“หมูบ า นตวั อยา ง 4 ดี วิถีพอเพยี ง” 9 หมบู าน 9 อำเภอ จงั หวดั สระแกว จงั หวัดสระแกว รว มกับ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ ในพระบรมราชูปถัมภ สระแกว ภายใตโครงการสระแกวเมืองแหง ความสุขดว ยวถิ พี อเพียง กจิ กรรมพฒั นาศนู ยการเรยี นรสู ระแกว 4 ดี วิถีพอเพยี ง
“หม่บู า้ นตวั อยา่ ง 4 ดี วถิ ีพอเพยี ง”
“หมู่บ้านตัวอยา่ ง 4 ดี วิถีพอเพียง” 9 หมู่บ้าน 9 อำ� เภอ จังหวดั สระแกว้
“หมบู่ า้ นตวั อย่าง 4 ดี วถิ ีพอเพียง” 9 หมู่บา้ น 9 อำ� เภอ จงั หวัดสระแก้ว ข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแห่งชาติ “หม่บู ้านตวั อย่าง 4 ดี วิถพี อเพยี ง” 9 หมบู่ า้ น 9 อ�ำเภอ จังหวัดสระแกว้ . -- พิมพ์คร้งั ท่ี 2. -- สระแกว้ : มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ สระแกว้ , 2564. 120 หนา้ . 1.การพัฒนาชมุ ชน. 2. เศรษฐกิจพอเพียง. I. ชยั วฒุ ิ เทโพธิ์ II. ช่อื เรอื่ ง 307.14 ISBN 978-974-337-259-9 สงวนลิขสิทธิต์ ามราชบัญญตั ิ ห้ามทำ� การลอกเลียนแบบไม่วา่ ส่วนใดสว่ นหนึ่งของหนังสือเลม่ น้ี นอกจากจะได้รบั อนุญาต พิมพค์ ร้งั ที่ 2 มกราคม 2564 บรรณาธิการอำ� นวยการ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สพุ จน์ ทรายแก้ว รองศาสตราจารย์ ดร.นฤมล ธนานนั ต์ อาจารย์ปิยะ สงวนสิน อาจารย์ชยั วฒุ ิ เทโพธิ์ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารยเ์ ศกพร ตันศรปี ระภาศิร ิ คณะผูจ้ ดั ท�ำ อาจารย์ชยั วุฒิ เทโพธิ์ อาจารยฉ์ ัตรชยั เสมขวญั แกว้ อาจารยก์ ีรฉตั ร วนั ชว่ ย อาจารย์ปุณณานนั ท์ พนั ธ์แกน่ อาจารย์เพ็ญศรี ชติ บตุ ร อาจารยเ์ ฉลิมพงษ์ จนั ทร์สขุ า อาจารยเ์ ทอดเกียรติ แก้วพวง อาจารยว์ ราวฒุ ิ คำ� พานชุ ศลิ ปกรรม พจิ ติ ร พรมลี ออกแบบปก พิจติ ร พรมลี ประสานงานการผลติ อาจารยป์ ณุ ณานนั ท์ พนั ธ์แก่น จดั พิมพ์โดย มหาวิทยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ สระแก้ว เลขท่ี 1177 หมู่ท่ี 2 ตำ� บลทา่ เกษม อำ� เภอเมืองสระแก้ว จงั หวัดสระแก้ว 27000 โทรศพั ท์ : 037-447-043 http://www.sk.vru.ac.th พิมพท์ ่ ี บริษทั ดไี ซน์ ดไี ลท์ จำ� กดั เลขท่ี 69/18 หมทู่ ่ี 7 ถนนรัตนาธิเบศร์ ตำ� บลเสาธงหิน อำ� เภอบางใหญ่ จังหวดั นนทบรุ ี 11140 โทรศัพท์ 089-812-2140 “หมูบ่ ้านตวั อยา่ ง 4 ดี วิถพี อเพียง”
สารบัญ ค 1 คำ� น�ำ 28 บทน�ำ 30 ด้านคนดี 32 บา้ นวงั หนิ ต�ำบลบ้านแกง้ อำ� เภอเมืองสระแกว้ 34 บา้ นพระเพลงิ ตำ� บลพระเพลงิ อำ� เภอเขาฉกรรจ์ 36 บา้ นตาหลังใน ตำ� บลตาหลังใน อำ� เภอวังน้�ำเยน็ 38 บา้ นวังทอง ต�ำบลวังทอง อำ� เภอวังสมบรู ณ ์ 40 บา้ นบอ่ นางชงิ ตำ� บลหว้ ยโจด อำ� เภอวฒั นานคร 42 บ้านคลองไกเ่ ถอ่ื น ต�ำบลคลองไก่เถอื่ น อ�ำเภอคลองหาด 44 บ้านเขาสารภี ตำ� บลทบั พรกิ อำ� เภออรญั ประเทศ 48 บ้านหนองแวง ตำ� บลหนองแวง อำ� เภอโคกสูง 50 บ้านทัพไทย ตำ� บลทัพไทย อ�ำเภอตาพระยา 52 สุขภาพดี 54 บา้ นวงั หนิ ต�ำบลบา้ นแกง้ อ�ำเภอเมืองสระแกว้ 56 บ้านพระเพลิง ตำ� บลพระเพลิง อ�ำเภอเขาฉกรรจ์ 58 บ้านตาหลงั ใน ต�ำบลตาหลงั ใน อ�ำเภอวังนำ้� เย็น 60 บ้านวงั ทอง ตำ� บลวงั ทอง อ�ำเภอวังสมบูรณ์ 62 บา้ นบอ่ นางชิง ต�ำบลหว้ ยโจด อ�ำเภอวัฒนานคร 64 บา้ นคลองไกเ่ ถอื่ น ตำ� บลคลองไก่เถ่ือน อำ� เภอคลองหาด บ้านเขาสารภี ตำ� บลทบั พริก อ�ำเภออรัญประเทศ บ้านหนองแวง ต�ำบลหนองแวง อำ� เภอโคกสงู บา้ นทพั ไทย ต�ำบลทัพไทย อำ� เภอตาพระยา ก “หมูบ่ ้านตัวอย่าง 4 ดี วิถีพอเพียง”
รายไดด้ ี 68 บ้านวังหิน ต�ำบลบ้านแก้ง อำ� เภอเมอื งสระแกว้ 70 บา้ นพระเพลงิ ตำ� บลพระเพลิง อำ� เภอเขาฉกรรจ ์ 72 บา้ นตาหลังใน ตำ� บลตาหลงั ใน อำ� เภอวังนำ�้ เย็น 74 บ้านวงั ทอง ต�ำบลวงั ทอง อ�ำเภอวังสมบรู ณ ์ 76 บา้ นบอ่ นางชิง ตำ� บลห้วยโจด อ�ำเภอวัฒนานคร 78 บ้านคลองไก่เถอื่ น ต�ำบลคลองไก่เถอ่ื น อำ� เภอคลองหาด 80 บา้ นเขาสารภี ตำ� บลทับพรกิ อำ� เภออรัญประเทศ 82 บ้านหนองแวง ตำ� บลหนองแวง อ�ำเภอโคกสูง 84 บ้านทพั ไทย ตำ� บลทพั ไทย อ�ำเภอตาพระยา 88 สงิ่ แวดลอ้ มดี 90 บา้ นวังหิน ตำ� บลบา้ นแกง้ อำ� เภอเมืองสระแกว้ 92 บ้านพระเพลิง ตำ� บลพระเพลงิ อำ� เภอเขาฉกรรจ์ 94 บา้ นตาหลงั ใน ตำ� บลตาหลังใน อ�ำเภอวงั น้�ำเย็น 96 บ้านวงั ทอง ต�ำบลวงั ทอง อ�ำเภอวังสมบรู ณ์ 98 บ้านบ่อนางชิง ตำ� บลหว้ ยโจด อ�ำเภอวฒั นานคร 100 บา้ นคลองไกเ่ ถ่อื น ต�ำบลคลองไก่เถอื่ น อ�ำเภอคลองหาด 102 บ้านเขาสารภี ตำ� บลทบั พริก อำ� เภออรญั ประเทศ 104 บา้ นหนองแวง ตำ� บลหนองแวง อำ� เภอโคกสูง บา้ นทพั ไทย ต�ำบลทพั ไทย อ�ำเภอตาพระยา “หมบู่ า้ นตวั อยา่ ง 4 ดี วถิ พี อเพียง” ข
ค�ำน�ำ โครงการสระแก้วเมืองแห่งความสุขภายใต้ 4 ดี วิถีพอเพียง (Sa Kaeo Happiness Model) ประจ�ำปี 2562 มีพ้ืนท่ีในจังหวัด สระแก้วเข้าร่วมโครงการทั้ง 9 อ�ำเภอ 9 หมู่บ้าน ประกอบด้วย 1) บ้านวังหิน หมู่ที่ 10 ต�ำบลบ้านแก้ง อ�ำเภอเมืองสระแก้ว 2) บ้าน พระเพลิง หมู่ท่ี 1 ต�ำบลพระเพลิง อ�ำเภอเขาฉกรรจ์ 3) บ้านตาหลังใน หมู่ที่ 1 ต�ำบลตาหลังใน อ�ำเภอวังน�้ำเย็น 4) บ้านวังทอง หมู่ที่ 1 ต�ำบลวังทอง อ�ำเภอวังสมบูรณ์ 5) บ้านบ่อนางชิง หมู่ท่ี 4 ต�ำบลห้วยโจด อ�ำเภอวัฒนานคร 6) บ้านคลองไก่เถื่อน หมู่ท่ี 1 ต�ำบลคลองไก่เถ่ือน อำ� เภอคลองหาด 7) บ้านเขาสารภี หมู่ 3 ตำ� บลทบั พริก อ�ำเภออรญั ประเทศ 8) บา้ นหนองแวง หมู่ที่ 1 ต�ำบลหนองแวง อำ� เภอโคกสูง และ 9) บา้ นทพั ไทย หมู่ที่ 1 ต�ำบลทัพไทย อ�ำเภอตาพระยา ถูกคัดเลือกเป็นตัวแทนหมู่บ้าน ตวั อยา่ ง 4 ดวี ิถีพอเพยี งของจงั หวัดสระแกว้ ค “หมู่บ้านตัวอยา่ ง 4 ดี วิถพี อเพียง”
เอกสารเล่มนี้ เป็นการถอดบทเรียนความส�ำเร็จและกิจกรรม โดยมี วัตถุประสงค์เพ่ือเรียนรู้กระบวนการ แนวความคิด แนวปฏิบัติ องค์ความรู้ ของชุมชนเพื่อเป็นแบบอย่างให้แก่ชุมชนอื่น ๆ ได้ และสามารถน�ำไป ปฏิบัติ และพัฒนาหมู่บ้านของตนให้เป็นหมู่บ้านแห่งความสุข ด้วย 4 ดี วิถีพอเพียง ได้เช่นเดียวกับหมู่บ้านตัวอย่าง 4 ดี วิถีพอเพียง จัดท�ำขึ้น โดยจังหวัดสระแก้ว ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ ในการพัฒนาหมู่บ้าน ชุมชน หรือผู้สนใจข้อมูลในการน�ำไปประยุกต์ใช้ ในระดับหมู่บ้าน ระดับต�ำบล หรือระดับอ�ำเภอ ในการด�ำเนินงานไม่มาก กน็ ้อย คณะผจู้ ัดทำ� “หม่บู ้านตัวอย่าง 4 ดี วิถพี อเพียง” ง
“หม่บู า้ นตวั อยา่ ง 4 ดี วถิ ีพอเพยี ง”
โครงการสระแกว้ เมืองแห่งความสขุ ด้วย 4 ดี วิถีพอเพียง จังหวัดสระแก้ว มีนโยบายพัฒนา “สระแก้วเมืองแห่งความสุข ภายใต้ 4 ดี วิถีพอเพียง” (Sa Kaeo Happiness Model) โดยให้ ประชาชนเป็นศูนย์กลาง สร้างความสุข ด้วยการเป็น คนดี สุขภาพดี สิ่งแวดล้อมดี และรายได้ดี ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ หลักทฤษฏีการขับเคลื่อนแบบสามเหลี่ยมเขย้ือนภูเขา คือ (1) การใช้ องค์ความรู้หรือวิชาการโดยภาคราชการและภาควิชาการ (2) การใช้พลัง ประชาสังคม ที่เป็นภาคีต่าง ๆ ได้แก่ บ้าน วัด โรงเรียน สถานีอนามัย/ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพต�ำบล องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน และ (3) การก�ำหนดเป็นนโยบายสาธารณะระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กระบวนการท�ำงานท่ีต้องเน้นการบูรณาการงาน คน และการจัดการ ร่วมกัน โดยเร่ิมด�ำเนินการต้ังแต่เดือนตุลาคม 2556 มีพ้ืนที่น�ำร่อง เต็มรูปแบบอ�ำเภอละ 1 ต�ำบล ต�ำบลท่ีเหลือให้น�ำนโยบายไปปรับใช้ ตามบริบท และมีปรับปรุงกระบวนการพัฒนาแบบมีส่วนร่วมกับพ้ืนท่ี เพื่อให้สอดคล้องกับบริบทอย่างต่อเน่ือง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 เพ่ิม พื้นท่ีเป้าหมายโดยความสมัครใจ รวมท้ังสิ้น 33 ต�ำบล และปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 มีนโยบายเน้นพัฒนาระบบให้มีคุณภาพในพ้ืนท่ีเป้าหมายเดิม และใหต้ ำ� บลทเ่ี หลอื น�ำรปู แบบไปพฒั นาตามบรบิ ทของพ้ืนที่ “หมบู่ า้ นตวั อยา่ ง 4 ดี วิถีพอเพยี ง” 1
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในฐานะ ท่ีเป็นภาคีภาควิชาการในพ้ืนที่จังหวัดสระแก้วตามแนวคิดการขับเคล่ือน แบบสามเหลี่ยมเขย้ือนภูเขาที่กล่าวมาแล้วข้างต้น จึงต้องการท่ีจะร่วม ขับเคลื่อนนโยบาย “สระแก้วเมืองแห่งความสุข ภายใต้ 4 ดี วิถีพอเพียง” (Sa Kaeo Happiness Model) ผ่านรูปแบบของด�ำเนินกิจกรรมเพ่ือสร้าง การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน นอกจากนั้นยัง ส่งเสริมให้มีการวิจัยเพื่อ พัฒนา (Research and Development) ในเชิงพื้นที่อีกด้วยการด�ำเนิน การดังกล่าวนั้นมีความสอดคล้องกับทิศทางและยุทธศาสตร์ด้านการวิจัย ของมหาวิทยาลัยฯ (2560 - 2564) ในเป้าหมายที่ 2 วิจัยนวัตกรรมเพื่อ การแก้ไขปัญหาท้องถิ่น ซึ่งถือเป็นพันธกิจส�ำคัญขอมหาวิทยาลัยที่จะต้อง ด�ำเนินการร่วมกันกับภาคีเครือข่ายต่าง ๆ เพื่อให้สามารถสร้างองค์ความ รู้อันจะน�ำไปสู่การขยายผลสู่ชุมชนท้องถ่ินต่าง ๆ ทั้งในจังหวัดสระแก้ว และจังหวัดอื่น ๆ ต่อไปเพื่อให้เกิดการพัฒนาที่ “มั่งคง ม่ังคั่ง ยังยืน” วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือพัฒนา ปรับปรุง และฟื้นฟูทางกายภาพของศูนย์การเรียนรู้ 4 ดี วถิ พี อเพียง จังหวัดสระแกว้ 2. เพื่อสร้างชุมชนต้นแบบด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตท่ีย่ังยืน โดยดำ� เนนิ การผา่ นกิจกรรมการถอดบทเรยี นชมุ ชนต้นแบบเครือขา่ ย 3. เพื่อบูรณาการและเสริมสร้างเครือข่ายโครงการพัฒนาคุณภาพ ชีวิตอย่างย่ังยืนตามโครงการสระแก้วเมืองแห่งความสุข โดยยึดหลัก ไตรภาคเี พอ่ื ให้เกดิ การมีสว่ นร่วมหลากหลายภาคสว่ น 4. เพ่ือเสริมสร้างกระบวนการเรียนรู้และสภาพแวดล้อมของ ประชาชน ให้สามารถปรับตัวประกอบอาชีพและมีสภาพแวดล้อม และคุณภาพชวี ิตท่ีดี 2 “หมบู่ า้ นตัวอย่าง 4 ดี วิถีพอเพียง”
4 ดี ประกอบดว้ ย หมวดคนดี 1. ครอบครวั ในชมุ ชนเข้าปฏิบตั ิธรรมและฟงั ธรรมะอย่างสมำ�่ เสมอ 2. ท้องถน่ิ และชมุ ชนมีกิจกรรมการสง่ เสรมิ เชิดชูคนดี 3. ชุมชนมีกตกิ า และมาตรการทางสงั คมในการงดเหล้า และเครอ่ื งดืม่ แอลกอฮอลล์ในงานประเพณีท่ีส�ำคัญ รวมทั้ง ลด ละเลิกอบายมุข ยาเสพตดิ และการทะเลาะววิ าท 4. ชุมชนมีการจัดต้ังเคร่ืองข่ายจิตอาสาระบบสวัสดิการชุมชนในการ ชว่ ยเหลอื เก้ือกูลกนั 5. โรงเรียนมีเด็กและเยาวชนตน้ แบบคนดี 6. ชมุ ชนมีการป้องกนั และแกป้ ญั หายาเสพติด “หมู่บ้านตัวอย่าง 4 ดี วถิ พี อเพยี ง” 3
หมวดสุขภาพดี 1. ชุมชนมีการจัดการเพ่ือแก้ไขปัญหาโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคอ่นื ท่เี ป็นปัญหาชมุ ชนให้ลดลงอยา่ งเปน็ รูปธรรม 2. ชุมชนมีการแก้ไขปัญหาสารเคมีตกค้างในอาหารและกระแสเลือด จนอยู่ในระดับความปลอดภัย 3. ชุมชนมีกิจกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์และ การตง้ั ครรภ์ในวัยรนุ่ 4. ศูนย์สาธารณสุขมูลฐานชุมชนมีโครงสร้างและการจัดบริการผ่าน เกณฑ์ท่ีกำ� หนด 5. ชุมชนมีการส่งเสริมและใช้สมุนไพร ภูมิปัญญาไทยในการดูแล สุขภาพ หมวดรายไดด้ ี 1. ครัวเรือนสามารถผลิตอาหารได้ด้วยตนเอง ด้วยการปลูกพืชผัก เลยี้ งสตั ว์ มีอาหารพอกินตลอดปี 2. ครัวเรือนมีความสามารถในการลดต้นทุนการผลิต หรือลดการใช้ พลงั งาน/ ใชพ้ ลังงานทดแทน 3. ครัวเรือนมีการแสวงหารายได้พอเพียงส�ำหรับการด�ำรงชีวิตของ ครอบครัวตลอดปี 4. มีการบันทกึ ขอ้ มลู บัญชีรายรับรายจา่ ยของครวั เรือน 5. มีการสร้างผลผลิตในชุมชนและความเข้มแข็งของกลุ่มผู้ผลิต/ ผปู้ ระกอบการ 6. การสร้างเครือข่ายทางเศรษฐกิจนอกพ้ืนที่ชุมชน เพ่ือจ�ำหน่ายหรือ แลกเปลีย่ นผลผลิต 7. ชุมชนมีครอบครัวเข้มแข็งเป็นต้นแบบลด ปลดหน้ี และครอบครัว อบอุ่น 4 “หมู่บา้ นตัวอยา่ ง 4 ดี วิถพี อเพยี ง”
หมวดสิ่งแวดล้อมดี 1. มพี น้ื ทีส่ เี ขยี วในชุมชน เพือ่ บรกิ าร ได้แก่ สวนสุขภาพ ลานกฬี า 2. ชุมชนมีสภาพแวดล้อมท่ีสะอาด เป็นระเบียบท้ังในครัวเรือน และ บริเวณบา้ นตามหลักสุขาภบิ าล 3. ชมุ ชนมกี ารรวมกลุ่มลดการใชส้ ารเคมีทางการเกษตร 4. ชมุ ชนมีสว่ นรว่ มสร้างจติ สำ� นึกดา้ นสง่ิ แวดล้อม “หมบู่ ้านตวั อย่าง 4 ดี วถิ พี อเพยี ง” 5
ประวัติ 9 หมบู่ า้ นตวั อย่าง ใน 9 อำ� เภอของจงั หวัดสระแกว้ บ้านวงั หิน หมู่ท่ี 10 ต�ำบลบา้ นแก้ง อ�ำเภอเมืองสระแกว้ บ้านตาหลังใน หมทู่ ่ี 1 ตำ� บลตาหลงั ใน อำ� เภอวังน�้ำเย็น บา้ นวงั ทอง หมทู่ ่ี 1 ต�ำบลวงั ทอง อ�ำเภอวังสมบรู ณ์ 6 “หมู่บา้ นตัวอยา่ ง 4 ดี วิถพี อเพียง”
บา้ นบอ่ นางชิง หมู่ที่ 4 ต�ำบลห้วยโจด อ�ำเภอวฒั นานคร บ้านทัพไทย หม่ทู ี่ 1 ต�ำบลทัพไทย อำ� เภอตาพระยา บ้านหนองแวง หมทู่ ี่ 1 ต�ำบลหนองแวง อ�ำเภอโคกสงู บ้านเขาสารภี หมู่ท่ี 3 ต�ำบลทับพริก อ�ำเภออรญั ประเทศ บา้ นคลองไกเ่ ถื่อน หมทู่ ่ี 1 ตำ� บลคลองไกเ่ ถอ่ื น อำ� เภอคลองหาด “หมู่บา้ นตวั อยา่ ง 4 ดี วิถพี อเพยี ง” 7
ประวัตบิ ้านวังหิน หม่ทู ี่ 10 ตำ� บลบ้านแกง้ อ�ำเภอเมอื งสระแกว้ 8 “หมู่บา้ นตัวอย่าง 4 ดี วถิ ีพอเพยี ง”
ประวัตคิ วามเป็นมาของหมูบ่ า้ น บ้านวังหิน หมู่ท่ี 10 อยู่ในการปกครองของต�ำบลบ้านแก้ง ซึ่งภายในต�ำบล บ้านแก้ง มีหมู่บ้านจ�ำนวน 16 หมู่บ้าน บ้านวังหินเป็นชุมชนขนาดใหญ่ เมื่อเทียบกับ ชุมชนโดยรอบ มีครัวเรือนท้ังส้ิน 330 ครัวเรือน คิดเป็น 8 เปอร์เซนต์ ของครัวเรือน ในต�ำบลบ้านแก้ง และมีประชากร 957 คน แบ่งเป็น ชาย 449 คน หญิง 504 คน หา่ งจากอ�ำเภอเมอื งสระแกว้ ประมาณ 25 กโิ ลเมตร “หม่บู า้ นตวั อย่าง 4 ดี วิถีพอเพยี ง” 9
ประวตั ิบา้ นพระเพลิง หมทู่ ่ี 1 ตำ� บลพระเพลิง อำ� เภอเขาฉกรรจ์ 10 “หม่บู ้านตัวอย่าง 4 ดี วิถพี อเพยี ง”
ประวัติความเป็นมาของหมบู่ า้ น บ้านพระเพลิง หมู่ที่ 1 ก่อตั้งมาประมาณ 30 กว่าปีมาแล้ว พื้นที่จะเป็น ป่าดงดิบประชาชนมากจากหลากหลายภาค ได้แก่ ภาคเหนือ จังหวัดเชียงราย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดอุดรธานี ขอนแก่น ชัยภูมิ กาฬสินธุ์ โคราช ภาคตะวนั ออก จังหวดั ระยอง จงึ ท�ำให้มีจ�ำนวนประชากรเพิม่ ขน้ึ เรอ่ื ย ๆ จึงมกี ารแยก หมู่บ้านออกจากบ้านพระเพลิง ซ่ึงแยกออกเป็นบ้านซับมูลและบ้านนาคันหัก อาชีพส่วนใหญ่ของชาวบ้านพระเพลิง หมู่ท่ี 1 มีอาชีพเกษตรกรรม การปลูกผัก สวนครวั โดยปจั จุบันมี นายจริ ภัทร ปักครกึ เป็นผูใ้ หญบ่ ้านคนปจั จุบนั “หมบู่ า้ นตัวอย่าง 4 ดี วถิ ีพอเพียง” 11
ประวัตบิ ้านตาหลังใน หมทู่ ี่ 1 ตำ� บลตาหลงั ใน อำ� เภอวงั น�้ำเย็น บ้านตาหลังใน อยู่ในเขตพ้ืนท่ีการปกครองของต�ำบลตาหลังใน เป็นหมู่บ้าน เก่าแก่ในพ้ืนที่ ซ่ึงในสมัยก่อนเป็นพื้นท่ีป่ารก ถนนดินแดง เป็นพ้ืนท่ีมีความอุดม สมบูรณ์ มีคลองตาหลังไหลผ่าน โดยมี นายลี แบงคอนสาร เข้ามาเป็นคนแรก และเลือกต้ังบ้านเรือนตามแนวคลองตาหลัง และมีผู้คนทยอยอพยพมาจากทาง ภาคอสี านเขา้ มาจบั จองพนื้ ทที่ ำ� การเกษตรเมอื่ จำ� นวนคนเยอะขน้ึ นายอำ� เภอวงั นำ้� เยน็ จึงให้จัดต้ังเป็นหมู่บ้าน โดยต้ังช่ือหมู่บ้านตามชื่อคลอง ได้ช่ือว่า “บ้านตาหลังใน” และให้มีผู้น�ำชุมชนในการดูแลความสงบเรียบร้อยในพื้นท่ีและกระจายข่าวสาร เกย่ี วกับหนว่ ยงานของรัฐได้อยา่ งท่วั ถึง 12 “หมบู่ า้ นตัวอยา่ ง 4 ดี วิถีพอเพยี ง”
ในสมยั กอ่ นเร่ิมก่อตงั้ หมู่บา้ น มี 9 หมบู่ า้ น คือ ม.1 ตาหลงั ใน ม.2 บ้านหนองปรอื ม.3 บ้านท่าตาสี ม.4 บ้านหนองผักหนาม ม.5 เพชรพนานิคม ม.6 บ้านวังไทร ม.7 บ้านทัพหลวง ม.8 บา้ นหนองแก ม.9 บ้านโนนทอง ตอ่ มาภายหลัง ไดม้ กี ารแบ่ง เขตการปกครอง เพ่ือให้การส�ำรวจข้อมูลพื้นฐานและการดูแลทุกข์สุขของประชาชน ได้อย่างท่ัวถึง จึงได้แบ่งเขตการปกครองเพิ่มเป็น 21 หมู่บ้าน คือ ม.10 บ้านประตู โขง ม.11 บ้านเพชรเจริญ (แยกจากหมู่ 2 หนองปรือ) ม.12 บ้านตาหลังพัฒนา (แยกจากม.1) ม.13 บ้านตาหลังใหม่ชัยมงคล (แยกจาก ม.1) ม.14 บ้านวังเพเพชร (แยกจาก ม.5 เพชรพนานิคม) ม.15 หนองเจรญิ (แยกจาก ม.2) ม.16 บ้านชยั เจรญิ (แยกจาก ม.1) ม.17 เพชรส�ำราญ (แยกจาก ม.2) ม.18 โนนทองพัฒนา (แยกจาก โนนทอง ม.9) ม.19 บ้านวังหลวง (แยกจาก ม.7) ม.20 บ้านศรีบูรพา (แยกจาก ม.3) และ ม.21 บ้านหนองสลักได (แยกจาก ม.5) มี 1 องค์การบริหารส่วนต�ำบล เปน็ ผู้ควบคุมดแู ลในท้องถ่นิ “หมู่บ้านตวั อย่าง 4 ดี วิถพี อเพียง” 13
ประวตั ิบ้านวงั ทอง หม่ทู ่ี 1 ต�ำบลวังทอง อำ� เภอวงั สมบรู ณ์ ความเป็นมาของชื่อบ้านวังทอง มาจากนามสกุลของนายบุญมี ถ้�ำทอง เป็นผู้ท่ีย้ายเข้ามาอยู่ในพ้ืนที่เป็นคนแรกของหมู่บ้านและเป็นผู้ใหญ่บ้านคนแรก ของบ้านวังทอง การประชุมครั้งแรกของหมู่บ้านได้ต้ังช่ือโดยน�ำนามสกุลของผู้ใหญ่ มาตั้งจาก “ถ้�ำทอง” เป็น “วังทอง” เป็นชื่อหมู่บ้านจนถึงปัจจุบัน ในปี 2520 เป็น หมู่บ้านขนาดเล็กมีบ้านเรือนอยู่สิบกว่าหลังคาเรือน พื้นที่ส่วนใหญ่ยังเป็นป่า ซ่ึงเดิม บ้านวังทอง เป็นหมู่ท่ี 8 แต่เนื่องจากเป็นหมู่บ้านท่ีมีขนาดใหญ่จึงมาการแบ่งแยก หมู่บ้านออกจนกลายเป็นบ้านวังทอง หมู่ที่ 1 บ้านเขาแหลม หมู่ท่ี 15 และหมู่บ้าน อืน่ ๆ ตามมาจนถงึ ปัจจบุ ัน บ้านวังทองเป็นชุมชนท่ีมีความหลากหลาย และแตกต่างทางวัฒนธรรม จากการย้ายถ่ินฐานบ้านเรือนเข้ามาอาศัยในพ้ืนท่ีจากภูมิล�ำเนาเดิมทางภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคเหนือ แต่มีส่ิงคล้ายกันคือการนับถือ ศาสนาพุทธ มิติการเปล่ียนแปลงของความเจริญ ของบ้านวังทองจาก มิติด้านสังคม ของชุมชนบ้านวงั ทอง เป็นชุมชนทสี่ ร้าง “ธรรมนูญชุมชน” หรอื กฏของหมู่บา้ นตนเอง เป็นข้อตกลงร่วมกันของคนในชุมชน ท�ำให้เกิดความสามัคคี ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน มีการพัฒนาชุมชนรปู แบบของ “บวร” 14 “หมู่บ้านตวั อย่าง 4 ดี วิถพี อเพยี ง”
คือ การพัฒนาบ้านให้มีความหน้าอยู่ สะอาด ปลอดภัยและสวยงาม การพัฒนาวัด บ้านวังทองซึ่งเป็นศูนย์รวมจิตใจของคนในชุมชน สร้างคนดีของชุมชนและสังคม การพัฒนาโรงเรียนให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของเยาวชน ซ่ึงเป็นก�ำลังส�ำคัญในอนาคต เป็นแนวคิดที่มองถึงอนาคตข้างหน้าจากการปลูกจิตส�ำนึกของเยาวชนและคน ในชุมชน ให้เกิดความรักและหวงแหนบ้านเกิดเมืองนอน มิติด้านการเมือง การสร้างการบริหารอย่างมีระบบเพื่อให้ง่ายต่อการบริหารและปกครอง การมอบ อ�ำนาจการตัดสินใจกับหัวหน้าคุ้มบ้าน เพ่ือให้เกียรติ ความไว้เน้ือเช่ือใจ และการ ส่งเสริมประชาธิปไตย ธรรมาภิบาลเสมอ ให้ความส�ำคัญต่อทุกเสียง ไม่ละท้ิงเสียง สว่ นนอ้ ย และการล�ำดบั ความสำ� คัญปญั หาเรง่ ด่วนของคนในชุมชน มิติด้านเศรษฐกิจ การน้อมน�ำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของ “พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร” มาเป็นหลักของการด�ำเนินชีวิต เกษตรทฤษฎีใหม่สร้างความเป็นอยู่ท่ีดีขึ้น น�ำเรียนรู้พัฒนาตนเองอยู่เสมอ และ ท�ำบัญชีครัวเรือน เรียนรู้ความพอเพียงของตนเอง มิติด้านส่ิงแวดล้อม ของ บ้านวังทองจากการจัดกิจกรรมท�ำความสะอาดของครัวเรือนและหมู่บ้านเป็นประจ�ำ ปลูกจิตส�ำนึกและนิสัยจากการจัดการขยะต้นทางเริ่มจากคัดแยกขยะ ขวดพลาสติก เก็บไว้ขาย เศษอาหารท้ิงถังตัดก้นฝังดิน เพื่อให้เกิดการย่อยสลายเป็นปุ๋ย ตามธรรมชาติ จึงท�ำให้ไม่มีถังขยะภายในชุมชน ส่งเสริม สนับสนุนทุกครัวเรือน น�ำไปปฏิบัติ เกิดสิ่งแวดล้อมที่สวยงาม พื้นที่สีเขียวเกิดโครงสร้าง “หน้าบ้าน หน้ามอง” ของบ้านวังทอง มิติด้านเทคโนโลยี ระบบ Quantum GIS หรือ QGIS เป็นโปรแกรม Desktop GIS ประเภทหนึ่งที่บ้านวังทองได้น�ำมาเข้ามาช่วย ในการจัดการระบบการดูแลผู้ป่วย การแก้ไขปัญหา และพัฒนาหมู่บ้าน สร้างเป็น ฐานข้อมูลของคนในชุมชนบ้านวังทอง ประกอบด้วย จ�ำนวนประชากร การประกอบ อาชีพ ด้านการศึกษา ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านเศรษฐกิจ ด้านสุขภาพ แสดง ต�ำแหน่งแผนการปรับปรุง ซ่อมแซมภายในหมู่บ้าน และด้านแรงงานต่างด้าว ท�ำให้ เห็นภาพรวมของชมุ ชนชัดเจนและครอบคลมุ “หมู่บ้านตัวอยา่ ง 4 ดี วิถพี อเพียง” 15
ประวตั ิบ้านบอ่ นางชิง หมู่ท่ี 4 ต�ำบลหว้ ยโจด อ�ำเภอวฒั นานคร บ้านบ่อนางชิง โดยต�ำนานบอกเล่าของคนเก่าแก่ในหมู่บ้านจากรุ่นสู่รุ่นและ ข้อค้นพบจากหลักฐานท่ีมีอยู่ได้เล่าขานท่ีมาของช่ือหมู่บ้าน “ บ่อนางชิง ” ว่าเมื่อ 300 กว่าปีที่ผ่านมา สภาพทางภูมิศาสตร์ของหมู่บ้านยังเป็นป่าดงดิบมีสัตว์ป่า มากมายหลายชนิดอาศัยอยู่ มีความอุดมสมบรูณ์ทางทรัพยากรธรรมชาติและมี ชาวบ้านอพยพมาอยู่อาศัย 10 กว่าครัวเรือน ท�ำให้มีการเข้ามาท�ำการค้าขายจึงเกิด กิจการการค้าดา้ นเศรษฐกิจ โดยบริบททั่วไปของบ้านบ่อนางชิงในมิติด้านสังคม พบว่าบ้านบ่อนางชิง เป็นความสัมพันธ์ของคนในชุมชนมีลักษณะเป็นเครือญาติ และเป็นครอบครัวขยาย ท�ำให้คนในชุมชนมีความใกล้ชิดสนิทสนมเกื้อกูลกันมีการร่วมมือร่วมใจกัน เช่น การสักการะศาลศักด์ิสิทธ์ิ ของหมู่บ้านเป็นประจ�ำทุก ๆ ปี รวมถึงกินกรรมทางด้าน ศาสนาอื่น ๆ อย่างต่อเน่ือง ตลอดจนชุมชนมีกิจกรรมการเชิดชูคนดีของชุมชน ที่ร่วมมือกับโรงเรียนในชุมชนจัดท�ำขึ้นเพื่อก่อให้เกิดก�ำลังใจที่จะเป็นพลังให้กับ บุคลนั้นท�ำความดีต่อไป ขณะที่มิติด้านการเมือง พบว่าบ้านบ่อนางชิงเป็นหมู่บ้าน ขนาดกลาง มีการปกครองโดยผู้ใหญ่บ้านมีความใกล้ชิดกับสมาชิกในชุมชน โดยตัว ผู้น�ำจะมีการท�ำงานในเชิงการพัฒนาและแก้ไขปัญหาของสมาชิกในชุมชนเพื่อก่อ ให้เกดิ ความสุขอย่างยงั่ ยืน ตลอดจนการดแู ลและปกครองเยาวชนในชมุ ชน เป็นหน้าท่ี ของผู้ใหญ่ทุกคนในหมู่บ้านท่ีจะเป็นผู้ควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิดเพ่ือป้องกันปัญหา ของวัยรุ่น รวมถึงมิติด้านเศรษฐกิจ พบว่าสมาชิกบ้านบ่อนาชิงเกือบทุกหลังคาเรือน 16 “หมบู่ า้ นตัวอยา่ ง 4 ดี วถิ พี อเพียง”
มีการปลูกผักไว้บริโภคเอง เพื่อลดภาระค่าใช้จ่าย โดยมีการน�ำผลผลิตที่เหลือจาก การบริโภคไปจ�ำหน่ายท�ำให้มีรายได้เข้าสู่ครัวเรือน อาชีพที่ส�ำคัญของชุมชน บ้านบ่อนางชิงคือ การท�ำการเกษตรแปลงใหญ่รวมถึงการเลี้ยงสัตว์ และการขุด แร่ทองค�ำ ที่เป็นขุมทรัพย์อันเป็นการสร้างรายได้ให้กับชุมชน ตลอดจนมิติด้าน สิ่งแวดล้อม พบว่าบ้านบ่อนางชิงถือเป็นหมู่บ้านที่มีความอุดมสมบูรณ์ทางด้าน ธรรมชาติเป็นอย่างมาก เน่ืองด้วยสภาพภูมิประเทศ ตั้งอยู่บริเวณเชิงเขาส่งผลท�ำให้ มีฝนตกต้องตามฤดูการ สมาชิกในชุมชนรวมกลุ่มกันปลูกป่าบนภูเขาเพื่อสร้างสภาพ แวดล้อมให้กับหมู่บ้าน และเป็นการป้องกันการพังทลายของหน้าดินบริเวณภูเขา ท้ังน้ีได้มีการปลูกพืชสมุนไพรเพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้และใช้ประโยชน์จากสมุนไพร ชนิดต่าง ๆ ในชุมชน รวมถึงสมาชิกในชุมชนมีความร่วมใจกันท�ำเกษตรแบบไม่ใช้ สารเคมี จึงท�ำให้ระบบนิเวศในชุมชนมีความสมบูรณ์เป็นอย่างมาก และสุดท้ายมิติ ดา้ นเทคโนโลยี พบว่าชุมชนบ้านบ่อนางชิงได้รบั อิทธิพลจากการพัฒนาดา้ นเทคโนโลยี และมีการบูรณาการให้เข้ากับวิถีชีวิตอย่างลงตัว โดยมีการใช้เคร่ืองทุ่นแรงเข้ามา ร่วมกับการท�ำการเกษตรต่าง ๆ ตลอดจนมีการใช้เคร่ืองสูบน�้ำใต้ดินเพ่ือการใช้ อุปโภคและบริโภคในครัวเรือน รวมถึงมีการจัดตั้งเคร่ืองออกก�ำลังกายสมัยใหม่ใน ชุมชนเพื่อการกระตุ้นและสร้างเสริมสุขภาพให้กับสมาชิกในชุมชนให้มีความแข็งแรง นอกจากนี้เขตพื้นท่ีของหมู่บ้านบ่อนางชิงยังมีทรัพยากรทางธรรมชาติ คือ แร่ทองคำ� จากหลักฐานท่คี น้ พบท�ำให้ทราบว่าอดตี ในยุคลา่ อาณานคิ มไดม้ ชี าวตา่ งชาติ เข้ามาท�ำเหมืองแร่ทองค�ำ ในบริเวณหมู่บ้านและในสมัยน้ันจะสังเกตได้จากหลักฐาน ท่ีชาวบ้านได้ค้นพบบ่อทองโบราณขนาดใหญ่ถึง 2 บ่อและอุปกรณ์เครื่องมือในการ ขุดทอง เช่น รางรถไฟ – โบกี้ขนแร่ทองค�ำ และเคร่ืองมืออุปกรณ์ในการขุดทอง ต่อจากนน้ั เป็นต้นมา หากใครไดเ้ ข้ามาที่บา้ นบ่อนางชงิ แลว้ น้นั เช่ือเหลือเกินวา่ จะเกดิ ความหลงใหลและประทบั ใจอย่างมิรลู้ มื “หม่บู ้านตัวอยา่ ง 4 ดี วถิ ีพอเพยี ง” 17
ประวตั บิ ้านคลองไก่เถอ่ื น หมู่ท่ี 1 ต�ำบลคลองไกเ่ ถอ่ื น อำ� เภอคลองหาด บ้านคลองไก่เถ่ือน ในอดีตพ้ืนท่ีบริเวณนเี้ ป็นปา่ ท่ีมีความอุดมสมบูรณ์ ล�ำคลอง มีน�้ำไหลตลอดท้ังปี มีต้นน�้ำจากเขาเหล่ือม เขากกมะม่วงและเขาตาง็อก ซ่ึงไหล ไปทางทิศตะวันตกและมีไก่ป่าอาศัยอยู่ในช่วงฤดูแล้งเดือนเมษายน-พฤษภาคม ซึ่ง ในช่วงเวลาดังกล่าว จะมีไก่ป่าเยอะมากมาอาศัยอยู่ตามริมแนวชายคลอง จนผู้ที่ผ่าน ไปมาเห็นเป็นประจำ� ชาวบา้ นจงึ ได้เรยี กคลองนี้วา่ “คลองไก่ป่า”หรอื “คลองไกเ่ ถอื่ น” ประมาณปี พ.ศ.2513 เร่ิมมีผู้คนอพยพมาอาศัย ท�ำมาหากินในพื้นที่ ถางป่า จับจองทดี่ นิ เพอื่ ทำ� นา ท�ำไร่ ทำ� สวน ต่อมาในปี พ.ศ. 2516 พื้นท่ีบริเวณนี้มีขบวนการคอมมิวนิสต์เข้ามามีบทบาท และปลุกระดมชาวบ้านร่วมกันต่อต้านรัฐบาล ท�ำให้ชาวบ้านมีความเป็นอยู่อย่าง หวาดระแวง ต่อมาทางการก็เข้ามากวาดล้างขบวนการคอมมิวนิสต์ และจัดต้ังเป็น หมู่บ้านเป็นหมู่บ้านขึ้นมา เพ่ือให้ชาวบ้านได้มีที่อยู่และพ้ืนท่ีท�ำมาหากิน โดยก�ำหนด ให้เป็น “หมู่ท่ี 5 บ้านคลองไก่เถ่ือน ต�ำบลไทยอุดม อ�ำเภอวัฒนานคร จังหวัด ปราจีนบุร”ี 18 “หมบู่ า้ นตัวอย่าง 4 ดี วถิ พี อเพยี ง”
วันท่ี 15 มกราคม พ.ศ. 2528 ต�ำบลคลองหาดได้แยกออกจากอ�ำเภอ วัฒนานคร ยกระดับเป็นก่ิงอำ� เภอคลองหาด ในวันท่ี 22 พฤษภาคม พ.ศ.2533 ก่ิงอ�ำเภอคลองหาด ได้ยะระดับเป็น อำ� เภอคลองหาด และจำ� นวนประชากรไดเ้ พม่ิ มากขนึ้ ทำ� ใหห้ มู่ที่ 5 บ้านคลองไก่เถื่อน แยกออกเป็น 2 หมู่ โดยเพ่ิม หมู่ท่ี 1 บ้านคลองไกเ่ ถอ่ื น ตำ� บลคลองไก่เถ่อื น อำ� เภอ คลองหาด จงั หวดั ปราจนี บุรี ต่อมาเม่ือ 1 ธันวาคม 2536 ได้มีพระราชบัญญัติจัดต้ังจังหวัดสระแก้วขึ้น ประกาศในราชกจิ จานุเบกษาฉบบั พิเศษ เลม่ ท่ี 110 ตอนท่ี 125 ลงวนั ท่ี 2 กันยายน 2536 เป็นผลให้จังหวัดสระแก้ว ได้เปิดท�ำการใน วันที่ 1 ธันวาคม 2536 โดยเป็น จังหวัดที่ 74 ของประเทศไทย หมู่ท่ี 1 บ้านคลองไก่เถื่อนจึงเปลี่ยนเป็น หมู่ท่ี 1 บ้านคลองไก่เถื่อน ต�ำบลคลองไก่เถื่อน อ�ำเภอคลองหาด จังหวัดสระแก้ว ในเวลา ต่อมา “หมบู่ ้านตัวอยา่ ง 4 ดี วถิ ีพอเพียง” 19
ประวัตบิ า้ นเขาสารภี หมทู่ ่ี 3 ต�ำบลทับพริก อ�ำเภออรญั ประเทศ ประวัติศาสตร์ต�ำบลทับพริก ได้มาจากค�ำบอกเล่าของชุมชนที่อยู่อาศัย ในพ้ืนที่ตั้งแต่ช่วงเร่ิมจัดตั้งหมู่บ้านและชาวชุมชนท่ีเป็นคนรุ่นลูกหลานท่ีช่วยกัน เล่าเรื่องราวของหมู่บ้าน ท้ังจากประสบการณ์ตรงและจากท่ีได้ยินมา ประวัติศาสตร์ ตำ� บลทับพรกิ แบ่งออกเปน็ ยุคตา่ งๆ ตามการเปลย่ี นแปลงทเี่ กดิ ขน้ึ ในหมบู่ ้านเปน็ 8 ยุค โดยบริบทท่ัวไปของบ้านทับพริกในมิติด้านสังคม พบว่าบ้านเขาสารภีเป็นชุมชน ท่ีมีขนาดไม่ใหญ่มาก เน่ืองจากมีการแยกตัวชองหมู่บ้านเพื่อการวางระบบบริหาร จัดการ ซึ่งการอยู่ร่วมกันในชุมชนจะเป็นลักษณะของเครือญาติท่ีคอยให้ความ ช่วยเหลือระหว่างกัน ขณะเดียวกันความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกัมพูชาซึ่งเป็น อาณาเขตติดกัน โดยสมาชิกในชมุ ชนมักเรยี กว่าเป็นเมืองพ่เี มอื งนอ้ ง มติ ิด้านการเมือง พบว่าบ้านเขาสารภีเป็นชุมชนปกครองโดยผู้ใหญ่และคณะผู้ช่วย ซึ่งเป็นผู้ที่ประสาน ระหว่างหน่วยราชการและประชาชนในเร่ืองของการสื่อสารต่าง ๆ ตลอดจนบ้าน เขาสารภีเป็นชุมชนท่ีมีประวัติศาสตร์อันยาวนานและเป็นที่น่าสนใจอย่างย่ิง ท้ังน้ี ในยคุ ตา่ งของการกอ่ ต้ังชุมชนน้นั เตม็ ไปด้วยเร่ืองราว ความสัมพนั ธต์ ลอดจนเหตุการณ์ ส�ำคัญๆ ไว้หลายเหตุการณ ขณะที่มิติด้านเศรษฐกิจ พบว่าบ้านเขาสารภีเป็นหมู่บ้าน ที่มีทุนทางเศรษฐกิจดีมาก เนื่องจากมีตลาดการค้าพรมแดนขนาดเล็ก สามารถ สร้างรายได้ให้กับชุมชน โดยสมาชิกในชุมชนบ้านเขาสารภีมีการน�ำผลผลิตไป จ�ำหน่าย ณ บริเวณจุดพรมแดนไทย – กัมพูชา ทำ� ใหเ้ กิดรายได้ตอ่ ชุมชนอยา่ งต่อเนื่อง 20 “หมบู่ ้านตัวอยา่ ง 4 ดี วิถพี อเพียง”
นอกจากน้ีชาวบ้านได้มีการรวมกลุ่มด้านการสร้างอาชีพ สามารถสร้างอ�ำนาจ การต่อรองและลดราคาสินค้าได้ รวมถึงมิติด้านสิ่งแวดล้อม พบว่าบ้านเขาสารภี เป็นชุมชนท่ีมีความอุดสมบูรณ์ทางด้านทรัพยากรธรรมชาติเนื่องจากในพื้นที่สภาพ ภูมิอากาศ และสภาพภูมิประเทศ ที่เอ้ือให้พ้ืนท่ีส่วนใหญ่มีความพร้อมทั้งด้าน การตกของฝนเน่ืองจากมีภูเขาที่เป็นแหล่งรองรับน�้ำ กล่าวคือ เมื่อมีพายุเข้าจาก ฝังทะเลอ่าวไทย ก็จะเคลื่อนตัวเข้ามาทางจังหวัดจันทบุรี และอ่อนก�ำลังลงบริเวณ บ้านเขาสารภี ท�ำให้ชุมชนมีความอุดมสมบูรณ์ด้านน�้ำและดิน และสุดท้ายมิติด้าน เทคโนโลยี พบว่าบ้านเขาสารภีเป็นชุมชนเกษตรกรรม ที่มีการใช้เทคโนโลยีเพ่ือ ช่วยทุ่นแรงในการท�ำการเกษตร เช่น รถไถ รถตัดอ้อย และรถบรรทุกขนาดใหญ่ โดยบูรณาการกับภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น เช่น การปลูกหมอ่ น การเลีย้ งไหมตามวถิ ีธรรมชาติ โดยชุมชนจะด�ำเนินการสร้างโรงเรือนเลี้ยงไหมท่ีความสะอาด ปลอดภัยและต้นทุน การสร้างไม่สูงมากนัก ทั้งน้ีภูเขาบ้านเขาสารภีตั้งยู่บริเวณภายในวัดเขาสารภี ซ่ึงอุดมไปด้วย พืชพันธ์ต่าง ๆ ท้ังไม้ยืนต้นและพืชคลุมดิน ซ่ึงเป็นแหล่งอนุรักษ์พันธ์หอยหอม ที่เป็นทรัพยากรธรรมชาติอันทรงคุณค่าของชุมชน โดยสมาชิกมีความรักและ หวงแหนธรรมชาติเป็นอย่างมาก เม่ือพิจารณาจากกิจกรรมที่สมาชิกในชุมชน ได้ด�ำเนินการอย่างต่อเน่ือง คือ การอนุรักษ์พันธ์หอยหอม การปลูกป่าทดแทน เพ่ือสภาพระบบนิเวศในธรรมชาติภายในชุมชนน้ันเกิดความย่ังยืนสืบไป โดยครั้นท่ี สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เสด็จพระราชด�ำเนินตรวจเย่ียมโรงเรียนต�ำรวจตระเวนชายแดนบ้านเข้าสารภี ทรงมี พระราชด�ำริให้ชาวบ้าน “บ้านเขาสารภีควรให้ความส�ำคัญและอนุรักษ์หอยหอมไว้” ซง่ึ เปน็ สงิ่ ท่สี รา้ งขวญั และกำ� ลงั ใจให้กบั ชมุ ชนบ้านทบั พริกอย่างหาท่ีสดุ มไิ ด้ “หมบู่ ้านตวั อยา่ ง 4 ดี วิถีพอเพียง” 21
ประวัติบา้ นหนองแวง หมู่ที่ 1 ตำ� บลหนองแวง อำ� เภอโคกสูง บ้านหนองแวง ประวัติความเป็นมาไม่ปรากฏหลักฐานยืนยันได้ว่าจัดตั้ง หมู่บ้านต้ังแต่ พ.ศ. ใด แต่จากการบอกเล่าต่อ ๆ กันมาของผู้เฒ่าผู้แก่ท่ีอยู่ในหมู่บ้าน ท�ำให้สามารถสันนิษฐานได้ว่าราวประมาณปี พ.ศ. 2376 ซ่ึงผู้ที่มาตั้งรกรากช่ือ หลวงสุวรรณ์ (ซ่ึงเป็นขุนนางเก่าของเจ้านครเวียงจันทน์) เนื่องจากเกิดสงคราม กลางเมือง จึงได้อพยพพาเหล่าไพร่พลราษฎรไปหาถ่ินฐานใหม่เร่ือยลงมาทางตอนใต้ เข้าสู่อาณาจักรเขมร และเข้ามายังอาณาจักรสยาม จนกระทั่งมาพบแหล่งน�้ำ ธรรมชาติ อุดมสมบูรณ์ไปด้วยพืชพันธุ์ธัญญาหาร เป็นภูมิประเทศเหมาะสมแก่ การก่อตั้งหมู่บ้าน ซึ่งในหนองน้�ำน้ันมีต้นหญ้าแวง (ต้นพืชชนิดหนึ่งคล้ายกับต้น กก) ข้ึนอยู่เต็มไปหมด หลวงสุวรรณ์ จึงเรียกว่า “หนองแวง” และได้ตั้งหลักปักฐาน ณ บ้านหนองแวง (ในปจั จุบนั ) อย่างเป็นการถาวร หลวงสุวรรณ์ จึงถือเป็นตน้ ตระกลู ของคนบ้านหนองแวง โดยมีนามสกุลว่า เชื้อสุวรรณ์ และเป็นผู้น�ำหมู่บ้านคนแรก กาลเวลาผา่ นไปหม่บู า้ นมกี ารพฒั นา ผ่านผูน้ �ำหลายร่นุ จวบจนมา ถึงปัจจบุ นั นี้ 22 “หมู่บา้ นตวั อยา่ ง 4 ดี วิถีพอเพยี ง”
ต้นแวง ถือเป็นสัญลักษณ์ของหมู่บ้าน ผู้ก่อตั้งบ้านได้น�ำมาตั้งชื่อบ้าน สมัยก่อนจะข้ึนอยู่ที่สระน�้ำใหญ่หมู่บ้าน เม่ือมีการขุดหลอกเร่ือยมาจนถึงปัจจุบัน เริ่มสูญหายไปจากหมู่บ้าน คงเหลือไว้ให้คนรุ่นหลังได้เห็นอยู่หน้ากุฏิเจ้าอาวาสวัด หนองแวง ปจั จุบันบ้านหนองแวง มที ั้งหมด 129 ครวั เรอื น อยู่จรงิ 90 ครัวเรอื น ประชากร ทงั้ หมด 469 คน แบง่ เป็น ชาย 247 คน หญงิ 222 คน โดยมี นายทองสา ถาวรสาลี เปน็ ก�ำนนั ตำ� บลหนองแวง และผใู้ หญ่บ้าน หม่ทู ี่ 1 สำ� หรับศาสนา วัฒนธรรม ประเพณี ความเชอื่ สว่ นใหญน่ ับถือศาสนาพทุ ธ ร้อยละ 100 “หม่บู ้านตวั อยา่ ง 4 ดี วถิ ีพอเพียง” 23
ประวัตบิ ้านทัพไทย หมู่ท่ี 1 ตำ� บลทพั ไทย อ�ำเภอตาพระยา เม่ือปี พ.ศ. 2522 บ้านทพั ไทย หม่ทู ี่ 1 ต�ำบลทพั ไทย อ�ำเภอตาพระยา จังหวดั สระแก้ว เปน็ ท่อี ยูอ่ าศยั ของชาวกัมพูชาทหี่ ลบหนภี ัยสงครามเขา้ มาในเขตประเทศไทย ตามบริเวณแนวชายแดน โดยรัฐบาลไทยได้จัดพื้นท่ีให้และเปิดเป็นศูนย์อพยพ ตามแนวชายแดน ซึ่งโครงการเดิมเป็นที่ตั้งของศูนย์รับผู้อพยพลี้ภัยจากสงคราม เขมรแดง (SITE 2) ในปี พ.ศ. 2523 หลังจากท่ีได้ส่งตัวผู้อพยพกลับราชอาณาจักร กัมพูชาหมด กองก�ำลังบูรพา โดยพล.อ.พิจิตร กุลละวณิชย์ ในสมัยพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ ด�ำรงต�ำแหน่งเป็นนายกรัฐมนตรี ได้มีการจัดต้ังเป็นหมู่บ้านป้องกัน ตัวเองตามแนวชายแดน (อพป.) หรือหมู่บ้านทัพไทยในปัจจุบัน และย้ายชาวบ้าน จากศูนยร์ บั อพยพอพยพเข้ามาอยูอ่ าศัย ซง่ึ สว่ นใหญเ่ ป็นชาวบ้านสนั ลอชงนั จากค�ำบอกเล่าของคุณเกยี สิงหส์ ราญรมย์ ผใู้ หญบ่ ้านคนแรกของบา้ นทพั ไทย ได้เล่าว่า “ในช่วงสงครามได้พบคนล้มตายจากสงครามมากมาย แม้กระทั่งสัตว์ ตา่ ง ๆ เช่น ววั ควาย ทำ� ใหต้ อ้ งย้ายจากหม่บู ้านสนั ลอชงันไปอยู่ในศนู ย์อพยพหมบู่ ้าน โคกเพ็ซเป็นเวลา 3 ปี หลังจากน้ันทางรัฐบาลจึงได้จัดสรรที่ดินเพื่อก่อต้ังหมู่บ้าน ทัพไทยข้ึน ในช่วงระยะแรกหมู่บ้านยังอยู่ในภาวะสงคราม ชาวบ้านมีการติดอาวุธ 24 “หมบู่ า้ นตวั อยา่ ง 4 ดี วิถีพอเพยี ง”
เพ่ือดูแลตนเอง การเดินทางออกจากหมู่บ้านท�ำได้ยากเนื่องจากมีความอันตรายมาก และมีการลักขโมยสินค้าทางการเกษตรของชาวบ้าน แต่คนที่มาขโมยก็จะน�ำเงินใส่ถุง และไปห้อยไว้กับกิ่งไม้เพื่อให้เจ้าของสวน ไม่ได้เอาไปฟรี ๆ แค่ไม่ได้แจ้งเจ้าของสวน ลว่ งหนา้ เท่านนั้ ” ผลของสงครามได้ท้ิงร่องรอยความเสียหาย บาดแผลทางจิตใจ และทาง ร่างกายให้กับชาวบ้าน ชาวบ้านหลายคนสูญเสียสมาชิกในครอบครัว บางคนต้อง พกิ ารหรอื มบี าดแผลตามรา่ งกาย แต่ก็มีเรื่องราวดี ๆ ที่เกิดข้ึนคือมิตรภาพของคนในชุมชนเกิดความรัก ความผูกพันจากที่ผ่านเร่ืองราวต่าง ๆ มาด้วยกัน รวมทั้งความสัมพันธ์ที่ดีระหว่าง ชาวบ้านฝั่งไทยและกัมพูชามีการเดินทางไปมาหาสู่กันฉันพ่ีน้อง และบางคนเป็น พ่ีน้องกันทางสายเลือดจริง ๆ มี ปู่ ย่า ตา ยายร่วมกัน แต่ถูกพลัดพรากจากสงคราม ซง่ึ ยงั มปี ระเพณวี ฒั นธรรมทีผ่ สมผสานกนั ระหวา่ งไทยและกมั พชู า เช่น โคมลม โคมไฟ รดน้�ำด�ำหัวผู้สูงอายุ โยนสะบ้า ร�ำกระทบ แซนโฎนตา มีการใช้ภาษาเขมรในการ สอื่ สาร และนับถอื ศาสนาพุทธ คุณเกีย สงิ หส์ ราญรมย์ ผใู้ หญ่บา้ นคนแรกของบา้ นทพั ไทย “หมบู่ า้ นตวั อยา่ ง 4 ดี วิถพี อเพียง” 25
26 “หม่บู ้านตวั อย่าง 4 ดี วถิ ีพอเพยี ง”
ดา้ นคนดี “หมบู่ ้านตัวอยา่ ง 4 ดี วิถีพอเพยี ง” 27
กจิ กรรมดา้ นคนดบี ้านวังหนิ หมทู่ ่ี 10 ตำ� บลบา้ นแก้ง อำ� เภอเมอื งสระแก้ว การจะเป็นต้นแบบหรือการท�ำให้คนในชุมชนน้ันยอมรับน้ัน ต้องเริ่มต้นจาก การปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีและเป็นที่เคารพของคนในชุมชน โดยได้น�ำหลักการ แนวทางการน้อมน�ำแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงในการด�ำเนินชีวิต ร่วมกับพัฒนาพ้ืนที่ การรักษาความสะอาดของชุมชน อย่างต่อเน่ือง ตลอดจนส่งเสริมกิจกรรมภายใน ชุมชนอย่างต่อเน่ือง เพื่อสร้างความรักและความสามัคคีภายในชุมชน เช่น วัฒนธรรม ประเพณีประจ�ำปี ปีใหม่ เข้าพรรษา ออกพรรษา และอ่ืน ๆ เพ่ือเป็นการอนุรักษณ์ วัฒนธรรมประเพณีอันดีงาม และปลูกฝั่งคุณธรรม จริยธรรมให้แก่เด็กและเยาวชน ของหม่บู ้านวังหนิ เพอ่ื เปน็ กำ� ลังส�ำคัญของหมู่บ้านในอนาคตของบา้ นวังหนิ ชุมชนบ้านวังหิน หมู่ท่ี 10 เป็นหมู่บ้านมีบรรยากาศท่ีน่าอยู่เงียบสงบ เรียบง่าย ผู้คนมีอัธยาศัยดี มีน�้ำใจงาม เอื้อเฝื้อและรู้จักแบ่งปัน การให้ความร่วมมือ เข้าร่วมประชุมประจ�ำเดือน และการเคราพกฏระเบียบท่ีได้ตั้งร่วมกันเอาไว้ จากการ ลงพื้นที่การส�ำรวจสามารถแบ่งข้อมูลออกเป็น 4 ด้าน ได้แก่ ด้านคนดี ด้านสุขภาพดี ด้านรายไดด้ ี และดา้ นสิง่ แวดลอ้ มดี 28 “หมบู่ า้ นตวั อย่าง 4 ดี วิถีพอเพยี ง”
“การท�ำงาน ม่งุ เนน้ และยึดประโยชน์ ของชุมชนเปน็ ที่ต้งั ” สมพงษ์ หงษโ์ สภาพ ผู้ใหญบ่ ้านวังหนิ หมูท่ ่ี 10 “หมู่บ้านตวั อย่าง 4 ดี วถิ ีพอเพียง” 29
กิจกรรมด้านคนดบี ้านพระเพลงิ หมทู่ ี่ 1 ตำ� บลพระเพลิง อำ� เภอเขาฉกรรจ์ การเริ่มต้นเป็นคนดีนั้น เร่ิมจากการปฏิบัติตนเองเป็นแบบอย่าง การมุ่งมั่น ในการท�ำงานเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับประชาชน โดยเร่ิมจากการเป็นเกษตรกร จนได้รับการแต่งต้ังเป็นประธานศูนเรียนรู้ข้าวอินทรีย์ เป็นเกษตรกรเกษตรอินทรีย์ ตัวอย่าง ไม่ใช้สารเคมี ปลอดภัยต่อชีวิต คืนชีวิตสู่เกษตรกร เป็นผู้น�ำเกษตรกร ในชุมชนเข้าร่วมโครงการ การปลูกข้าวระบบอินทรีย์ การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ การบรรจุ ข้าวกล้องระบบสุญญากาศ การท�ำนาอินทรีย์ที่มีการรวมตัวกันของประชาชน 3 หมบู่ ้าน คอื บ้านพระเพลงิ หมู่ที่ 1, บ้านนาคนั หัก หมู่ที่ 2 และบา้ นซบั มูล หมทู่ ่ี 12 โดยใช้พื้นที่สาธารณะของหมู่บ้าน ในการท�ำนาอินทรีย์ ข้าวไรท์เบอร์ร่ี ซ่ึงได้รับ การสนับสนุนจากหน่วยงานราชการ เช่น ที่ท�ำการปกครองอ�ำเภอเขาฉกรรจ์ องค์การบริหารส่วนต�ำบลพระเพลิงในการเข้าร่วมการด�ำเนินงานตามช่วงระยะเวลา ตา่ ง ๆ เป็นประจำ� กล่มุ เกษรกรทเี่ ข้ารับการอบรมโครงการส่งเสริมและพัฒนาการผลิต ข้าวปลอดภยั / ขา้ วอนิ ทรยี ์ ซ่งึ มีสมาชิกทั้งหมด 20 คน 30 “หมู่บา้ นตวั อยา่ ง 4 ดี วิถีพอเพียง”
บุคคลต้นแบบ คุณจิรภัทร ปกั ครึก (ผูใ้ หญบ่ ้าน บ้านพระเพลิง) คนดีบ้านพระเพลิงเร่ิมต้นจากการสร้างกฏระเบียบให้กันตนเองและปฏิบัติตน ตามกฏข้อบังคับของชุมชนและสังคม การเป็นคนดีได้ต้องเร่ิมต้นจากเด็กและเยาวชน ปลูกจิตส�ำนึก จากการเข้าวัดปฏิบัติธรรม ฟังธรรมะอย่างสมำ่� เสมอ การน�ำหลักธรรม ค�ำสอน หรือน�ำศีล 5 ไปปฏิบัติอย่างน้อยตามเทศกาลส�ำคัญ มีคุณธรรม จริยธรรม มีจิตส�ำนึกสาธารณะ ยิ้มแย้มแจ่มใส มีการช่วยเหลือเก้ือกูลกัน ส่งเสริมการอนุรักษ์ พฒั นาศิลปวัฒนธรรมและประเพณี สร้างกิจกรรมในรูปแบบต่าง ๆ เพ่อื ปลกู จติ ส�ำนกึ ต่อสาธารณะ มีน้�ำใจ และเสียสละ ยึดหลักธรรมของศาสนาเป็นที่ต้ัง และส่งเสริม ให้มีการเชิดชูคนดี สนับสนุน ปกป้องคนดี ให้ท�ำความดีต่อไป เพื่อประโยชน์แก่สังคม คนในชมุ ชนบา้ นพระเพลิง “หมบู่ า้ นตัวอยา่ ง 4 ดี วถิ พี อเพียง” 31
กจิ กรรมด้านคนดีบ้านตาหลงั ใน หมู่ท่ี 1 ต�ำบลตาหลังใน อำ� เภอวังนำ�้ เย็น กิจกรรมเก่ียวกับโครงการ สระแก้วเมืองแห่งความสุขด้วย 4 ดี วิถีพอเพียง ในหมู่บ้านตาหลังในว่า การส่งเสริมในด้าน “คนดี” ในหมู่บ้านตาหลังใน ท�ำโดยใช้ วิธีการชักชวนให้คนรุ่นใหม่มาให้ความส�ำคัญและสนใจการท�ำนุบ�ำรุงศาสนา พอถึง ช่วงเทศกาลงานบุญต่าง ๆ ทางผู้น�ำชุมชน และผู้เฒ่าผู้แก่ในชุมชนจะออกจากบ้าน มารวมตัวกัน โดยส่วนใหญ่แล้ว จะมีวัดเป็นศูนย์รวมจิตใจของคนในชุมชนอยู่แล้ว และเป็นสถานทใ่ี นการปฏบิ ัติธรรมในช่วงวนั สำ� คัญทางศาสนา ในทกุ ๆ ปี วัดตาหลังใน จะจัดกิจกรรมท�ำบุญปาริวาสกรรม เพ่ือเป็นการท�ำบุญ รักษาศีลของผู้ที่ศรัทธา และนับถือในพุทธศาสนาได้ปฏิบัติธรรม โดยผู้เข้าร่วมปฏิบัติธรรม เช่ือว่า เป็นการ ท�ำบุญเพ่ือท�ำให้จิตใจของตนเองสงบขึ้นและมีสมาธิกับตัวเองมากขึ้น ในส่วนของ ชาวบ้านทั่วไปที่ไม่ได้เข้าร่วมปฏิบัติธรรม รักษาศีลที่วัด จะเข้ามามีส่วนร่วมในการ ช่วยท�ำอาหารเลี้ยงพระสงฆ์และแม่ชีท่ีเดินทางมาร่วมปฏิบัติธรรม และช่วยอ�ำนวย ความสะดวกให้ผู้ท่ีเดินทางมาร่วมท�ำบุญภายในวัด โดยก�ำหนดการจัดงานท�ำบุญ ปาริวาสกรรมจะจดั ข้นึ ในช่วงวนั ข้ึน 15 คำ�่ เดือน 6 ของทุกปี และจดั เป็นเวลา 9 วนั 9 คนื นอกจากนั้นบ้านตาหลังใน ได้รณรงค์งานบุญปลอดเหล้า ปลอดการพนัน ซึ่งชุมชนได้เข้าร่วมกับส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) ตั้งแต่ปีพ.ศ.2553จนถึงปจั จบุ นั ผลจากการรณรงคง์ านบญุ ปลอดเหล้าปลอดการพนัน ท่ีชุมชนด�ำเนินการมาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้สถานการณ์การดื่มเคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ ในงานพิธีกรรมต่าง ๆ ของชุมชนลดลงได้ถึงร้อยละ 80 และท�ำให้การทะเลาะวิวาท ของคนในชมุ ชนลดลงตามไปดว้ ย 32 “หมบู่ ้านตวั อยา่ ง 4 ดี วิถีพอเพียง”
บุคคลที่เป็นต้นแบบ พอ่ สมจิต สีลาธร ในการปฏิบัติตัวเป็นคนดีในหมู่บ้านตาหลังใน ได้กล่าวไว้ว่า คนทุกคนเป็น คนดีในตัวเอง ทุกคนในชุมชนมีจิตอาสาที่จะช่วยเหลือผู้อ่ืน จะเห็นได้จากงานบุญ งานพิธีกรรมต่าง ๆ ที่จัดขึ้นโดยชุมชน ทุกคนจะเข้ามาช่วยเหลือกันอยู่เสมอ และสิ่ง ทส่ี �ำคัญในการเปน็ คนดี คอื การรกั ษาศีลอย่างงา่ ย ๆ คือ รกั ษาศีลห้าในการดำ� รงชีวิต ก็พอเพียงแล้ว และมีเคล็ดลับในการใช้ชีวิตคู่กับคุณแม่ได้อย่างยาวนานคือ การพูดความจริง ซื่อสัตย์ต่อตัวเองและต่อคู่ครองของเรา และท่ีส�ำคัญคือ เม่ือภายใน ครอบครวั มีปัญหาก็จะใช้วิธกี ารหนั หนา้ มาพูดคุยกัน เพ่อื หาทางออกร่วมกัน ท�ำใหเ้ รา อยู่ดว้ ยกนั ด้วยความเขา้ ใจมาตลอด “หมูบ่ า้ นตวั อย่าง 4 ดี วิถีพอเพยี ง” 33
กจิ กรรมด้านคนดีบ้านวังทอง หมู่ท่ี 1 ตำ� บลวังทอง อ�ำเภอวังสมบูรณ์ “คนด”ี บา้ นวงั ทอง หมู่ท่ี 1 ต�ำบลวงั ทอง อำ� เภอวังสมบูรณ์ จงั หวดั สระแก้ว คนดี แห่งบ้านวังทองเริ่มต้นจากการสร้างกฏระเบียบให้กันตนเองและ ปฏิบัติตนตามกฏข้อบังคับของชุมชนและสังคม การเป็นคนดีได้ต้องเร่ิมต้นจาก เด็กและเยาวชน ปลูกจิตส�ำนึก จากการเข้าวัดปฏิบัติธรรม ฟังธรรมะอย่างสม�่ำเสมอ การน�ำหลักธรรม ค�ำสอน หรือน�ำศีล 5 ไปปฏิบัติอย่างน้อยตามเทศกาลส�ำคัญ มีคุณธรรม จริยธรรมมีจิตส�ำนึกสาธารณะ ย้ิมแย้มแจ่มใส มีการช่วยเหลือเกื้อกูลกัน นอกจากน้ีบ้านวังทองส่งเสริมการอนุรักษ์ พัฒนาศิลปะวัฒนธรรมและประเพณี สร้างกิจกรรมในรูปแบบต่าง ๆ เพื่อปลูกจิตส�ำนึกต่อสาธารณะ มีน�้ำใจ และเสียสละ ยึดหลักธรรมของศาสนาเป็นที่ต้ัง และส่งเสริมให้มีการเชิดชูคนดี สนับสนุน ปกป้อง คนดี ใหท้ �ำความดีตอ่ ไป เพือ่ ประโยชน์แกส่ ังคมคนในชมุ ชนวังทอง “คนด”ี ต้องมีความซ่อื สตั ย์ มคี วามเสยี สละ เห็นประโยชน์สว่ นร่วม ชว่ ยเหลือชุมชน ไม่สร้างความเดอื นร้อน 34 “หมู่บ้านตัวอยา่ ง 4 ดี วิถพี อเพยี ง”
บคุ คลต้นแบบ “การเป็นผูน้ �ำ ผู้ใหญ่บ้านหรือแมแ้ ต่หวั หนา้ งาน การจะให้คนอืน่ ใชจ่ ะแต่คำ� ส่ังให้เขาทำ� งานแตต่ ้องท�ำงานเปน็ ตวั อย่างใหเ้ ขาดู เขาถึงจะเข้าใจและทำ� ตาม” การเป็นคนดีจ�ำเป็นต้องมีความซ่ือสัตย์ ลด ละ เลิกอบายมุขต่าง ๆ เป็นคนท่ี ช่วยเหลือเกื้อกูลภายในชุมชน การมีน�้ำใจ ช่วยเหลือกิจกรรมของชุมชน มีความ เสียสละเพ่ือประโยชน์ส่วนรวม และไม่สร้างความเดือนร้อนให้กับชุมชน นายฉัตรชัย จันทร์มงคล สร้างกระบวนการท�ำงาน ทุ่มเทแรงกาย และเวลาในการพัฒนาชุมชน บ้านวังทอง ส่งเสริมศิลปะวัฒนธรรม พัฒนาและสนับสนุนโรงเรียนบ้านวังทอง นอกจากนี้ยังให้เกียรติแก่ทุกคน สร้างความเสมอภาคภายในชุมชน ให้ความเคารพ และเช่ือใจในการท�ำงานของทีมงานจนได้รับความไว้วางใจและความเคารพนับถือ ของคนในชุมชน ด้านการด�ำเนินชีวิตได้เป็นตัวอย่างการน้อมน�ำแนวคิดตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง รัชกาลท่ี 9 มาเป็นหลักในการด�ำเนินชีวิต การท�ำการ เกษตรปลูกพืชผสมผสาน การสร้างแหล่งกักเก็บน�้ำ เพื่อเก็บน้�ำไว้ใช้ช่วงหน้าแล้ง และส่งเสริม ถ่ายทอดองค์รู้ด้านการเกษตรเผยแพร่แก่คนในชุมชน และจัดโครงการ เพ่ือเพ่ิมองค์ความรู้ให้กับชาวบ้านวังทองเพ่ือพัฒนาแนวคิด เพ่ิมองค์ความรู้ และ สรา้ งแรงบันดาลใจใหก้ บั คนชมุ ชน “หมู่บา้ นตัวอยา่ ง 4 ดี วถิ พี อเพียง” 35
กิจกรรมดา้ นคนดีบ้านบ่อนางชงิ หมทู่ ี่ 4 ตำ� บลห้วยโจด อำ� เภอวัฒนานคร บ้านบ่อนางชิงเป็นชุมชนที่อยู่กันแบบเครือญาติ จึงมีกิจกรรมประเพณีต่าง ๆ อย่างสม�่ำเสมอและได้รับการตอบรับจากชุมชนดีเสมอมา ทั้งนี้เนื่องจากครอบครัว แต่ละครอบครัวได้มีการสื่อสารกันเป็นระยะ ๆ จึงท�ำให้การรับรู้ข้อมูลทางด้าน การจัดกิจกรรมกระจายไปได้อย่างท่ัวถึง เช่น สมาชิกในครอบครัวจะชักชวนกัน ไปท�ำบุญเพ่ือสานความสัมพันธ์ในครอบครัวและท�ำนุบ�ำรุงศิลปะวัฒนธรรมของชุมช นให้คงอยู่ไว้ ดังน้ันอาจกล่าวได้ว่าในมิติด้านคนดี บ้านบ่อนางชิงเป็นชุมชนหนึ่ง ท่ีสมาชิกให้ความส�ำคัญกับด้านศิลธรรมและประเพณีอันดีงาม ในขณะที่ผู้ใหญ่ ในชุมชนก็เป็นบุคคลท่ีสามารถเป็นแบบอย่างให้กับเยาวชนในชุมชนได้เป็นอย่างดี และหากผู้อ่านได้มีโอกาสได้เข้าไปเย่ียมเยือนบ้านบ่อนางชิง ท่านจะได้พบกับรอยยิ้ม และการต้อนรบั อนั แสนอบอุ่น ของสมาชกิ บ้านบอ่ นางชงิ แห่งอยา่ งแน่นอน 36 “หม่บู า้ นตัวอย่าง 4 ดี วถิ ีพอเพยี ง”
“บา้ นเราอยู่กันแบบพแี่ บบน้อง มีอะไรก็พดู คุยกนั โดยไมย่ ดึ ติดกับตำ� แหน่งใด ๆ โดยความคาดหวงั อยากเห็นหม่บู า้ นมกี ารเปล่ียนแปลง ไปในทางทด่ี ขี ึ้น มีสุขภาพร่างกายสุขภาพจติ ใจ และมรี ายไดด้ ีอย่างต่อเนอื่ ง” สบุ นั ท์ เซยี่ มกิ่ง. 2562 (ผู้ใหญ่บ้าน บ้านบอ่ นางชงิ ) “หมู่บา้ นตัวอยา่ ง 4 ดี วถิ ีพอเพียง” 37
กิจกรรมดา้ นคนดบี า้ นคลองไก่เถอ่ื น หมทู่ ่ี 1 ตำ� บลคลองไก่เถื่อน อำ� เภอคลองหาด “หลักการบริหาร ให้คดิ ว่า ทุกคนคอื พีน่ อ้ ง การปกครองคน ต้องปกครองแบบพแ่ี บบน้อง เสมือนญาติ เขาจึงจะไว้ใจและเชื่อเรา” นายสเุ ทพ แจม่ หอม กำ� นันตำ� บลคลองไก่เถอ่ื น เป็นบุคคลที่น�ำหลักเกษตรทฤษฎีใหม่ มาใช้ในการท�ำการเกษตรในพื้นที่ ของตนเอง และท�ำเป็นตัวอย่าง ให้ชาวบ้านดู และเมื่อชาวบ้านเห็นว่ามันได้ผลจริง เด๋ียวชาวบ้านก็ท�ำตามเอง ซึ่งเม่ือมีผลผลิตก็เอามารวมกัน วางขายรายรับท่ีได้ก็แบ่ง ตามสดั ส่วน กจ็ ะเกดิ กจิ กรรมและผลติ ภัณฑ์ของชุมชน 38 “หม่บู า้ นตัวอยา่ ง 4 ดี วิถีพอเพียง”
“ ทำ� ทกุ อย่างดว้ ยใจ เพ่อื พัฒนาชุมชน ให้มคี วามอยดู่ ี กินดี แล้วความสุข กจ็ ะตามมาเอง ภูมใิ จ ดีใจ ทีเ่ ห็นชมุ ชนมคี วามเปน็ อยูท่ ี่ดี ” นางล�ำดวน ก้องกลางดง เป็นท้ัง ส.อบต.คลองไก่เถ่ือน เป็นทั้งประธานกลุ่ม จับผ้าและท�ำดอกไม้จันทน์ รวมท้ังเป็นแกนน�ำในการท�ำกิจกรรมจิตอาสาของชุมชน และเป็นผู้ที่แสวงหาแหล่งงบประมาณ เพื่อน�ำมาสู่ชุมชน เพื่อให้ชุมชนมีรายได้เพ่ิม มคี วามเป็นอยทู่ ่ีดขี ้นึ “หมบู่ ้านตัวอยา่ ง 4 ดี วิถพี อเพยี ง” 39
กจิ กรรมด้านคนดบี า้ นเขาสารภี หมู่ท่ี 3 ต�ำบลทับพริก อำ� เภออรญั ประเทศ บ้านเขาสารภีเป็นชุมชนขนาดเล็ก มีการวางโครงสร้างการบริหารงานท้องถ่ิน ที่ต้องมีการแยกหมู่บ้านเพื่อการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ ท�ำให้สมาชิก ในชุมชนมีความผูกพันอยู่กับแบบเครือญาติ มีการติดต่อส่ือสารกันตลอดเวลา หากพิจารณาระดับบุคคล ทางด้านคนดี พบว่า ผู้น�ำมีส่วนส�ำคัญในการขับเคลื่อน ชุมชนให้มีความก้าวหน้าและพัฒนาอย่างต่อเน่ือง บ้านเขาสารภีจะได้รับการดูแล ช่วยเหลือ ส่งเสริมและสนับสนุน จากผู้น�ำในทุกระดับ ตั้งแต่ นายกองค์การบริหาร ส่วนต�ำบล ผู้ใหญ่บ้าน ที่ท�ำหน้าที่อย่างเต็มก�ำลังความสามารถท่ีมาพร้อมกับความสุข เพื่อประโยชน์ของสมาชิกในชุมชน กล่าวคือ ผลงานท่ีโดดเด่นคือ กระบวนการ ของพ้ืนที่ท�ำกินให้กับสมาชิกในชุมชน โดยผู้น�ำมีการประสานกับทุกหน่วยงาน ท่ีเกี่ยวข้องอันเน่ืองมาจากการท่ีสมาชิกในชุมชนไม่มีพ้ืนที่ท�ำกิน แต่คนนอกพื้นท่ี สามารถเข้ามาจับจองพ้ืนท่ีได้อย่างอิสระ ทั้งนี้ผู้น�ำได้ย่ืนเสนอปัญหาดังกล่าวถึง หนว่ ยงานราชการ ทง้ั ทหาร ตำ� รวจ ผูว้ ่าราชการจงั หวดั นายกรฐั มนตรี (สมัยนางสาว ย่ิงลักษณ์ ชินวัตร) และมีการต่อสู้ทางด้านเอกสารจนกระท่ังสมาชิกบ้านบ่อนางชิง มีพ้ืนท่ีท�ำกินเกือบครึ่งหมู่บ้าน นั้นคือความภาคภูมิใจและเป็นการท�ำเพ่ือส่วนร่วม 40 “หม่บู ้านตัวอยา่ ง 4 ดี วถิ พี อเพยี ง”
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120