Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ถอดบทเรียน บ้านบ่อนางชิง New

ถอดบทเรียน บ้านบ่อนางชิง New

Published by learnoffice, 2021-02-05 03:56:30

Description: ถอดบทเรียน บ้านบ่อนางชิง New

Search

Read the Text Version

“หมบู า นตัวอยาง 4 ดี วถิ พี อเพยี ง” บานบอนางชิง หมูท ี่ 4 ตำบลหว ยโจด อำเภอวฒั นานคร จงั หวดั สระแกว จังหวดั สระแกว รวมกบั มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชปู ถมั ภ สระแกว ภายใตโครงการสระแกวเมืองแหงความสุขดว ยวิถีพอเพยี ง กจิ กรรมพัฒนาศนู ยการเรยี นรสู ระแกว 4 ดี วิถพี อเพยี ง



บา้ นบ่อนางชงิ

“หมบู่ ้านตัวอยา่ ง 4 ดี วิถีพอเพยี ง” บ้านบ่อนางชิง หมูท่ ่ี 4 ต�ำบลหว้ ยโจด อำ� เภอวัฒนานคร จังหวดั สระแกว้ ขอ้ มูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแหง่ ชาติ เฉลิมพงษ์ จนั ทรส์ ุขา. หมบู่ า้ นตวั อย่าง 4 ดี วถิ พี อเพยี ง หม่ทู ี่ 4 ต�ำบลห้วยโจด อำ� เภอวฒั นานคร จังหวัดสระแกว้ . -- พิมพ์ครง้ั ท่ี 2. -- สระแก้ว : มหาวทิ ยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ สระแก้ว, 2564. 100 หน้า. 1.การพัฒนาชุมชน. 2. เศรษฐกิจพอเพยี ง. I. ชอ่ื เรอ่ื ง. 307.14 978-974-337-263-6 หสง้าวมนทล�ำิขกสาทิรลธอิต์ กาเมลรยี านชแบบัญบญไมัตว่ิ า่ สว่ นใดสว่ นหนง่ึ ของหนงั สอื เลม่ น้ี นอกจากจะได้รบั อนญุ าต พมิ พ์คร้งั ท่ี 2 มกราคม 2564 บรรณาธกิ ารอ�ำนวยการ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุพจน ์ ทรายแก้ว รองศาสตราจารย์ ดร.นฤมล ธนานันต์ อาจารย์ปิยะ สงวนสิน ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์เศกพร ตนั ศรีประภาศิริ ผจู้ ดั ทำ� อาจารย์เฉลิมพงษ ์ จันทรส์ ขุ า ศลิ ปกรรม พจิ ติ ร พรมลี ออกแบบปก พิจิตร พรมลี ประสานงานการผลติ อาจารย์เฉลมิ พงษ์ จันทรส์ ุขา จัดพิมพ์โดย มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ สระแก้ว เลขท่ี 1177 หมู่ท่ี 2 ตำ� บลทา่ เกษม อ�ำเภอเมอื งสระแก้ว จังหวัดสระแกว้ 27000 โทรศัพท์ : 037-447-111 http://www.sk.vru.ac.th พิมพ์ที ่ บริษทั ดีไซน์ ดไี ลท์ จ�ำกดั เลขที่ 69/18 หมู่ที่ 7 ถนนรัตนาธิเบศร์ ต�ำบลเสาธงหิน อำ� เภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี 11140 โทรศัพท์ 089-812-2140 “หมู่บา้ นตัวอย่าง 4 ดี วถิ ีพอเพียง”

บ้านบอ่ นางชงิ 1

สารบัญ 4 8 บทนำ� 32 ขอ้ มูลท่วั ไปและประวัติของหมบู่ า้ น 40 คนเก่งในชุมชน 44 การวเิ คราะห์ SWOT ระดบั ตำ� บล 46 กระบวนการศึกษาบริบทชุมชน 47 ข้นั ตอนการส�ำรวจข้อมลู ชมุ ชน 54 การศึกษาชมุ ชนด้วย เครือ่ งมือต้นไม้ปญั หา กระบวนการจัดทำ� ธรรมนญู ชุมชน 56 ประเดน็ การถอดบทเรียน 58 มิติดา้ นสังคม 60 มติ ิดา้ นการเมือง 62 มติ ดิ ้านเศรษฐกจิ 63 มิตดิ ้านสิ่งแวดล้อม 64 มติ ดิ า้ นเทคโนโลย ี กระบวนการค้นหาบคุ คลต้นแบบ 2 “หมู่บ้านตวั อย่าง 4 ดี วิถีพอเพยี ง”

บทวเิ คราะห์เชิงพ้นื ที่ 77 ระดบั บคุ คล (คนด,ี สขุ ภาพดี) 83 84 ระดับครวั เรอื น (รายได้ด)ี 86 88 ระดับชุมชน (สง่ิ แวดลอ้ มดี) 93 กระบวนการจดั ท�ำแผนพฒั นาชมุ ชน บทสรุป ข้อเสนอแนะ บ้านบอ่ นางชงิ 3

บทนำ� จังหวัดสระแก้ว มีนโยบายพัฒนา “สระแก้วเมืองแห่งความสุข ภายใต้ 4 ดี วิถีพอเพียง” (Sa Kaeo Happiness Model) โดยให้ ประชาชนเป็นศูนย์กลาง สร้างความสุข ด้วยการเป็น คนดี สุขภาพดี รายไดด้ ี และส่งิ แวดล้อมดี ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยนำ� หลกั ปรัชญาดังกล่าวมาใช้ขับเคล่ือนแบบสามเหล่ียมเขย้ือนภูเขา คือ 1. การใช้ องค์ความรู้หรือวิชาการโดยภาคราชการและภาควิชาการ 2. การใช้พลัง ประชาสังคม ที่เป็นภาคีต่างๆ ได้แก่ บ้าน วัด โรงเรียน สถานีอนามัย/ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน 4 “หมูบ่ า้ นตัวอยา่ ง 4 ดี วิถพี อเพียง”

และ 3. การก�ำหนดเป็นนโยบายสาธารณะระดับองค์กรปกครองส่วนท้อง ถิ่น กระบวนการท�ำงานท่ีต้องเน้นการบูรณาการ งาน คน และการจัดการ ร่วมกัน โดยเร่ิมด�ำเนินการตั้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ. 2556 มีพ้ืนที่น�ำร่อง เต็มรูปแบบอ�ำเภอละ 1 ต�ำบล ต�ำบลท่ีเหลือ ให้น�ำนโยบายไปปรับใช้ ตามบริบท และมีปรับปรุงกระบวนการพัฒนาแบบมีส่วนร่วมกับพื้นท่ี เพื่อให้สอดคล้องกับบริบทอย่างต่อเนื่อง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 เพม่ิ พน้ื ทเ่ี ปา้ หมายโดยความสมคั รใจ รวมทง้ั สน้ิ 33 ตำ� บล และปงี บประมาณ พ.ศ. 2559 มีนโยบายเน้นพัฒนาระบบให้มีคุณภาพในพื้นท่ีเป้าหมายเดิม บา้ นบอ่ นางชิง 5

และให้ต�ำบลที่เหลือน�ำรูปแบบไปพัฒนาตามบริบทของพื้นที่ มหาวิทยาลัย ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในฐานะท่ีเป็นภาคีภาค วิชาการในพื้นท่ีจังหวัดสระแก้วตามแนวคิดการขับเคล่ือนแบบสามเหลี่ยม เขย้ือนภูเขาที่กล่าวมาแล้วข้างต้น จึงต้องการท่ีจะร่วมขับเคล่ือนนโยบาย “สระแก้วเมืองแห่งความสุข ภายใต้ 4 ดี วิถีพอเพียง” (Sa Kaeo Happiness Model) ผ่านรูปแบบของด�ำเนินกิจกรรมเพื่อสร้างการ มีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน นอกจากน้ันยัง ส่งเสริมให้มีการวิจัยเพ่ือพัฒนา (Research and Development) ในเชิงพื้นท่ีอีกด้วย การด�ำเนินการ ดังกล่าวน้ันมีความสอดคล้องกับทิศทางและยุทธศาสตร์ด้านการวิจัย 6 “หมบู่ า้ นตวั อย่าง 4 ดี วิถีพอเพยี ง”

ของมหาวิทยาลัยฯ (พ.ศ. 2560 - 2564) ในเป้าหมายที่ 2 วิจัยนวัตกรรม เพ่ือการแก้ไขปัญหาท้องถ่ิน ซึ่งถือเป็นพันธกิจส�ำคัญของมหาวิทยาลัย ที่จะต้องด�ำเนินการร่วมกันกับภาคีเครือข่ายต่าง ๆ เพื่อให้สามารถสร้าง องค์ความรู้อันจะน�ำไปสู่การขยายผลสู่ชุมชนท้องถ่ินต่า งๆ ทั้งในจังหวัด สระแก้วและจังหวัดอื่น ๆ ต่อไปเพ่ือให้เกิดการพัฒนาท่ี “ม่ันคง มั่งคั่ง ย่ังยืน” บา้ นบ่อนางชิง 7

ขอ้ มลู ทว่ั ไปของหมู่บ้าน ประวัตคิ วามเปน็ มาของหมบู่ า้ น โดยต�ำนานบอกเล่าของคนเก่าแก่ในหมู่บ้านจากรุ่นสู่รุ่นและ ข้อค้นพบจากหลักฐานท่ีมีอยู่ได้เล่าขานท่ีมาของช่ือหมู่บ้าน “บ่อนางชิง” ว่าเม่ือ 300 กว่าปีท่ีผ่านมา สภาพทางภูมิศาสตร์ของหมู่บ้านยังเป็น ป่าดงดิบมีสัตว์ป่ามากมายหลายชนิดอาศัยอยู่ มีความอุดมสมบรูณ์ ทางทรพั ยากรธรรมชาติและมีชาวบา้ นอพยพมาอยู่อาศยั 10 กวา่ ครัวเรอื น ท�ำใหม้ ีการเขา้ มาท�ำการคา้ ขายจงึ เกดิ กิจการการคา้ ด้านเศรษฐกจิ 8 “หมบู่ า้ นตัวอย่าง 4 ดี วถิ พี อเพียง”

และนอกจากนี้เขตพื้นที่ของหมู่บ้านบ่อนางชิงยังมีทรัพยากรทาง ธรรมชาติ คือ แร่ทองค�ำ จากหลักฐานท่ีค้นพบ ท�ำให้ทราบว่าอดีตในยุค ล่าอาณานคิ ม ได้มชี าวต่างชาตเิ ขา้ มาทำ� เหมอื งแร่ทองคำ� ในบริเวณหมบู่ า้ น และในสมัยน้ันจะสังเกตได้จากหลักฐานท่ีชาวบ้านได้ค้นพบบ่อทองโบราณ ขนาดใหญ่ถึง 2 บ่อและอุปกรณ์เคร่ืองมือในการขุดทอง เช่น รางรถไฟ – โบกี้ขนแร่ทองคำ� และเครอื่ งมอื อุปกรณใ์ นการขุดทอง ต่อจากน้ันเปน็ ต้นมา บา้ นบอ่ นางชงิ 9

ชาวบ้านเร่ิมเรียนรู้วิถีชีวิตการขุดค้นหาแร่ทองค�ำ เช่น การขุดหา ทองค�ำ และการแร่ทองค�ำด้วยวิธีธรรมชาติ จากการบอกต่อกันมาเป็น หลายปี มีค่านิยมร่วมกัน จวบจนทุกวันนี้ จึงเป็นที่มาของช่ือ “หมู่บ้าน บ่อทองชงิ นาง” อกี ต�ำนานหนงึ่ เล่าว่าสมยั นั้น ชาวบ้านรว่ มกนั ขุดบ่อน้�ำใช้อยู่ 1 บอ่ ซงึ่ บอ่ นนั้ ชอื่ บอ่ แมท่ ร ซง่ึ เปน็ บอ่ นำ้� เกา่ แกข่ องหมบู่ า้ นทช่ี าวบา้ นไดใ้ ชร้ ว่ มกนั ทง้ั หมบู่ า้ นและนำ้� ไมเ่ คยขาดในชว่ งตอนเยน็ มหี นมุ่ สาวในหมบู่ า้ นกลมุ่ หนงึ่ ใช้ เป็นสถานท่ีพบปะพูดคุยกันเป็นประจ�ำที่บ่อน้�ำแม่ทร และจะมีสาวสวยอยู่ 1 คน ทเ่ี ปน็ ทหี่ มายปองของชายหนมุ่ ในหมบู่ า้ นและเกดิ การแยง่ ชงิ หญงิ สาว คนนี้ จากค�ำบอกเล่าของคนเก่าแก่ในหมู่บ้านไม่มีใครทราบว่าชายใด ไดห้ ญงิ คนนนั้ ไปครอบครอง ฉะนนั้ จงึ เปน็ ทมี่ าของชอื่ หมบู่ า้ นวา่ “บา้ นบอ่ ทอง ชิงนาง” และต่อมาก็ได้เปลย่ี นมาเป็น “บ้านบอ่ นางชิง” จวบจนทุกวันนี้ 10 “หมบู่ า้ นตัวอย่าง 4 ดี วถิ ีพอเพยี ง”

อาณาเขตเน้ือที่ ทิศเหนอื จรดบ้านสุขส�ำราญ หมู่ที่ 8 ต�ำบลท่าเกษม อ�ำเภอเมือง สระแก้ว ทิศใต ้ จรดบา้ นเขาจาน หมทู่ ่ี 8 ตำ� บลทา่ เกวยี น อำ� เภอวฒั นานคร ทิศตะวนั ออก จรดบ้านนางาม หมู่ท่ี 3 ตำ� บลท่าเกวียน อ�ำเภอวฒั นานคร ทิศตะวนั ตก จรดบา้ นคลองอุดมสขุ หมู่ท่ี 7 ตำ� บลท่าเกษม อ�ำเภอเมอื ง สระแกว้ บ้านบ่อนางชิง 11

ภาพแผนท่คี รวั เรอื นบา้ นบ่อนางชงิ 12 “หม่บู ้านตวั อยา่ ง 4 ดี วิถีพอเพยี ง”

พืน้ ทขี่ องหมู่บ้าน บา้ นบอ่ นางชงิ มพี นื้ ทที่ งั้ หมด จำ� นวน 14,250 ไร ่ ซง่ึ เปน็ พน้ื ทป่ี ระเภท ตา่ งๆ ประกอบดว้ ย โฉนด, น.ส.3, ส.ป.ก. 4–01, ส.ป.ก. ทอี่ ยอู่ าศยั , ทปี่ า่ สงวน, ทีส่ ระน้�ำสาธารณะประโยชน,์ ที่สระประปาหมู่บ้าน, ท่ีลาน, ทีว่ ดั บ่อนางชงิ , ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เลก็ , โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำ� บล, โรงเรยี นบา้ นบอ่ นางชงิ , อ่ืนๆ ไม่มีเอกสารสิทธิ์ (ภ.บ.ท. 5) ท้ังนี้ ประชาชนในพ้ืนที่ได้มีการจัดสรร และใช้ประโยชน์อย่างค้มุ คา่ มากทีส่ ดุ จำ� นวนประชากร / ครัวเรอื น จำ� นวนครัวเรอื น ทงั้ หมด 431 ครวั เรือน จ�ำนวนประชากร ท้งั หมด 1,576 คน แยกเปน็ ประชากรชาย ทั้งหมด แยกเปน็ ประชากรหญิง ทั้งหมด 794 คน 782 คน ท�ำเนยี บผู้ใหญบ่ า้ น บ้านบ่อนางชิง 1. นายเลศิ เวชเงนิ ดำ� รงต�ำแหนง่ ไมป่ รากฏหลักฐาน ถึง 2512 2. นายสวุ รรณ ดวงจำ� ลอง ดำ� รงตำ� แหน่งตั้งแต่ป ี 2512 ถงึ 2523 3. นายน้อย ยะถาเทศ ด�ำรงต�ำแหนง่ ต้งั แตป่ ี 2523 ถึง 2523 4. นายสเุ มธ ี กลุ ศิริ ดำ� รงตำ� แหน่งตง้ั แตป่ ี 2523 ถงึ 2533 5.นายสมศกั ดิ์ ปรงุ สิงห ์ ดำ� รงต�ำแหน่งตั้งแตป่ ี 2533 ถึง 2535 6.นายธวชั ชยั พลทุม ด�ำรงต�ำแหนง่ ตง้ั แต่ปี 2535 ถึง 2540 7.นายจ�ำลอง เดือดกระโทก ด�ำรงตำ� แหน่งตงั้ แตป่ ี 2540 ถึง 2548 8.นายสบุ นั ท ์ เซ่ียมก่งิ ด�ำรงต�ำแหนง่ ต้ังแต่ปี 2548 ถงึ ปจั จุบัน บ้านบ่อนางชงิ 13

14 “หม่บู ้านตวั อย่าง 4 ดี วถิ ีพอเพยี ง”

กลมุ่ องคก์ รอาสาสมคั รตา่ ง ๆ บ้านบ่อนางชิงมีการรวมกลุ่มเพื่อท�ำกิจกรรม และช่วยเหลือซ่ึงกัน และกัน ประกอบด้วย กลุ่ม อปพร. (อาสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรือน), กลุ่ม อสม. (อาสาสมัครมูลฐานประจ�ำหมู่บ้าน), กลุ่ม สตรี/ แม่บ้าน, กลุ่มลูกเสือชาวบ้าน, ประมงอาสา, ไทยอาสาป้องกันชาติ, หมอดินอาสา, อาสาปอ้ งกนั ไฟปา่ , สปก. อาสา, เครอื ขา่ ยยตุ ธิ รรมชมุ ชน, อาสาสมคั รปกปอ้ ง สถาบนั , ตำ� รวจอาสา (ตำ� รวจชมุ ชน), อาสาพฒั นาชมุ ชน (หมบู่ า้ น), จติ อาสา (ทำ� ดีด้วยหัวใจ), กลุ่มเยาวชน บ้านบอ่ นางชงิ 15

สภาพทางเศรษฐกิจ ด้านการเกษตร ชาวบ้านส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมมีรายได้จากการ ปลูกข้าวโพด ถั่วเหลือง มะม่วง ข้าว อ้อย มันส�ำปะหลัง ยางพารา ปาล์ม โดยผลผลิตเพื่อจ�ำหน่ายทั้งภายในและภายนอกชุมชน ได้แก่ ปลูกข้าวโพด ถั่วเหลือง มะม่วง ข้าว อ้อย มันส�ำปะหลัง ยางพารา ปาล์ม และพืชผัก สวนครวั เชน่ พริก มะเขือเปราะ – มะเขอื ยาว พริกข้หี นู ถว่ั ฝกั ยาว ฟกั -แฟง แตงกวา 16 “หมบู่ ้านตัวอย่าง 4 ดี วิถีพอเพียง”

ดา้ นปศุสัตว์ ชุมชนบ้านบ่อนางชิงมีการเลี้ยงสัตว์ต่าง ๆ เพ่ือบริโภคและจ�ำหน่าย ประกอบดว้ ย ววั , สกุ ร, แพะ, กระบอื , บอ่ ปลา, ไกพ่ นั ธไ์ุ ข่ และกบ ทส่ี ามารถ สรา้ งรายไดใ้ ห้สมาชกิ ในชมุ ชนไดเ้ ป็นอยา่ งดี บา้ นบอ่ นางชงิ 17

18 “หม่บู ้านตวั อย่าง 4 ดี วถิ ีพอเพยี ง”

พืชเศรษฐกจิ ของหมูบ่ า้ น บ้านบ่อนางชิงเป็นพ้ืนที่ ที่มีแหล่งน�้ำน้อย แตส่ ามารถดำ� เนนิ การปลกู พชื ทางดา้ นการเกษตร มีแหล่งน้�ำน้อยได้เช่น ปาล์มน้�ำมัน, ยางพารา, ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์, มันส�ำปะหลัง, มะม่วง นอกฤดู, อ้อย, ถั่วเหลือง, นาข้าว, พริกหยวก- พรกิ ยำ� -ถว่ั ฝกั ยาว, มะเขอื , กล้วย, แฟง-แตงกวา ในพื้นท่ีบ้านบ่อนางชิงมีการเพาะปลูก พืชเศรษฐกิจท่ีได้รับการยอมรับระดับประเทศ อีกดว้ ย นั่นคือ มะมว่ ง GI โดยมะมว่ งสายพันธุ์นี้ คอื นำ�้ ดอกไม้ หรอื สง่ิ บง่ ชที้ างภมู ศิ าสตร์ มะมว่ ง น�้ำดอกไม้ของบ้านบ่อนางชิง มีเอกลักษณ์และ มีอัตลักษณท์ ไ่ี ม่เหมือนพ้ืนทีอ่ น่ื ในประเทศไทย บา้ นบ่อนางชิง 19

ส�ำคญั และงานราชพิธี ที่หมู่บา้ นด�ำเนินการจดั ทำ� ทกุ ปี วันที่ 5 ธนั วาคม ของทุกปี ช่วงเช้าจัดให้มีการท�ำบุญตักบาตรทั้งหมู่บ้านเพื่อถวายเป็น พระราชกุศล และพัฒนาหมู่บ้าน ตอนเย็นคณะกรรมการหมู่บ้าน ผู้น�ำชมุ ชนและชาวบ้าน รว่ มวางพานพุม่ ที่ศาลากลางหมู่บา้ น พร้อมจุด เทียนชัยถวายพระพรชัยมงคลและร่วมกันร้องเพลงสดุดีมหาราชา และเพลงสรรเสรญิ พระบารมี 20 “หมบู่ า้ นตัวอย่าง 4 ดี วิถีพอเพยี ง”

วันท่ี 12 สงิ หาคม ของทกุ ปี ช่วงเช้าจัดให้มีการท�ำบุญตักบาตรท้ังหมู่บ้านเพ่ือถวายเป็น พระราชกุศล และพัฒนาหมู่บ้าน ตอนเย็นน�ำพาคณะกรรมการ หมู่บ้านผู้น�ำชุมชนและชาวบ้าน ร่วมวางพานพุ่มที่ศาลากลางหมู่บ้าน พร้อมจุดเทียนชัยถวายพระพรชัยมงคลและร่วมกันร้องเพลงสดุดี มหาราชาและเพลงสรรเสริญพระบารมี ทุกเดือสิงหาคมของทุกปี บา้ นบ่อนางชงิ 21

ประเพณี – วัฒนธรรมของหมู่บ้าน งานวนั สงกรานต์ สรงนำ้� พระ รดนำ้� ขอพรผสู้ งู อายุ จดั ทำ� ผา้ ปา่ สามคั ค,ี งานปิดทองประจ�ำปีศาลเจ้าพ่อหมู่บ้าน, พิธีแห่เจ้าพ่อรอบหมู่บ้าน, ท�ำบุญ ตักบาตรกลางหมู่บ้าน, แห่เทียนเข้าพรรษา, ท�ำบุญตักบาตรวันเข้าพรรษา, ท�ำบุญตักบาตรวันออกพรรษาและตักบาตรเทโว, ทอดกฐิน, ประเพณี ลอยกระทง, ประเพณเี ล้ยี งศาลเจา้ พ่อประจ�ำหมู่บ้าน 22 “หมบู่ า้ นตวั อย่าง 4 ดี วิถีพอเพียง”

ขณะที่วดั และโรงเรียนร่วมกบั หมูบ่ ้านจะมกี ารจัดงานวนั เด็กทุก ๆ ปี จะมีการละเล่นและกิจกรรมของเด็กตลอดงาน ด้านงบประมาณที่จัดงาน ไดร้ บั การสนบั สนนุ จากองค์การบริหารส่วนตำ� บล และงบประมาณส่วนใหญ่ จะไดม้ าจากผปู้ กครองของเด็ก และคนในชุมชนเปน็ หลัก บ้านบอ่ นางชิง 23

แหล่งท่องเทย่ี ว หมู่บ้านบ่อนางชิงยังมีทรัพยากรทางธรรมชาติ คือ แร่ทองค�ำ จากหลักฐานที่ค้นพบ ท�ำให้ทราบว่าอดีตตอนยุคสมัยล่าอาณานิคม ได้มีชาวต่างชาตเิ ขา้ มาทำ� เหมืองแรท่ องคำ� ในบรเิ วณหมู่บ้านและในสมัยน้นั จะสังเกตได้จากหลักฐานต่าง ๆ ที่ชาวบ้านได้ค้นพบ ปัจจุบันได้มีหลักฐาน 24 “หมู่บ้านตวั อยา่ ง 4 ดี วถิ ีพอเพยี ง”

ท่ีส�ำคัญ อาทิ ได้ค้นพบบ่อทองโบราณขนาดใหญ่ถึง 2 บ่อและอุปกรณ์ เคร่ืองมือในการขุดทอง เช่น รางรถไฟและโบกี้ขนแร่ทองค�ำ และเครื่องมือ อุปกรณ์ในการขุดทอง ต่อจากน้ันเป็นต้นมาชาวบ้านเริ่มเรียนรู้วิถีชีวิต การขุดคน้ หาแร่ทองคำ� จวบจนทุกวันนี้ บ้านบ่อนางชงิ 25

26 “หม่บู ้านตวั อย่าง 4 ดี วถิ ีพอเพยี ง”

“ความภาคภูมใิ จของชุมชน ที่มีแผน่ ดินเปน็ ทองคำ� และสามารถสร้างประโยชนใ์ หแ้ ก่ลูกหลานในพน้ื ที่ได้สบื ไป แตก่ ลัวเหลอื เกินทีจ่ ะขุดหาแบบอุตสาหกรรมใหญ่ ๆ” (เสยี งสะท้อนหนึ่งของสมาชิกบา้ นบอ่ นางชิง) บ้านบอ่ นางชงิ 27

การเดนิ ทางมาบา้ นบอ่ นางชงิ ไมย่ ากอยา่ งทคี่ ิด การเดนิ ทางโดยรถยนต์ สามารถใชเ้ สน้ ทางถนนแผน่ ดนิ หมายเลข 33 (ถนนสุวรรณศร) ถนนลาดยางสายอ�ำเภอวัฒนานครมาถึงต�ำบลห้วยโจด ระยะทาง 11 กโิ ลเมตร และแยกเขา้ มาบา้ นบอ่ นางชงิ 9 กโิ ลเมตร รวมระยะ ทาง 20 กโิ ลเมตร ใชเ้ วลาเดนิ ทางประมาณ 30 นาที จากตัวเมอื งสระแก้ว 28 “หมู่บา้ นตวั อยา่ ง 4 ดี วถิ พี อเพียง”

การติดตอ่ สอบถาม และสง่ั ซื้อผลติ ภัณฑ์ไดท้ ่ี นายสุบนั ท์ เซี่ยมกิง่ โทร. 08 6109 2221 (มะมว่ งนอกฤด)ู นางสกลุ แขง็ กลา้ โทร. 08 8487 5567 (มะม่วงแปรรูป) นายอดุ ม ประเสริฐแกว้ โทร. 08 8737 4122 (กลุ่มเล้ยี งกบ) นางสมจันทร์ เพลยี ซยุ โทร. 08 7007 3372 (จกั รสานทางมะพร้าว) นายเขม็ พร ชุนสอน โทร. 08 5436 0348 (ข้าวหอมมะล)ิ บา้ นบอ่ นางชิง 29

บ้านบอ่ นางชิง มหี น่วยงานอะไรบ้าง..... มศี ูนย์สาธติ ฯ และศนู ย์เรียนรชู้ ุมชน, มีโรงสี, เครอื่ งนวดข้าว, เคร่อื ง รบั - สง่ วิทย,ุ หอกระจายขา่ ว, ศนู ยพ์ ัฒนาเด็ก, วดั บา้ นบ่อนางชงิ , โรงเรยี น บ้านบ่อนางชิง (โรงเรียนขยายโอกาส ถึงมัธยม 3) โรงพยาบาลส่งเสริม สขุ ภาพประจ�ำตำ� บล บา้ นบ่อนางชงิ 30 “หมบู่ า้ นตัวอยา่ ง 4 ดี วิถีพอเพียง”

จำ� นวนครัวเรอื นตัวอย่างทด่ี ำ� เนินการตามแนวพระราชด�ำริ จำ� นวนครัวเรือน จดั ทำ� ไร่นา สวนผสม 8 ครวั เรือน ดงั น้ี 1. นายอ�ำนวย ดอกไธสงค์ 2. นายเฉลีย่ ว พงษจ์ ีน 3. นายสมศักด์ิ แซ่ห่าน 4. นายสะอาด ใจสงดั 5. นางล�ำพนู เวชพะพา 6. นายบุญมนั่ เวชเฟื่อง 7. นายค�ำตัน ขุนเยยี่ มมา 8. นายคำ� หล้า ป่ันแก้ว บ้านบอ่ นางชงิ 31

คนเก่ง...ในชุมชน นางสมจันทร์ เพลียซุย ความสามารถพิเศษ น�ำทางมะพร้าวมาสาน ตะกร้า กระเชา้ และอปุ กรณเ์ คร่อื งใช้ตา่ ง ๆ นายแสง เจะ ความสามารถพิเศษ สานแห สานตะกร้อ สานกรงนก และอ่ืนๆ นายสมาน วงสีทา ความสามารถพเิ ศษ ท�ำโตะ๊ เก้าอ้ี เครื่องใช้ต่าง ๆ จากไม้ 32 “หมูบ่ า้ นตัวอยา่ ง 4 ดี วถิ พี อเพยี ง”

นายชนื่ จอกแกว้ ความสามารถพเิ ศษ ท�ำพิธี ประเพณีตา่ ง ๆ นายหมุน ชมดอน ความสามารถพเิ ศษ ท�ำกระบ้างร่อนแร่ทองคำ� นายเภา บบุ ผา ความสามารถพิเศษ ท�ำพธิ ีประเพณตี า่ ง ๆ และ ทางพระพทุ ธศาสนา บ้านบ่อนางชิง 33

ข้อมูลท่วั ไปของหมู่บ้าน บา้ นบ่อนางชงิ เป็นอยา่ งไร... บ้านบ่อนางชิงมีพ้ืนท่ีจ�ำนวน 14,250 ไร่ มีลักษณะภูมิประเทศ เป็นท่ีราบเชิงเขา พ้ืนท่ีเป็นดินด�ำเหมาะแก่การเพาะปลูกพืชทุกชนิด หน้าฝนดินจะกลายเป็นดินเหนียวอุ้มน้�ำ โดยบ้านบ่อนางชิงมีจ�ำนวน ครวั เรอื น 431 ครวั เรอื น มจี ำ� นวนประชากร รวมทง้ั สน้ิ 1,576 คน แยกเปน็ ชาย 794 คน หญิง 782 คน โดยมีผู้สูงอายุ (อายุ 60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป) รวมทั้งสิน้ 151 คน แยกเปน็ ชาย 84 คน หญงิ 67 คน อกี ท้งั มคี นพกิ าร รวมท้ังส้ิน 26 คน แยกเป็น ชาย 15 คน หญิง 11 คน 34 “หมู่บา้ นตวั อยา่ ง 4 ดี วถิ พี อเพียง”

บ้านบอ่ นางชิง 35

สมาชกิ บ้านบอ่ นางชงิ มีอาชพี อะไรบา้ ง... อาชีพหลักของครัวเรือน คือ เกษตรกรรม โดยพืชที่นิยมปลูก สว่ นใหญเ่ ปน็ พชื เศรษฐกจิ คอื ออ้ ย จำ� นวน 176 ครวั เรอื น รองลงมา ขา้ วโพด จำ� นวน 151 ครัวเรอื น มันสำ� ปะหลงั จำ� นวน 48 ครวั เรอื น มะมว่ ง จำ� นวน 44 ครวั เรือน นาขา้ ว จำ� นวน 32 ครัวเรือน ถั่วเหลอื ง จำ� นวน 27 ครัวเรือน ขณะท่ี ยูคาลิปตัส จ�ำนวน 24 ครัวเรือน ยางพารา จ�ำนวน 18 ครัวเรือน และสวนปาลม์ จ�ำนวน 5 ครัวเรือน 36 “หมู่บ้านตัวอยา่ ง 4 ดี วิถีพอเพียง”

อาชีพเสริมของครัวเรือนบ้านบ่อนางชิงส่วนใหญ่ คือ การปลูกพืช ผักสวนครวั ผักที่นยิ มมาก คือ แตงกวา จำ� นวน 34 ครัวเรือน รองลงมา กลว้ ย จำ� นวน 22 ครวั เรอื น ขณะทปี่ ลกู พรกิ ยำ� - พรกิ ขห้ี นู จำ� นวน 14 ครวั เรอื น และปลกู มะเขือเปาะ – มะเขอื ยาว จำ� นวน 17 ครวั เรือน รายไดเ้ ฉลี่ยของประชากร จ�ำนวน 45,000 บาท/คน/ป ี ครัวเรือนยากจน (รายได้ไม่ถึง 15,000 บาท/คน/ปี) ปี 2562 จ�ำนวน 1 ครัวเรือน บา้ นบ่อนางชงิ 37

บา้ นบอ่ นางชิงมีการรวมกลุ่ม ทำ� กจิ กรรม/อาชีพ อะไรบ้าง... สมาชิกในชุมชนมีการรวมกลุ่มกันขึ้นเพื่อต่อรองราคา และสร้าง ความเข้มแข็งให้กับอาชีพของตนเพ่ือต่อรองกับนายทุนท่ีเข้ามารับซื้อ ผลผลิต ประกอบด้วย กลุ่มข้าวหอมมะลิ, กลุ่มถั่วเหลือง, กลุ่มจักรสาน, กลุ่มโคเนอื้ – โคขุน, กลุม่ มะม่วงนอกฤดู 38 “หมบู่ ้านตัวอย่าง 4 ดี วิถพี อเพียง”

กองทนุ ในหมู่บ้านบอ่ นางชิง กองทุนอะไรบา้ ง... ชุมชนพยายามสร้างหลักประกันโดยต้ังกองทุนต่าง ๆ ประกอบ ดว้ ย กองทนุ ก.ข.ก.จ., กองทนุ ออมทรัพยเ์ พือ่ การผลติ , กองทุนออมทรัพย์ เพอ่ื การเกษตร, กองทนุ ก.ท.บ.(กองทนุ หมบู ้าน), กองทนุ ถว่ั เหลือง, กองทนุ โคเนอ้ื - โคขุน, กองทุนข้าวหอมมะลิ, กองทนุ กลางพฒั นาหมู่บ้าน, กองทนุ บทบาทพัฒนาสตรี, กองทุนแม่ของแผ่นดิน, กองทุนกลางพัฒนาหมู่บ้าน, กองทุนบทบาทพัฒนาสตรี, กองทุนแม่ของแผ่นดิน เพื่อช่วยเหลือสมาชิก ในชมุ ชนเม่อื เกดิ ปญั หาขนึ้ บ้านบ่อนางชงิ 39

การวเิ คราะห์ SWOT ระดบั ตำ� บล บา้ นบ่อนางชิง มจี ุดแข็งจดุ อ่อน โอกาส และอุปสรรคอะไรบ้างในชุมชน.... จุดแขง็ คือ ศกั ยภาพความสามารถหรอื ข้อเด่นของ จุดออ่ น หมูบ่ า้ นเมือ่ เทยี บกบั หมู่บ้านอนื่ - พ้นื ทสี่ ามารถท�ำการเกษตรไดต้ ลอดปี - คนในชมุ ชนมกี ารรกั ษาความสามัคคี - ดินดำ� ร่วนซุยปลูกพืชผลทางการเกษตร ปลกู อะไรก็ดี ผลผลติ สูง - ในพน้ื ท่ีมแี รท่ องคำ� ตามธรรมชาติ คือ ลกั ษณะหรอื ข้อด้อยของหมู่บา้ นเมื่อเทียบกบั หมูบ่ า้ นอนื่ - ท่ที ำ� กิน บางส่วนยงั ไมม่ ีเอกสารสิทธ์ิ เพราะเปน็ ทที่ บั ซอ้ นกับ เขตปา่ อนุรกั ษ์ - แหลง่ นำ้� อปุ โภคบริโภคไมเ่ พียงพอ - การใช้เส้นทางการค้าแรงงานและเลย่ี งภาษ ี และรถน้�ำหนักเกนิ 40 “หมู่บ้านตวั อยา่ ง 4 ดี วิถพี อเพียง”

บ้านบอ่ นางชิง 41

โอกาส คอื สิง่ ท่จี ะเป็นประโยชน์ หรอื ทำ� ใหก้ ารดำ� เนินงาน ของหมู่บ้านเหนือหมู่บ้านอ่ืน เช่น หลายหมู่บ้าน มจี ดุ ขายดา้ นแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วเชน่ เดยี วกบั หมบู่ า้ นเรา แต่เรามีโอกาสที่เหนือกว่า คือ เรามีธรรมชาติ ท่คี งความเปน็ ธรรมชาตมิ ากกวา่ - คนในชมุ ชนมคี วามสามคั คี - ดินมีความอุดมสมบูรณ์ปลูกอะไรก็ดี มแี ตผ่ ลผลติ สูงกวา่ ท่อี ่ืน ๆ - มที รัพยากรธรรมชาติ (ทองค�ำ) 42 “หมบู่ ้านตัวอยา่ ง 4 ดี วถิ พี อเพยี ง”

อปุ สรรค คอื ข้อจ�ำกดั ศักยภาพความสามารถหรอื ขอ้ เด่น ของหม่บู ้านเมอื่ เทยี บกับหมบู่ า้ นอ่ืน ๆ - ท่ีดินยังไม่มีเอกสารสิทธ์ิเพราะเป็นที่ ทบั ซอ้ นกับเขตป่าอนรุ กั ษ์ - ขาดงบประมาณ เกี่ยวกับการสร้างอ่าง กกั เก็บน�ำ้ เพอ่ื การเกษตร - ปัญหาแรงงานเถื่อนโดยใช้เส้นทางของ หม่บู ้าน ในการขนแรงงานผา่ น บ้านบอ่ นางชงิ 43

ตอนที่ 2 กระบวนการศกึ ษาบรบิ ทชมุ ชน จังหวัดสระแก้วเป็นจังหวัดที่เคยเป็นอ�ำเภอหน่ึงในจังหวัดปราจีนบุรี และต่อมาให้แยกตัวออกมาเป็นจังหวัดสระแก้ว ในการสำ� รวจข้อมูล ศึกษา ชมุ ชนครงั้ นีไ้ ด้เลอื กบ้านบ่อนางชงิ หมู่ที่ 4 ตำ� บลหว้ ยโจด อำ� เภอวฒั นานคร จงั หวดั สระแกว้ มจี ำ� นวนครวั เรอื น 431 ครวั เรอื น และจำ� นวนประชากร รวม ทัง้ ส้นิ 1,576 คน อาจารย์ผู้รับผิดชอบพ้ืนท่ีได้เดินทางไปศึกษาบริบทชุมชนเป้าหมาย โดยเริ่มจากการประสานกับทางจังหวัดสระแก้วเพื่อศึกษาข้อมูลเบ้ืองต้น และได้จัดท�ำหนังสือขออนุญาตเข้าพ้ืนที่ ถึงนายอ�ำเภอ นายกองค์การ บริหารสว่ นต�ำบล รวมไปถึงผใู้ หญบ่ ้าน เพื่อทำ� การศึกษาบรบิ ทชุมชนเชิงลึก ด้วยวธิ กี ารฝงั ตัวอยู่ในชุมชน 44 “หมู่บ้านตัวอย่าง 4 ดี วถิ ีพอเพียง”

บ้านบอ่ นางชิง 45

เคร่ืองมือท่ีใช้ในการศึกษาชุมชนคร้ังนี้คือการสัมภาษณ์ เป็นค�ำถาม ปลายเปิดท่ีอยู่ในรูปแบบของกระบวนการสนทนากลุ่ม (Focus Group) ท่ีผู้ตอบสามารถแสดงทัศนคติ ความเชื่อและสะท้อนปัญหาพร้อมเสนอ ความต้องการ โดยอาศัยเคร่ืองมือ ต้นไม้ชุมชน ต้นไม้ปัญหา และการ วเิ คราะห์ SWOT ของชมุ ชน โดยกลมุ่ เปา้ หมายทเ่ี ขา้ รว่ มกจิ กรรม คอื สมาชกิ ในชุมชนบ้านบ่อนางชิงทุกคน โดยประกอบด้วยอายุตั้งแต่ 5 ปี ถึง 70 ปี เพอ่ื ให้ได้มาซึ่งความตอ้ งการและสะทอ้ นปญั หาของชุมชนโดยแทจ้ รงิ ขัน้ ตอนการส�ำรวจขอ้ มลู ชุมชน ผู้ศกึ ษาเดนิ ทางทางไปยงั พื้นทเี่ ปา้ หมาย ใหส้ มาชกิ ในชุมชน ได้แสดง ความคิดเห็นด้วยวิธีการประชุม ประชาคม ขณะเดียวกันผู้ศึกษาใช้แนวคิด Snow Ball เพอ่ื คน้ หาบคุ คลเปา้ หมายทเ่ี ขา้ ขา่ ย 4 ดี ในแตล่ ะดา้ น ประกอบ ด้วย คนดี สุขภาพดี รายได้ดี และสิ่งแวดล้อมดี รวมท้ังจัดท�ำกระบวนการ สนทนากลุ่ม (Focus Group) เพ่ือให้ได้มาซ่ึงความคิดเห็น ความเชื่อ ทศั นคติของกลุ่มตวั อย่าง ณ ลานเอนกประสงค์ของชมุ ชนเพ่ือกอ่ ให้เกดิ การ พฒั นาและแก้ไขปัญหาได้อยา่ งยง่ั ยนื เพือ่ ใหส้ อดคล้องกับโครงการสระแกว้ เมอื งแห่งความสขุ ภายใต้ 4 ดี วิถพี อเพียง 46 “หมู่บา้ นตัวอย่าง 4 ดี วถิ พี อเพยี ง”


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook