Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore OP2 รายงานผลการดำเนินโครงการยกระดับ-ต.คูขวาง_ฉบับจริง23เมย63

OP2 รายงานผลการดำเนินโครงการยกระดับ-ต.คูขวาง_ฉบับจริง23เมย63

Published by learnoffice, 2020-08-18 00:34:53

Description: OP2 รายงานผลการดำเนินโครงการยกระดับ-ต.คูขวาง_ฉบับจริง23เมย63

Search

Read the Text Version

ก รายงานโครงการยกระดบั คณุ ภาพชวี ิตชมุ ชนและท้องถ่ิน (โครงการระยะที่ 1) ตาบลคขู วาง อาเภอลาดหลุมแกว้ จังหวดั ปทมุ ธานี ผชู้ ่วยศาสตราจารย์เบญจางค์ อัจฉรยิ ะโพธา และคณะ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ประจาปีงบประมาณ 2563

ข รายงานโครงการยกระดบั คณุ ภาพชีวติ ชุมชนและท้องถ่นิ (โครงการระยะที่ 1) ตาบลคขู วาง อาเภอลาดหลมุ แก้ว จังหวดั ปทุมธานี ผู้ช่วยศาสตราจารย์เบญจางค์ อจั ฉริยะโพธา ผชู้ ่วยศาสตราจารยด์ วงเดอื น วฏั ฏานรุ ักษ์ ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์วฒั นา อัจฉรยิ ะโพธา อาจารยส์ ุจารณิ ี สงั ข์วรรณะ อาจารยว์ ิษชญะ ศิลานอ้ ย คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ ประจาปงี บประมาณ 2563

คก กติ ตกิ รรมประกาศ รายงานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถิ่น ส่ิงแวดล้อม และวัฒนธรรม ในกจิ กรรมสร้างความร่วมมอื กับหนว่ ยงานราชการท่ีเกย่ี วข้อง ศึกษาชมุ ชนและจัดทาฐานข้อมูลตาบล และจัดทาแผนปฏิบัติการเพิ่มรายได้ยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน ตาบลคูขวาง อาเภอ ลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี (โครงการระยะท่ี 1) คณะผู้ดาเนินโครงการขอกราบขอบพระคุณ ผู้ว่าราชการจังหวัด พัฒนาชุมชนจังหวัด และหน่วยงานราชการระดับจังหวัดปทุมธานี นายอาเภอ ลาดหลุมแก้ว สานักงานพัฒนาชุมชน สานักงานเกษตรอาเภอ และหน่วยงานราชการระดับอาเภอ ลาดหลุมแก้ว คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัย ผู้บริหาร คณาจารย์และเจ้าหน้าที่คณะวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี สานกั สง่ เสรมิ การเรียนรู้และบริการวชิ าการ องค์การบริหารส่วนตาบลคูขวาง กานนั ตาบล คูขวาง ผู้นาชุมชนท่ีให้คาแนะนาและสนับสนุนการดาเนินโครงการ และขอขอบคุณประชาชนตาบล คูขวางท่ีให้ความร่วมมือในการทากิจกรรม ทาให้โครงการสามารถจัดทาแผนปฏิบัติการเพิ่มรายได้ ยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน ตาบลคูขวาง อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี (โครงการ ระยะท่ี 1) ได้สาเรจ็ ลลุ ว่ งไปด้วยดี ผู้ช่วยศาสตราจารยเ์ บญจางค์ อจั ฉรยิ ะโพธา และคณะ คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ปีพทุ ธศกั ราช 2563

ข สารบญั หน้า กติ ติกรรมประกาศ ก สารบญั ข สารบญั ตาราง ค สารบญั ภาพ ง สว่ นที่ 1 บทนา 1 ส่วนท่ี 2 ผลการศกึ ษาชุมชนเบอ้ื งต้นในระดับตาบล 4 สว่ นที่ 3 ผลการวเิ คราะห์ศักยภาพ ปัญหา/ความต้องการ และประเดน็ การพฒั นาเชงิ พ้นื ที่ 14 3.1 ผลการวเิ คราะหศ์ ักยภาพในการพัฒนาตาบล 14 3.2 แผนทแ่ี สดงศกั ยภาพด้านตา่ งๆ ของแตล่ ะหมบู่ า้ นในตาบล 20 3.3 ปญั หาและความตอ้ งการในพน้ื ที่ตาบล 21 3.4 ประเดน็ การพฒั นาเชิงพื้นท่ตี าบล 24 ส่วนท่ี 4 รปู แบบการพัฒนาชมุ ชนนวตั กรรม 26

สารบญั ตาราง ค ตารางท่ี หน้า 1 รายงานสถิติจานวนประชากรของตาบลคขู วาง 7 2 กลุ่มเศรษฐกจิ ในชุมชนตาบลคูขวาง 12

สารบญั ภาพ ง ภาพท่ี หนา้ 1 พื้นท่อี าณาเขตตาบลคขู วาง 5 2 แผนท่ตี าบลคขู วาง 5 3 โรงเรยี นวดั บอ่ ทอง และศูนย์พฒั นาเดก็ เลก็ 9 4 มสั ยิดนรู นุ ยากนี และโรงเรียนธรรมโรจน์พินิจพัฒนา 10 5 ทุง่ นามอญบ้านบอ่ ทอง ป่ินฟ้าฟาร์ม และตลาดอุดมทรพั ย์ 12 6 ศักยภาพชมุ ชนในตาบลคขู วาง 20 7 รปู แบบการพัฒนาชุมชนนวตั กรรมตาบลคขู วาง 26 8 รปู แบบกจิ กรรมการพัฒนาชมุ ชนนวัตกรรมตาบลคขู วาง 27

1 ส่วนท่ี 1 บทนา 1.1 หลกั การและเหตผุ ล ตามที่ภาครัฐได้เช่ือมโยงเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติเข้ากับแผน ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ของประเทศไทย และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ 20 ปี ระหว่างปี 2560 ถึง ปี 2579 โดยน้อมนาเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงท่ีเน้นการพัฒนาแบบยั่งยืน โดย คานึงถึงสิ่งแวดล้อมท่ีอยู่ และใช้หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลย เดชบรมนาถบพิตร มาเป็นแนวทางในการดาเนินนโยบาย เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับ รายได้ของประชาชน แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างการผลิตภาคเกษตร เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร พัฒนาโภชนาการและความปลอดภัยด้านอาหาร เพ่ือนาไปสู่ความม่ันคง ม่ังคั่ง และยั่งยืน ของ ประชาชนและประเทศชาติ ซึ่งสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณบดินทรเทพยวรางกูร รัชกาลท่ี 10 ทรงมีพระปณิธานแน่วแน่ท่ีจะสานต่อโครงการในพระราชดาริของพระราชบิดา เพื่อช่วยเหลือ ประชาชนใหม้ คี ุณภาพชีวติ ทีด่ ีข้นึ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นมหาวิทยาลัยท่ีพระราชา ประสงค์ให้เป็นมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฎ พ.ศ. 2547 มาตรา 7 ท่รี ะบุให้มหาวทิ ยาลัยเป็นสถาบันอดุ มศกึ ษา เพอื่ การพัฒนาท้องถิ่นเสริมพลังปัญญา ของแผน่ ดิน ซึ่งสอดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตรม์ หาวทิ ยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ใน ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 3 การพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์ และถ่ายทอด เผยแพร่โครงการ อันเนื่องมาจากพระราชดาริ โดยมีกลยุทธ์ในการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติจากภายในและ ภายนอกเพื่อร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหาของชุมชนท้องถ่ินและเสริมพลังให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถดารง อยู่ไดอ้ ยา่ งย่งั ยืน ใหค้ วามสาคญั ในการพฒั นาชุมชน และทอ้ งถ่ิน ดังน้ันคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรม ราชูปถัมถ์ จึงได้จัดทาโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถ่ินในพ้ืนที่ตาบลคูขวาง จังหวัด ปทุมธานี โดยมีเป้าหมายเพื่อให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้อย่างสมดุลและมี ความเหมาะสม สามารถดารงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับการส่งเสริม ภูมิปัญญาท้องถ่ิน เพิ่มคุณค่าและมูลค่า เสริมเศรษฐกิจฐานรากในชุมชนให้มีความ เข้มแข็ง มั่นคง นาไปสู่การพ่ึงพาตนเองและช่วยเหลือเกื้อกูลกันในชุมชนได้อย่างย่ังยืน ส่งผลให้ชุมชนหมู่บ้านมี คุณภาพชีวติ ทีด่ ี 1.2 วัตถุประสงคข์ องการสารวจลงพืน้ ที่ชุมชนในระดบั ตาบล และกลุ่มเปา้ หมาย 1) เพอื่ สรา้ งความรว่ มมือกบั องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลและสานักงานพฒั นาชมุ ชนอาเภอ 2) เพื่อสารวจบริบทชุมชน ครวั เรือนเป้าหมาย และจัดทาฐานข้อมลู ตาบลคูขวาง 3) เพอ่ื จัดทาแผนปฏบิ ัตกิ ารเพิ่มรายได้ ยกระดบั คณุ ภาพชีวิตของคนในชุมชน

2 1.3 ขอบเขตการสารวจลงพื้นท่ชี ุมชนในระดบั ตาบล และกลุม่ เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมายประชาชนในพื้นที่ชุมชนหมู่ท่ี 1-5 ตาบลคูขวาง อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัด ปทุมธานี ผ้เู ข้ารว่ มโครงการประชาชนตาบลคูขวาง จานวน 2,855 ครวั เรือน ระยะเวลาดาเนินโครงการเดอื นพฤศจกิ ายน 2562 ถงึ เดือนมกราคม 2563 1.4 วิธกี ารดาเนนิ การสารวจความต้องการของชุมชนในระดบั ตาบล และกลุ่มเป้าหมาย การดาเนินโครงการคณะผู้ดาเนินการมุ่งเน้นการสร้างกรอบปัญหาและความต้องการของชุมชน ระดับตาบล เพื่อกาหนดแผนปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมของชุมชนในการวางแนวทางลดปัญหาความ ยากจนของประชาชนและยกระดับขีดความสามารถของเศรษฐกิจรากฐาน การจัดการส่ิงแวดล้อม และวัฒนธรรม ตาบลคูขวาง อาเภอลาดหลุมแก้ว วิธีการการดาเนินแผนงานเน้นไปที่การวิจัยเชิง ปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research) ซ่ึงเป็นการบูรณาการการวิจัยแบบ มีส่วนร่วม (Participatory Research) และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Quantitative Research) เพ่ือให้ ได้มาซ่ึงแผนพัฒนาชุมชนที่จะสามารถลดความเหลื่อมล้าในการยกระดับรายได้ของประชาชน นวัตกรรมและกระบวนการทางความคิดสร้างสรรค์ท่จี ะเพ่ิมมูลค่าทรัพยากรที่ไม่ก่อประโยชน์ในชุมชน ให้เกิดประโยชน์อันสง่ ผลใหป้ ระชาชนมีรายได้ทเี่ พิม่ สูงข้ึนกระบวนการลดปญั หาความยากจนทีเ่ หมาะ กับการเข้าถึงของประชาชนทุกวัยได้อย่างท่ัวถึงและยั่งยืนและเผยแพร่องค์ความรู้สู่ประชาชนกลุ่ม อื่นๆ ไดโ้ ดยมีข้นั ตอนดังต่อไปน้ี 1. สร้างความร่วมมือกับหน่วยงานราชการท่ีเก่ียวข้อง ดาเนินการจัดทาปฏิทินการลงพ้ืนท่ี ศึกษาข้อมูลและยกระดับพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถิ่นเข้าพบและแสวงหาความร่วมมือจาก หน่วยงานภาครัฐและข้อปรึกษาหารือทิศทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ตาบลคูขวาง อาเภอลาดหลุมแก้ว ได้แก่ นายอาเภอ ส่วนงานปกครองอาเภอ พัฒนาการอาเภอ เกษตรอาเภอ ณ ทว่ี ่าการอาเภอลาดหลุมแก้ว จงั หวัดปทมุ ธานี กานนั และ องค์การบริหารสว่ นตาบลคูขวาง เพ่ือขอ ปรึกษาหารือ เก่ียวกับทิศทางการดาเนินโครงการ และขอฐานขอ้ มลู ตาบลเบือ้ งตน้ 2. ศึกษาชุมชนและจัดทาฐานข้อมูลตาบล ดาเนินการประมวลผลรวบรวมข้อมูลจากเอกสาร ฐานขอ้ มลู ที่เกีย่ วข้องของตาบลคูขวาง โดยใชข้ อ้ มลู จากแผนพฒั นาตาบลคขู วาง อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานีและเข้าพื้นท่ีดาเนินการจัดประชุมเพ่ือสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานระดับท้องถ่ิน ตาบลคูขวาง อาเภอลาดหลุมแก้วเป็นเบ้ืองต้น ได้แก่ นายก อบต.รองนายกอบต. กานัน ผู้ใหญ่บ้าน พฒั นาชุมชนอาเภอ เจ้าหน้าท่ีทีเ่ ก่ียวข้อง และตวั แทนคนในชมุ ชน โดยชี้แจงวตั ถปุ ระสงค์ วธิ ีการและ ขั้นตอนการดาเนินโครงการ จากน้ันดาเนินการจัดประชุมเวทีประชาคมระดับตาบล ระหว่างแกนนา ตัวแทนคนในชุมชน ไดแ้ ก่ ผู้ใหญบ่ า้ นและผ้นู าชุมชนรวมหมู่ละ 3 -5 คน, หน่วยงานภาครัฐ และคณะ ดาเนินโครงการ เพ่ือชี้แจงวัตถุประสงค์ แนวทางดาเนินการและแสวงหาความร่วมมือ ตลอดจน นาเสนอข้อมูลพื้นฐานของแต่ละชุมชนพอสังเขป ขอปรึกษาหารือ เกี่ยวกับทิศทางการดาเนิน

3 โครงการและแลกเปลี่ยนข้อมูล ซักถามร่วมกันจากหน่วยงานภาครัฐ และเอกชนที่เกี่ยวข้อง เพื่อวาง กรอบในการพัฒนาร่วมกันรวมท้ังคัดเลือกเป้าหมายในการพัฒนาศึกษาพื้นท่ีจากน้ันดาเนินการลง พื้นที่ของตาบล เพื่อเยี่ยมชมรวบรวมข้อมูลภาคสนามจากพื้นท่ีทุกหมู่บ้าน ในการเก็บข้อมูล OP3 รวมทั้งศึกษาบริบทชุมชนในภาพรวม ศึกษา ประเมินศักยภาพ ปัญหา ทุนของชุมชนจัดเวทีประชุม เสวนาคืนข้อมูลให้กับชุมชนจัดทารายงานผลการศึกษาชุมชน และครัวเรือนเป้าหมาย จัดทา ฐานข้อมูลตาบล (OP2 และ OP3)และประชุมเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมเพื่อ (PAR) กาหนด แผนการพัฒนาชุมชนร่วมกบั คนในชมุ ชน และครวั เรอื นเป้าหมายในตาบลคขู วาง 3. จดั ทาแผนปฏิบัตกิ ารเพิ่มรายไดย้ กระดับคณุ ภาพชีวติ ของคนในชมุ ชน 1.5 เครื่องมือที่ใช้การสารวจความต้องการของชุมชนในระดบั ตาบล และกลมุ่ เปา้ หมาย การดาเนินโครงการ เก็บข้อมูลพื้นฐานชุมชนจากหน่วยงานราชการระดับจังหวัด อาเภอ และ ตาบล ซ่งึ เป็นขอ้ มลู ทุตยิ ภมู ิ นาข้อมูลทไี่ ด้วางแผนลงพื้นท่ีเพือ่ เก็บข้อมูลปฐมภูมิ โดยใชแ้ บบสมั ภาษณ์ เจาะลกึ แบบมีโครงสร้าง (OP3-2) แบบสอบถาม (OP3-1) สนทนากลมุ่ การสงั เกต และเวทีประชาคม เปน็ ต้น

4 สว่ นที่ 2 ผลการศึกษาชมุ ชนเบอื้ งต้นในระดบั ตาบล 2.1 ข้อมูลท่ัวไปของชุมชนในระดับตาบล เดิมชื่อ หมู่บ้านคลองบางหลวง เป็นชุมชนชนบท ซ่ึงได้แยกออกจากตาบลคูบางหลวง นบั ถือศาสนาพทุ ธเปน็ ส่วนมาก มีอสิ ลามบ้างเลก็ นอ้ ย อพยพมาตั้งบา้ นเรอื น มีทงุ่ นาและคลอง ซง่ึ เปน็ ลารางเดิมของทางนา้ ไหล เปน็ ลาคลองธรรมชาติ ซงึ่ ชาวบา้ นเรยี กว่า “คลองบางหลวง” ซ่งึ ชอื่ หมู่บา้ น กใ็ ชต้ ามลาคลองว่า คลองบางหลวง” อย่กู นั แบบเครือญาติมีการพ่งึ พาอาศยั กนั มีการจัดตงั้ กลุ่ม และ องค์กรเพื่อทาประโยชน์ร่วมกันในชุมชน ที่ก่อให้เกิดรายได้กับสมาชิกในกลุ่ม และเสริมสร้างความ สมัครสมานสามัคคีในชุมชน รู้จักเคารพสิทธิซึ่งกันและกัน ประเพณีและวัฒนธรรมส่วนใหญ่ยังคงยึด กับรูปแบบเดิมท่ีมีการสืบทอดต่อๆ กันมา อาชีพในชุมชนส่วนใหญ่มีอาชีพทาการเกษตร และส่งบุตร หลานเรยี นหนังสอื หรอื สมคั รทางานในโรงงาน 2.2 ข้อมูลด้านสภาพนเิ วศวทิ ยา 2.2.1 สภาพทางภูมปิ ระเทศ และภูมอิ ากาศ เทศบาลตาบลคูขวาง ตั้งอยู่เลขท่ี 50 หมู่ท่ี 3 ซอยคูขวาง 8 โดยห่างจากจังหวัด ปทุมธานี ประมาณ 12 กิโลเมตร และห่างจากอาเภอลาดหลุมแก้ว ประมาณ 5.5 กิโลเมตร และห่าง จากถนนปทมุ ธานี -บางเลน ประมาณ 2.1 กโิ ลเมตร มเี นือ้ ท่ีประมาณ 16.541 ตารางกโิ ลเมตร (หรอื ประมาณ 10,338 ไร่ ) ภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่มมีลาคลองหลายสาย จานวน 6 สาย ได้แก่ คลองพระอุดม, คลองบางหลวงไหว้พระ, คลองมหาโยธา, คลองบางเตย, คลองบางโพธิ์ และคลองลัดวัดบอ่ เงนิ ส่งผล ให้เกิดความอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การประกอบอาชีพเกษตรกรรมโดยมีพื้นท่ีอาณาเขตติดกับพื้นท่ี ต่างๆ - ทิศเหนอื ติดต่อกับเขตตาบลบางเตย อาเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี - ทศิ ใต้ ติดตอ่ กับเขตตาบลระแหง อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวดั ปทุมธานี - ทศิ ตะวันออก ตดิ ต่อตาบลคบู างหลวง อาเภอลาดหลมุ แก้ว จังหวดั ปทุมธานี - ทศิ ตะวันตก ตดิ ต่อเขตตาบลบ่อเงนิ และตาบลระแหง อาเภอลาดหลมุ แกว้ จงั หวดั ปทมุ ธานี

5 ภาพที่ 1 พ้ืนที่อาณาเขตตาบลคขู วาง ในพื้นท่ีเทศบาลตาบลคูขวางมีจานวน 5 หมู่บ้านอยู่ในเขตเทศบาลตาบลคูขวางเต็ม พื้นที่ ได้แก่ หมู่ท่ี 1 บ้านคลองบางหลวง, หมู่ท่ี 2 บ้านคลองบางหลวง, หมู่ที่ 3 บ้านคลองบางหลวง, หมทู่ ่ี 4 บา้ นคลองบางโพธ์ิ และหมู่ท่ี 5 บ้านคลองบางเตย ภาพท่ี 2แผนท่ีตาบลคูขวาง

6 สภาพภมู ิอากาศในตาบลคูขวางมีลักษณะภูมิอากาศ 3 ฤดู คือ ฤดูรอ้ น ฤดฝู น และฤดู หนาวเร่ิมต้ังแต่เดือนกุมภาพันธ์ - เมษายน ฤดูฝน เริ่มต้ังแต่เดือนพฤษภาคม - กันยายน และฤดู หนาว เร่ิมตั้งแต่เดือนตุลาคม – มกราคม เป็นอากาศแบบร้อนช้ืน เช่นเดียวกับพ้ืนท่ีในจังหวัดภาค กลางของประเทศ ลักษณะของดนิ ในตาบลคูขวางเป็นดนิ ร่วน ดินเหนยี ว พ้นื ราบ เหมาะแก่การเพาะปลูก ข้าวเป็นส่วนใหญ่คนในชุมชนบางส่วนมีการทาประมงน้าจืด คือ การเลี้ยงปลาในบ่อดินโดยส่วนใหญ่ นามาบริโภคในครวั เรือน และจาหน่าย ซ่งึ พบมากในหมู่ 5 ตลอดจนมีการเล้ียงโค เล้ยี งสุกร เล้ยี งไก่ และเลย้ี งเป็ด 2.2.2สภาพทางนิเวศวิทยาจาเพาะ ตาบล คูขว า งมีลักษณะกึ่งเมืองก่ึงชนบท ทาให้มีคว ามหลากหลายทาง ทรัพยากรธรรมชาตนิ ้อยลักษณะประชาชนในคขู วางประกอบ 2 กลมุ่ หลัก ได้แก่ คนทีม่ ีถน่ิ ฐานดั้งเดิม อยทู่ ีน่ ี้ และผ้ทู ีย่ ้ายเข้ามาอยู่ ประชาชนกลมุ่ นีส้ ว่ นใหญย่ ้ายมาอยู่เพื่อประกอบอาชีพทามาหาเลี้ยงชีพ พื้นที่ส่วนใหญ่ใช้ในการเพาะปลกู เกตรกรรม และบ้านเรือน โดยลักษณะบ้านเรอื นมีทงั้ ลกั ษณะปลกู บ้านเรอื นเอง บ้านในโครงการบ้านจัดสรร หอพกั เปน็ ต้น 2.2.3 สภาพการเปล่ียนแปลงทมี่ ผี ลกระทบต่อชุมชน การเปล่ียนแปลงที่กระทบต่อชุมชนตาบลคูขวาง ในอดีตตาบลคูขวางเป็นพ้ืนท่ี เกษตรกรท้ังหมด ปัจจุบันสถานการณ์เปล่ียนแปลงไปซ่ึงที่กระทบต่อชุมชน คือ การเพ่ิมขึ้นของ โรงงานอุตสาหกรรมท่ีมากข้ึน ส่งผลให้มีการเพ่ิมข้ึนของประชากรในชุมชน ทาให้ชุมชนกลายเป็น เมืองมากขึ้นในทุกๆ ปี ท้ังการสร้างบ้านเด่ียว หมู่บ้านจัดสรร อีกท้ังบริเวณใกล้เคียงมีการตั้งโรงงาน อุตสาหกรรมมากข้ึน ส่งผลให้วิถีชีวิตแบบชนบทค่อยๆ จางหายไปกลายเป็นพ้ืนที่เมืองมากข้ึนใน สภาพชุมชนจึงเปน็ วถิ ีชีวิตก่ึงเมอื นกึง่ ชนบท 2.3 ข้อมูลดา้ นสภาพพน้ื ฐานด้านเกษตรกรรม 2.3.1 การเกษตร ลักษณะของดินในตาบลคูขวางเป็นดินรว่ น ดินเหนียว พ้นื ราบ เหมาะแก่การเพาะปลูก ขา้ วเปน็ สว่ นใหญ่ 2.3.2 การประมง คนในชุมชนบางส่วนมีการทาประมงน้าจืด คือ การเล้ียงปลาในบ่อดิน โดยส่วนใหญ่ นามาบริโภคในครวั เรอื น และบางส่วนจาหนา่ ย โดยพบมากในหมู่ 5 2.3.3 การปศุสตั ว์ การประกอบการปศุสัตวเ์ พื่อการค้าขายบ้างเล็กน้อย อาทิ การเลย้ี งโค เลย้ี งสุกร เล้ียง ไก่และเปด็ 2.3.4 ปัญหาด้านการเกษตร การทาการเกษตร เกษตรกรประสบปัญหาต้นทุนการผลิตสูง เพราะต้องซื้อเมล็ดพันธ์ุ ข้าว อีกท้ังซือ้ ปุย๋ และใช้สารเคมมี าใชใ้ นการเพาะปลกู อกี ทงั้ ยังมีปญั หาน้าน้อยในบางช่วงเวลา

7 2.4 ข้อมูลดา้ นประชากร จากการรวบรวมข้อมูลด้านประชากรตาบลคูขวาง จังหวัดปทุมธานี มีจานวนประชากรที่มี ช่ือในทะเบียนราษฎร รวมท้ังสิ้น 5,985 คน เป็นเพศชายจานวน 2,893 คนและเพศหญิง 3,092 คน มคี วามหนาแนน่ เฉลี่ย 353.42 คน / ตารางกิโลเมตร และ มี 2,855 ครวั เรือน (ข้อมูล ณ เดือนตุลาคม 2562) ตารางท่ี 1 รายงานสถติ ิจานวนประชากรของตาบลคขู วาง รายการ เพศ จานวนครวั เรอื น ชาย หญงิ 1,436 หมู่ 1 1,268 1,428 667 203 หมู่ 2 490 503 89 460 หมู่ 3 309 318 2,855 หมู่ 4 178 190 หมู่ 5 648 653 รวม 2,893 3,092 หมายเหตุ ขอ้ มลู ณ เดอื นตุลาคม 2562 2.4.2 ประเภทกลุ่มชาตพิ นั ธ์ุทม่ี ีการเปล่ียนแปลงดา้ นวัฒนธรรมของชาติพันธ์นุ ั้นๆ คนในตาบลคขู วางดง้ั เดิมส่วนหนง่ึ มเี ช้ือสายชาวมอญ แตป่ ัจจุบนั คนในชุมชน ส่วน ใหญ่เป็นคนไทยที่มาจากจังหวดั ต่างๆ เข้าต้ังบ้านเรือนในชมุ ชนกันมากข้ึน แต่ยังคงมีวัฒนธรรมของ ชาวมอญหลงเหลืออยู่บ้าง เช่น ข้าวแช่ ข้าวมธุปรายาส วัดบ่อทองท่ีมีสถาปัตยกรรมมอญด้วย ตลอดจนการทาบุญกลางบ้าน เพื่อสืบสานวัฒนธรรมประเพณีโบราณของชาวมอญ ซึ่งชาวบ้าน จะช่วยกันจัดอาหาร มาถวายพระ พร้อมกรวดน้าอุทิศให้บรรพบุรุษ และส่ิงศักด์ิสิทธ์ิเพ่ือให้คุ้มครอง หมู่บ้าน โดยได้เชิญพระมอญมาสวดมนต์ภาษามอญ ซึ่งทางตาบลพยายามอนุรักษ์วัฒนธรรม ประเพณขี องชาวมอญไว้ โดยสนับสนนุ จัดงานทุกปี ปจั จุบันการพดู ภาษามอญของคนในชุมชนได้เริ่ม สูญหายไปแล้ว 2.5 ขอ้ มูลด้านสาธารณปู โภคในระดับตาบล 2.5.1 การคมนาคม การตดิ ต่อสื่อสารภายในและภายนอกตาบล ดา้ นถนนในเขตพนื้ ที่เทศบาลตาบลคูขวาง จานวน 26 สาย ระยะทางรวม 36.73 กโิ ลเมตร แยกเป็น - ทางหลวงแผน่ ดิน หมายเลข (346) ระยะทางประมาณ 5.290 กโิ ลเมตร - ถนนคสล. จานวน 7 สาย ระยะทางประมาณ 2.25 กโิ ลเมตร - ถนนลาดยาง จานวน 13 สาย ระยะทางประมาณ 10.095 กิโลเมตร

8 - ถนนลูกรงั จานวน 9 สาย ระยะทางประมาณ 5.290 กิโลเมตร - ถนนดนิ จานวน 4 สาย ระยะทางประมาณ 1,160 กโิ ลเมตร โดยคนในตาบลส่วนใหญ่ใช้รถยนต์ รถจักรยานยนต์เป็นยานพาหนะในการเดินทาง คมนาคม ประกอบด้วยทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 346 ชื่อถนนปทุมธานี - บางเลน และทางหลวง ท้องถ่ิน และถนนเชื่อมระหว่างหมู่บ้าน/ตาบลสายต่าง ๆ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นถนนลูกรังใช้การได้ดีในฤดู แลง้ 2.5.2 การมีไฟฟ้าใช้ในตาบลและการเปลย่ี นแปลงที่มตี ่อชมุ ชนในตาบล ในพ้ืนที่ตาบลคูขวางมีการใช้ไฟฟ้าจากการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคอาเภอลาดหลุมแก้วเป็น หน่วยงานรับผิดชอบในการให้บริการจ่ายกระแสไฟฟ้าแก่ประชาชน โดยบริการไฟฟ้าทั่วถึงครบ ทุกหมู่บ้าน สง่ ผลให้เกดิ ความสะดวกสบายตอ่ ชวี ติ ความเป็นอยู่ ด้านไฟฟ้าสาธารณะ(ไฟฟา้ ส่องสว่าง)องค์การบริหารส่วนตาบลคูขวาง เป็นผรู้ ับผิดชอบ ในการติดตงั้ ซอ่ มแซมอุปกรณไ์ ฟฟ้า เพ่อื ใหแ้ สงสว่างตามถนนสาธารณะตา่ งๆ 2.5.3 การมีประปาในตาบลและการเปลี่ยนแปลงทีม่ ีต่อชมุ ชนในตาบล ด้านการประปา ส่วนแหล่งน้าท่ีใช้อุปโภคบริโภคจากประปาเป็นหลัก ทั้งส่วน ภมู ิภาคและประปาบาดาลหมบู่ ้าน ท้งั 5 หมบู่ า้ น 2.5.4 การเข้าถึงอินเทอรเ์ นต็ และการใช้ประโยชน์จากอินเทอร์เนต็ ชุมชนตาบลคูขวางสามารถเข้าถึงได้ทุกช่วงวัย จากแหล่งอินเทอร์เน็ต ได้แก่ โทรศพั พเ์ คลอื่ นที่ โทรศัพพ์บา้ น โดยใช้อินเทอร์เนต็ ส่วนบคุ ล เปน็ สว่ นใหญ่ 2.5.5 ไปรษณยี ห์ รือการสื่อสารหรือการขนสง่ และวัสดุ ครุภณั ฑ์ ในเขตพ้ืนที่ตาบลคูขวางยังไม่มีที่ทาการไปรษณีย์มีการใช้บริการในพื้นท่ีใกล้เคียง คือ ไปรษณีย์ลาดหลุมแกว้ ต้ังอยู่ในเขคพ้ืนท่ีตาบลระแหง อ.ลาดหลุมแกว้ จ.ปทมุ ธานี 2.6 ข้อมลู ด้านสงั คม 2.6.1 ลักษณะของครอบครวั ครอบครัวเดย่ี ว ครอบครัวขยาย ส่วนใหญ่มีความหลากหลายในลกั ษณะครอบครัว ท้ังครอบครัวขยาย ครอบครัวใหญ่ ครอบครัวเดี่ยวทีอ่ าศัยรว่ มกัน 2.6.2 ความสัมพันธร์ ะหวา่ งสมาชกิ ครอบครวั ซงึ่ ไปทางานท่อี ื่น ลักษณะประชากรมีทั้งวัยทางาน วัยเรียน และผู้สูงอายุอยู่ในครอบครัว และในบาง ครอบครัวมีเพยี งชอ่ื อยู่ในทะเบยี นบ้าน แตต่ วั ตนพกั อาศัยอย่ทู อี่ ่ืนเพื่อไปทางานหารายได้ 2.6.3 การรวมกลมุ่ ทางสงั คมในเชงิ พัฒนาความเข้มแขง็ ของชุมชน เทศบาลตาบลคูขวางมีการส่งเสริมสนับสนุนสวัสดิการทางสังคมให้แก่ผู้พิการและ ทุพพลภาพ และส่งเสริมการสร้างหลักประกันรายได้ตามนโยบายรัฐบาล(ผู้สูอายุ) ประจาตาบล คูขวาง เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุและผู้พิการ เบ้ียยังชีพผู้สูงอายุและผู้พิการชมรมผู้สงู อายุ กองทุนฌาปนกิจ กลุ่มออมทรพั ย์เพื่อการผลติ กองทนุ หม่บู ้าน จานวน 5 กองทนุ

9 2.6.4 ปราชญ์ชมุ ชน และภมู ปิ ญั ญาพื้นบา้ นท่ีสาคญั ไมพ่ บขอ้ มูลปราชญ์ชุมชน และภูมปิ ญั ญาพน้ื บ้านท่ีสาคัญ 2.7 ขอ้ มลู ด้านการศกึ ษา โรงเรียนประถมศึกษาจานวน1 แห่ง คือ โรงเรียนวัดบ่อทอง (ระดับอนุบาล ถึงประถมศึกษา ช้นั ปีท่ี 6) ตั้งอยูใ่ นหมูท่ ี่ 2 บ้านคลองบางหลวง ตาบลคูขวาง ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เล็ก จานวน1 แหง่ คอื ศนู ย์พัฒนาเดก็ เลก็ บา้ นบอ่ ทอง (ระดบั ปฐมวยั ) ตั้งอยู่ หม่ทู ี่ 2 บ้านคลองบางหลวง ตาบลคขู วาง โรงเรยี นเอกชนสอนศาสนาอิสลาม จานวน 1 แหง่ คือ โรงเรยี นธรรมโจน์พินิจพัฒนาต้ังอยู่ใน หมู่ที่ 5 บ้านคลองบางเตย ภาพท่ี 3 โรงเรียนวัดบอ่ ทองและศนู ย์พัฒนาเดก็ เลก็ 2.8 ข้อมลู ด้านการสาธารณสุข 2.8.1 บริการสาธารณสขุ ในตาบล มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล 1 แห่ง คือ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล คูขวาง ตั้งอยู่ในหมู่ท่ี 2 บ้านคลองบางหลวง และสถานพยาบาลเอกชน 2 แห่ง คือ คลินิกเวชกรรม มุทติ า ตงั้ อยู่ในหมู่ที่ 1 บ้านคลองบางหลวง และภาวินเี ภสชั ตั้งอยู่ในหมู่ท่ี 5 บ้านคลองบางเตย 2.8.2 บทบาทของ อสม. ทุกๆ หม่บู า้ นในตาบลคูขวางมี อสม. ในการใหบ้ ริการประชาชนชุมชน เพอื่ ใหส้ ามารถ วิเคราะห์และเข้าถึงด้านสุขภาพได้ง่ายข้ึน โดยเน้นการดูแลผู้สูงอายุ สุขภาวะชุมชน การเฝ้าระวังโรค ผูป้ ่วยติดเตียง เป็นต้น ผนู้ าชุมชนใหค้ วามสาคัญการทางานของ อสม.

10 2.9 ขอ้ มูลด้านศาสนา วัฒนธรรม ความเชอื่ และการสันทนาการ 2.9.1 ชือ่ วัดในตาบล ความเป็นมาจานวนพระภิกษุ สามเณรเสนาสนะ การปกครองคณะสงฆ์ - วัดบ่อทอง ตั้งอยู่ในหมู่ที่ 2 ตาบลคูขวาง อ.ลาดหลุดแก้ว จ.ปทุมธานี ถือเป็น ศาสนสถานท่เี ป็นท่ยี ึดเหน่ียวจิตใจของคนในตาบลคขู วาง - มัสยิดนูรุนยากีนตั้งอยู่ในหมู่ท่ี 5 ตาบลคูขวาง อ.ลาดหลุดแก้ว จ.ปทุมธานี โดย พ่ีน้องมุสลิมได้ใช้สถานท่ีแห่งน้ีเป็นท่ีประกอบศาสนกิจ และได้มีการปรับปรุงต่อเติมเร่ือยมาจนถึง ปัจจุบัน โดยภายในบริเวณเดียวกันได้มีการเปิดอกจากนี้ยังมีโรงเรียนสอนศาสนาชื่อว่า โรงเรียน ธรรมโรจน์พนิ ิจพฒั นา ส่วนใหญ่คนในชุมชนหมู่ 1 – 4 นับถือศาสนาพุทธ โดยมีการประกอบกรรมทาง ศาสนาทุกวันสาคัญของชาวพุทธท่ีวัดบ่อทอง เช่น วันเข้าพรรษา วันมาฆบูชา วิสาขบูชา อาสาฬบูชา เป็นต้น ส่วนหมู่ 5 ส่วนใหญ่นับถืออิสลาม โดยคนท่ีนับถือศาสนาอิสลามจะมีการไปประกอบ พิธีกรรมทางศาสนาทกุ วันทม่ี ัสยดิ นูรนุ ยากนี ภาพท่ี 4 มัสยิดนรู นุ ยากีน และโรงเรยี นธรรมโรจนพ์ นิ จิ พัฒนา 2.9.3 ขนบธรรมเนียม ประเพณีกีฬา และสันทนาการพื้นบ้าน อาทิเช่น การละเล่นพื้นฐาน และดนตรพี น้ื บ้าน ชว่ งเดือนเมษายน ประเพณสี งกรานต์ สรงน้าพระ รดนา้ ขอพรผูใ้ หญ่ และประเพณี จุดลูกหนู ชว่ งเดือนกรกฎาคม ประเพณีหล่อเทียนพรรษา ชว่ งเดือนตุลาคม ประเพณกี ารแข่งขนั เรือประจาปี ประเพณีตกั บาตรพระรอ้ ย ช่วงเดือนพฤษภาคม ประเพณีการทาบุญกลางบ้านเน่ืองจากคนด้ังเดิมเป็นคนมอญ ทาให้ยังมีวัฒนธรรมมอญหลงเหลืออยู่ โดยมีหน่วยงานภาครัฐระดับตาบล อบต.คูขวางยังคง สนับสนนุ ขนบธรรมเนียม เพื่อสบื สานวัฒนธรรมประเพณโี บราณของชาวมอญ ซ่ึงชาวบา้ นจะช่วยกัน จัดอาหาร มาถวายพระ พรอ้ มกรวดนา้ อทุ ศิ ให้บรรพบรุ ษุ และสง่ิ ศกั ดิ์สทิ ธเิ์ พื่อให้คมุ้ ครองหมู่บา้ น โดย ได้เชิญพระมอญมาสวดมนต์ภาษามอญส่วนอาหารพ้ืนบ้าของชาวมอญที่ทางชุมชนยังคงหลงเหลือ อนุรักษไ์ ว้ได้แก่ ขา้ วแช่มอญ และขนมเบ้ืองมอญ

11 วัฒนธรรมและความเชื่อของคนในตาบลคูขวางเป็นรูปแบบผสมผสาน กล่าวคือ มีวัฒนธรรม ไทยและวัฒนธรรมชาวมอญผสมผสานรวมกนั เนอ่ื งจากชมุ ชนแห่งน้มี ีทั้งคนไทยและคนเช้ือสายมอญ อยรู่ ่วมกนั 2.10 ข้อมลู ด้านเศรษฐกจิ 2.10.1 การประกอบอาชีพหลัก อาชีพรองของชาวบ้าน ประชากรสว่ นใหญป่ ระกอบอาชีพเกษตรกรรม ไดแ้ ก่ การทานา ทาสวน เชน่ มะพรา้ ว มะมว่ ง, ฝรงั่ พชื ผกั ปลูกพชื ผัก และรับจา้ งทางานตามโรงงานอุตสาหกรรม 2.10.2 ตลาดสาหรับผลผลิตระบบการแลกเปล่ียนส่ิงของภายในและภายนอกตาบล ประชาชนส่วนใหญ่มีการจาหน่ายผลผลิตของตนเอง โดยมีตลาดนัด ตลาดอุดมทรัพย์ โรงเรือนท่ีเป็นสถานที่ช่องทางจาหน่าย รวมท้ังมีการจาหน่ายให่กับผู้รับซื้อพ่อค้าคนกลางเพ่ือนาไป จาหน่ายตอ่ 2.10.3 สภาวะทางเศรษฐกิจในตาบล และกลุ่มเป้าหมาย รวมท้ังความคิดเป็นของชาวบ้าน ตอ่ สภาพเศรษฐกิจภายในและภายนอกตาบล ข้อเสนอแนะของชาวบา้ นตอ่ การแกไ้ ขปญั หาเศรษฐกิจ ตาบลคูขวาง มีการประกอบด้านพาณิชยกรรมเป็นจานวนมาก ได้แก่ สถานีบริการน้ามันร้านค้าขาย เคร่ืองอุปโภคบริโภค เช่น ร้านขายของชาขนาดเล็กจานวนมาก ตลอดจนร้านค้าสะดวกซื้อ และ ร้านค้าต่างๆ ในตลาดอุดมทรัพย์ร้านบริการทาผมเสริมสวย จานวน 4 แห่ง ตลอดจนมีโรงงาน อุตสาหกรรมในเขตพ้ืนท่ีเทศบาลตาบลคูขวาง มีจานวน 35 แห่ง ซ่ึงเป็นแหล่งประกอบอาชีพให้กับ คนในตาบล และมีส่วนการท่องเท่ียวที่น่ีส่วนใหญ่จะเป็นแหล่งท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้ จานวน 2 แหล่งได้แก่ ป่ินฟ้าฟาร์ม ต้ังอยู่หมู่ 3 บ้านคลองบางหลวง มีการเรียนรู้การใช้ชีวิตอย่างพอเพียง และ วิถีเกษตรแบบผสมผสาน ตลอดจนและร้านจาหน่วยอาหารต่างๆ ผลิตภัณฑ์ท้องถิ่น และมีหมู่บ้าน ชุมชนท่องเท่ียว OTOP นวัตวิถี : หมู่ท่ี 1 บ้านคลองบางหลวง ต.คูขวาง หรือทุ่งนามอญบ้านบ่อทอง เป็นแหล่งทอ่ งเท่ยี ว และการเรยี นรวู้ ถิ เี กษตรผสมผสาน อาทิ การทานาข้าว การเลี้ยงไกช่ ิงช้า อนุรักษ์ ควายไทย ไปกับบรรยากาศวถิ ีชีวติ ของชาวมอญในอดีตที่มีการจาลองขึ้นมา เชน่ แบบบ้านเครื่องใช้ใน ครัวเรือน ตลอดจนการใช้ธรรมชาติบาบัดโรค เช่น การรักษาโรคน้ิวล็อก และร้านจาหน่ายอาหาร ต่างๆ และมีการจาหน่ายอาหารพ้ืนบ้านได้แก่ ข้าวแช่ชาวมอญโบราณ ผัดไทมอญ และขนมเบื้อง มอญอกี ดว้ ย

12 ภาพที่ 5 ทุ่งนามอญบา้ นบ่อทองปน่ิ ฟ้าฟาร์ม และตลาดอดุ มทรัพย์ 2.10.5 บทบาทของกลุม่ เศรษฐกิจในชุมชน ตาบลคูขวางมีบทบาทของกลุ่มเศรษฐกิจในชุมชน อาทิเช่น กลุ่มอาชีพ กลุ่มวิสาหกิจ ชมุ ชน กลมุ่ ออมทรพั ย์ กลุม่ ธ.ก.ส. และกล่มุ ผลประโยชน์อน่ื ๆ ดังน้ี ตารางท่ี 2 กลุ่มเศรษฐกิจในชุมชนตาบลคขู วาง ลาดับ ช่ือผปู้ ระสานงานของกลุ่ม ที่อยู่ ชอื่ ผู้ประสานงานของกลุ่ม 1 วสิ าหกจิ ชมุ ชนงามศลิ ปห์ ัตถกรรมกลุ่ม เลขที่ 35/7 หมู่ที่ 1 1. นางธัณยจ์ ริ า องอาจอุดมรัตน์ สตรบี ้านบ่อทอง(สินค้าได้แก่ โอง่ ผา้ 2. นางรญั ญาภัทร์ องอาจอดุ มรัตน์ ไหม ธงตะขาบ สไบมอญ) 2 กลุ่มสตรนี า้ พริกหม่บู ้าน (นา้ พรกิ แกง หมทู่ ี่ 2 นางสารวย งามพรงิ้ “แก้วทิพย์”) 3 วสิ าหกิจชมุ ชนตลาดชมุ ชนปน่ิ ฟ้าฟาร์ม เลขท่ี 8/5 หมู่ท่ี 3 1. นายนพดล ลดั ดาแยม้ 2. นางสุรียพ์ ร แก้วภมร 4 กลมุ่ แมบ่ ้านเกษตรพอเพียง หม่ทู ี่ 3 นางราพึง จิตต์กระจา่ ง 5 กลมุ่ เพาะเห็ดนางฟา้ ภฐู าน หมู่ 4 ผใู้ หญบ่ ้านวรี ะ ชมเพลนิ ใจ 6 วิสาหกจิ ชุมชนขนมไทยมสุ ลมิ คขู วาง เลขที่ 73 หม่ทู ี่ 5 1. นางสาวอาซียะ อาดา 2. นางสาวมาเรียม มูหะหมัด

13 ลาดับ ชื่อผปู้ ระสานงานของกล่มุ ท่ีอยู่ ชื่อผปู้ ระสานงานของกลมุ่ 7 วิสาหกิจชุมชนผู้เลี้ยงปลาดกุ คลองบาง เลขที่ 37/4 หมู่ที่ 1. นายมนตรี ชน่ื กมล 2. นายรกั เกยี รติ รื่นพิทักษ์ โพธิ์ อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวดั 5 ปทมุ ธานี 2.11 ข้อมูลด้านการเมอื งและการปกครองทอ้ งถ่ิน 2.11.1 โครงสร้างการปกครองของตาบลและหมบู่ ้าน (ช่ือฝา่ ยปกครอง ผู้นากลุ่มหรือคุ้มบา้ น) โครงสร้างการบริหารงานในชุมชนแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนงานปกครอง และ สว่ นงานบริการจดั การ ส่วนงานปกครอง เป็นงานด้านอาเภอ บริหารจัดการผ่าน กานัน ผู้ใหญ่บ้าน เพื่อให้ ชุมชนเกดิ ความเข้มแขง็ โดยบรู ณาการทางานรว่ มกบั ด้านบรหิ ารจัดการโดยโครงสรา้ งการปกครองของ หมบู่ ้านประกอบดว้ ยผใู้ หญบ่ ้านดังน้ี หมู่ 1 บา้ นคลองบางหลวง คอื กานันธีรชยั ศิลาขาว หมู่ 2 บ้านคลองบางหลวง คือ นางสุภากรดงาม หมู่ 3 บ้านคลองบางหลวง คือ นายจตั วาเสภา หมู่ 4 บ้านคลองบางโพธิ์ คอื นายวรี ะชมเพลนิ ใจ หมู่ 5 บ้านคลองบางเตย คอื นายวนิ ัย ยีมนี ส่วนงานบริหารจัดการ เป็นงานขององค์การบริหารส่วนตาบลคูขวาง บริหารจัดการ งบประมาณในการพัฒนาตาบลคูขวางทุกๆ ด้าน โดยมีนายกองค์การบริหารส่วนตาบลเป็นผู้กาหนด นโยบาย ซ่ึงทางานร่วมกับผู้ใหญ่และผู้นาชุมชนในแต่ละชุมชน โครงสร้างการปกครองของตาบล คูขวาง มคี ณะผ้บู รหิ ารตาบลดังนี้ นายกเทศมนตรี คือ นายนพพร ขาวขา รองนายกเทศมนตรี คอื นายวีระ ขาวขา รองนายกเทศมนตรี คือ นายอนุชา จนั กระ เลขานกุ ารนายกเทศมนตรี คอื นายชาตรี คาใบใหญ่

14 สว่ นท่ี 3 ผลการวเิ คราะห์ศักยภาพ ปัญหา ความตอ้ งการ และประเด็นการพฒั นาเชิงพ้นื ที่ การวิเคราะหช์ มุ ชนดาเนนิ การโดยอาศัยข้อมูลทุตยิ ภูมทิ ่รี วบรวมจากฐานข้อมลู แผนพฒั นา ตาบลคูขวางของสานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอเภอลาดหลุมแก้ว แผนพัฒนาท้องถ่ินองค์การบริหาร ส่วนตาบลคูขวางและการสืบค้นจากสื่อออนไลน์ต่างๆ และดาเนินการเก็บข้อมูลปฐมภูมิจากการจัด เวทปี ระชุมผู้นาชุมชน การสมั ภาษณ์รายคนและกลุ่มในพืน้ ที่ตาบลคูขวางและผมู้ ีส่วนไดเ้ สยี นาข้อมูล ที่ได้ประมวลผล สังเคราะห์ผล แบง่ เป็นด้านดังนี้ 3.1 ศกั ยภาพในการพัฒนาตาบลคูขวาง อาเภอลาดหลมุ แก้ว จงั หวดั ปทุมธานี หมู่ท่ี 1 1. ด้านทรพั ยากรมนุษย์ หมู่ 1 มีผู้นาเข้มแข็ง นาไปสู่การรวมกลุ่ม และง่ายต่อการพัฒนา และคนในชุมชน สว่ นใหญท่ กุ ชุมชนใหค้ วามร่วมมือและความสนใจในการดาเนนิ กจิ กรรม ซ่งึ เอ้อื ต่อการส่งเสริมพัฒนา ชมุ ชน 2. ดา้ นภาคเี ครือขา่ ยในพืน้ ท่ี หมู่ 1 มีคนในชุมชนมีเครือข่ายชมรมผู้สูงอายุ โดยมีการรวมตัวเพื่อทากิจกรรม ส่งเสริมสขุ ภาพร่วมกนั ตลอดจนคนในชมุ ชนมคี วามต้องการรวมกลุม่ เพ่อื จัดต้งั กล่มุ ในอนาคต 3. ทุนทางสังคมและทนุ ทางวฒั นธรรม หมู่ 1 มีชมรมฌาปนกิจกองทุนหมู่บ้าน เป็นการร่วมกลุ่มสมาชิกเพ่ือช่วยเหลือกัน ในการสนบั สนนุ เงินสงเคราะห์เพ่ือจัดงานศพและช่วยเหลือครอบครัวผู้เสยี ชีวิต และมีกองทนุ หมู่บ้าน สามารถนาสู่การพัฒนาด้านแหล่งทุนในการจัดตั้งกลุ่มอาชีพใหม่ประชาชนในชุมชนมีส่วนร่วมในการ ทากิจกรรมของชุมชน ที่สามารถนาไปสู่การพัฒนาด้านการรวมกลุ่มเพื่อร่วมมือกันในการพัฒนา ทอ้ งถนิ่ 4. ทุนทางเศรษฐกจิ และการคา้ ขาย หมู่ 1 มีตลาดอุดมทรัพย์ (เอกชน) โดยเจ้าของตลาดมีนโยบายสนับสนุนผลิตภัณฑ์ ของกลุ่มชุมชนหมู่ 1 ให้วางขายโดยไม่คิดค่าเช่าสถานท่ี ซ่ึงสามารถเป็นช่องทางในการพัฒนาให้ ชมุ ชนได้มีการสรา้ งผลติ ภัณฑช์ มุ ชนเพื่อให้วางจาหนา่ ยในตลาดได้ 5. ทนุ ทางทรัพยากรธรรมชาติ หมู่ 1 มลี าคลองผ่านจานวน 4 สาย ไดแ้ ก่ คลองลดั วัดบ่อเงนิ คลองพระอุดม คลอง บางหลวงไหว้พระ และคลองมหาโยธา ท่ีสามารถนาไปสู่พฒั นาด้านการเกษตรกรรม ได้แก่ การปลูก พืชและเลี้ยงสัตวน์ า้

15 6. ดา้ นจัดการสิง่ แวดล้อม ขยะส่วนใหญ่มีการกาจัดโดยรถขยะของเทศบาลรับไปกาจัด และหมู่ 1 มีการคัด แยกขยะเพ่ือจาหน่ายตามครัวเรือน อีกทั้งเคยได้รับการอบรมเร่ืองการคัดแยกขยะมาบ้างเล็กน้อย สามารถนาไปสกู่ ารพัฒนาด้านการคัดแยกขยะ และการจัดการธนาคารขยะชมุ ชนได้ 7. ดา้ นองคค์ วามรู้ - 8. ด้านวัตถดุ บิ ข้าว สามารถนาไปสูก่ ารพัฒนาเปน็ ขา้ วปลอดสารพิษ พืชผักสวนครัว สามารถนาไปสู่การพัฒนาระบบการผลิตพืชอินทรีย์ และระบบการ บริหารจดั การปลกู พืชแบบครบวงจร ไม้ผล สามารถนาไปสู่การพัฒนาระบบการแปรรูป และระบบการบรหิ ารจดั การปลูก ไม้ผลแบบครบวงจร 9. ด้านผลติ ภัณฑ์ชุมชน หมู่ 1 มีข้าว และผักสวนครัว เช่น ตะไคร้ ใบมะกรูด กล้วย ท่ีมีการเพาะปลูกตาม ครัวเรอื นท่ัวไป สามารถนาไปสพู่ ัฒนาด้านผลิตภณั ฑอ์ าหาร หมทู่ ี่ 2 1. ด้านทรัพยากรมนุษย์มี - 2. ด้านภาคีเครือข่ายในพน้ื ที่ หมู่ 2 บริเวณในเขตพ้ืนที่ชุมชนเป็นจุดศูนย์รวมองค์กรภาครัฐและวัดของตาบล ไดแ้ ก่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลคูขวางเป็นเครือข่ายด้านสุขภาพ ซึ่งสามารถนาไป พฒั นา การส่งเสริมสขุ ภาพประชาชนในชมุ ชน องค์การบริหารส่วนตาบลคูขวาง เป็นเครือข่ายด้านการปกครองท้องถิ่นสามารถ นาไปพฒั นาทางดา้ นความเขม้ แขง็ ในการรวมกลุ่มประชาชน สถานีตารวจภูธรคูบางหลวง เป็นเครือข่ายด้านการปกครองที่ดูแลคนในท้องถิ่น ให้เป็นไปดว้ ยความสงบเรียบรอ้ ย โรงเรียนวัดบ่อทองและศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านบ่อทอง สามารถนาไปพัฒนาองค์ ความรู้ด้านการเผยแพร่ความรู้ การสืบสานวัฒนธรรม ขนบธรรมเนยี ม ประเพณีของชุมชนให้สบื ทอด ตอ่ ไปได้ วัดบ่อทอง สามารถนาไปพัฒนาองค์ความรู้ด้านวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณขี องชุมชน

16 3. ทนุ ทางสังคมและทนุ ทางวฒั นธรรม หมู่ 2 มีวดั บ่อทอง มีสถาปตั ยกรรมมอญผสมผสานอยู่ สามารถนาไปสกู่ ารสง่ เสริม ใหเ้ ปน็ จดุ เดน่ ดา้ นวัฒนธรรมเชิงท่องเทย่ี วของชุมชนได้ ทุ่งนามอญบ้านบ่อทอง ซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยว และการเรียนรู้วิถีเกษตรผสมผสาน มกี ารจาหนา่ ยอาหารพื้นบ้านแบบชาวมอญ อาทิ ข้าวแชม่ อญ ผดั ไทมอญ และขนมเบอ้ื งมอญ 4. ทนุ ทางเศรษฐกจิ และการค้าขาย หมู่ 2 มีทุ่งนามอญบา้ นบ่อทอง เป็นโครงการหมู่บา้ นชุมชนทอ่ งเทยี่ ว OTOP นวตั วิถี ซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร และมีการจาหน่ายสินค้าและอาหารต่างๆ ท่ีสามารถนาไปพัฒนา ดา้ นการจัดการและการนาสนิ ค้าของชุมชนออกจาหนา่ ย 5. ทุนทางทรัพยากรธรรมชาติ หมู่ 2 มีลาคลองผ่านจานวน 4 สาย ได้แก่ คลองลัดวัดบ่อเงิน คลองพระอุดม คลอง บางหลวงไหว้พระ และคลองมหาโยธา ท่ีสามารถนาไปสู่พัฒนาด้านการเกษตรกรรม ได้แก่ การปลูก พชื และเลีย้ งสตั ว์น้า 6. ด้านจัดการส่งิ แวดล้อม ขยะส่วนใหญ่มีการกาจัดโดยรถขยะของเทศบาลรับไปกาจัด เอื้ออานวยต่อ การพฒั นาสิง่ แวดลอ้ มชมุ ชน 7. ดา้ นองคค์ วามรู้ หมู่ 2 มีศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง วิถีมอญบ้านบ่อทอง ซึ่งเป็นแหล่งท่องเท่ียว ส่งเสริมการเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งสามารถนาไปสู่การพัฒนาด้านส่งเสริมการท่องเที่ยว สบื สานวัฒนธรรมของคนไทยชาวมอญในอดตี 8. ดา้ นวตั ถุดิบ หมู่ 2 มีขา้ วสามารถนาไปสู่การพัฒนาแปรรูปข้าวพัฒนาดา้ นผลติ ภณั ฑอ์ าหาร 9. ดา้ นผลติ ภณั ฑ์ชมุ ชน - หมูท่ ี่ 3 1. ดา้ นทรพั ยากรมนุษย์มี - 2. ดา้ นภาคเี ครอื ขา่ ยในพนื้ ท่ี - 3. ทุนทางสงั คมและทนุ ทางวัฒนธรรม - 4. ทุนทางเศรษฐกิจและการค้าขาย หมู่ 3 วิสาหกจิ ชุมชนตลาดชมุ ชนปนิ่ ฟา้ ฟารม์ ซง่ึ เป็นแหล่งท่องเทยี่ วเชิงเกษตร และ มีการจาหน่ายสินค้าและอาหารต่างๆ ซ่ึงสามารถนาไปพัฒนาด้านการจัดการและการนาสนิ ค้าชุมชน ออกจาหนา่ ย

17 กลุ่มแม่บ้านเกษตรพอเพียง (การเพาะเห็ดนางฟ้าภูฐาน) สามารถนาสู่การพัฒนา ดา้ นการขยายพน้ื ทโ่ี รงเรือนเพาะเหด็ และดา้ นเทคนคิ การแก้ปญั หาการติดเชอ้ื ราในการเพาะเหด็ มกี องทุนหมบู่ า้ นสามารถนาสู่การพฒั นาดา้ นแหล่งทุนในการจดั การกลุ่มอาชพี 5. ทุนทางทรัพยากรธรรมชาติ หมู่ 3 มีลาคลองผ่านจานวน 3 สาย ได้แก่ คลองลัดวัดบ่อเงิน คลองพระอุดม และ คลองบางหลวงไหว้พระ ที่สามารถนาไปสู่พัฒนาด้านการเกษตร กรรม ได้แก่ การปลูกพืชและเลี้ยง สัตวน์ า้ 6. ดา้ นจัดการสง่ิ แวดลอ้ ม ขยะส่วนใหญ่มีการกาจัดโดยรถขยะของเทศบาลรับไปกาจัด เอื้ออานวยต่อ การพัฒนาสิ่งแวดล้อมชุมชน 7. ด้านองคค์ วามรู้ หมู่ 3 มีศูนย์เรียนรู้การเกษตรผสมผสานของปิ่นป้าฟาร์ม ซึ่งเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิง นิเวศ ส่งเสริมการเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียง ซ่ึงสามารถนาไปสู่การพัฒนาด้านส่งเสริม การท่องเท่ยี วชุมชน 8. ดา้ นวัตถุดิบ หมู่ 3มีข้าว และเห็ดนางฟ้าภูฐาน โดยมีการเพาะเหด็ บางครัวเรือน สามารถนาไปสู่ พัฒนาด้านผลิตภณั ฑ์อาหาร 9. ด้านผลิตภณั ฑช์ ุมชน หมู่ 3 มีเห็ดนางฟ้าภูฐานที่ได้จากสมาชิกกลุ่มแม่บ้านเกษตรพอเพียงบางส่วน (4 ครัวเรือน) โดยสามารถผลิตได้ต่อเน่ืองและมีการรวบรวมเห็ดมาจาหน่ายรว่ มกัน แต่มีในปริมาณ ไม่มาก สามารถนาไปสู่พัฒนาดา้ นการขยายกาลงั การผลิต การขยายโรงเรอื นการเพาะเหด็ และเทคนิค การป้องกันการปนเปือ้ นของเช้อื รา หมู่ท่ี 4 1. ด้านทรพั ยากรมนุษย์ หมู่ 4 มีผู้นาเข้มแข็ง นาไปสู่การรวมกลุ่ม และง่ายต่อการพัฒนาและคนในชุมชน ส่วนใหญ่ทุกชุมชนให้ความร่วมมือและความสนใจในการดาเนินกิจกรรมซ่ึงเอ้ือต่อการส่งเสริมพัฒนา ชมุ ชน 2. ด้านภาคเี ครอื ขา่ ยในพนื้ ที่ - 3. ทุนทางสงั คมและทนุ ทางวัฒนธรรม - 4. ทุนทางเศรษฐกิจและการคา้ ขาย -

18 5. ทนุ ทางทรัพยากรธรรมชาติ หมู่ 4 มีลาคลองผ่านจานวน 4 สาย ได้แก่ คลองบางเตย คลองบางโพธ์ิ คลองลัดวัด บ่อเงิน และคลองพระอุดม ท่ีสามารถนาไปสูพ่ ัฒนาด้านการเกษตรกรรม ได้แก่ การปลูกพืชและเลีย้ ง สตั ว์น้า 6. ด้านจดั การส่งิ แวดล้อม ขยะส่วนใหญ่มีการกาจัดโดยรถขยะของเทศบาลรับไปกาจัด เอ้ืออานวยต่อ การพัฒนาสงิ่ แวดลอ้ มชมุ ชน 7. ด้านองค์ความรู้ - 8. ดา้ นวัตถดุ ิบ หมู่ 4 มขี า้ ว และเห็ดนางฟ้าภูฐาน โดยมีการเพาะเหด็ บางครวั เรือน สามารถนาไปสู่ พฒั นาด้านผลิตภณั ฑ์อาหาร 9. ดา้ นผลิตภณั ฑช์ ุมชน - หมู่ท่ี 5 1. ดา้ นทรัพยากรมนุษย์ หมู่ 5 มีผู้นาเข้มแข็ง นาไปสู่การรวมกลุ่ม และง่ายต่อการพัฒนาและคนในชุมชน ส่วนใหญ่ทุกชุมชนให้ความร่วมมือและความสนใจในการดาเนินกิจกรรมซึ่งเอื้อต่อการส่งเสริมพัฒนา ชมุ ชน 2. ดา้ นภาคีเครือขา่ ยในพ้นื ท่ี หมู่ 5 บริเวณในเขตพื้นที่ชุมชนหมู่ 5 มีโรงเรียนธรรมโรจน์พินิจพัฒนา (โรงเรียนสอน ศาสนาอิสลาม) สามารถนาไปพัฒนาองค์ความรู้ด้านการเผยแพร่ความรู้ การสืบสานวัฒนธรรม ขนบธรรมเนยี ม ประเพณขี องชุมชนใหส้ บื ทอดต่อไปได้ 3. ทนุ ทางสงั คมและทนุ ทางวัฒนธรรม หมู่ 5 มีมัสยิดนูรุ้นยากีน เป็นสถานที่ศูนย์รวมจิตใจและประกอบพิธีกรรมของชาว มุสลิมในพ้ืนท่ีหมู่ 5 และบริเวณใกล้เคียง สามารถนาไปสู่การนัดพบหรือรวมกลุ่มคนในการทา กิจกรรมโครงการเพอ่ื ร่วมมอื กนั ในการพฒั นาท้องถ่ินได้ 4. ทนุ ทางเศรษฐกิจและการค้าขาย หมู่ 5 มีวิสาหกิจชุมชนขนมไทยมุสลิมคูขวาง สามารถนาไปสู่การพัฒนาด้าน การพฒั นาคณุ ภาพของผลติ ภณั ฑ์ขนมไทยชนิดต่างๆและบรรจภุ ัณฑ์ มีวิสาหกิจชุมชนผู้เลี้ยงปลาดุกคลองบางโพธิ์ โดยมีการเพาะเล้ียงปลาดุกเพื่อ จาหน่าย ตลอดจนมีการทาปลาดุกแดดเดียวจาหน่าย สามารถนาไปสู่การพัฒนาด้านการพัฒนา คุณภาพของผลิตภัณฑ์ปลาดกุ แดดเดยี วและบรรจภุ ณั ฑ์ มีกลุม่ ผลติ นา้ พริกปลาป่น (ยงั ไมม่ กี ารขน้ึ ทะเบียนจัดต้ังกลุ่มอาชพี ) ขณะน้มี กี ารจัด จาหน่ายในท้องตลาดในชุมชนและจาหน่ายให้ชาวมุสลิมที่เดินทางไปแสวงบุญ ณ ต่างประเทศ

19 สามารถนาไปพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ได้การรับรองมาตรฐานอาหาร เพื่อยกระดับภูมิปัญญา รวมถึง พฒั นาการจัดการสถานทผ่ี ลิต มีกองทุนหมูบ่ า้ น สามารถนาสูก่ ารพัฒนาด้านแหลง่ ทุนในการจดั การกลุม่ อาชพี 5. ทนุ ทางทรพั ยากรธรรมชาติ หมู่ 5 มีลาคลองผ่านจานวน 4 สาย ได้แก่ คลองบางเตย คลองบางโพธ์ิ คลองลัดวดั บ่อเงิน และคลองพระอุดม ท่ีสามารถนนาไปสู่พัฒนาด้านการเกษตรกรรม ได้แก่ การปลูกพืชและ เลย้ี งสตั วน์ า้ 6. ด้านจดั การส่งิ แวดลอ้ ม ขยะส่วนใหญ่มีการกาจัดโดยรถขยะของเทศบาลรับไปกาจัด เอ้ืออานวยต่อ การพัฒนาสง่ิ แวดลอ้ มชุมชน 7. ดา้ นองคค์ วามรู้ - 8. ดา้ นวตั ถดุ บิ หมู่ 5 มีข้าว ปลาดุกท่ีได้จากการเพาะเล้ียง สามารถนาไปสู่พัฒนาด้านผลิตภัณฑ์ แปรรูปอาหารได้ 9. ด้านผลิตภัณฑ์ชุมชน หมู่ 5 มผี ลติ ภณั ฑน์ า้ พรกิ ปลาป่น ปลาดกุ แดดเดียว ขนมไทย ป้ันสบิ ทอด นา้ พริกเผา ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนขนมไทยมุสลมิ คูขวาง วิสาหกิจชุมชนผูเ้ ลยี้ งปลาดุกคลองบางโพธ์ิ โดยมีการ ผลติ เพือ่ จาหนา่ ยตอ่ เนอื่ ง สามารถนาไปสพู่ ัฒนาดา้ นตา่ งๆ ดังนี้ - การพฒั นาคุณภาพของผลิตภณั ฑ์ขนมไทยชนดิ ตา่ งๆ บรรจภุ ณั ฑ์ และการตลาด - การพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑป์ ลาดุกแดดเดยี ว บรรจภุ ณั ฑ์ และการตลาด - การพัฒนาผลิตภัณฑ์น้าพริกปลาป่นให้ได้การรับรองมาตรฐานอาหาร รวมถึง พัฒนาการจัดการสถานท่ีผลิต เพื่อยกระดับภูมิปัญญา และการตลาด ตลอดจนจัดต้ังกลุ่มสัมมาชีพ หรอื วสิ าหกิจชุมชน

20 3.2 แผนทีแ่ สดงศกั ยภาพด้านต่างๆ ของแตล่ ะหมู่บา้ นในตาบล จากการวิเคราะห์จากศักยภาพชุมชนตาบคูขวางท้ัง 5 หมู่บ้าน สามารถสรุปศักยภาพชุมชน ดงั ภาพที่ 5 ภาพท่ี 6 ศักยภาพชมุ ชนในตาบลคขู วาง

21 3.3 ปัญหาและความต้องการในพ้ืนที่ ตาบลคูขวาง อาเภอลาดหลุมแก้วจังหวัด ปทมุ ธานี หมู่ท่ี 1 1. ดา้ นทรัพยากรมนุษย์มีปัญหา - 2. ด้านภาคีเครือขา่ ยในพ้ืนท่มี ปี ญั หา - 3. ด้านทนุ ทางสงั คมและทนุ ทางวัฒนธรรมมีปัญหา - 4. ด้านทุนทางเศรษฐกจิ และการคา้ ขายมปี ญั หา - 5. ดา้ นทนุ ทางทรัพยากรธรรมชาตมิ ีปญั หา - 6. ด้านจดั การสง่ิ แวดล้อมมีปญั หา - 7. ดา้ นองคค์ วามรู้ - 8. ดา้ นวตั ถุดบิ - 9. ด้านผลิตภัณฑช์ ุมชน หมู่ 1 ไม่มีผลิตภัณฑ์ชุมชน แต่ขณะน้ีมีความต้องการรวมกลุ่มอาชีพและสร้าง ผลิตภัณฑ์ชุมชนที่มีการนาเอาวัตถุดิบและอุปกรณ์ที่มีในครัวเรือนมาใช้ประโยชน์ ตลอดจนเป็น ผลติ ภณั ฑท์ ่คี นทวั่ ไปนิยมชื้อนามาบรโิ ภคกัน และสามารถนามาจาหน่ายได้ในตลาดอุดมทรัพย์ (ตลาด ในชุมชน) ตามนโยบายของตลาดท่ีสนับสนุนให้นาผลิตภัณฑ์ชุมชนหมู่ 1 วางจาหน่ายได้โดยไม่คิด ค่าใช้จ่าย ชุมชนขาดองค์ความรู้ในการรวมกลุ่ม และการพัฒนาผลิตภัณฑ์ จาเป็นต้องการให้องค์ ความรู้ เรื่องกระบวนการรวมกลุม่ และการพัฒนาผลิตภัณฑช์ มุ ชน เพื่อสรา้ งชุมชนเขม้ แขง็ หมทู่ ่ี 2 1. ดา้ นทรัพยากรมนุษย์มีปัญหา หมู่ 2 จาเปน็ ตอ้ งทาความเขา้ ใจในโครงการรว่ มกันกับผู้นาเพ่ิมเติม และจาเป็นต้อง สรา้ งการรบั รู้ให้กบั คนในชุมชน โดยการเข้าถึงตวั แทนหรือคนในชุมชนโดยตรงมากข้นึ 2. ดา้ นภาคเี ครือข่ายในพืน้ ท่ีมีปญั หา หมู่ 2 มีปัญหาด้านคนในชุมชนต่างคนต่างอยู่ จาเป็นต้องสร้างการรับรู้ให้ชาวบ้าน ชใ้ี หเ้ หน็ ถงึ ผลสาเร็จและประโยชนแ์ ก่ชมุ ชนและตนเอง

22 3. ด้านทนุ ทางสงั คมและทนุ ทางวัฒนธรรมมปี ัญหา - 4. ด้านทนุ ทางเศรษฐกิจและการค้าขายมปี ญั หา หมู่ 2 มกี ลุม่ สตรีนา้ พริกหมู่บ้าน (น้าพรกิ แกง “แกว้ ทพิ ย์”) มีลกั ษณะกจิ กรรมกลุ่ม ยังไมจ่ รงิ จงั มากนกั จงึ จาเป็นต้องได้รับการพัฒนาการดาเนินงานกิจกรรมกลุ่มให้เกดิ ข้ึนอยา่ งจรงิ จัง 5. ด้านทนุ ทางทรัพยากรธรรมชาตมิ ีปัญหา - 6. ด้านจดั การสิง่ แวดลอ้ มมีปญั หา - 7. ด้านองคค์ วามรู้ - 8. ดา้ นวตั ถดุ ิบ - 9. ดา้ นผลิตภณั ฑช์ มุ ชน หมู่ 2 น้าพรกิ แกง ของกลมุ่ สตรนี า้ พริกหมบู่ า้ น (น้าพริกแกง “แกว้ ทิพย์”) มปี ญั หา ด้านการรวมกลุ่ม หรือกาลังคนผลิต ขณะน้ีมีผู้ผลิตเพียง 3 คน จึงมีกาลังการผลิตได้ตามคาส่ังซ้ือ เท่านัน้ ควรมีการชใ้ี ห้เห็นถงึ ความสาคญั ของการมีผลติ ภณั ฑช์ มุ ชนและก่อให้เกิดรายไดเ้ พ่ิม หมทู่ ่ี 3 1. ด้านทรพั ยากรมนุษย์มปี ัญหา หมู่ 3 ผู้นาเข้ามาดารงตาแหน่งผู้ใหญ่บ้านใหม่ จาเป็นต้องสร้างความเข้าใจใน โครงการร่วมกนั เพม่ิ เติม 2. ด้านภาคเี ครือข่ายในพน้ื ทมี่ ปี ญั หา - 3. ดา้ นทุนทางสังคมและทนุ ทางวัฒนธรรมมีปัญหา - 4. ด้านทนุ ทางเศรษฐกิจและการค้าขายมีปัญหา - 5. ด้านทนุ ทางทรัพยากรธรรมชาติมีปัญหา - 6. ด้านจดั การสงิ่ แวดล้อมมีปัญหา - 7. ดา้ นองค์ความรู้ - 8. ด้านวัตถดุ ิบ -

23 9. ด้านผลิตภณั ฑช์ มุ ชน - หมทู่ ี่ 4 1. ดา้ นทรพั ยากรมนุษย์มปี ัญหา - 2. ดา้ นภาคีเครอื ขา่ ยในพ้นื ท่ีมีปญั หา หม4ู่ มปี ัญหาด้านคนในชุมชนตา่ งคนตา่ งอยู่ ต้องสร้างการรับรใู้ หช้ าวบ้าน ช้ีใหเ้ ห็น ถึงผลสาเร็จและประโยชนแ์ ก่ชุมชนและตนเอง 3. ดา้ นทนุ ทางสังคมและทนุ ทางวัฒนธรรมมปี ัญหา - 4. ดา้ นทุนทางเศรษฐกจิ และการคา้ ขายมปี ญั หา หมู่ 4 กลุ่มเพาะเห็ดนางฟ้าภูฐาน ท่ีจาเป็นต้องได้รับการพัฒนาการดาเนินงาน กจิ กรรมกลมุ่ ให้เกดิ ข้ึนอยา่ งจริงจัง 5. ดา้ นทุนทางทรพั ยากรธรรมชาตมิ ีปญั หา - 6. ดา้ นจดั การส่ิงแวดลอ้ มมีปัญหา - 7. ดา้ นองคค์ วามรู้ - 8. ดา้ นวัตถุดิบ - 9. ด้านผลติ ภัณฑช์ ุมชน หมู่ 4 เห็ดนางฟ้าภูฐาน ของกลุ่มแม่บ้านเกษตรพอเพียงมีปัญหาด้านการรวมกลุ่ม หรือกาลังคนผลิต และจาเป็นจะต้องสร้างกระบวนการเรียนรู้การรวมกลุ่มเพ่ือให้ชุมชนเข้มแข็งและ ชใ้ี ห้เหน็ ถึงความสาคัญของการมผี ลติ ภณั ฑช์ มุ ชนและก่อให้เกิดรายไดเ้ พิ่ม หมู่ท่ี 5 1. ดา้ นทรพั ยากรมนุษย์มปี ัญหา - 2. ด้านภาคีเครือขา่ ยในพน้ื ที่มีปัญหา - 3. ด้านทุนทางสังคมและทนุ ทางวัฒนธรรมมปี ัญหา - 4. ด้านทุนทางเศรษฐกจิ และการค้าขายมปี ญั หา -

24 5. ดา้ นทนุ ทางทรัพยากรธรรมชาตมิ ีปญั หา - 6. ด้านจดั การสิ่งแวดล้อมมีปญั หา หมู่ 5 ในแม่น้าลาคลองมีภูมิทัศน์ไม่สวยงาม ตลอดจนมีวัชพืชและขยะ จาเป็นต้อง มกี ารปรบั ปรงุ ภมู ิทศั นส์ ิ่งแวดล้อมชุมชน 7. ด้านองค์ความรู้ - 8. ดา้ นวัตถุดบิ - 9. ดา้ นผลิตภัณฑช์ มุ ชน หมู่ 5 มีการผลิตนา้ พรกิ ปลาปน่ ปัจจบุ นั มีการจัดจาหน่ายในท้องตลาดชมุ ชน แต่ยัง ต้องการการพัฒนาให้น้าพริกมีคุณภาพมากขึ้น รวมถึงพัฒนาการจัดการสถานที่ผลิต เพ่ือให้ ผลิตภณั ฑใ์ หไ้ ดก้ ารรบั รองมาตรฐานอาหาร 3.4 ประเด็นการพัฒนาเชิงพ้ืนที่ตาบลคูขวาง อาเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี การกาหนดประเด็นการพัฒนา วิเคราะห์จากศักยภาพชุมชน ปัญหาและความต้องการของ ชุมชนตาบลคูขวาง ท้ัง 5 หมู่บ้าน สามารถสรุปศักยภาพชุมชนดังภาพท่ี 5 (หน้า 24) สามารถสรุป ประเด็นการพฒั นาได้ 7 ประเด็นดงั น้ี 1. การพฒั นาสนิ ค้าชุมชน - หมู่ที่ 1 (นา้ พริกแกงและผลติ ภณั ฑ์แปรรูปจากพรกิ แกง) จานวนกลุ่มเปา้ หมาย 20 คน โดยต้องการสูตรนา้ พริกแกงมาตรฐานและผลติ ภณั ฑ์แปรรูปจากนา้ พริกแกง,การพฒั นาตราสินค้า และบรรจภุ ัณฑ์ และการดงู านกลมุ่ อาชพี ทีป่ ระสบความสาเร็จ - หมู่ที่ 3 (ปลูกเห็ด) กลุ่มเป้าหมาย 4 คน ท่ีต้องการขยายกาลังการผลิตจากเดิมท่ีมี อยูแ่ ลว้ ได้แก่ โรงเรอื นเพาะเห็ด การแก้ปัญหาเชือ้ รา - หมู่ท่ี 4 (ปลูกเห็ด) กลุ่มเป้าหมาย 1 ครัวเรือน ที่ต้องการส่งเสริมเร่ืองช่องทาง การตลาดเพอื่ นาเห็ดท่เี พาะได้มาจาหน่าย - หมู่ท่ี 5 (น้าพริกปลาป่น) กลุ่มเป้าหมาย 7 คน ท่ีต้องการเตรียมความพร้อมเพื่อให้ นา้ พรกิ ปลาป่นของชุมชนพัฒนาสกู่ ารรบั รองมาตรฐาน โดยแยกประเด็นการพัฒนา ได้แก่ การอบรม การรับรองมาตรฐานอาหาร, การดูงานกลุ่มอาชีพที่ประสบความสาเร็จ, การพัฒนาสูตรน้าพริกปลา ป่น, การอบรมการคานวณคณุ ค่าทางโภชนาการอยา่ งง่าย และการตรวจวิเคราะหท์ างโภชนาการ - หมู่ท่ี 5 (ขนมปน้ั สิบทอด) กล่มุ เปา้ หมาย 7 คน โดยตอ้ งการพัฒนาสูตรขนมปั้นสิบ ทอด, การพัฒนาตราสินค้าและบรรจภุ ณั ฑ์ และการดงู านกลุม่ อาชีพท่ีประสบความสาเร็จ

25 2. การสร้างกลมุ่ อาชีพ - หมู่ที่ 1 (น้าพริกแกงและผลิตภัณฑ์แปรรปู จากพรกิ แกง) จานวนกลุ่มเป้าหมาย 20 คน โดยต้องการจัดตั้งกลุ่มอาชีพให้ชัดเจน จากเดิมท่ียังไม่มีการจัดต้ังกลุ่มและไม่มีสินค้าของชุมชน เพือ่ สร้างผลติ ภัณฑช์ ุมชนเพือ่ จาหน่ายและสง่ เสรมิ รายไดใ้ ห้กับคนในชมุ ชน - หมู่ท่ี 5 (น้าพริกปลาป่น) กลุ่มเป้าหมาย 7 คน โดยต้องการจัดต้ังกลุ่มอาชีพ อย่างเปน็ ทางการ เพ่อื การดาเนินกิจกรรมกล่มุ มีความเข้มแขง็ มากขึ้น 3. การสง่ เสริมวิสาหกิจชมุ ชน - หมู่ที่ 5 (การเลี้ยงปลาดุก) กลุ่มเป้าหมาย 19 คนโดยต้องการส่งเสริมคุณภาพ การเลี้ยงปลาดุกให้ได้มาตรฐาน เพอื่ พัฒนาคุณภาพการแปรรูปปลาดุกแดดเดียว ซง่ึ แต่เดมิ มีการผลิต อยู่แล้วการพัฒนาวิธีในการตากแดดให้แห้งเร็วกว่าปกติ เน่ืองจากผลของกลิ่นปลาสด ให้มีคุณภาพ และการพฒั นาตราสินคา้ และบรรจภุ ณั ฑ์ 5. การปรับปรงุ ภูมิทศั น์ - หมู่ 5 จานวนกลุ่มเป้าหมายคือ คนในชุมชนโดยทาความสะอาดถนนในชุมชน บรเิ วณหน้าทีอ่ ย่อู าศยั รมิ นา้ ลาคลองให้บริเวณชมุ ชนมีภมู ทิ ัศน์ทส่ี วยงาม 6. การส่งเสริมสุขภาพ - หมูท่ ่ี 1 จานวน 20 คน ตอ้ งการสรา้ งกิจกรรมทสี่ ่งเสรมิ สขุ ภาพให้กับผู้สงู อายุ อาทิ การให้ความรู้ การอบรมในเรือ่ งทีผ่ ูส้ งู อายุสนใจ เป็นต้น 7. การส่งเสริมครัวเรอื นพอเพยี ง - หมู่ท่ี 1 กลุ่มเป้าหมาย 20 คน โดยต้องการอบรมการปลกู ผักแบบปลอดสารพิษใน ครัวเรือนและชุมชน มุ่งให้การปลูกผักในครัวเรือนลดรายจ่ายต่อวันลง ซึ่งจะทาให้รายได้คงเหลือ มากขน้ึ และสามารถจาหน่ายเพือ่ เพิ่มรายไดห้ ากมีผลผลติ ปริมาณมาก

26 สว่ นที่ 4 รปู แบบการพฒั นาชุมชนนวัตกรรม จากข้อมูลสรุปประเด็นการพัฒนาท้ัง 7 ประเด็น บางประเด็นสามารถดาเนินการได้แบบ เร่งด่วน ส่วนบางประเด็นมหาวิทยาลัยไม่สามารถดาเนินการได้ สามารถนาเสนอต่อให้หน่วยงาน ภาครัฐในภาคีเครือข่ายพิจารณาดาเนินตามกรอบหนว่ ยงานเท่าน้ัน ในส่วนท่ีมหาวิทยาลัยดาเนินการ ต่อได้ จดั ทาในรปู แบบการพัฒนาชมุ ชนนวัตกรรมที่มีทั้งหมด 8 ประเด็น ดังนี้ 1. สร้างผนู้ าการเปลีย่ นแปลง 2. พัฒนาจติ อาสา เพิ่มการมสี ่วนร่วมพฒั นา 3. ครวั เรอื นพอเพียง 4. สบื สานวัฒนธรรมชุมชน 5. สขุ ภาพดี สวสั ดิการท่วั ถึง 6. เกษตรปลอดภยั 7. วิสาหกิจชมุ ชนเขม้ แข็ง 8. ส่ิงแวดล้อมดี ชมุ ชนสวยงาม การพัฒนาชุมชนตาบลคูขวางสามารถดาเนินการตามรูปแบบการพัฒนาชุมชนนวตั กรรมโดย มุ่งเน้นการใช้วิสาหกิจชมุ ชนเข้มแข็งนาการพัฒนาและขยายผลพัฒนาต่อในประเด็นอ่ืนๆ ดังภาพท่ี 7 และภาพที่ 8 ดงั นี้ ภาพที่ 7 รูปแบบการพัฒนาชุมชนนวัตกรรมตาบลคขู วาง

27 ภาพที่ 8 รูปแบบกจิ กรรมการพฒั นาชุมชนนวัตกรรมตาบลคูขวาง จากภาพที่ 7 สรุปได้ว่าการดาเนินงานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถ่ิน สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยสามารถดาเนินการได้ท้ังหมด ประเด็นตามรายละเอียดใน ภาพ เพื่อมุ่งเน้นการสร้างผู้นาในการพัฒนาท่ีเรียกว่า “นวัตกรชุมชน” สร้างการเปล่ียนแปลงผ่าน กิจกรรมสร้างการเรียนรู้จิตอาสา เพ่ือถ่ายทอดประสบการณ์จากผู้สร้างการเปล่ียนแปลงชุมชน จากรุ่นสูร่ ุน่ เพื่อสง่ เสริมคนรุ่นใหม่มสี ว่ นร่วมพัฒนาชมุ ชน สง่ เสริมการพฒั นาชุมชนนวัตกรรมวสิ าหกิจ ชุมชนเขม้ แข็งตาบลคขู วางใน 3 มิติ ดังนี้ (ภาพท่ี 8) 1. มติ ิการพัฒนาเศรษฐกจิ กิจกรรมส่งเสริมการยกระดับขีดความสามารถของกลุ่มอาชีพ โดยเน้นกระบวนการ มีส่วนร่วม ได้แก่ - การพัฒนาสินค้าชุมชน ได้แก่ การผลิตน้าพริกแกงหมู่ท่ี 1 กิจกรรมมุ่งการอบรมเชิง ปฏิบัติการเร่ือง น้าพริกแกงและผลิตภัณฑแปรรูปจากน้าพริกแกง, การพัฒนาตราสินค้าและ บรรจุภัณฑ์ และการดูงานกลุ่มอาชีพท่ีประสบความสาเร็จ ซึ่งถือเป็นกิจกรรมการรวมกลุ่มพื่อพัฒนา ใหเ้ กดิ สินค้าของชุมชน - เตรยี มความพร้อมเพือ่ พฒั นาผลติ ภณั ฑ์สู่การรบั รองมาตรฐาน (นา้ พรกิ ปลาป่น) หมู่ที่ 5 กิจกรรมมุ่งการอบรมการรับรองมาตรฐานอาหาร, การดูงานกลุ่มอาชีพท่ีประสบความสาเร็จ, การพัฒนาสูตรน้าพริกปลาป่น, การอบรมการคานวณคุณค่าทางโภชนาการอย่างง่าย และการตรวจ วเิ คราะหท์ างโภชนาการ ซง่ึ ถือเปน็ กิจกรรมพัฒนากล่มุ เพอ่ื พัฒนาสนิ ค้าของชุมชนให้มีคุณภาพยงิ่ ขนึ้

28 2. มติ ิการพัฒนาสงั คม กิจกรรมส่งเสริมสังคมพอเพียงอย่างมีส่วนรว่ มของคนในชุมชน โดยการส่งเสริมการปลูก ผักเป็นวัตถุดิบในการผลิตพริกแกงของหมู่ที่ 1 และการนาปลาที่เพาะเลี้ยงเพ่ือบริโภคในชุมชน มาแปรรปู เป็นน้าพริกปลาปน่ จาหนา่ ยเพ่มิ รายไดข้ องหมู่ที่ 5 ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 3. มติ ิการพัฒนาสง่ิ แวดล้อม กิจกรรมการปรับภูมิทัศน์หมู่ที่ 5 ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของคนในชุมชน เพื่อร่วมรักษา สง่ิ แวดล้อม