ดังน้ี 13) การยางแห่งประเทศไทยจัดทำหรือจัดหาและใช้สารสนเทศที่เกี่ยวข้องและมีคุณภาพ เพอ่ื สนับสนุนใหม้ กี ารปฏบิ ัติตามการควบคุมภายในทก่ี ำหนด 14) การยางแหง่ ประเทศไทยมีการสอ่ื สารภายในเก่ยี วกับสารสนเทศ รวมถึงวตั ถุประสงคแ์ ละ ความรับผิดชอบที่มีต่อการควบคุมภายในซึ่งมีความจำเป็นในการสนับสนุนให้มีการปฏิบัติตามการควบคุม ภายในทก่ี ำหนด 15) การยางแห่งประเทศไทยมีการสื่อสารกับบุคคลภายนอกเกี่ยวกับเรื่องที่มีผลกระทบต่อ การปฏิบัติตามการควบคมุ ภายในทก่ี ำหนด คมู่ ือการบรหิ ารความเสย่ี งและควบคุมภายใน การยางแหง่ ประเทศไทยจงั หวัดภูเกต็ 2565 24

3.6.5 กจิ กรรมการตดิ ตามผล (Monitoring Activities) กิจกรรมการติดตามผลเป็นการประเมินผลระหว่างการปฏิบัติงาน การประเมินผลเป็นรายครั้ง หรือ เป็นการประเมินผลทั้งสองวิธีร่วมกัน เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าได้มีการปฏิบัติตามหลักการในแต่ละ องค์ประกอบของการควบคุมภายในทั้ง 5 องค์ประกอบ กรณีที่ผลการประเมินการควบคุมภายในจะก่อให้เกิด ความเสียหายต่อการยางแห่งประเทศไทยให้รายงานต่อฝ่ายบริหาร และคณะกรรมการการยางแห่งประเทศ ไทยอย่างทนั เวลา กิจกรรมการติดตามผลประกอบด้วย 2 หลกั การ ดังน้ี 16) การยางแห่งประเทศไทยระบุพัฒนาและดำเนินการประเมินผลระหว่างการปฏิบัติงาน และหรือการประเมินผลเป็นรายครั้งตามที่กำหนด เพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าได้มีการปฏิบัติตามองค์ประกอบ ของการควบคมุ ภายใน 17) การยางแห่งประเทศไทยประเมินผลและส่ือสารข้อบกพร่อง หรือจดุ อ่อนของการควบคุม ภายในอย่างทนั เวลาต่อฝ่ายบริหารและคณะกรรมการการยางแห่งประเทศไทย เพื่อให้ผู้รบั ผิดชอบสามารถสัง่ การแก้ไขไดอ้ ย่างเหมาะสม คู่มือการบรหิ ารความเสย่ี งและควบคมุ ภายใน การยางแห่งประเทศไทยจงั หวัดภเู กต็ 2565 25

3.7 ขอบเขตของการปฏบิ ัตงิ านด้านการบริหารความเสยี่ งและการควบคุมภายใน ขอบเขตการปฏิบตั ิงานดา้ นการบริหารความเส่ยี งและการควบคมุ ภายในของการยางแหง่ ประเทศไทย จังหวัดภูเก็ต ประกอบด้วย การจัดทำแผน การจัดทำคู่มือ การวิเคราะห์ การประเมินประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล การรายงานผล และการปฏบิ ัติงานที่เก่ยี วข้องอยา่ งเปน็ ระบบ คมู่ อื การบรหิ ารความเสย่ี งและควบคมุ ภายใน การยางแหง่ ประเทศไทยจงั หวดั ภูเกต็ 2565 26

3.8 โครงสร้างการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในของกยท. ภาพประกอบ 9 โครงสร้างการบรหิ ารความเสยี่ งและการควบคมุ ภายในของกยท. ที่มา: คู่มือการบริหารความเส่ียงและควบคุมภายใน กองบริหารความเสี่ยง ฝา่ ยยุทธศาสตรอ์ งค์กร, 2564 คมู่ ือการบรหิ ารความเสย่ี งและควบคุมภายใน การยางแหง่ ประเทศไทยจังหวัดภเู กต็ 2565 27

3.9 โครงสร้างและหนา้ ท่ีความรบั ผดิ ชอบของกยท.จ.ภเู กต็ ผอู้ ำนวยการการยางแห่งประเทศไทยจงั หวดั มีหนา้ ท่ีและความรับผดิ ชอบ ดงั น้ี (1) กำหนดแผนปฏิบัติงาน รวมทั้งปรับแผนการปฏิบัติงาน และพัฒนาวิธีการดำเนินงานของงานใน ความรับผิดชอบ (2) มอบหมายงานนโยบาย ติดตาม ตรวจสอบ ควบคุม กำกับ และประเมินผลการปฏิบัติงานของ ผู้ใต้บังคับบัญชา ตลอดจนให้คำปรึกษา แนะนำ และช่วยแก้ปัญหาในการปฏิบัติงานแก่ ผูใ้ ต้บังคับบัญชา (3) ควบคุมการปฏบิ ตั งิ านของผ้ใู ตบ้ งั คับบัญชาใหเ้ ปน็ ไปตามแผนงานและนโยบายทก่ี ำหนด (4) รายงานผลการปฏบิ ัติงาน รวมถึงปัญหาอปุ สรรคต่าง ๆ และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการปฏิบัติงาน หรืออ่ืน ๆ ตอ่ ผ้บู ังคับบญั ชา (5) ส่งเสริมให้ผู้ใตบ้ ังคับบญั ชาไดพ้ ัฒนาตนเองเพ่อื ความกา้ วหน้าในการปฏิบัตงิ าน (6) ใหค้ ำปรกึ ษา แนะนำ ชี้แจง และติดต่อประสานงานกบั บคุ คลและหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง (7) บริหารความเสยี่ งและควบคุมภายในของกยท.จังหวัด (8) ควบคุมและตรวจสอบการบันทึกกิจกรรมย่อย จัดสรรเป้าหมายและงบประมาณแผนปฏิบัติและ ภารกิจให้ส่วนงานหรอื หน่วยงานที่รับผิดชอบ พร้อมทั้งบันทึกแผนงาน งบประมาณและรายงาน ในระบบบรหิ ารจัดการโครงการ (9) เป็นตัวแทนของส่วนงานในการเข้าร่วมประชุม ชี้แจงเกี่ยวกับงานในความรับผิดชอบ และร่วม กจิ กรรมกับหัวหน้าส่วนราชการต่าง ๆ ค่มู ือการบรหิ ารความเสย่ี งและควบคมุ ภายใน การยางแห่งประเทศไทยจังหวัดภเู กต็ 2565 28

(10) ปฏิบตั หิ นา้ ทอี่ น่ื ๆ ตามท่ีไดร้ ับมอบหมายจากผู้บงั คับบญั ชา ผูช้ ว่ ยผอู้ ำนวยการจังหวดั มีหนา้ ที่และความรับผิดชอบ ดังนี้ (1) กำหนดแผนปฏิบัติงาน รวมทั้งปรับแผนการปฏิบัติงานและพัฒนาวิธีการดำเนินงานของงานใน ความรบั ผดิ ชอบ (2) มอบหมายงาน ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชา ตลอดจน ใหค้ ำปรกึ ษา แนะนำ และช่วยแก้ปญั หาในการปฏิบัติงานแกผ่ ู้ใต้บังคบั บัญชา (3) ควบคุมการปฏบิ ัตงิ านของผใู้ ตบ้ ังคับบญั ชาใหเ้ ปน็ ไปตามแผนงานและนโยบายท่ีกำหนด (4) รายงานผลการปฏิบตั ิงาน รวมถึงปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ และข้อเสนอแนะเกีย่ วกับการปฏิบตั ิงาน หรอื อื่น ๆ ต่อผู้บงั คบั บัญชา (5) สง่ เสริมให้ผู้ใต้บังคบั บัญชาได้พัฒนาตนเองเพื่อความก้าวหน้าในการปฏบิ ตั ิงาน (6) ให้คำปรกึ ษา แนะนำ ช้ีแจง และติดตอ่ ประสานงานกับบคุ คลและหน่วยงานที่เกย่ี วข้อง (7) บริหารความเสี่ยงและควบคุมภายในของกอง (8) ควบคุมและตรวจสอบการบันทึกกิจกรรมย่อย จัดสรรเป้าหมายและงบประมาณแผนปฏิบัติและ ภารกิจให้ส่วนงานหรือหน่วยงานที่รับผิดชอบ พร้อมทั้งบันทึกแผนงาน งบประมาณและรายงาน ในระบบบริหารจัดการโครงการ (9) เป็นตัวแทนของส่วนงาน ในการเข้าร่วมประชุม ชี้แจงเกี่ยวกับงานในความรับผิดชอบ และร่วม กิจกรรมกับหัวหนา้ ส่วนราชการต่าง ๆ (10) ปฏบิ ัติหนา้ ทอ่ี ่นื ๆ ตามทไ่ี ดร้ ับมอบหมายจากผู้บงั คบั บญั ชา หวั หน้ากองงานสนับสนนุ มหี นา้ ที่และความรับผิดชอบ ดังน้ี (1) กำหนดแผนปฏิบัติงาน รวมทั้งปรับแผนการปฏิบัติงานและพัฒนาวิธีการดำเนินงานของงานใน ความรับผดิ ชอบ (2) มอบหมายงาน ติดตาม ตรวจสอบและประเมนิ ผลการปฏบิ ัติงานของผู้ใต้บังคบั บัญชา ตลอดจน ให้คำปรึกษา แนะนำ และชว่ ยแก้ปัญหาในการปฏิบัติงานแก่ผ้ใู ตบ้ งั คับบัญชา (3) ควบคุมการปฏิบัติงานของผู้ใตบ้ งั คบั บญั ชาให้เป็นไปตามแผนงานและนโยบายที่กำหนด (4) รายงานผลการปฏิบตั ิงาน รวมถึงปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการปฏิบตั ิงาน หรืออ่นื ๆ ต่อผู้บังคับบัญชา (5) สง่ เสรมิ ให้ผู้ใตบ้ งั คับบัญชาได้พัฒนาตนเองเพ่ือความก้าวหน้าในการปฏิบตั งิ าน (6) ให้คำปรึกษา แนะนำ ชแี้ จง และติดต่อประสานงานกับบคุ คลและหน่วยงานที่เกย่ี วข้อง (7) บรหิ ารความเสย่ี งและควบคมุ ภายในของกอง (8) ควบคุมและตรวจสอบการบนั ทึกกจิ กรรมย่อย จดั สรรเปา้ หมายและงบประมาณแผนปฏิบัติและ ภารกิจใหส้ ่วนงานหรือหน่วยงานทรี่ บั ผดิ ชอบ พร้อมท้ังบนั ทึกแผนงาน งบประมาณและรายงาน ในระบบบริหารจัดการโครงการ คูม่ อื การบรหิ ารความเสย่ี งและควบคุมภายใน การยางแห่งประเทศไทยจงั หวัดภเู กต็ 2565 29

(9) เป็นตัวแทนของส่วนงาน ในการเข้าร่วมประชุม ชี้แจงเกี่ยวกับงานในความรับผิดชอบ และร่วม กิจกรรมกบั หวั หนา้ สว่ นราชการตา่ ง ๆ (10) ปฏิบัตหิ นา้ ที่อ่นื ๆ ตามทไ่ี ด้รับมอบหมายจากผบู้ งั คับบัญชา แผนกแผนงานและขอ้ มูล มหี นา้ ทีแ่ ละความรับผดิ ชอบ ดงั น้ี บริหารงานในความรับผิดชอบของแผนกแผนงานและข้อมูล โดยวางแผน สั่งการ ติดตาม ตรวจสอบ ควบคุม ประสานงานเกี่ยวกับการรวบรวมแผนงาน โครงการและงบประมาณของหน่วยงานต่าง ๆ จัดทำ แผนปฏิบัติการของกยท.จ. ติดตามความเคลื่อนไหวของระบบข้อมูลรวมท้ังรวบรวมวิเคราะห์และจัดทำข้อมูล ข่าวสารใหห้ นว่ ยงานต่าง ๆ บริหารความเสยี่ งและควบคุมภายในของแผนก และปฏบิ ตั งิ านอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง หรือหลายอย่างตามที่ได้รับมอบหมาย แผนกพัฒนาและฝกึ อบรม มหี นา้ ทแ่ี ละความรับผดิ ชอบ ดังน้ี บริหารงานในความรับผิดชอบของแผนกพัฒนาและฝึกอบรม โดยวางแผน สั่งการ ติดตาม ตรวจสอบ ควบคุม ประสานงานเกี่ยวกับการให้คำแนะนำทางวิชาการ จัดฝึกอบรมเกษตรกรและพนักงานของกยท.จ. โฆษณา ประชาสัมพันธ์ ศึกษา ทดสอบเพื่อพัฒนาพันธุ์ยางและไม้ยนื ต้น กำหนดแผนการใชผ้ ลิตจำหน่าย จ่าย โอน พันธุ์ยางและไม้ยืนต้น รวมทั้งควบคุม ดูแล บำรุงรักษาแปลงผลิต บริหารความเสีย่ งและควบคุมภายใน ของแผนก และปฏิบัติงานอย่างใดอยา่ งหนึง่ หรอื หลาย อยา่ งตามทไี่ ดร้ บั มอบหมาย แผนกปฏิบัตกิ าร มหี นา้ ทแี่ ละความรบั ผดิ ชอบ ดังน้ี บริหารงานในความรับผิดชอบของแผนกปฏิบัติการ โดยวางแผน สั่งการ ติดตาม ตรวจสอบควบคุม ประสานงานเกี่ยวกับการรับคำขอและพิจารณาการสนับสนุนปลูกแทนและปลูกใหม่ ตรวจสุ่มสวนปลูกแทน และตรวจสวนที่มีปัญหา บริหารจัดการสวัสดิการเกษตรกรชาวสวนยาง การส่งเสริมอาชีพเสริม และควบคุม ติดตามโครงการเงนิ ทุนหมุนเวยี น รวมทงั้ ให้คำปรึกษาด้านวชิ าการ บริหารความเสย่ี งและควบคุมภายในของ แผนก และปฏบิ ตั ิงานอย่างใดอย่างหนง่ึ หรือหลายอย่างตามที่ไดร้ บั มอบหมาย แผนกการเงนิ และบญั ชี มหี น้าทแ่ี ละความรับผิดชอบ ดังนี้ ปฏิบัติงานในความรับผิดชอบของแผนกการเงินและบัญชี โดยวางแผน สั่งการ ติดตาม ตรวจสอบ ควบคมุ ประสานงานเกย่ี วกับงานการรับ-จ่ายเงิน การจัดทำบัญชี การบรหิ ารการเงินและงบประมาณ บริหาร ความเสี่ยงและควบคุมภายในของแผนก และปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างของแผนกตามท่ี ไดร้ บั มอบหมาย แผนกธรุ การและพัสดุ มหี นา้ ทแี่ ละความรบั ผดิ ชอบ ดงั น้ี ปฏิบัติงานในความรับผิดชอบของแผนกธุรการและพัสดุ โดยวางแผน สั่งการ ติดตาม ตรวจสอบ ควบคุม ประสานงานเกย่ี วกับงานสารบรรณ งานบรหิ ารงานบคุ คลเบอื้ งต้น งานธรุ การท่วั ไป งานพสั ดุ งานวสั ดุ สงเคราะห์ งานการเงินและบัญชี บริหารความเสี่ยงและควบคุมภายในของแผนก และปฏิบัติงานอย่างใด อย่างหนึ่งหรือหลายอย่างของแผนกตามท่ีได้รับมอบหมาย คมู่ อื การบรหิ ารความเสย่ี งและควบคมุ ภายใน การยางแห่งประเทศไทยจงั หวัดภูเกต็ 2565 30

ส่วนท่ี 4 กระบวนการปฏบิ ตั ิงาน 4.1 การจดั ทำคู่มือบริหารความเสยี่ งและควบคมุ ภายใน ประจำปีงบประมาณ 2565 ลำดบั Flow Chart รายละเอยี ดของงาน ผู้รบั ผิดชอบ เอกสารท่ีเกี่ยวขอ้ ง 1. ผ.แผนงานและข้อมลู นำเกณฑ์ หผ.แผนงาน 1. คูม่ ือการประเมินผล ผ.แผนงานและข้อมลู จัดทำรา่ ง การประเมนิ ผลการดำเนินงาน และข้อมูล การดำเนนิ งาน คมู่ อื การบริหารความเสีย่ งและ รัฐวิสาหกจิ ตามระบบการ รฐั วสิ าหกิจตามระบบ ควบคมุ ภายในของ กยท.จ.ภูเกต็ ประเมินผลใหม่ (SE-AM) การประเมินผลใหม่ หวั ข้อการบริหารความเสย่ี ง (SE-AM) และการควบคมุ ภายใน ผล 2. คู่มอื การบริหาร การสำรวจความรคู้ วามเข้าใจ ความเสีย่ งและควบคมุ ไม่เหน็ ชอบ คูม่ ือการบริหารความเสี่ยง ภายใน กองบรหิ าร เห็นชอบ และนโยบาย GRC มายกร่าง ความเสย่ี ง ฝา่ ย ในคมู่ ือบริหารความเส่ียงและ ยุทธศาสตรอ์ งคก์ ร, ควบคุมภายในประจำปี 2564 2. ผ.แผนงานและข้อมลู นำรา่ ง หผ.แผนงาน 1. บนั ทึกข้อความขอ ผอ.กยท.จ.ภเู ก็ต คู่มอื การบริหารความเสยี่ ง และข้อมูล อนมุ ตั ใิ ห้ความเห็นชอบ พิจารณาให้ความเห็นชอบ และควบคุมภายใน ประจำปี คู่มอื การบรหิ ารความ นำเสนอ ผอ.กยท.จ.ภูเกต็ เส่ยี งและควบคุม เหน็ ชอบ เพื่อพจิ ารณาใหค้ วามเห็นชอบ ภายใน 3. กยท.จ.ภูเกต็ นำรา่ งค่มู ือการ ผอ.กยท.จ. 1. บันทกึ ข้อความขอ ผอ.ข.ตก. บรหิ ารความเสยี่ งและควบคมุ ภเู ก็ต อนุมตั ใิ ห้ความเหน็ ชอบ พิจารณาให้ความเห็นชอบ ภายใน นำเสนอ ผอ.ข.ตก. คู่มอื การบริหารความ เพือ่ พจิ ารณาให้ความเหน็ ชอบ เส่ยี งและควบคุม ภายใน คมู่ อื การบรหิ ารความเสย่ี งและควบคุมภายใน การยางแห่งประเทศไทยจงั หวดั ภูเกต็ 2565 31

ลำดับ Flow Chart รายละเอยี ดของงาน ผู้รบั ผิดชอบ เอกสารที่เกย่ี วข้อง 4. กยท.จ.ภูเก็ต ประกาศ ผอ.กยท.จ. 1. บันทึกข้อความขอ ประกาศ เผยแพร่ คู่มือการ เผยแพรค่ มู่ ือการบรหิ ารความ ภูเกต็ , อนมุ ัตใิ ห้ความเห็นชอบ บริหารความเส่ียงและควบคุม เสีย่ งและควบคุมภายใน ผา่ น หผ.แผนงาน คมู่ อื การบรหิ ารความ ภายใน เพื่อให้หน่วยงานและ ชอ่ งทางตา่ ง ๆ ของหน่วยงาน และข้อมูล เสี่ยงและควบคุม พนกั งานในหนว่ ยงานถือปฏิบตั ิ ภายใน 2. คู่มือการบริหาร ความเส่ียงและควบคุม ภายใน 5. ผ.แผนงานและข้อมลู จดั ทำ ผอ.กยท.จ. 1. บันทกึ ข้อความขอ นำเสนอคณะทำงานการ บันทกึ ข้อความและวาระการ ภเู กต็ , อนุมตั ินำเสนอ บรหิ ารความเสีย่ งและ ประชุมเพื่อเสนอ คณะทำงาน หผ.แผนงาน คณะทำงานการบรหิ าร ควบคุมภายในกยท.จ.ภูเกต็ การบรหิ ารความเส่ียงและ และข้อมูล ความเสย่ี งและควบคุม ควบคุมภายในกยท.จ.ภูเก็ต ภายในกยท.จ.ภเู ก็ต 2. วาระการประชมุ คณะทำงานการบรหิ าร ความเสยี่ งและควบคุม ภายในกยท.จ.ภูเก็ต กยท. 3. คู่มอื การบริหาร ความเส่ียงและควบคุม ภายในของกยท.จ. ภเู กต็ 6. จดั เกบ็ เอกสารเพื่อตอบ นวน.ทีไ่ ด้รับ 1. คูม่ ือการบริหาร คำถามตามเกณฑ์การ มอบหมาย ความเส่ียงและควบคุม จดั เกบ็ เอกสารหลกั ฐาน ประเมนิ ผลการดำเนินงาน ภายในประจำปี รฐั วสิ าหกจิ ตามระบบการ ประเมินผลใหม่ (SE-AM) หวั ข้อการบรหิ ารความเส่ยี ง และการควบคมุ ภายใน ค่มู ือการบรหิ ารความเสย่ี งและควบคุมภายใน การยางแห่งประเทศไทยจงั หวดั ภูเกต็ 2565 32

ลำดับ Flow Chart รายละเอยี ดของงาน ผู้รบั ผิดชอบ เอกสารท่ีเกี่ยวขอ้ ง นวน.ท่ไี ดร้ บั 1. คูม่ อื การบรหิ าร 7. ผ.แผนงานและข้อมลู สรุป มอบหมาย ความเส่ยี งและควบคมุ ภายในประจำปี และรวบรวมผลการ สรปุ และรวบรวมผลการดำเนินงาน ดำเนินงาน คูม่ ือการบรหิ ารความเสย่ี งและควบคุมภายใน การยางแหง่ ประเทศไทยจงั หวัดภูเกต็ 2565 33

ส่วนท่ี 5 ภาคผนวก 5.1 คำสั่ง ค่มู ือการบรหิ ารความเสย่ี งและควบคมุ ภายใน การยางแหง่ ประเทศไทยจงั หวัดภเู กต็ 2565 34

ค่มู ือการบรหิ ารความเสย่ี งและควบคมุ ภายใน การยางแห่งประเทศไทยจงั หวัดภเู กต็ 2565 35

5.2 คมู่ ือและแผนปฏบิ ตั กิ ารทเี่ กีย่ วข้องกับการดำเนนิ การ แหล่งท่ีมา คู่มอื และแผนปฏิบัติการท่เี กี่ยวข้อง 1. คมู่ ือการประเมนิ ผลการดำเนนิ งานรฐั วิสาหกิจตามระบบ ประเมนิ ผลใหม่ (SE-AM) 2. คู่มือการบริหารความเสย่ี งและควบคุมภายใน กองบริหาร ความเส่ียง ฝ่ายยทุ ธศาสตร์ 2564 3. แผนวิสาหกจิ การยางแห่งประเทศไทย พ.ศ.2564-2570 (ฉบับปรับปรงุ ปี 2565) คู่มอื การบรหิ ารความเสยี่ งและควบคมุ ภายใน การยางแหง่ ประเทศไทยจังหวดั ภูเกต็ 2565 36

คมู่ ือและแผนปฏบิ ัตกิ ารที่เก่ียวข้อง แหล่งที่มา 4. คูม่ ือการปฏิบัตงิ านการบริหารความเส่ยี งและควบคมุ ภายใน ภายใตเ้ หตุการณ์พเิ ศษ 5. แผนปฏิบัตกิ าร กยท.จ.ภูเก็ต ปีงบประมาณ 2565 6. หลกั เกณฑ์การประเมินผลการดำเนินงานด้านการบริหาร ความเสี่ยงและควบคุมภายใน ประจำปี 2565 7. Risk Universe ของ กยท. ปี 2565 (กยท.จ.ภูเก็ต) คมู่ ือการบรหิ ารความเสยี่ งและควบคุมภายใน การยางแหง่ ประเทศไทยจังหวดั ภูเกต็ 2565 37

5.3 ปจั จยั เสี่ยงระดับองค์กร ประจำปี 2565 รหัสปัจจัยเส่ียง ปัจจัยเสีย่ งองคก์ ร เจ้าของปจั จัยเสีย่ ง กยท.จ. OR01 การดำเนนิ งานตามโครงการส่งเสรมิ การทำสวนยาง (กยท.จ.ภเู ก็ตไม่ได้รบั จัดสรรเปา้ หมาย) ตามมาตรฐานการจดั การปา่ ไมอ้ ย่างยง่ั ยนื ไมเ่ ปน็ ไป กยท.จ. ตามเป้าหมาย กยท.จ. FR01 ผลการดำเนนิ งานดา้ นธรุ กจิ ไมเ่ ป็นไปตามเป้าหมาย กยท.จ. SR05 การดำเนินงานตามโครงการส่งเสรมิ การทำสวนยางใน กยท.จ. รูปแบบแปลงใหญ่ ไมเ่ ปน็ ไปตามเปา้ หมาย SR06 การสง่ เสริมสนับสนุนเกษตรกรชาวสวนยาง สถาบนั เกษตรกรชาวสวนยาง และผู้ประกอบกจิ การยาง ไมเ่ ป็นไป ตามเปา้ หมาย SR07 การสงเคราะหใ์ ห้ความชว่ ยเหลอื เกษตรกรชาวสวนยางเพื่อ การปลูกแทน ไมเ่ ปน็ ไปตามเป้าหมาย 5.4 การใช้งานระบบสารสนเทศสนบั สนุนการบริหารความเสีย่ งและการควบคุมภายใน ระบบสารสนเทศสนับสนุนการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในเป็นระบบที่จัดทำขึ้นเพ่ือ อำนวยความสะดวกในการดำเนินงานด้านการบริหารความเสี่ยงและควบคุมภายในของการยางแห่งประเทศ ไทย รวมทั้งยังเป็นการบูรณาการการทำงานร่วมกันระหว่างหัวข้อบริหารจัดการองค์กร (Core Enablers) ที่ เปน็ รูปธรรมสามารถนำมาใชป้ ฏิบตั งิ านไดจ้ ริง โดยระบบดงั กล่าวจะประกอบไปดว้ ย 5 องคป์ ระกอบ ได้แก่ 1. การเข้าสรู่ ะบบ 2. หนา้ หลกั ของระบบ 3. การบริหารความเส่ียง 4. การควบคุมภายใน 5. ดาวน์โหลดเอกสาร คมู่ อื การบรหิ ารความเสยี่ งและควบคมุ ภายใน การยางแห่งประเทศไทยจังหวดั ภูเกต็ 2565 38

1. การเขา้ สรู่ ะบบ สามารถเขา้ สู่ระบบไดโ้ ดยเรมิ่ ต้นจากการเขา้ ระบบงานการยางแห่งประเทศไทย http://app5220- asd.rubber.co.th/ เลือกเมนู “ ร ะ บ บ บ ร ิ ห า ร ค ว า ม เ ส่ี ย ง แ ล ะ ค ว บ ค ุ ม ภ า ย ใ น ” ห รื อ http://app5220- erm.rubber.co.th:8080/raot/login.html **ระบบนีร้ องรบั Google Chrome หรือ Firefox เทา่ น้นั ภาพประกอบ 10 ระบบบริหารความเสี่ยงและควบคมุ ภายใน คมู่ ือการบรหิ ารความเสย่ี งและควบคุมภายใน การยางแหง่ ประเทศไทยจงั หวดั ภเู กต็ 2565 39

หลังจากนน้ั เมอื่ เปิดหน้าระบบได้แล้ว ให้เข้าระบบดว้ ยการใส่ Username: รหสั พนักงาน และ Password : rubber ดังภาพประกอบ 11 ภาพประกอบ 11 เขา้ สู่ระบบ 2. หนา้ หลกั ของระบบ หลังจากเข้าระบบได้แล้ว ในหน้าหลักของระบบจะมีชื่อของผู้ใช้งาน และสังกัดของผู้ใช้งาน รวมท้ัง เมนูแถบสง่ั การด้านบน ประกอบด้วย การบรหิ ารความเสยี่ ง, การควบคุมภายใน, การดาวน์โหลดเอกสาร และ ออก จากระบบ นอกจากนี้จะมีเมนูส่วนตัว ซึ่งประกอบด้วย หน้าหลัก, เปลี่ยนรหัสผ่าน และข้อความ ดัง ภาพประกอบ 12 คมู่ อื การบรหิ ารความเสย่ี งและควบคุมภายใน การยางแห่งประเทศไทยจังหวัดภเู กต็ 2565 40

ภาพประกอบ 12 หน้าหลักของระบบ 3. การบรหิ ารความเส่ียง ในแถบคำสั่งการบริหารความเสี่ยง จะประกอบด้วย 3 ส่วนที่สำคัญ คือ KRI Dashboard, การ รายงานผลการบริหารความเส่ียงองคก์ ร และการบรหิ ารความเสยี่ งระดบั - KRI Dashboard เป็นการแสดงสถานะความเสี่ยงของปจั จัยเสี่ยงระดบั องค์กรที่ กยท. บริหารความ เสย่ี งในปีงบประมาณนั้น ๆ ดงั ภาพประกอบ 13 ภาพประกอบ 13 แถบคำส่งั ระบบการบรหิ ารความเสยี่ ง คมู่ ือการบรหิ ารความเสย่ี งและควบคุมภายใน การยางแห่งประเทศไทยจังหวัดภเู กต็ 2565 41

- การรายงานผลการบริหารความเสี่ยงองค์กร เป็นแถบคำสั่งที่ให้ส่วนงาน/หน่วยงาน ซึ่งเป็นเจ้าของ ความเสี่ยง (Risk Owner) เป็นผู้รายงานผลการบริหารความเสี่ยงปัจจัยเสี่ยงระดับองค์กรประจำเดือน นอกจากนีย้ งั มแี ถบคำส่ัง เพ่ือเรียกดู Risk Profile หรือ Risk Matrix ของส่วนงาน/หนว่ ยงาน ดังภาพประกอบ 14 ภาพประกอบ 14 การรายงานผลการบรหิ ารความเส่ียงองค์กร 4. การควบคมุ ภายใน ในแถบคำสั่งการควบคุมภายในจะประกอบด้วย 2 สว่ นทส่ี ำคญั คือ การตอบแบบประเมินภาคผนวก ก และการควบคุมภายในระดับส่วนงาน/หน่วยงาน/หน่วยงานย่อย ดงั ภาพประกอบ 15 คู่มือการบรหิ ารความเสย่ี งและควบคมุ ภายใน การยางแห่งประเทศไทยจังหวดั ภเู กต็ 2565 42

ภาพประกอบ 15 แถบคำส่ังการควบคุมภายใน 5. ดาวนโ์ หลดเอกสาร เป็นแถบคำสั่งซึ่งผู้เข้าใช้ระบบสามารถค้นหาและดาวน์โหลดเอกสารคู่มือต่าง ๆ ข้อมูลข่าวสาร บทความทางวิชาการ Infographic ท่ีเกี่ยวข้องกับการดำเนนิ งานด้านการบรหิ ารความเสยี่ งและควบคุมภายใน ดังภาพประกอบ 16 ภาพประกอบ 16 แถบคำสัง่ ดาวน์โหลดเอกสารคู่มือตา่ ง ๆ คู่มอื การบรหิ ารความเสย่ี งและควบคุมภายใน การยางแห่งประเทศไทยจังหวดั ภูเกต็ 2565 43

ส่วนท่ี 6 อา้ งอิง ค่มู ือการบริหารความเสีย่ งและควบคมุ ภายใน กองบริหารความเสย่ี ง ฝ่ายยุทธศาสตรอ์ งค์กร, 2564 คูม่ อื การบรหิ ารความเสยี่ งและควบคุมภายใน การยางแหง่ ประเทศไทยจงั หวัดภเู กต็ 2565 44

คู่มือ การบริหารความเสี่ยงและ ควบคุมภายใน การยางแห่งประเทศไทยจังหวัดภูเก็ ต เขตภาคใต้ ตอนกลาง