รายงานโครงการยกระดับคุณภาพชวี ิตชุมชนและท้องถน่ิ (โครงการระยะท่ี 1) ตาบลทุ่งมหาเจรญิ อาเภอวังนาเย็น จังหวดั สระแกว้ อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา และคณะ คณะเทคโนโลยกี ารเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถมั ภ์ ประจาปงี บประมาณ 2563
รายงานโครงการยกระดบั คุณภาพชีวติ ชุมชนและทอ้ งถน่ิ (โครงการระยะท่ี 1) ตาบลทงุ่ มหาเจรญิ อาเภอวังนาเยน็ จังหวดั สระแกว้ อาจารย์ ดร.นชุ รฐั บาลลา ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.คมกฤษณ์ แสงเงิน อาจารยธ์ นา กวั่ พานชิ อาจารยว์ ราวฒุ ิ คาพานุช คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ประจาปีงบประมาณ 2563
ก กิตติกรรมประกาศ รายงานโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถ่ิน สิ่งแวดล้อม และ วัฒนธรรม ในกิจกรรมสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานราชการที่เก่ียวข้อง ศึกษาชุมชน และจัดทา ฐานข้อมูลตาบล และจัดทาแผนปฏิบัติการเพ่ิมรายได้ยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน ตาบล ทุ่งมหาเจริญ อาเภอวังนาเย็น จังหวัดสระแก้ว (โครงการระยะท่ี 1) คณะผู้ดาเนินโครงการขอกราบ ขอบพระคุณผู้ว่าราชการจังหวัดสระแก้ว สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด และหน่วยงานราชการระดบั จังหวัดสระแก้ว นายอาเภอวังนาเย็น สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ สานักงานเกษตรอาเภอ และ หน่วยงานราชการระดับอาเภอวังนาเย็น คณะผู้บริหารมหาวิทยาลัย ผู้บริหาร คณาจารย์และ เจ้าหน้าที่คณะเทคโนโลยีการเกษตร และมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สระแกว้ องคก์ ารบริหารสว่ นตาบลทุ่งมหาเจริญ กานันตาบลทุ่งมหาเจริญ ผู้ใหญ่บ้านทกุ หม่บู า้ น และ ผู้นากลุ่มต่าง ๆ ที่ให้คาแนะนา และสนับสนุนการดาเนินโครงการ และขอขอบคุณประชาชนตาบล ทุ่งมหาเจริญท่ีให้ความร่วมมือในการทากิจกรรม ทาให้โครงการสามารถจัดทาแผนปฏิบัติการ เพ่ิมรายได้ยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนตาบลทุ่งมหาเจรญิ อาเภอวังนาเย็น จังหวัดสระแก้ว (โครงการระยะท่ี 1) ได้สาเร็จลุลว่ งไปด้วยดี อาจารย์ ดร.นุชรัฐ บาลลา และคณะ คณะเทคโนโลยีการเกษตร ปีพทุ ธศักราช 2563
สารบญั ข กิตติกรรมประกาศ หน้า สารบญั ก สารบญั ตาราง ข สารบญั ภาพ ค ส่วนท่ี 1 บทนา ง ส่วนที่ 2 ผลการศกึ ษาชุมชนเบืองตน้ ในระดับตาบล 1 สว่ นที่ 3 ผลการวิเคราะห์ศักยภาพ ปญั หา/ความตอ้ งการ และประเดน็ การพฒั นาเชิงพนื ที่ 4 14 3.1 ผลการวเิ คราะหศ์ ักยภาพในการพัฒนาตาบล 14 3.2 การวิเคราะห์ SWOT ของพนื ทีต่ าบล 49 3.3 ปญั หาและความต้องการในพนื ท่ีตาบล 52 3.4 ประเดน็ การพฒั นาเชิงพืนที่ตาบล 55 ส่วนที่ 4 รปู แบบการพฒั นาชมุ ชนนวตั กรรม 58
สารบัญตาราง ค ตารางท่ี หน้า 1 ตารางแสดงจานวนวัด/สานกั สงฆ์/คริสตจักร/มัสยิดในตาบลท่งุ มหาเจริญ 10 2 ตารางแสดงสถิตทิ ะเบียนราษฎร์ประชากรในพืนท่ตี าบลทุ่งมหาเจรญิ 13
สารบัญภาพ ง ภาพที่ หน้า 1 แผนท่ีแสดงแหล่งท่องเท่ียวและภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ แต่ละหมบู่ ้านในตาบลทุ่งมหาเจริญ 9 2 แผนท่ีแสดงจานวนวดั /สานักสงฆ์/ครสิ ตจกั ร/มัสยดิ ในตาบลทงุ่ มหาเจริญ 9 3 รูปแบบการพัฒนาชมุ ชนนวตั กรรมตาบลทุ่งมหาเจริญ 58 4 รูปแบบกจิ กรรมการพัฒนาชุมชนนวตั กรรมเกษตรปลอดภยั ตาบลทงุ่ มหาเจรญิ 59
1 ส่วนที่ 1 บทนา 1.1 หลกั การและเหตผุ ล ต า ม ที่ ภ า ค รั ฐ ไ ด้ เ ช่ื อ ม โ ย ง เ ป้ า ห ม า ย ก า ร พั ฒ น า ที่ ยั่ ง ยื น ข อ ง ส ห ป ร ะ ช า ช า ติ เ ข้ า กั บ แผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 - 2580) และยุทธศาสตร์เกษตรและสหกรณ์ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560 - 2579) ของประเทศไทย โดยน้อมนาเอาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่เน้นการ พัฒนาแบบย่ังยืน โดยคานึงถึงส่ิงแวดล้อมท่ีอยู่ และใช้หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระบรม ชนกาธเิ บศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร (รชั กาลท่ี 9) มาเป็นแนวทางในการดาเนิน นโยบาย เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิต และยกระดับรายได้ของประชาชน แก้ไขปัญหาเชิงโครงสร้างการ ผลิตภาคเกษตร เสริมสร้างความมั่นคงทางอาหาร พัฒนาโภชนาการและความปลอดภัยด้านอาหาร เพื่อนาไปสู่ความมั่นคง ม่ังคั่ง และย่ังยืน ของประชาชนและประเทศชาติ ซ่ึงพระบาทสมเด็จ พระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 10) ทรงมี พระปณิธานแน่วแน่ท่ีจะสานต่อโครงการในพระราชดาริของพระราชบิดา เพ่ือช่วยเหลือประชาชน ให้มีคุณภาพชวี ติ ทีด่ ขี ึน มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นมหาวิทยาลัยที่พระราชา ประสงค์ให้เป็นมหาวิทยาลัยเพ่ือการพัฒนาท้องถิ่น ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ. 2547 มาตรา 7 ท่ีระบุให้มหาวิทยาลัยเป็นสถาบันอุดมศึกษา เพ่ือการพัฒนาท้องถ่ินเสริมพลัง ปัญญาของแผ่นดิน ซ่ึงสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์เพื่อยกคุณภาพมาตรฐานมหาวิทยาลัยราชภัฏ สู่คุณภาพเป็นเลิศ โดยมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพบัณฑิตสู่นักปฏิบัติอย่างมืออาชีพ การยกคุณภาพ มาตรฐานชีวิตของชุมชน ท้องถิ่น และพืนที่ให้มีความเข้มแข็งและย่ังยืน พร้อมทังสอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์และถ่ายทอดเผยแพร่ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ โดยมี กลยุทธ์ในการสร้างเครือข่ายชุมชนนักปฏิบัติจากภายในและภายนอก เพ่ือร่วมกันศึกษาแก้ไขปัญหา ของชุมชนท้องถ่ินและเสริมพลังให้ชุมชนท้องถ่ินสามารถดารงอยู่ได้อย่างย่ังยืน ให้ความสาคัญในการ พฒั นาชุมชน และทอ้ งถนิ่ ดังนัน คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูถัมภ์ จึงได้จัดทาโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถ่ิน ในพืนท่ีตาบลทุ่งมหาเจริญ อาเภอ วังนาเย็น จังหวัดสระแก้ว โดยมีเป้าหมายเพ่ือให้คนในชุมชนสามารถบริหารจัดการชีวิตตนเองได้ อย่างสมดุลและมีความเหมาะสม สามารถดารงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ร่วมกับ การสง่ เสริมภมู ิปญั ญาท้องถิน่ เพิ่มคณุ คา่ และมูลคา่ เสริมเศรษฐกจิ ฐานรากในชมุ ชนให้มีความเข้มแข็ง มั่นคง นาไปสู่การพ่ึงพาตนเองและช่วยเหลือเกือกูลกันในชุมชนได้อย่างย่ังยืน ส่งผลให้ชุมชนหมู่บา้ น มีคุณภาพชวี ติ และรายไดท้ ี่เพม่ิ ขึน
2 1.2 วัตถปุ ระสงค์ของการสารวจลงพนื ที่ชุมชนในระดับตาบล และกลุ่มเปา้ หมาย 1) เพื่อสร้างความร่วมมือกับเครือข่ายประชารัฐ อาทิ ส่วนระดับอาเภอ ปกครองอาเภอ วังนาเย็น พัฒนาการอาเภอ เกษตรอาเภอ ส่วนระดับท้องถ่ินและท้องที่ องค์การบริหารส่วนตาบล ทุ่งมหาเจริญ กานัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นากลุ่มต่าง ๆ ในชุมชน และหน่วยงานเอกชนในพืนท่ีท่ีมีส่วน เกย่ี วข้องกบั การพัฒนาคุณภาพชวี ติ ชุมชนตาบลทงุ่ มหาเจรญิ อาเภอวงั นาเยน็ จังหวัดสระแกว้ 2) เพื่อสารวจบริบทชุมชน ครัวเรือนเป้าหมาย และจัดทาฐานข้อมูลตาบลทุ่งมหาเจริญ อาเภอวังนาเยน็ จงั หวัดสระแกว้ 3) เพื่อจัดทาแผนปฏิบัติการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในพืนท่ีตาบลทุ่งมหาเจริญ อาเภอวังนาเยน็ จงั หวัดสระแกว้ 1.3 ขอบเขตการสารวจลงพนื ทชี่ มุ ชนในระดับตาบล และกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ประชาชนในพืนที่ชุมชน หมู่ท่ี 1 - 28 ตาบลทุ่งมหาเจริญ อาเภอวังนาเย็น จังหวัดสระแกว้ ผู้เข้าร่วมโครงการ ประชาชนตาบลทุ่งมหาเจริญ อาเภอวังนาเย็น จังหวัดสระแก้ว จานวนไมน่ ้อยกว่า 400 ครัวเรอื น ระยะเวลาดาเนินโครงการ เดือนพฤศจกิ ายน 2562 ถงึ เดอื นมกราคม 2563 1.4 วธิ ีการดาเนินการสารวจความต้องการของชุมชนในระดับตาบล และกลุ่มเปา้ หมาย การดาเนินโครงการคณะผู้ดาเนินการมุ่งเน้นการสร้างกรอบปัญหาและความต้องการของ ชุมชนระดับตาบล เพ่ือกาหนดแผนปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมของชุมชนในการวางแนวทางลดปัญหา ความยากจนของประชาชนและยกระดับขีดความสามารถของเศรษฐกิจฐานราก การจัดการ ส่ิงแวดล้อม และวัฒนธรรม ตาบลทุ่งมหาเจริญ อาเภอวังนาเย็น จังหวัดสระแก้ว วิธีการการดาเนิน แผนงานเน้นไปที่การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research) ซึ่งเป็น การบูรณาการการวิจัยแบบมีส่วนร่วม (Participatory Research) และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Quantitative Research) เพ่ือให้ได้มาซ่ึงแผนพัฒนาชุมชนท่ีจะสามารถลดความเหลื่อมลาในการ ยกระดับรายได้ของประชาชนนวัตกรรมและกระบวนการทางความคิดสร้างสรรค์ที่จะเพิ่มมูลค่า ทรัพยากรที่ไม่ก่อประโยชน์ในชุมชนให้เกิดประโยชน์อันส่งผลให้ประชาชนมีรายได้ที่เพิ่มสูงขึน กระบวนการลดปัญหาความยากจนที่เหมาะกบั การเข้าถึงของประชาชนทุกวัยได้อย่างทวั่ ถงึ และย่ังยืน และเผยแพร่องค์ความรู้สู่ประชาชนกลุ่มอืน่ ๆ ไดโ้ ดยมีขันตอนดังตอ่ ไปนี 1. สร้างความรว่ มมือกบั หน่วยงานราชการที่เกย่ี วข้อง ดาเนนิ การจัดทาปฏิทนิ การ ลงพืนที่ศึกษาข้อมูลและยกระดับพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนและท้องถ่ิน เข้าพบและแสวงหาคว าม ร่วมมือจากหน่วยงานภาครัฐและข้อปรึกษาหารือทิศทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนตาบล ทุ่งมหาเจริญ ได้แก่ นายอาเภอ ส่วนงานปกครองอาเภอ พัฒนาการอาเภอ เกษตรอาเภอ ณ ที่ว่าการ อาเภอวังนาเย็น จังหวัดสระแก้ว และองค์การบริหารส่วนตาบลทุ่งมหาเจริญ และที่ทาการกานัน
3 ตาบลทุ่งมหาเจริญ ผู้ใหญ่บ้านทุกหมู่บ้าน เพื่อขอปรึกษาหารือ เกี่ยวกับทิศทางการดาเนินโครงการ และขอฐานขอ้ มลู ตาบลเบอื งต้น 2. ศึกษาชุมชนและจัดทาฐานข้อมูลตาบล ดาเนินการประมวลผลรวบรวมข้อมูล จากเอกสารฐานข้อมูลท่ีเก่ียวข้องของตาบลทุ่งมหาเจริญ โดยใช้ข้อมูลจากบัตรสวัสดิการแห่งรัฐและ เกณฑ์ความจาเป็นขนั พืนฐาน (จปฐ.) ทีต่ กเกณฑข์ องพฒั นาการจังหวัด จัดประชมุ ผูน้ าชมุ ชนทังตาบล ทุง่ มหาเจรญิ ไดแ้ ก่ ผใู้ หญบ่ า้ นและผนู้ ากลุม่ ตา่ ง ๆ ชุมชน รวมหมู่ละ 2 คน นายก อบต. สมาชิก อบต. ข้าราชการและพนักงานท้องถิ่น ผู้อานวยการโรงเรียนวังหลังวิทยาคม ผู้อานวยการโรงเรียน บ้านแก่งสะเดา เพื่อวางกรอบในการพัฒนาร่วมกันรวมทังคัดเลือกเป้าหมายในการพัฒนาศึกษาพืนที่ เย่ียมชมรวบรวมข้อมูลภาคสนามจากพืนที่ของตาบลร่วมกับเครือข่ายประชารัฐ 3 ครัง ในการเก็บ ข้อมูล OP3 รวมทังศึกษาบริบทชุมชนในภาพรวม ศึกษา ประเมินศักยภาพ ปัญหา ทุนด้านต่าง ๆ ของชุมชนจัดเวทีประชุมเสวนาคืนข้อมูลให้กับชุมชนจัดทารายงานผลการศึกษาชุมชน และครัวเรือน เป้าหมาย จัดทาฐานข้อมูลตาบล (OP2 และ OP3) และประชุมเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (PAR) เพ่อื กาหนดแผนการพฒั นาชุมชนร่วมกับคนในชมุ ชน และครวั เรอื นเปา้ หมายในตาบลทุง่ มหาเจรญิ 3. จดั ทาแผนปฏบิ ัติการเพ่มิ รายไดย้ กระดบั คุณภาพชวี ิตของคนในชุมชน 1.5 เคร่ืองมอื ทีใ่ ชก้ ารสารวจความตอ้ งการของชมุ ชนในระดบั ตาบล และกลมุ่ เป้าหมาย การดาเนินโครงการเก็บข้อมูลพืนฐานของชุมชนจากหน่วยงานราชการระดับจังหวัด อาเภอ และตาบล ซ่ึงเป็นข้อมูลทุติยภูมิ นาข้อมูลที่ได้วางแผนลงพืนที่เพ่ือเก็บข้อมูลปฐมภูมิ โดยใช้แบบ สัมภาษณ์เจาะลึกแบบโครงสร้าง (OP3-2) แบบสอบถาม (OP3-1) การสนทนากลุ่ม การสังเกต แบบสารวจข้อมลู
4 สว่ นที่ 2 ผลการศกึ ษาชุมชนเบอื งต้นในระดับตาบล 2.1 ขอ้ มลู ท่วั ไปของชมุ ชนในระดับตาบล 2.1.1 ประวัติตาบลและหมูบ่ า้ น ดินแดนแห่งนีก่อนท่ีจะได้รับช่ือว่า “ทุ่งมหาเจริญ” เต็มไปด้วยป่าไม้ท่ีอุดมสมบูรณ์ ไปด้วยพืชพรรณธรรมชาติหลากหลายชนิด เช่น ต้นตะแบก ต้นมะค่า ต้นซ่อ ต้นหวาย ต้นโมก ฯลฯ ซ่ึงเป็นปา่ ดงดิบ มีชือ่ ว่า “ป่าสมั ปทาน ปจ. 8 ลาพระสะทึง” จนกระทั่งพืนป่ามีการบุกรุกเพ่ือนาไม้ไปใช้ประโยชน์ด้านอุตสาหกรรม เป็นการ เริม่ ต้นของการเปล่ยี นแปลงสิ่งต่าง ๆ ในปี พ.ศ. 2518 จากพนื ป่ากเ็ ร่ิมมีคนอพยพเข้ามาอาศัย จบั จอง ท่ีดินเพื่อทากิน จนกลายเป็นท่ีอยู่ของชาวบ้านที่เรียกว่า “บ้านทุ่งมหาวิบาก” ที่มาของชื่อหมู่บ้าน เนื่องมาจากเส้น ทางที่คมนาคมที่ใช้ใน การติ ดต่ อเ ข้าออกร ะหว่ างห มู่บ้ านนัน มีความยากล าบ า ก ถนนหนทางเป็นเส้นทางถนนรถซุง (รถบรรทุกไม้) ซึ่งมีเพียงแต่เกวียนและการเดินเท้าเท่านัน จงึ สามารถสัญจรได้ เวลาผ่านไปความเจริญก็เกิดขึนอย่างรวดเร็ว ทังท่ีมาจากจานวนของผู้คนที่อพยพ เข้ามาอยู่อาศัยก็เพ่ิมขึนและการเข้ามาดูแลหน่วยงานภาครัฐ มีการสร้างวัด และมีการปรับปรุงถนน หนทางจากเดิมที่ยากลาบากมาเป็นถนนลูกรังและในปี พ.ศ. 2523 ได้มีการสร้างโรงเรียนแห่งแรก ช่ือว่า โรงเรียนบ้านมหาเจริญ คณะกรรมการหมู่บ้าน จึงเห็นว่าสมควรเปลี่ยนช่ือหมู่บ้าน เพื่อความ เปน็ สริ มิ งคล จงึ ใหใ้ ช้คาวา่ “เจริญ” แทนคาว่า “วิบาก” และเปน็ ชอื่ ของคนท่ีเข้ามาบุกเบกิ ตงั ถ่ินฐาน ในช่วงแรก 1 ปี ต่อมา ในปี พ.ศ. 2524 ได้มีการแยกหมู่บ้านออกจากหมู่ที่ 6 ตาบลเขาฉกรรจ์ อาเภอสระแก้ว จังหวัดปราจีนบุรี (สมัยนัน) มาเป็น หมู่ที่ 11 ตาบลตาหลังใน ก่ิงอาเภอวังนาเย็น จังหวดั ปราจีนบุรี (สมยั นัน) และในปีนีเองได้มีการคัดเลือกผู้ใหญ่บา้ น ขนึ มาปกครองเปน็ ครงั แรกด้วย จนกระท่ังปี พ.ศ. 2535 บ้านทุ่งมหาเจริญ ได้แยกออกจากตาบลตาหลังใน มาเป็นตาบลทุ่งมหาเจริญ อาเภอวังนาเย็น จังหวัดปราจีนบุรี (สมัยนัน) และในปีต่อมาเม่ือมีการแยก จังหวัดสระแก้วออกจาก จงั หวดั ปราจีนบุรี ตาบลทงุ่ มหาเจริญ จงึ ขนึ กับอาเภอวงั นาเย็น จงั หวัดสระแก้ว ตังแตน่ ันเปน็ ตน้ มา เมื่อปี พ.ศ. 2538 สภาตาบลทุ่งมหาเจริญ ได้ยกฐานะขึนเป็นองค์การบริหารส่วน ตาบลตามพระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การบริหารส่วนตาบล พ.ศ. 2537 เม่ือวันท่ี 2 มีนาคม 2538 โดยมผี ดู้ ารงตาแหน่งประธานสภา อบต. และประธานกรรมการบริหาร อบต. ต่อมาเปลี่ยนเป็น ตาแหนง่ นายก อบต. ดงั รายนามตอ่ ไปนี ผู้ ด า ร ง ต า ร ง ต า แ ห น่ ง ป ร ะ ธ า น ส ภ า อ ง ค์ ก า ร บ ริ ห า ร ส่ ว น ต า บ ล ทุ่ ง ม ห า เ จ ริ ญ (อดตี - ปจั จุบนั ) 1. นายมานิตย์ โพธิ์เจริญ (พ.ศ. 2538 - 2542) 2. นายสมาน โสดาจันทร์ (พ.ศ. 2542 - 2544) 3. นายสมชาย อุ่นที (พ.ศ. 2544 - 2546) 4. นายประสทิ ธิ์ ทรงบัณฑิตย์ (พ.ศ. 2546 - 2550)
5 5. นายสุวิทย์ มลู มณี (14 พฤศจกิ ายน 2550 - 30 กันยายน 2554) 6. นางสมจติ ร กนั ธุ (8 ธนั วาคม 2555 - ปัจจบุ ัน) ผู้ ด า ร ง ต า ร ง ต า แ ห น่ ง ป ร ะ ธ า น ก ร ร ม ก า ร บ ริ ห า ร อ ง ค์ ก า ร บ ริ ห า ร ส่ ว น ต า บ ล ทงุ่ มหาเจริญ (อดีต - พ.ศ. 2546) * 1. นายอานวย เนตรสวา่ ง (พ.ศ. 2538 - 2542) 2. นายโสภา มะโรงมืด (มีนาคม 2542 - มิถุนายน 2542) 3. นายมานติ ย์ โพธเิ์ จรญิ (พ.ศ. 2542 - 2546) * หมายเหตุ: โดยได้มีการเปลี่ยนแปลงกาหนดโครงสร้างฝ่ายบริหารขององค์การ บรหิ ารสว่ นตาบลใหม่ ตามพระราชบัญญตั สิ ภาตาบลและองค์การบรหิ ารสว่ นตาบล พ.ศ. 2537 แก้ไข เพิ่มเติม (ฉบับท่ี 4) พ.ศ. 2546 และมีผลบงั คับใช้ตังแต่วนั ท่ี 18 มถิ นุ ายน 2546 ผู้ดารงตารงตาแหน่งนายกองค์การบริหารส่วนตาบลทงุ่ มหาเจริญ (อดีต - ปัจจุบนั ) 1. พลเอกกฤษณ์ เทยี มทิพย์ (พ.ศ. 2546 - 21 มนี าคม 2549) 2. นายสมชาย อ่นุ ที (29 มนี าคม 2549 - 23 สิงหาคม 2550) 3. นายสมชาย อุน่ ที (30 กนั ยายน 2550 - ปัจจุบัน) 2.2 ขอ้ มูลดา้ นตา่ ง ๆ ของตาบลและหมูบ่ ้าน ลกั ษณะทางกายภาพของพนื ที่ ที่ทาการองค์การบริหารส่วนตาบลทุ่งมหาเจริญ สถานท่ีตังอยู่ เลขที่ 290 หมู่ท่ี 18 ตาบลทุ่งมหาเจริญ อาเภอวังนาเย็น จังหวัดสระแก้ว อยู่ห่างจากอาเภอวังนาเย็น ประมาณ 22 กโิ ลเมตร มเี นอื ท่ี 111 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 69,375 ไร่ โดยมอี าณาเขต ดงั นี ทศิ เหนือ ตดิ ต่อกบั ตาบลพระเพลิง อาเภอเขาฉกรรจ์ จังหวัดสระแก้ว ทศิ ตะวันออก ตดิ ตอ่ กบั ตาบลตาหลงั ใน อาเภอวงั นาเยน็ จังหวัดสระแกว้ ทิศใต้ ตดิ ตอ่ กบั ตาบลวงั ใหม่ อาเภอวังสมบูรณ์ จงั หวดั สระแกว้ ทศิ ตะวันตก ติดตอ่ กับ เขตอนุรกั ษ์พนั ธ์สตั ว์ป่ารอยต่อ 5 จังหวัด ภาคตะวันออก (หรือเขตพนื ทอ่ี าเภอทา่ ตะเกียบ และอาเภอสนามชยั เขต จังหวดั ฉะเชิงเทรา) ลักษณะภมู ปิ ระเทศ สภาพภูมิประเทศของตาบลทุ่งมหาเจริญ โดยท่ัวไปเป็นพืนท่ีราบสูง แห้งแล้ง และ รอ้ นชนื พนื ดนิ ขาดความอุดมสมบูรณ์ มที างหลวงแผ่นดินหมายเลข 3434 ผ่านทางทศิ ตะวนั ออกและ ทศิ ตะวันตก ประชากรส่วนใหญม่ กี ารตงั ถนิ่ ฐานกระจายตวั กันบรเิ วณสองฝ่ังทาง เขตการปกครอง องค์การบริหารส่วนตาบลทุง่ มหาเจริญ แบง่ การปกครองออกเปน็ 28 หม่บู า้ น ดังนี หม่ทู ี่ 1 บา้ นทุง่ มหาเจริญ นางสาววภิ าวดี เกรียงศักด์ิ ผใู้ หญ่บ้าน
6 หมทู่ ี่ 2 บา้ นคลองจระเข้ นายสมมาถ บวั ผา ผใู้ หญบ่ า้ น ผ้ใู หญ่บา้ น หมทู่ ี่ 3 บ้านพรสวรรค์ นางสาวกาหลง จันทิมา ผู้ใหญ่บา้ น ผใู้ หญบ่ ้าน หมู่ท่ี 4 บ้านแกง่ สะเดา นายเฉลมิ ศักดิ์ โสดสุภาพ ผใู้ หญบ่ ้าน ผู้ใหญบ่ ้าน หมทู่ ี่ 5 บ้านคลองตะเคียนชยั นายกติ ตพิ งศ์ คามูล ผใู้ หญบ่ า้ น ผู้ใหญ่บา้ น หมทู่ ่ี 6 บา้ นคลองใหญ่ นายผนิชย์ เสวสิ ทิ ธ์ิ ผู้ใหญ่บา้ น ผใู้ หญ่บา้ น หมู่ท่ี 7 บ้านซบั เจรญิ นางสมนกึ คาวงษา ผใู้ หญ่บา้ น ผู้ใหญ่บา้ น หมู่ท่ี 8 บา้ นด่านชัยพฒั นา นางอโนทยั เนียมสาโรง ผ้ใู หญ่บา้ น ผู้ใหญ่บา้ น หมทู่ ่ี 9 บ้านวังสเุ ทพ นายประโยชน์ แกว้ แดง ผใู้ หญ่บา้ น ผใู้ หญ่บา้ น หมู่ท่ี 10 บ้านเขาตะกรุบพัฒนา นายสพุ ฒั น์ พลเรอื ง กานนั ผใู้ หญบ่ า้ น หมู่ท่ี 11 บ้านคลองขเี หลก็ นายอานาจ ไหลเลอื่ น ผู้ใหญบ่ ้าน ผใู้ หญบ่ ้าน หมู่ท่ี 12 บ้านคลองพัฒนา นายวิสุทธ์ิ ลาภบญุ ผใู้ หญบ่ ้าน ผู้ใหญบ่ ้าน หมู่ที่ 13 บ้านชยั พฒั นา นายสมบัติ เจิมขุนทด ผใู้ หญบ่ ้าน ผู้ใหญบ่ ้าน หมู่ท่ี 14 บา้ นคลองตะขบ นางทวที รัพย์ ชินดี ผใู้ หญบ่ ้าน ผู้ใหญบ่ ้าน หมทู่ ี่ 15 บา้ นหนองเรือ นางสมศรี บญุ ล้น ผ้ใู หญบ่ ้าน หมทู่ ่ี 16 บ้านสนั ตะวา นายลาพอง ดสุ ทิ ธ์ิ หมู่ท่ี 17 บา้ นชัยมงคลเจรญิ ลาภ นางรัชนี พันธุ หมทู่ ่ี 18 บ้านแสนสขุ นายชนะ พันธ์ุสิงห์ หม่ทู ี่ 19 บา้ นแสงตะวนั นายประส่วน เพียซา้ ย หมู่ที่ 20 บา้ นไร่เหนอื พฒั นา นายสิทธชิ ยั สร้อยมาลุน หมู่ท่ี 21 บา้ นไพรวลั ย์ นางสมหวัง ศรีพรม หมู่ท่ี 22 บ้านชัยอุดม นางทุเรยี น แกว้ สุวรรณ์ หมู่ท่ี 23 บ้านคลองเจรญิ นายไพรฑูรย์ สีคาดี หมทู่ ี่ 24 บา้ นแผ่นดนิ ทอง นายสายยวน หย่นครบรุ ี หมทู่ ี่ 25 บา้ นเนินสามัคคี นายสมศกั ดิ์ วังครี ี หมทู่ ่ี 26 บ้านคีรเี ขตพฒั นา นายมงคล พิกลุ แกม หมทู่ ่ี 27 บ้านพรนมิ ิตร นางสาวมาลัย คาเหลีย่ ม หมู่ท่ี 28 บา้ นสระหลวง นายทองเสาร์ อินทรอ์ อ่ น โครงสรา้ งพืนฐาน การคมนาคม การจราจร การคมนาคมขนส่งในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลทุ่งมหาเจริญ ใช้การคมนาคม ทางบก โดยใชร้ ถยนต์ รถจกั รยานยนต์ และรถประเภทอ่ืน ๆ ในการเดนิ ทาง และขนถ่ายสนิ ค้า
7 การประปา ระบบประปาในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลทุ่งมหาเจริญ ดาเนินการโดยองค์การ บริหารส่วนตาบล จานวน 3 หมู่บ้าน ได้แก่ หมู่ที่ 1 บ้านทุ่งมหาเจริญ หมู่ที่ 2 บ้านคลองจระเข้ หมู่ที่ 13 บ้านชัยพัฒนา และดาเนินการโดยกลุ่มผูใ้ ชน้ า อีกจานวน 25 หมู่บา้ น ไฟฟา้ สาหรับการใช้บริการประชาชนด้านการไฟฟ้าในเขตองค์การบริหารส่วนตาบล ทุ่งมหาเจริญ เป็นหน้าท่ีและความรับผิดชอบของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคสาขาอาเภอวังนาเย็น ส่วนองค์การบริหารส่วนตาบลรับผิดชอบในการบารุงรักษาซ่อมแซม และจัดสรรงบประมาณเป็น ค่าใช้จา่ ยในการซืออุปกรณ์เฉพาะไฟฟา้ สาธารณะ เพือ่ ให้แสงสวา่ งตามถนน ตรอก ซอย เท่านนั การสื่อสาร ในเขตพืนท่ีองค์การบริหารส่วนตาบลทุ่งมหาเจริญ มีท่ีทาการไปรษณีย์เอกชน จานวน 1 แห่ง และมีโทรศัพท์สาธารณะ ตังอยู่ในถนนในเขตหมู่บ้าน และประชาชนสว่ นใหญ่ในพืนที่ ใช้โทรศพั ทเ์ คลอื่ นที่ ลักษณะทางด้านเศรษฐกิจ ด้านการประกอบอาชีพอาชีพ ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และรับจ้างท่ัวไป มีการเพาะปลูกในเขต องค์การบริหารส่วนตาบลทุ่งมหาเจริญ มีการเพาะปลูกพืชที่สาคัญ คือข้าว มันสาปะหลัง อ้อย และ สวนผลไม้ ดา้ นการพาณชิ ยกรรมและบริการ - เขยี งหมู - ปัม๊ นามันหลอด - คลินิก - ตลาดนดั - รา้ นเสรมิ สวย - ร้านค้าท่ัวไป - ร้านซ่อม - โรงสี ดา้ นอุตสาหกรรม การประกอบอุตสาหกรรมในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลทุ่งมหาเจริญ ส่วนใหญ่ เป็นอุตสาหกรรมในครัวเรอื นขนาดเล็ก ได้แก่ การทอผ้าฝ้าย การสานตะกร้าจากเชือก หน่อไม้อัดปบี เป็นต้น และไมส่ ามารถเปน็ เขตพนื ที่สีม่วงได้ เนือ่ งจากพืนทที่ ังหมดเปน็ พืนที่ ส.ป.ก. ดา้ นการท่องเทย่ี ว แหล่งท่องเที่ยวในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลทุ่งมหาเจริญ มีสถานที่แหล่ง ท่องเท่ยี วสาคญั ไดแ้ ก่ นาตกเขาตะกรุบ สวนพฤกษศาสตร์ 100 ปี
8 นาตกเขาตะกรุบ นาตกเขาตะกรุบ เป็นนาตกท่ีมีฉายาว่า สาวน้อยแห่งเขาอ่างฤาไน ด้วยเหตุท่ีนาตก เขาตะกรุบ ตังอยู่ในเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าเขาอ่างฤาไน บริเวณเขาตะกรุบ หมู่ที่ 5 บ้านคลอง ตะเคียนชัย ตาบลทุ่งมหาเจริญ อาเภอวังนาเย็น จังหวัดสระแก้ว เป็นนาตกขนาดใหญ่กลางป่าทึบ มีนามากช่วงฤดูฝนถึงต้นฤดูหนาว (ราว ๆ เดือน ก.ค. - ธ.ค.) อยู่ห่างจากด่านตรวจประมาณ 2.8 กโิ ลเมตรเข้าไปยังนาตก ระหว่างทางอาจพบร่องรอยของช้างปา่ ที่มชี กุ ชุมในป่าแถบนนี าตกเขาตะกรุบ มีความสูงถึง 50 เมตร นาตกเขาตะกรุบมีด้วยกันทังสิน 5 ชัน โดยท่ีชันแรกสูง 15 เมตร สายนาไหล ตกจากยอดเขาสูงสู่แอ่งนาเบืองล่าง ในฤดูฝนซ่ึงนามีมาก นาตกจะสวยงามเป็นพิเศษ บริเวณนาตก เป็นป่าดิบชืนท่ีสมบูรณ์ มีไม้ใหญ่ขึนปกคลุมหนาแน่นและเฟินหลายชนิดขึนแทรกตามหลืบหิน ดูสวยงาม เพราะฉะนันสองฝั่งทางจะพบพันธ์ุไม้และพันธ์ุนกนานาชนิดเหมาะกับการท่องเที่ยว ผจญภัยและเชิงอนุรักษ์ นักท่องเที่ยวท่ีสนใจการท่องเท่ียวเชิงธรรมชาติที่น่าสนใจเช่นนีไม่ควรพลาด ท่จี ะมาเยือนนาตกเขาตะกรุบเปน็ อย่างยงิ่ การเดินทางนันหากเดินทางโดยรถยนต์ จากท่ีว่าการอาเภอวังนาเย็น ใช้ถนนทาง หลวงแผ่นดินหมายเลข 317 ไปทางอาเภอวังสมบูรณ์ ประมาณ 8 กิโลเมตร จะพบกับสี่แยก ให้เลียว ขวาเข้าถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3259 ไปประมาณ 13 กิโลเมตร จากนันเลียวขวาเข้าถนน ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3434 ไปอีก 13 กิโลเมตร พบกับวงเวียนสี่แยกบริเวณบ้านแสนสุข ให้เลียวซ้ายไปตามทางอีก 11.5 กิโลเมตร ถึงด่านตรวจให้ตรงไปอีก 2.8 กิโลเมตร จอดรถที่ลานจอด รถแลว้ เดินไปยงั นาตกอีกประมาณ 2 กโิ ลเมตร หรือการเดินทางจากตัวจังหวัดสระแก้ว ใช้ถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 317 เลยทางแยกเข้าท่ีว่าการอาเภอเขาฉกรรจ์ไป 500 เมตร ให้กลับรถ แล้วว่ิงตรงมาเลียวขวาตามทาง หลวงแผ่นดินหมายเลข 3434 ผ่านตาบลเขาพระเพลิงถึงวงเวียนสี่แยกบ้านคลองใหญ่ ตรงไปอีก 17 กม. ใหเ้ ลียวขวาไปอกี 5 กม. ถึงตลาดทุ่งมหาเจรญิ เลยี วซ้ายผ่านโรงเรยี นบา้ นท่งุ มหาเจรญิ จนถงึ สามแยกให้เลียวขวามีป้ายบอกทางไปนาตกเขาตะกรุบ จากนันเม่ือเลียวขวาให้วิ่งตรงไปตามเส้นทาง ผา่ นหมบู่ ้านอกี 7 กม. เลยแยก โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดนบา้ นคลองตะเคียนชยั ไปจนถงึ หมู่บ้าน ก่อนเลียวซ้ายไปยังด่านตรวจ จากจุดนีจะต้องใช้รถขับเคล่ือน 4 ล้อหรือรถกระบะผ่านเข้าสู่เส้นทาง ป่าอกี 3 กม. ถึงลานไทร ซงึ่ เปน็ ท่จี อดรถ กอ่ นเดินเทา้ เปน็ ทางขึนเขาสูน่ าตกอีกประมาณ 800 เมตร ข้อมูลการติดต่อท่องเท่ียว ติดต่อสอบถามรายละเอียดเพ่ิมเติม ที่ทาการผู้ใหญ่บ้าน หมู่ท่ี 5 บ้านคลองตะเคียนชัย ตาบลทุ่งมหาเจริญ อาเภอวังนาเย็น จังหวัดสระแก้ว 27210 โทร. 08 1361 7322 ดา้ นชลประทาน แหลง่ นา - อ่างเกบ็ นาแพรกกะหมู 2 หมทู่ ่ี 2 บ้านคลองจระเข้ - อ่างเก็บนาคลองกดั ตะนาวใหญ่ 2 หมู่ท่ี 5 บา้ นคลองตะเคียนชัย - อา่ งเกบ็ นาเขาตะกรุบ หมู่ที่ 10 บา้ นเขาตะกรุบพัฒนา - อ่างเก็บนาแพรกกะหมู 3 หมทู่ ่ี 13 บา้ นชยั พฒั นา
9 ภาพที่ 1 แผนที่แสดงแหล่งทอ่ งเทีย่ วและภมู ิปญั ญาท้องถ่ินแต่ละหมูบ่ า้ นในตาบลทงุ่ มหาเจริญ ทมี่ า : องค์การบรหิ ารส่วนตาบลทุง่ มหาเจรญิ ด้านสังคม สถาบนั และองค์กรทางศาสนา ภาพท่ี 2 แผนท่ีแสดงจานวนวัด/สานักสงฆ์/คริสตจกั ร/มัสยดิ ในตาบลทุง่ มหาเจรญิ
10 ประชาชนในเขตองค์การบริหารสว่ นตาบลทุ่งมหาเจรญิ สว่ นใหญน่ ับถือศาสนาพุทธ และมศี าสนาอ่ืน ๆ เชน่ ศาสนาครสิ ต์ และศาสนาอสิ ลาม เปน็ ศาสนารองลงมา ในเขตองค์การบริหาร สว่ นตาบลทุ่งมหาเจรญิ มีวดั สานกั สงฆ์ ครสิ ตจกั ร และมัสยิด จานวน 29 แห่ง ดงั ตารางตอ่ ไปนี ลาดับท่ี ช่ือวัด/สานกั สงฆ/์ ที่ตงั ลาดับที่ ชือ่ วดั /สานักสงฆ/์ ท่ตี ัง คริสตจกั ร/มัสยิด ครสิ ตจักร/มัสยิด 1 สานักสงฆ์คลองจระเข้ หมทู่ ่ี 2 16 สานกั สงฆ์หนองสันตะวา หมู่ที่ 16 2 วัดพรสวรรค์วนาราม หมู่ท่ี 3 17 วดั สายชลสมบูรณ์ธรรม หมู่ท่ี 16 3 วัดแกง่ สะเดา หมทู่ ่ี 4 18 วัดทงุ่ มหาเจริญ หมทู่ ่ี 17 4 วดั คลองตะเคียนชัย หมู่ที่ 5 19 วดั แสนสขุ พฒั นาราม หมทู่ ี่ 18 5 วดั ซบั เจริญพัฒนาราม หมู่ที่ 7 20 ท่ี พั ก ส ง ฆ์ ป่ า เ ม ต ต า ห ล ว ง หมทู่ ี่ 18 (หลวงพ่อพระใหญ่) สาขา 6 วดั ดา่ นชัยพัฒนา หมทู่ ่ี 8 21 วดั โป่งจนั ทร์ จ.จันทบรุ ี หมู่ท่ี 18 7 22 ศรสิ ตจักรยูพซี ไี อ (UPCI) หม่ทู ่ี 18 8 วัดวงั สุเทพ หมทู่ ่ี 9 23 สานกั สงฆป์ ระขาแสนสขุ หมู่ท่ี 21 9 24 วัดโครงการสองสามคั คธี รรม หมู่ที่ 23 10 วดั เขาตะกรบุ พฒั นา หมทู่ ี่ 10 25 ครสิ ตจักรคลองเจรญิ หมทู่ ี่ 24 11 26 วดั พรนมิ ติ ร หมูท่ ่ี 25 12 วดั คลองขเี หล็ก หมู่ที่ 11 27 วดั คลองใหญ่ หมู่ที่ 26 วัดปา่ ชุมชนคีรเี ขตเจรญิ ธรรม 13 วดั คลองพฒั นา หม่ทู ี่ 12 28 หมทู่ ี่ 26 14 29 วัดครี ีเขตพัฒนา หมทู่ ี่ 28 15 วัดป่าศรีถาวรชัยพัฒนา (ธ) หมู่ท่ี 13 สานกั สงฆ์สระหลวง คริสตจักรเซเว่นธ์เดย์แอ็ด หมู่ท่ี 13 เวนตีสทุง่ มหาเจริญ มัสยิดนรู ลุ้ ฟัตตาห์ หมทู่ ่ี 13 วดั คลองตะขบหวาน หมทู่ ี่ 14 วัดหนองเรอื พฒั นา หม่ทู ี่ 15 ตารางท่ี 1 ตารางแสดงจานวนวัด/สานกั สงฆ/์ ครสิ ตจักร/มัสยดิ ในตาบลทุง่ มหาเจริญ ดา้ นศลิ ปะและวฒั นธรรม และประเพณี ในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลทุ่งมหาเจริญ ภาษาถิ่นที่ใช้สื่อสารส่วนใหญ่เป็น ภาษาอีสาน และภาษาภาคกลาง ซึง่ มศี ิลปะและวฒั นธรรม และประเพณีทอ้ งถิ่นต่าง ๆ ดังนี ศลิ ปะและวัฒนธรรม 1. การแสดงพืนบ้านราเซิงอีสาน หมู่ที่ 4 บ้านแก่งสะเดา 2. ภาษาอสี าน และภาษาภาคกลาง 3. การแต่งกายแบบพืนถ่ิน และแบบยุคสมยั ใหม่ 4. อาหารแบบพนื ถ่นิ และแบบท่วั ไป
11 ประเพณี 1. ประเพณสี งกรานต์ ทุกหมู่บ้าน 2. ประเพณตี ักบาตรเทโว ทุกหมูบ่ ้าน 3. ประเพณีลอยกระทง ทุกหมบู่ า้ น 4. ประเพณบี ุญผะเหวดเทศน์มหาชาติ ทกุ หมบู่ า้ น 5. ประเพณบี ุญกลางบ้าน ทุกหมู่บ้าน 6. ประเพณีวันสาคัญทางศาสนา เช่น วันมาฆบูชา, วันวิสาขบูชา, วันอาสาฬบูชา, วันออกพรรษา, วันพระ ทุกหม่บู ้าน 7. ประเพณีบุญประจาปีกองเจดีย์ขา้ วเปลอื ก หมู่ที่ 4 บา้ นแก่งสะเดา 8. พธิ กี รรมกราบไหวบ้ ูชาเจา้ พอ่ เขาน้อย หมู่ที่ 4 บา้ นแกง่ สะเดา 9. ประเพณีบุญบังไฟ หมู่ท่ี 9 บ้านวังสุเทพ, หมู่ที่ 10 บ้านเขาตะกรุบพัฒนา และ หมูท่ ี่ 20 บา้ นไรเ่ หนอื พัฒนา ดา้ นการศึกษา สถานศึกษาในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลทุ่งมหาเจรญิ จานวน 3 ประเภท ได้แก่ 1) โรงเรียนระดับประถมศึกษา จานวน 9 แห่ง 2) โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา จานวน 1 แห่ง และ 3) ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ เล็ก สังกัด อบต. จานวน 5 ศนู ย์ ดงั ต่อไปนี ระดับประถมศึกษา 1. โรงเรียนบา้ นมหาเจริญ หมทู่ ่ี 1 บา้ นท่งุ มหาเจรญิ 2. โรงเรียนบ้านพรสวรรค์ หมู่ท่ี 3 บ้านพรสวรรค์ 3. โรงเรยี นบ้านแก่งสะเดา หมทู่ ี่ 4 บา้ นแกง่ สะเดา 4. โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดนบ้านคลองตะเคียนชัย หมู่ท่ี 5 บ้านคลอง ตะเคียนชยั 5. โรงเรยี นบ้านซับเจรญิ หมู่ที่ 7 บ้านซับเจรญิ 6. โรงเรยี นบ้านดา่ นชยั พัฒนา หมู่ที่ 8 บ้านดา่ นชยั พฒั นา 7. โรงเรียนบา้ นเขาตะกรุบพัฒนา หมู่ที่ 10 บา้ นเขาตะกรบุ พัฒนา 8. โรงเรยี นบา้ นวงั จระเข้ หม่ทู ่ี 21 บา้ นไพรวลั ย์ 9. โรงเรียนบา้ นคลองใหญ่ หม่ทู ่ี 25 บา้ นเนินสามคั คี ระดบั มัธยมศึกษา - โรงเรียนวงั หลังวทิ ยาคม หมูท่ ่ี 18 บา้ นแสนสขุ ศนู ยพ์ ฒั นาเด็กเล็ก สงั กัด อบต. 1. ศูนย์พฒั นาเดก็ เลก็ บ้านแก่งสะเดา หมทู่ ่ี 4 บา้ นแกง่ สะเดา 2. ศูนย์พฒั นาเด็กเลก็ บ้านซบั เจรญิ หมทู่ ี่ 7 บ้านซบั เจริญ 3. ศนู ย์พฒั นาเด็กเล็กบา้ นเขาตระกรบุ พัฒนา หมู่ท่ี 10 บา้ นเขาตะกรุบพฒั นา 4. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านทุ่งมหาเจรญิ หมทู่ ่ี 18 บ้านแสนสุข 5. ศนู ย์พัฒนาเดก็ เลก็ บ้านแสนสุข หมู่ท่ี 18 บ้านแสนสุข
12 6. ศูนยพ์ ฒั นาเดก็ เล็กบา้ นเนินสามัคคี หมูท่ ี่ 25 บ้านเนนิ สามัคคี ดา้ นการสาธารณสขุ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล จานวน 3 แห่ง 1. โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบลคลองตะเคยี นชัย หมู่ท่ี 5 บา้ นคลองตะเคียนชยั 2. โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตาบลคลองจระเข้ หมู่ที่ 16 บา้ นสนั ตะวา 3. โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตาบลทงุ่ มหาเจรญิ หม่ทู ี่ 24 บา้ นแผน่ ดนิ ทอง ดา้ นการป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั 1. รถบรรทกุ นาอเนกประสงค์ ขนาด 10,000 ลิตร จานวน 1 คนั 2. เจา้ หนา้ ทอ่ี าสาสมัครป้องกันภัยฝ่ายพลเรอื น (อปพร.) จานวน 267 คน ดา้ นความปลอดภัยในชวี ติ และทรพั ยส์ นิ ในเขตองค์การบริหารส่วนตาบลทุ่งมหาเจริญ ไม่มีสถานีตารวจ มีเพียงท่ีพัก สายตรวจประจาตาบลของสถานีตารวจภูธรวังนาเย็น จานวน 3 แห่ง ท่ีคอยให้บริการประชาชน ในด้านความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน และยังมีงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ซึ่งอยู่ใน ความรับผิดชอบขององค์การบริหารสว่ นตาบลทุ่งมหาเจรญิ ให้บริการประชาชนเม่ือเกิดอัคคีภัย และ ภัยธรรมชาติ รวมไปถึงการตงั จดุ ตรวจ เพือ่ ลดอุบัติเหตุช่วงเทศกาลสาคญั ด้านการเมืองการบรหิ าร โครงสร้างและอัตรากาลังในการบริหารงานขององค์การบริหารส่วนตาบลทุ่งมหา เจริญ ประกอบดว้ ยโครงสร้าง ดังนี - ฝ่ายบรหิ ารหรือคณะผ้บู รหิ าร ประกอบดว้ ย นายกองค์การบริหารส่วนตาบล 1 คน รองนายกองค์การบริหารส่วนตาบล 2 คน และเลขานุการนายก 1 คน คณะผู้บริหาร มีอานาจหน้าท่ี ควบคุมรบั ผดิ ชอบในการบริหารงานขององค์การบรหิ ารสว่ นตาบลตามกฎหมาย ขอ้ มูลของคณะผู้บรหิ ารองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบลทงุ่ มหาเจริญ รายนามคณะผ้บู ริหาร ตาแหน่ง นายสมชาย อุน่ ที นายกองค์การบรหิ ารส่วนตาบล นายอภิชาติ สุขเสรมิ รองนายกองคก์ ารบริหารส่วนตาบล นายประทปี ทานรินทร์ รองนายกองค์การบริหารส่วนตาบล นายวรกร อุน่ ที เลขานุการนายกองคก์ ารบริหารสว่ นตาบล - ฝ่ายนิติบัญญัติหรือสภาองค์การบริหารส่วนตาบล ประกอบด้วย สมาชิกองค์การ บริหารส่วนตาบลทีม่ าจากการเลอื กตัง จานวน 56 คน อยู่ในตาแหน่งคราวละ 4 ปี - ฝ่ายข้าราชการ พนักงานท้องถ่ิน และลูกจ้างประเภทต่าง ๆ ประกอบด้วย สานักงานปลดั กองคลัง กองช่าง กองการศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ด้านประชากร สถิตทิ ะเบียนราษฎร์ประชากรในพนื ท่ตี าบลทงุ่ มหาเจริญ ดังตารางต่อไปนี
13 หมทู่ ี่ ช่อื หมู่บ้าน จานวน จานวนประชากร ครัวเรอื น ชาย หญิง รวม 1 บ้านท่งุ มหาเจรญิ 480 496 976 2 บ้านคลองจระเข้ 520 324 309 633 3 บ้านพรสวรรค์ 286 161 154 315 4 บา้ นแกง่ สะเดา 123 410 411 821 5 บา้ นคลองตะเคียนชัย 255 340 323 663 6 บ้านคลองใหญ่ 375 184 204 388 7 บ้านซบั เจรญิ 257 619 603 1,222 8 บา้ นด่านชัยพฒั นา 356 445 398 843 9 บ้านวังสเุ ทพ 275 249 224 473 10 บา้ นเขาตะกรุบพฒั นา 149 439 421 860 11 บา้ นคลองขีเหล็ก 245 245 247 492 12 บ้านคลองพฒั นา 131 410 388 798 13 บ้านชยั พัฒนา 228 613 595 1,208 14 บ้านคลองตะขบ 340 270 239 509 15 บ้านหนองเรือ 142 409 402 811 16 บ้านสนั ตะวา 262 256 263 519 17 บ้านชัยมงคลเจริญลาภ 186 534 551 1,085 18 บา้ นแสนสุข 272 419 380 799 19 บา้ นแสงตะวัน 206 504 461 965 20 บา้ นไรเ่ หนอื พฒั นา 202 225 219 444 21 บ้านไพรวลั ย์ 97 299 287 586 22 บ้านชยั อดุ ม 160 174 162 336 23 บา้ นคลองเจริญ 93 342 365 707 24 บ้านแผ่นดินทอง 184 300 292 593 25 บา้ นเนินสามัคคี 133 215 240 455 26 บ้านครี เี ขตพฒั นา 93 180 193 373 27 บา้ นพรนิมิตร 85 173 189 362 28 บา้ นสระหลวง 79 157 129 286 74 9,376 9,145 18,521 รวม 5,808 ตารางที่ 2 ตางรางแสดงสถติ ิทะเบียนราษฎร์ประชากรในพืนทตี่ าบลท่งุ มหาเจรญิ ทม่ี า: สานักงานทะเบียนราษฎร์อาเภอวังนาเยน็ ข้อมลู ณ เดือนมีนาคม 2563
14 ส่วนที่ 3 ผลการวิเคราะหศ์ กั ยภาพ ปัญหา/ความตอ้ งการ และประเด็นการพฒั นาเชิงพืนที่ การวิเคราะห์ชุมชนดาเนินการโดยอาศัยข้อมูลทุติยภูมิที่รวบรวมจากฐานข้อมูลแผนพัฒนา ยุทธศาสตร์จงั หวัดสระแก้ว แผนพัฒนาอาเภอวงั นาเย็น แผนพัฒนาท้องถ่ินองคก์ ารบริหารส่วนตาบล ทงุ่ มหาเจริญ ฐานข้อมูลสานักงานพัฒนาทีด่ ินจังหวัดสระแกว้ สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอวังนาเย็น สานักงานเกษตรอาเภอวังนาเย็น สานักงานประมงอาเภอวังนาเย็น และสานักงานปศุสัตว์อาเภอ วังนาเย็น และการสืบค้นจากสื่อออนไลน์ต่าง ๆ และดาเนินการเก็บข้อมูลปฐมภูมิจากการจัดเวที ประชุมผู้นาชุมชน การสัมภาษณ์รายคนและกลุ่มในพืนที่ตาบลทุ่งมหาเจริญ และผู้มีส่วนได้เสีย นาข้อมูลทไี่ ดป้ ระมวลผล สงั เคราะหผ์ ล แบ่งเป็นดา้ นดงั นี 3.1 ศักยภาพในการพัฒนาตาบลท่งุ มหาเจรญิ อาเภอวงั นาเยน็ จงั หวดั สระแกว้ หมทู่ ี่ 1 บา้ นทุ่งมหาเจริญ 1. ดา้ นทรพั ยากรมนษุ ย์ - ไมม่ ี - 2. ด้านภาคีเครอื ขา่ ยในพืนที่ มีหน่วยงานท่ีเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือด้านต่าง ๆ ดังนี โรงพยาบาล สง่ เสริมสขุ ภาพตาบลทงุ่ มหาเจริญ, กศน.อาเภอวงั นาเย็น, สถานีตารวจภูธรวงั นาเย็น, องค์การบรหิ าร ส่วนตาบลทุง่ มหาเจรญิ , ธนาคารออมสิน สาขาวังนาเยน็ , ธ.ก.ส. สาขาวังนาเย็น 3. ทนุ ทางสังคมและทนุ ทางวัฒนธรรม - ทุนทางสังคมภายใน สมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน มีความสามัคคี สามารถนาไปสู่พัฒนาด้านการรวมกลุ่ม จัดตังองค์กรเพ่ือร่วมกันพัฒนาชุมชน ก่อให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ อีกทังมีกองทุนต่าง ๆ กลุ่มออมทรัพย์ ท่ีสามารถให้การสนับสนุน ส่งเสริม นาไปส่พู ัฒนาดา้ นแหลง่ ทนุ ในชุมชน การจดั การทนุ ในชุมชน เปน็ ตน้ - ทุนทางสังคมภายนอก มีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือ ดา้ นตา่ ง ๆ นาไปส่กู ารพัฒนาชุมชน และยกระดับคุณภาพชวี ติ ของคนในชมุ ชน - ทุนทางวัฒนธรรม ภายในชุมชนไม่มีวัด แต่จะมีการไปเข้าร่วมกิจกรรมทางวัฒนธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีกับวัดของหมู่บ้านข้างเคียง เช่น วันสาคัญทางศาสนา, วันสงกรานต์, วันลอยกระทง เป็นต้น นาไปสู่การสนับสนุน ส่งเสริม ให้คงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามไว้ สว่ นการแสดง ดนตรี พธิ ีกรรม ประเพณี ศิลปะพนื บ้านท่เี ปน็ เอกลกั ษณ์เฉพาะภายในหมบู่ ้านไมม่ ี 4. ทนุ ทางเศรษฐกิจและการคา้ ขาย มีแหล่งทางเศรษฐกิจ ได้แก่ ตลาดทุ่งมหาเจริญ สามารถนาไปสู่การแลกเปล่ียนสินค้า อุปโภคบริโภค แหล่งการค้าขายประเภทต่าง ๆ เกิดการหมุนเวียนทางเศรษฐกิจ เป็นการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ และพัฒนาแหล่งคา้ ขายให้มีมาตรฐานได้การรับรองจากกระทรวงสาธารณสขุ
15 5. ทุนทางทรพั ยากรธรรมชาติ - ไมม่ ี - 6. ดา้ นจัดการสิ่งแวดล้อม ชุมชนมีการจัดการขยะ การคัดแยกขยะ และได้รับองค์ความรู้จากองค์การบริหารส่วน ตาบลทุ่งมหาเจริญ ทังนีมี กลุ่ม อสม. ร่วมมือกันในการให้ความรู้ การจัดการสิ่งแวดล้อมให้ถูก สุขลักษณะอีกด้วย เพ่ือให้ชุมชนสามารถจัดการสิ่งแวดล้อมด้วยตนเองนาไปสู่การพัฒนาด้าน ส่ิงแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ และเป็นการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในชุมชนบริเวณหน้าบ้านให้น่าอยู่ น่ามอง มคี วามสวยงาม สะอาด เรยี บรอ้ ย 7. ดา้ นองคค์ วามรู้ มีแหล่งองค์ความรู้ภูมิปัญญาพืนบ้าน ได้แก่ สมุนไพร (ยาดม/ ยาหม่อง), การทา นาเสาวรส, ไม้กวาดดอกหญ้า/ทางมะพร้าว สามารถนาไปสู่การจัดการองค์ความรู้พัฒนาให้เกิด การรวมกลุ่ม การจัดตังองค์กร ถ่ายทอดองค์ความรู้ไปแก่บุคคลอ่ืน ๆ เพื่อให้สามารถสร้างอาชีพ สรา้ งงาน สรา้ งรายได้ ใหเ้ กิดขึนในครัวเรือนและชมุ ชน 8. ด้านวัตถดุ บิ - ไมม่ ี - 9. ด้านผลติ ภัณฑ์ชุมชน มีผลิตภัณฑ์ชุมชน ได้แก่ ยาดม/ ยาหม่อง, นาเสาวรส, ไม้กวาดดอกหญ้า/ทางมะพร้าว สามารถนาไปสู่การพัฒนาด้านการยกระดับมาตรฐานของผลติ ภัณฑ์ การผลิต การแปรรูป และต่อยอด ผลิตภัณฑ์ ให้มีคุณภาพ สะอาด ปลอดภัย ถูกสุขอนามัย ให้เป็นที่ยอมรับในสินค้าของชุมชน อีกทัง เป็นการเปิดโอกาสให้คนในชุมชนมีอาชีพเสริม สร้างงาน สร้างอาชีพ และสร้างรายได้ให้เกิดขึน ภายในชุมชน หม่ทู ี่ 2 บ้านคลองจระเข้ 1. ดา้ นทรพั ยากรมนุษย์ - ไม่มี - 2. ด้านภาคีเครอื ขา่ ยในพนื ที่ มีหน่วยงานท่ีเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือด้านต่าง ๆ ดังนี กรมวิชาการ เกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ,์ โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบลคลองจระเข้, สานกั งานเกษตร อาเภอวังนาเย็น, สานักงานประมงอาเภอวังนาเย็น, องค์การบริหารส่วนตาบลทุ่งมหาเจริญ, ธนาคาร ออมสิน สาขาวังนาเยน็ , ธ.ก.ส. สาขาวังนาเยน็ 3. ทนุ ทางสังคมและทุนทางวฒั นธรรม - ทุนทางสังคมภายใน สมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน มีความสามัคคี สามารถนาไปสู่พัฒนาด้านการรวมกลุ่ม จัดตังองค์กรเพ่ือร่วมกันพัฒนาชุมชน ก่อให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ อีกทังมีกองทุนต่าง ๆ กลุ่มออมทรัพย์ ที่สามารถให้การสนับสนุน ส่งเสริม นาไปสู่พัฒนาด้านแหลง่ ทนุ ในชมุ ชน การจัดการทนุ ในชุมชน เปน็ ต้น
16 - ทุนทางสังคมภายนอก มีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือ ด้านตา่ ง ๆ นาไปสกู่ ารพัฒนาชมุ ชน และยกระดบั คุณภาพชีวติ ของคนในชุมชน - ทุนทางวัฒนธรรม ภายในชุมชนมีวัด ชื่อ สานักสงฆ์คลองจระเข้ จะมีการไปเข้าร่วม กิจกรรมทางวัฒนธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีกับวัด เช่น วันสาคัญทางศาสนา, วันสงกรานต,์ วันลอยกระทง เป็นต้น นาไปสู่การสนับสนุน ส่งเสริม ให้คงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามไว้ สว่ นการแสดง ดนตรี พิธีกรรม ประเพณี ศิลปะพนื บา้ นท่เี ปน็ เอกลักษณ์เฉพาะภายในหมู่บา้ นไมม่ ี 4. ทุนทางเศรษฐกจิ และการค้าขาย - ไมม่ ี - 5. ทุนทางทรพั ยากรธรรมชาติ มีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ ได้แก่ อ่างเก็บนาแพรกกะหมู 2 สามารถนาไปสู่การพัฒนา เป็นแหล่งท่องเท่ียวเชิงธรรมชาติ สร้างความสมดุลให้กับพืนท่ี และช่วยให้ชุมชนสามารถมีนา อุปโภคบริโภค การทาเกษตรกรรมตลอดปี อีกทังยังสามารถสร้างอาชีพ สร้างงาน สร้างรายได้กับ ชมุ ชนได้อีกดว้ ย 6. ดา้ นจัดการสงิ่ แวดลอ้ ม ชุมชนมีการจัดการขยะ การคัดแยกขยะ และได้รับองค์ความรู้จากองค์การบริหารส่วน ตาบลทุ่งมหาเจริญ ทังนีมี กลุ่ม อสม. ร่วมมือกันในการให้ความรู้ การจัดการส่ิงแวดล้อมให้ถูก สุขลักษณะอีกด้วย เพื่อให้ชุมชนสามารถจัดการสิ่งแวดล้อมด้วยตนเองนาไปสู่การพัฒนาด้าน สิ่งแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ และเป็นการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมในชุมชนบริเวณหน้าบ้านให้น่าอยู่ น่ามอง มคี วามสวยงาม สะอาด เรยี บร้อย 7. ดา้ นองค์ความรู้ - ไม่มี - 8. ด้านวัตถดุ ิบ มีแหล่งวัตถุดิบ ได้แก่ สวนทุเรียน, ลาไย, อ้อย, มันสาปะหลัง และผักสวนครัว สามารถ นาไปสู่การพัฒนาด้านการแปรรูปอาหาร การเพม่ิ ประสิทธภิ าพของผลผลิต และการส่งออกสินค้าของ ชมุ ชน พร้อมทงั ยกระดบั สินคา้ ใหม้ คี ุณภาพมาตรฐานเปน็ ทยี่ อมรับและให้ไดร้ าคาผลผลิตที่สงู ขึน 9. ดา้ นผลติ ภัณฑ์ชมุ ชน - ไมม่ ี - หมูท่ ี่ 3 บา้ นพรสวรรค์ 1. ด้านทรพั ยากรมนษุ ย์ มีปราชญ์ชาวบ้าน ช่ือ นายสายยน ใหญ่กระโทก (ลุงวัง) ด้านสมุนไพรและหมอพืนบ้าน ซึ่งองค์ความรู้ของบุคคลดังกล่าว ด้านภูมิปัญญาพืนบ้าน สามารถรวบรวมองค์ความรู้เกี่ยวกับ ภูมิปัญญาพืนบ้านท่ีถ่ายทอดกันมาจากรุ่นสู่รุ่น เผยแพร่ด้วยวิธีการกระบวนการขันตอนต่าง ๆ เป็นรูปแบบส่อื สงิ่ พมิ พ์ สอ่ื โสตทศั น์ ส่อื มลั ติมีเดยี หรือสอ่ื ออนไลน์ ให้เด็ก เยาวชนหรอื บุคคลที่มีความ สนใจได้ศึกษา เรียนรู้ เพ่ือคงรักษาคุณค่าไว้ไม่ให้เกิดการสูญหายของมรดกทางวัฒนธรรม อีกทัง สามารถนาไปสู่การสร้างอาชีพ สร้างงาน สร้างรายได้เสริมให้กับครอบครัวเป็นสินค้าส่งออกเป็น
17 ผลิตภัณฑ์สู่ตลาดผู้บริโภคทังภายในประเทศและต่างประเทศ และส่งเสริม พัฒนายกระดับผลิตภัณฑ์ ไปสู่มาตรฐานการรับรองจากกระทรวงสาธารณสขุ 2. ดา้ นภาคเี ครอื ขา่ ยในพืนท่ี มีหน่วยงานท่ีเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือด้านต่าง ๆ ดังนี โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตาบลคลองจระเข้, สานักงานเกษตรอาเภอวังนาเย็น, สานักงานประมงอาเภอ วังนาเย็น, สานักงานปศุสัตว์อาเภอวังนาเย็น, สานักงานสาธารณสุขอาเภอวังนาเย็น, องค์การบริหาร ส่วนตาบลทุ่งมหาเจริญ, กศน.อาเภอวังนาเย็น, สถานีตารวจภูธรวังนาเย็น, ธนาคารออมสิน สาขา วังนาเยน็ , ธ.ก.ส. สาขาวังนาเยน็ 3. ทนุ ทางสังคมและทนุ ทางวัฒนธรรม - ทุนทางสังคมภายใน สมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน มีความสามัคคี สามารถนาไปสู่พัฒนาด้านการรวมกลุ่ม จัดตังองค์กรเพ่ือร่วมกันพัฒนาชมุ ชน ก่อให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ อีกทังมีกองทุนต่าง ๆ กลุ่มออมทรัพย์ ท่ีสามารถให้การสนับสนุน ส่งเสริม นาไปสพู่ ัฒนาด้านแหลง่ ทุนในชมุ ชน การจดั การทนุ ในชมุ ชน เปน็ ต้น - ทุนทางสังคมภายนอก มีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือ ด้านต่าง ๆ นาไปสูก่ ารพฒั นาชมุ ชน และยกระดับคุณภาพชีวติ ของคนในชมุ ชน - ทุนทางวัฒนธรรม ภายในชุมชนมีวัด ช่ือ วัดพรสวรรค์วนาราม จะมีการไปเข้าร่วม กิจกรรมทางวัฒนธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีกับวัด เช่น วันสาคัญทางศาสนา, วันสงกรานต,์ วันลอยกระทง เป็นต้น นาไปสู่การสนับสนุน ส่งเสริม ให้คงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามไว้ สว่ นการแสดง ดนตรี พิธีกรรม ประเพณี ศลิ ปะพนื บา้ นทเ่ี ปน็ เอกลักษณ์เฉพาะภายในหมู่บ้านไมม่ ี 4. ทนุ ทางเศรษฐกจิ และการค้าขาย - ไม่มี - 5. ทุนทางทรพั ยากรธรรมชาติ - ไมม่ ี - 6. ดา้ นจัดการสิง่ แวดลอ้ ม ชุมชนมีการจัดการขยะ การคัดแยกขยะ และได้รับองค์ความรู้จากองค์การบริหารส่วน ตาบลทุ่งมหาเจริญ ทังนีมี กลุ่ม อสม. ร่วมมือกันในการให้ความรู้ การจัดการสิ่งแวดล้อมให้ถูก สุขลักษณะอีกด้วย เพื่อให้ชุมชนสามารถจัดการส่ิงแวดล้อมด้วยตนเองนาไปสู่การพัฒนาด้าน ส่ิงแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ และเป็นการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมในชุมชนบริเวณหน้าบ้านให้น่าอยู่ นา่ มอง มีความสวยงาม สะอาด เรยี บร้อย 7. ด้านองคค์ วามรู้ มีแหล่งองค์ความรู้ภูมิปัญญาพืนบ้าน ได้แก่ สมุนไพร, การนวดแผนโบราณ, หมอดดิน สามารถนาไปสกู่ ารจัดการองคค์ วามรู้พัฒนาให้เกิดการรวมกลุ่ม การจัดตงั องค์กร ถ่ายทอดองคค์ วามรู้ ไปแก่บุคคลอนื่ ๆ เพอ่ื ให้สามารถสร้างอาชีพ สร้างงาน สรา้ งรายได้ ใหเ้ กดิ ขึนในครวั เรือนและชมุ ชน
18 8. ดา้ นวัตถดุ ิบ มีแหล่งวัตถุดิบ ได้แก่ ลาไย, มะม่วง GI นาดอกไม้, สมุนไพร และผักสวนครัว สามารถ นาไปสู่การพัฒนาด้านการแปรรูปอาหาร การเพ่ิมประสิทธิภาพของผลผลิต และการส่งออกสินค้า ของชุมชน พรอ้ มทังยกระดับสินคา้ ใหม้ คี ุณภาพมาตรฐานเป็นที่ยอมรับและให้ไดร้ าคาผลผลิตท่ีสูงขึน 9. ดา้ นผลิตภัณฑช์ ุมชน มีผลิตภัณฑ์ชุมชน ได้แก่ สมุนไพร สามารถนาไปสู่การพัฒนาด้านการยกระดับมาตรฐาน ของผลิตภัณฑ์ การผลิต การแปรรูป ส่งเสริมการปลูก และต่อยอดผลิตภัณฑ์ ให้มีคุณภาพ สะอาด ปลอดภัย ถูกสุขอนามัย ให้เป็นที่ยอมรับในสินค้าของชุมชน อีกทังเป็นการเปิดโอกาสให้คนในชุมชน มีอาชีพเสริม สรา้ งงาน สรา้ งอาชพี และสร้างรายไดใ้ หเ้ กดิ ขึนภายในชุมชน หมูท่ ี่ 4 บา้ นแกง่ สะเดา 1. ดา้ นทรัพยากรมนุษย์ - มีพระสงฆ์นักพัฒนา และพระเกจิด้านเคร่ืองราง ชื่อ พระอธิการสมมุติ ปิยะธมฺโม (หลวงปู่เย็น ปิยะธมฺโม) เจ้าอาวาสวัดแก่งสะเดา สามารถนาไปสู่การพัฒนาด้านการบารุง พระพุทธศาสนา สร้างวัดให้เจริญรุ่งเรือง มีความโดดเด่นเป็นอัตลักษณ์ และพัฒนาวัดให้เป็นแหล่ง ท่องเที่ยวให้ชุมชนกลายเป็นท่ีรู้จักของคนท่ัวไป เกิดรายได้ภายในชุมชน สามารถเช่ือมโยงไปยัง สถานท่อี ื่น ๆ ได้อกี ดว้ ย - มปี ราชญ์ชาวบา้ นด้านตา่ ง ๆ ดงั ตอ่ ไปนี 1. นางอานวย กงเวยี น รา่ งทรงเจา้ แม่กวนอิม 2. นายโสภา พรมภกั ดี หมอพราหมณ์ 3. นางสดุ ใจ มรรคพิมพ์ บายศรี / ทอเสื่อ 4. นางบัวสอน สเี ขยี ว ทอเสอ่ื 5. นายปุ้ย บัตจิ ัตตุรัส จักสาน 6. นายโฮม นักลาพัน จกั สาน ซึ่งองค์ความรู้ของบุคคลดังกล่าวท่ีได้กล่าวถึงข้างต้น ด้านพิธีกรรม ความเชื่อ สามารถ นาไปสู่การเป็นศูนย์รวมจิตใจและเป็นท่ีพ่ึงในยามมีทุกข์ของชาวบ้าน และด้านภูมิปัญญาพืนบ้าน สามารถรวบรวมองค์ความรู้เกี่ยวกับภูมิปัญญาพืนบ้านที่ถ่ายทอดกันมาจากรุ่นสู่รุ่น เผยแพร่ด้วย วิธีการกระบวนการขันตอนต่าง ๆ เป็นรูปแบบสอ่ื ส่ิงพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ สื่อมัลติมีเดีย หรือส่ือออนไลน์ ให้เด็ก เยาวชนหรือบุคคลท่ีมีความสนใจได้ศึกษา เรียนรู้ เพ่ือคงรักษาคุณค่าไว้ไม่ให้เกิดการสูญหาย ของมรดกทางวัฒนธรรม อีกทังสามารถนาไปสู่การสร้างอาชีพ สร้างงาน สร้างรายได้เสริมให้กับ ครอบครวั เปน็ สินค้าสง่ ออกเป็นผลติ ภัณฑ์สูต่ ลาดผูบ้ รโิ ภคทงั ภายในประเทศและตา่ งประเทศ 2. ดา้ นภาคีเครือขา่ ยในพืนที่ มีหน่วยงานท่ีเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือด้านต่าง ๆ ดังนี สานักงาน ท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดสระแก้ว, สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดสระแก้ว, สานักงานขนส่ง จังหวัดสระแก้ว, โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลทุ่งมหาเจริญ, สานักงานเกษตรอาเภอวังนาเย็น, สานกั งานสาธารณสุขอาเภอวังนาเย็น, องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลทุ่งมหาเจริญ, กศน.อาเภอวงั นาเย็น,
19 สถานีตารวจภูธรวังนาเย็น, ธนาคารออมสิน สาขาวังนาเย็น, ธ.ก.ส. สาขาวังนาเย็น, มหาวิทยาลัย ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์, วิทยาลัยชุมชนสระแก้ว, มหาวิทยาลัยสยาม, มหาวิทยาลยั ราชภัฏสวนสนุ ันทา, มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครปฐม 3. ทนุ ทางสังคมและทุนทางวฒั นธรรม - ทุนทางสังคมภายใน สมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน มีความสามัคคี สามารถนาไปสู่พัฒนาด้านการรวมกลุ่ม จัดตังองค์กรเพ่ือร่วมกันพัฒนาชมุ ชน ก่อให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ อีกทังมีกองทุนต่าง ๆ กลุ่มออมทรัพย์ ที่สามารถให้การสนับสนุน ส่งเสริม นาไปสพู่ ฒั นาดา้ นแหลง่ ทุนในชมุ ชน การจดั การทุนในชมุ ชน เปน็ ตน้ - ทุนทางสังคมภายนอก มีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือ ด้านต่าง ๆ นาไปสกู่ ารพัฒนาชุมชน และยกระดับคุณภาพชวี ิตของคนในชมุ ชน - ทุนทางวัฒนธรรม ภายในชุมชนมีวัด ช่ือ วัดแก่งสะเดา จะมีการไปเข้าร่วมกิจกรรม ทางวัฒนธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีกับวัด เช่น วันสาคัญทางศาสนา, วันสงกรานต์, วันลอย กระทง เป็นต้น นาไปสู่การสนับสนุน ส่งเสริม ให้คงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามไว้ สว่ นการแสดง พธิ ีกรรม ประเพณี อาหาร ศิลปะพนื บา้ น ชุมชนมีเปน็ เอกลักษณเ์ ฉพาะภายในหมู่บ้าน เช่น พิธีกรรมกราบไหวบ้ ชู าเจ้าพ่อเขานอ้ ย (ศาลเจ้าพ่อสทุ ธช์ิ ัย) สามารถนาไปสพู่ ฒั นาด้านการจัดการ การท่องเท่ียวชุมชน และการสืบทอดมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ อีกทังยังมีอาหารพืนบ้าน เช่น ไก่ใต้นา รวมไปถึงการแสดงพืนบ้านราเซิงอีสาน และประเพณีบุญประจาปีกองเจดีย์ข้าวเปลือก สามารถนาไปสู่การพัฒนาด้านการท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรม เป็นคติชน เอกลักษณ์ จุดเด่น อัตลักษณ์ ของชมุ ชนและพนื ท่ีในตาบลไดอ้ ีกดว้ ย 4. ทนุ ทางเศรษฐกจิ และการค้าขาย มีแหล่งทางเศรษฐกิจ ได้แก่ ตลาดนัดชุมชน (ทุกวันพุธบ่าย), ป๊ัมนามัน ชุมขนประชารัฐ สามารถนาไปสู่การแลกเปลี่ยนสินค้าอุปโภคบริโภค แหล่งการค้าขายประเภทต่าง ๆ เกิดการ หมนุ เวียนทางเศรษฐกิจ เปน็ การสร้างงาน สรา้ งอาชพี สร้างรายได้ ภายในชุมชน 5. ทุนทางทรพั ยากรธรรมชาติ มีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ ได้แก่ แก่งสะเดา (นาตกแก่งสะเดา หรือ ธารนาไหล แก่งสะเดา) สามารถนาไปสู่การพัฒนาเป็นแหล่งท่องเท่ียวเชิงธรรมชาติ สร้างความสมดุลให้กับพืนท่ี และช่วยให้ชุมชนสามารถมนี าอปุ โภคบริโภค การทาเกษตรกรรมตลอดปี อีกทังยงั สามารถสร้างอาชีพ สรา้ งงาน สร้างรายได้กับชมุ ชนได้อีกดว้ ย 6. ด้านจัดการสงิ่ แวดลอ้ ม ชุมชนมีการจัดการขยะ การคัดแยกขยะ และได้รับองค์ความรู้จากองค์การบริหารส่วน ตาบลทุ่งมหาเจริญ ทังนีมี กลุ่ม อสม. ร่วมมือกันในการให้ความรู้ การจัดการสิ่งแวดล้อมให้ถูก สุขลักษณะอีกด้วย เพื่อให้ชุมชนสามารถจัดการส่ิงแวดล้อมด้วยตนเองนาไปสู่การพัฒนาด้าน ส่ิงแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ และเป็นการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในชุมชนบริเวณหน้าบ้านให้น่าอยู่ นา่ มอง มคี วามสวยงาม สะอาด เรยี บร้อย
20 7. ดา้ นองค์ความรู้ มีแหล่งองค์ความรู้ภูมิปัญญาพืนบ้าน ได้แก่ อาหารพืนบ้าน (ไก่ใต้นา/ปลาหลามหมก หน่อไม้/ปนอ่อมหอยขม/ปนปูนา/หน่อไม้ดอง/นาพริกเผา/กล้วยฉาบ/แคบหมู) สามารถนาไปสู่การ จัดการองค์ความรู้พัฒนาให้เกิดการรวมกลุ่ม การจัดตังองค์กร ถ่ายทอดองค์ความรู้ไปแก่บุคคลอื่น ๆ เพือ่ ให้สามารถสรา้ งอาชพี สร้างงาน สร้างรายได้ ใหเ้ กดิ ขนึ ในครวั เรอื นและชุมชน 8. ดา้ นวัตถุดบิ มีแหล่งวัตถุดิบ ได้แก่ ผักปลอดสารพิษ, อ้อย, มันสาปะหลัง สามารถนาไปสู่การพัฒนา ด้านการแปรรูปอาหาร การเพ่ิมประสิทธิภาพของผลผลิต และการส่งออกสินค้าของชุมชน พร้อมทัง ยกระดบั สนิ ค้าใหม้ คี ุณภาพมาตรฐานเป็นที่ยอมรับและให้ได้ราคาผลผลิตท่ีสูงขนึ 9. ด้านผลิตภัณฑช์ มุ ชน มีผลิตภัณฑ์ชุมชน ได้แก่ การสานถักสวิง-แห สามารถนาไปสู่การพัฒนาด้านการยกระดับ มาตรฐานของผลิตภัณฑ์ การผลิต และต่อยอดผลิตภัณฑ์ ให้มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับในสินค้าของ ชุมชน อกี ทงั เปน็ การเปิดโอกาสให้คนในชมุ ชน มอี าชีพเสริม สร้างงาน สรา้ งอาชีพ และสร้างรายได้ให้ เกิดขึนภายในชุมชน หม่ทู ี่ 5 บา้ นคลองตะเคียนชัย 1. ด้านทรัพยากรมนษุ ย์ - ไมม่ ี - 2. ด้านภาคีเครอื ขา่ ยในพืนท่ี มีหนว่ ยงานที่เขา้ มาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลอื ด้านต่าง ๆ ดังนี สานักงานจังหวัด สระแก้ว, องค์การบริหารส่วนจังหวัดสระแก้ว, สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอวังนาเย็น, โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตาบลคลองตะเคียนชัย, สานักงานเกษตรอาเภอวังนาเย็น, สานักงานสาธารณสุข อาเภอวังนาเย็น, องค์การบริหารส่วนตาบลทุ่งมหาเจริญ, กศน.อาเภอวังนาเย็น, สถานีตารวจภูธร วังนาเย็น, ธนาคารออมสิน สาขาวังนาเย็น, ธ.ก.ส. สาขาวังนาเย็น, โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน บา้ นคลองตะเคียนชัย 3. ทุนทางสงั คมและทนุ ทางวฒั นธรรม - ทุนทางสังคมภายใน สมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน มีความสามัคคี สามารถนาไปสู่พัฒนาด้านการรวมกลุ่ม จัดตังองค์กรเพื่อร่วมกันพัฒนาชมุ ชน ก่อให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ อีกทังมีกองทุนต่าง ๆ กลุ่มออมทรัพย์ ที่สามารถให้การสนับสนุน ส่งเสริม นาไปสพู่ ฒั นาด้านแหล่งทนุ ในชุมชน การจัดการทนุ ในชมุ ชน เปน็ ต้น - ทุนทางสังคมภายนอก มีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือ ด้านตา่ ง ๆ นาไปสู่การพฒั นาชมุ ชน และยกระดบั คุณภาพชีวิตของคนในชมุ ชน - ทุนทางวัฒนธรรม ภายในชุมชนมีวัด ชื่อ วัดคลองตะเคียนชัย จะมีการไปเข้าร่วม กิจกรรมทางวัฒนธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีกับวัด เช่น วันสาคัญทางศาสนา, วันสงกรานต์, วันลอยกระทง เป็นต้น นาไปสู่การสนับสนุน ส่งเสริม ให้คงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามไว้ ส่วนการแสดง พิธีกรรม ประเพณี อาหาร ศิลปะพืนบ้านที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะภายในหมู่บ้าน
21 มีเก่ียวกับเรื่องพิธีกรรมและความเช่ือเพียงอย่างเดียว คือ พิธีกรรมและความเช่ือกราบไหว้บูชา ศาลเจา้ แมต่ ะเคียน ภายในโรงเรียนตารวจตระเวนชายแดนบา้ นคลองตะเคียนชัย สามารถนาไปสู่การ พัฒนาด้านการจัดการการท่องเที่ยวชุมชน และการสืบทอดมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ เป็นคติชน เอกลกั ษณ์ จุดเดน่ อัตลกั ษณ์ของชมุ ชนและพืนที่ในตาบลได้อีกด้วย 4. ทนุ ทางเศรษฐกิจและการคา้ ขาย - ไม่มี - 5. ทนุ ทางทรัพยากรธรรมชาติ มีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ ได้แก่ อ่างเก็บนาคลองกัดตะนาวใหญ่ 2 สามารถนาไปสู่การ พัฒนาเป็นแหล่งท่องเท่ียวเชิงธรรมชาติ สร้างความสมดุลให้กับพืนที่ และช่วยให้ชุมชนสามารถมีนา อุปโภคบริโภค การทาเกษตรกรรมตลอดปี อีกทังยังสามารถสร้างอาชีพ สร้างงาน สร้างรายได้กับ ชุมชนไดอ้ กี ดว้ ย 6. ด้านจัดการสิ่งแวดล้อม ชุมชนมีการจัดการขยะ การคัดแยกขยะ และได้รับองค์ความรู้จากองค์การบริหารส่วน ตาบลทุ่งมหาเจริญ ทังนีมี กลุ่ม อสม. ร่วมมือกันในการให้ความรู้ การจัดการส่ิงแวดล้อมให้ถูก สุขลักษณะอีกด้วย เพื่อให้ชุมชนสามารถจัดการส่ิงแวดล้อมด้วยตนเองนาไปสู่การพัฒนาด้าน สิ่งแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ และเป็นการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมในชุมชนบริเวณหน้าบ้านให้น่าอยู่ น่ามอง มีความสวยงาม สะอาด เรียบร้อย 7. ด้านองค์ความรู้ - ไมม่ ี - 8. ด้านวัตถดุ ิบ มีแหล่งวัตถุดิบ ได้แก่ อ้อย, ผัก และลาไย สามารถนาไปสู่การพัฒนาด้านการแปรรูป อาหาร การเพ่ิมประสิทธิภาพของผลผลิต และการส่งออกสินค้าของชุมชน พร้อมทังยกระดับสินค้า ให้มคี ุณภาพมาตรฐานเปน็ ทีย่ อมรับและใหไ้ ด้ราคาผลผลิตที่สูงขึน 9. ดา้ นผลติ ภณั ฑช์ ุมชน - ไม่มี - หมู่ที่ 6 บ้านคลองใหญ่ 1. ด้านทรพั ยากรมนษุ ย์ - ไม่มี - 2. ดา้ นภาคีเครอื ข่ายในพนื ที่ มีหน่วยงานที่เข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือด้านต่าง ๆ ดังนี โรงพยาบาล สง่ เสริมสุขภาพตาบลทงุ่ มหาเจรญิ
22 3. ทนุ ทางสงั คมและทุนทางวัฒนธรรม - ทุนทางสังคมภายใน สมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน มีความสามัคคี สามารถนาไปสู่พัฒนาด้านการรวมกลุ่ม จัดตังองค์กรเพื่อร่วมกันพัฒนาชมุ ชน ก่อให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ อีกทังมีกองทุนต่าง ๆ กลุ่มออมทรัพย์ ท่ีสามารถให้การสนับสนุน ส่งเสริม นาไปสู่พฒั นาดา้ นแหล่งทนุ ในชุมชน การจดั การทนุ ในชมุ ชน เป็นต้น - ทุนทางสังคมภายนอก มีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือ ด้านต่าง ๆ นาไปสู่การพฒั นาชมุ ชน และยกระดบั คณุ ภาพชีวิตของคนในชมุ ชน - ทุนทางวัฒนธรรม ภายในชุมชนไม่มีวัด แต่จะมีการไปเข้าร่วมกิจกรรมทางวัฒนธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีกับวัดของหมู่บ้านข้างเคียง เช่น วันสาคัญทางศาสนา, วันสงกรานต์, วันลอยกระทง เป็นต้น นาไปสู่การสนับสนุน ส่งเสริม ให้คงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามไว้ ส่วนการแสดง พิธีกรรม ประเพณี อาหาร ศิลปะพืนบ้านที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะภายในหมู่บ้าน มีเกี่ยวกับเรื่องประเพณีเพียงอย่างเดียว คือ ประเพณีบายศรีสู่ขวัญข้าว จะไปจัดงานที่ วัดคลองใหญ่ ซ่ึงปัจจุบันหมู่บ้านมีการแบ่งการปกครองพืนท่ีวัดจึงไปอยู่ในส่วนของหมู่ท่ี 25 บ้านเนินสามัคคี สามารถนาไปสู่การพัฒนาด้านการจัดการการท่องเท่ียวชุมชน และการสืบทอดมรดกทางวัฒนธรรม ท่จี บั ต้องไม่ได้ เป็นคติชน เอกลักษณ์ จุดเด่น อตั ลักษณ์ของชมุ ชนและพืนที่ในตาบลได้อกี ด้วย 4. ทุนทางเศรษฐกจิ และการคา้ ขาย - ไม่มี - 5. ทุนทางทรัพยากรธรรมชาติ - ไม่มี - 6. ด้านจดั การสิง่ แวดลอ้ ม ชุมชนมีการจัดการขยะ การคัดแยกขยะ และได้รับองค์ความรู้จากองค์การบริหารส่วน ตาบลทุ่งมหาเจริญ ทังนีมี กลุ่ม อสม. ร่วมมือกันในการให้ความรู้ การจัดการสิ่งแวดล้อมให้ถูก สุขลักษณะอีกด้วย เพื่อให้ชุมชนสามารถจัดการสิ่งแวดล้อมด้วยตนเองนาไปสู่การพัฒนาด้าน ส่ิงแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ และเป็นการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในชุมชนบริเวณหน้าบ้านให้น่าอยู่ นา่ มอง มคี วามสวยงาม สะอาด เรียบรอ้ ย 7. ด้านองคค์ วามรู้ - ไม่มี - 8. ด้านวัตถุดิบ มีแหล่งวัตถุดิบ ได้แก่ มันสาปะหลัง, ข้าวโพด, อ้อย, ข้าว, ผัก และลาไย สามารถนาไปสู่ การพัฒนาด้านการแปรรูปอาหาร การเพิ่มประสิทธิภาพของผลผลิต และการส่งออกสินค้าของชุมชน พรอ้ มทงั ยกระดบั สนิ คา้ ให้มีคุณภาพมาตรฐานเป็นทยี่ อมรับและให้ไดร้ าคาผลผลิตท่ีสูงขึน 9. ดา้ นผลิตภัณฑช์ มุ ชน - ไม่มี -
23 หมูท่ ่ี 7 บ้านซบั เจรญิ 1. ด้านทรัพยากรมนษุ ย์ - ไมม่ ี - 2. ดา้ นภาคีเครอื ขา่ ยในพนื ท่ี มีหน่วยงานที่เข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือด้านต่าง ๆ ดังนี โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตาบลทุ่งมหาเจริญ, สานักงานเกษตรอาเภอวังนาเย็น, ธนาคารออมสิน สาขา วังนาเยน็ , ธ.ก.ส. สาขาวังนาเย็น, กลุ่ม อสม. 3. ทุนทางสังคมและทุนทางวฒั นธรรม - ทุนทางสังคมภายใน สมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน มีความสามัคคี สามารถนาไปสู่พัฒนาด้านการรวมกลุ่ม จัดตังองค์กรเพ่ือร่วมกันพัฒนาชมุ ชน ก่อให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ อีกทังมีกองทุนต่าง ๆ กลุ่มออมทรัพย์ ท่ีสามารถให้การสนับสนุน ส่งเสริม นาไปสู่พฒั นาด้านแหล่งทุนในชมุ ชน การจัดการทนุ ในชุมชน เป็นต้น - ทุนทางสังคมภายนอก มีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือ ด้านตา่ ง ๆ นาไปส่กู ารพฒั นาชุมชน และยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน - ทุนทางวัฒนธรรม ภายในชุมชนมีวัด ขื่อ วัดซับเจริญพัฒนาราม จะมีการไปเข้าร่วม กิจกรรมทางวัฒนธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีกับวัด เช่น วันสาคัญทางศาสนา, วันสงกรานต,์ วันลอยกระทง เป็นต้น นาไปสู่การสนับสนุน ส่งเสริม ให้คงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามไว้ ส่วนการแสดง พิธกี รรม ประเพณี ศิลปะพืนบ้านทเี่ ปน็ เอกลักษณ์เฉพาะภายในหมบู่ ้านไมม่ ี 4. ทุนทางเศรษฐกจิ และการค้าขาย - ไมม่ ี - 5. ทุนทางทรพั ยากรธรรมชาติ - ไมม่ ี - 6. ด้านจัดการส่งิ แวดล้อม ชุมชนมีการจัดการขยะ การคัดแยกขยะ และได้รับองค์ความรู้จากองค์การบริหารส่วน ตาบลทุ่งมหาเจริญ ทังนีมี กลุ่ม อสม. ร่วมมือกันในการให้ความรู้ การจัดการส่ิงแวดล้อมให้ถูก สุขลักษณะอีกด้วย เพื่อให้ชุมชนสามารถจัดการส่ิงแวดล้อมด้วยตนเองนาไปสู่การพัฒนาด้าน สิ่งแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ และเป็นการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในชุมชนบริเวณหน้าบ้านให้น่าอยู่ น่ามอง มคี วามสวยงาม สะอาด เรียบร้อย 7. ด้านองคค์ วามรู้ - ไม่มี - 8. ดา้ นวัตถดุ ิบ มีแหล่งวัตถุดิบ ได้แก่ มันสาปะหลัง, อ้อย และผัก สามารถนาไปสู่การพัฒนาด้านการ แปรรูปอาหาร การเพ่ิมประสิทธิภาพของผลผลิต และการส่งออกสินค้าของชุมชน พร้อมทังยกระดับ สินค้าใหม้ ีคุณภาพมาตรฐานเป็นทีย่ อมรับและใหไ้ ดร้ าคาผลผลิตท่ีสูงขนึ 9. ดา้ นผลิตภัณฑ์ชุมชน - ไมม่ ี -
24 หมู่ท่ี 8 บา้ นดา่ นชัยพัฒนา 1. ด้านทรัพยากรมนุษย์ - ไมม่ ี - 2. ด้านภาคเี ครือขา่ ยในพนื ท่ี มีหน่วยงานที่เข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือด้านต่าง ๆ ดังนี โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตาบลทุ่งมหาเจริญ, สานักงานเกษตรอาเภอวังนาเย็น, สานักงานประมงอาเภอ วังนาเย็น, สานักงานสาธารณสุขอาเภอวังนาเย็น, สถานีตารวจภูธรวังนาเย็น, ธนาคารออมสิน สาขา วงั นาเย็น, ธ.ก.ส. สาขาวงั นาเย็น 3. ทนุ ทางสงั คมและทุนทางวัฒนธรรม - ทุนทางสังคมภายใน สมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน มีความสามัคคี สามารถนาไปสู่พัฒนาด้านการรวมกลุ่ม จัดตังองค์กรเพื่อร่วมกันพัฒนาชุมชน ก่อให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ อีกทังมีกองทุนต่าง ๆ กลุ่มออมทรัพย์ ท่ีสามารถให้การสนับสนุน ส่งเสริม นาไปสพู่ ฒั นาด้านแหล่งทุนในชมุ ชน การจดั การทุนในชุมชน เปน็ ต้น - ทุนทางสังคมภายนอก มีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือ ด้านต่าง ๆ นาไปสู่การพัฒนาชุมชน และยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน - ทุนทางวัฒนธรรม ภายในชุมชนมีวัด ข่ือ วัดด่านชัยพัฒนา จะมีการไปเข้าร่วมกิจกรรม ทางวัฒนธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีกับวัด เช่น วันสาคัญทางศาสนา, วันสงกรานต์, วันลอย กระทง เป็นต้น นาไปสู่การสนับสนุน ส่งเสริม ให้คงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามไว้ ส่วนการแสดง พธิ ีกรรม ประเพณี ศิลปะพนื บ้านทีเ่ ป็นเอกลกั ษณเ์ ฉพาะภายในหม่บู ้านไมม่ ี 4. ทนุ ทางเศรษฐกจิ และการค้าขาย - ไมม่ ี - 5. ทนุ ทางทรัพยากรธรรมชาติ - ไมม่ ี - 6. ด้านจัดการสิ่งแวดล้อม ชุมชนมีการจัดการขยะ การคัดแยกขยะ และได้รับองค์ความรู้จากองค์การบริหารส่วน ตาบลทุ่งมหาเจริญ ทังนีมี กลุ่ม อสม. ร่วมมือกันในการให้ความรู้ การจัดการส่ิงแวดล้อมให้ถูก สุขลักษณะอีกด้วย เพื่อให้ชุมชนสามารถจัดการส่ิงแวดล้อมด้วยตนเองนาไปสู่การพัฒนาด้าน ส่ิงแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ และเป็นการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมในชุมชนบริเวณหน้าบ้านให้น่าอยู่ น่ามอง มีความสวยงาม สะอาด เรยี บร้อย 7. ด้านองคค์ วามรู้ - ไม่มี - 8. ด้านวัตถดุ ิบ มีแหล่งวัตถุดิบ ได้แก่ ข้าวหอมมะลิ, ข้าวเหนียว, มันสาปะหลัง, อ้อย และลาไย สามารถ นาไปสู่การพัฒนาด้านการแปรรูปอาหาร การเพิ่มประสิทธิภาพของผลผลิต และการส่งออกสินค้า ของชมุ ชน พรอ้ มทังยกระดับสนิ ค้าให้มีคณุ ภาพมาตรฐานเป็นทีย่ อมรบั และใหไ้ ดร้ าคาผลผลติ ท่ีสูงขึน
25 9. ด้านผลิตภณั ฑ์ชุมชน - ไมม่ ี - หมทู่ ่ี 9 บ้านวงั สุเทพ 1. ด้านทรัพยากรมนุษย์ มีพระสงฆ์นักพัฒนา และพระเกจิด้านเคร่ืองราง ชื่อ หลวงปู่สน่ัน อิสสโร เจ้าอาวาส วัดวังสุเทพ สามารถนาไปสู่การพัฒนาด้านการบารุงพระพุทธศาสนา สร้างวัดให้เจริญรุ่งเรือง มีความ โดดเด่นเป็นอัตลักษณ์ และพัฒนาวัดให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว ชุมชนกลายเป็นท่ีรู้จักของคนทั่วไป เกิดรายไดภ้ ายในชุมชน สามารถเชือ่ มโยงไปยงั สถานทอ่ี น่ื ๆ ไดอ้ กี ดว้ ย 2. ดา้ นภาคีเครือข่ายในพนื ที่ มีหน่วยงานท่ีเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือด้านต่าง ๆ ดังนี โรงพยาบาล สง่ เสริมสุขภาพตาบลทงุ่ มหาเจรญิ 3. ทุนทางสงั คมและทนุ ทางวฒั นธรรม - ทุนทางสังคมภายใน สมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน มีความสามัคคี สามารถนาไปสู่พัฒนาด้านการรวมกลุ่ม จัดตังองค์กรเพื่อร่วมกันพัฒนาชมุ ชน ก่อให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ อีกทังมีกองทุนต่าง ๆ กลุ่มออมทรัพย์ ที่สามารถให้การสนับสนุน ส่งเสริม นาไปสพู่ ัฒนาด้านแหลง่ ทุนในชมุ ชน การจดั การทุนในชุมชน เป็นต้น - ทุนทางสังคมภายนอก มีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือ ด้านตา่ ง ๆ นาไปสูก่ ารพฒั นาชมุ ชน และยกระดับคณุ ภาพชีวิตของคนในชมุ ชน - ทุนทางวัฒนธรรม ภายในชุมชนมีวัด ขื่อ วัดวังสุเทพ จะมีการไปเข้าร่วมกิจกรรมทาง วัฒนธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีกับวัด เช่น วันสาคัญทางศาสนา, วันสงกรานต์, วันลอย กระทง เป็นต้น นาไปสู่การสนับสนุน ส่งเสริม ให้คงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามไว้ ส่วนการแสดง พิธีกรรม ประเพณี ศิลปะพืนบ้านมีเป็นเอกลักษณ์เฉพาะภายในหมู่บ้าน มีเกี่ยวกับ เร่ืองประเพณีเพียงอย่างเดียว คือ ประเพณีบุญบังไฟ สามารถนาไปสู่การพัฒนาด้านการจัดการ การทอ่ งเทีย่ วชุมชน และการสืบทอดมรดกทางวัฒนธรรมทจี่ ับต้องไม่ได้ เป็นคตชิ น เอกลกั ษณ์ จดุ เด่น อัตลกั ษณ์ของชุมชนและพนื ที่ในตาบลได้อกี ดว้ ย 4. ทนุ ทางเศรษฐกิจและการคา้ ขาย - ไม่มี - 5. ทนุ ทางทรพั ยากรธรรมชาติ - ไม่มี - 6. ดา้ นจัดการส่งิ แวดลอ้ ม ชุมชนมีการจัดการขยะ การคัดแยกขยะ และได้รับองค์ความรู้จากองค์การบริหารส่วน ตาบลทุ่งมหาเจริญ ทังนีมี กลุ่ม อสม. ร่วมมือกันในการให้ความรู้ การจัดการสิ่งแวดล้อมให้ถูก สุขลักษณะอีกด้วย เพ่ือให้ชุมชนสามารถจัดการสิ่งแวดล้อมด้วยตนเองนาไปสู่การพัฒนาด้าน สิ่งแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ และเป็นการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมในชุมชนบริเวณหน้าบ้านให้น่าอยู่ น่ามอง มคี วามสวยงาม สะอาด เรยี บร้อย
26 7. ดา้ นองคค์ วามรู้ - ไม่มี - 8. ดา้ นวตั ถุดิบ มีแหล่งวตั ถุดิบ ไดแ้ ก่ มนั สาปะหลัง, อ้อย, ขา้ ว และลาไย สามารถนาไปสู่การพัฒนาด้าน การแปรรูปอาหาร การเพิ่มประสิทธิภาพของผลผลิต และการส่งออกสินค้าของชุมชน พร้อมทัง ยกระดับสนิ ค้าให้มีคณุ ภาพมาตรฐานเป็นทยี่ อมรบั และให้ไดร้ าคาผลผลติ ที่สูงขึน 9. ด้านผลติ ภัณฑ์ชุมชน - ไมม่ ี - หมูท่ ี่ 10 บา้ นเขาตะกรบุ พัฒนา 1. ด้านทรัพยากรมนษุ ย์ - ไมม่ ี - 2. ดา้ นภาคเี ครือขา่ ยในพืนท่ี มีหน่วยงานที่เข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือด้านต่าง ๆ ดังนี โรงพยาบาล ส่งเสริมสขุ ภาพตาบลคลองตะเคยี นชัย 3. ทนุ ทางสังคมและทนุ ทางวฒั นธรรม - ทุนทางสังคมภายใน สมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน มีความสามัคคี สามารถนาไปสู่พัฒนาด้านการรวมกลุ่ม จัดตังองค์กรเพ่ือร่วมกันพัฒนาชมุ ชน ก่อให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ อีกทังมีกองทุนต่าง ๆ กลุ่มออมทรัพย์ ท่ีสามารถให้การสนับสนุน ส่งเสริม นาไปสู่พัฒนาดา้ นแหล่งทุนในชมุ ชน การจัดการทุนในชมุ ชน เปน็ ตน้ - ทุนทางสังคมภายนอก มีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือ ด้านต่าง ๆ นาไปส่กู ารพฒั นาชุมชน และยกระดับคุณภาพชีวติ ของคนในชมุ ชน - ทุนทางวัฒนธรรม ภายในชุมชนมีวัด ขื่อ วัดเขาตะกรุบพัฒนา จะมีการไปเข้าร่วม กิจกรรมทางวัฒนธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีกับวัด เช่น วันสาคัญทางศาสนา, วันสงกรานต,์ วันลอยกระทง เป็นต้น นาไปสู่การสนับสนุน ส่งเสริม ให้คงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามไว้ ส่วนการแสดง พิธีกรรม ประเพณี ศิลปะพืนบ้านมีเป็นเอกลักษณ์เฉพาะภายในหมู่บ้าน มีเก่ียวกับ เร่ืองประเพณีเพียงอย่างเดียว คือ ประเพณีบุญบังไฟ สามารถนาไปสู่การพัฒนาด้านการจัดการ การท่องเที่ยวชุมชน และการสืบทอดมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ เป็นคติชน เอกลกั ษณ์ จดุ เด่น อตั ลกั ษณ์ของชุมชนและพืนท่ใี นตาบลได้อกี ด้วย 4. ทุนทางเศรษฐกจิ และการค้าขาย มีแหล่งทางเศรษฐกิจ ได้แก่ ตลาดนัดชุมชน สามารถนาไปสู่การแลกเปล่ียนสินค้า อุปโภคบริโภค แหล่งการค้าขายประเภทต่าง ๆ เกิดการหมุนเวียนทางเศรษฐกิจ เป็นการสร้างงาน สรา้ งอาชพี สรา้ งรายได้ ภายในชุมชน
27 5. ทนุ ทางทรัพยากรธรรมชาติ มแี หลง่ ทรพั ยากรธรรมชาติ ได้แก่ อ่างเก็บนาเขาตะกรบุ พฒั นา สามารถนาไปสูก่ ารพฒั นา เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ สร้างความสมดุลของระบบนิเวศให้กับพืนท่ี และช่วยให้ชุมชน สามารถมีนาอุปโภคบริโภค การทาเกษตรกรรมตลอดปี อีกทังยังสามารถสร้างอาชีพ สร้างงาน สรา้ งรายได้กับชมุ ชนไดอ้ กี ดว้ ย 6. ด้านจัดการสงิ่ แวดลอ้ ม ชุมชนมีการจัดการขยะ การคัดแยกขยะ และได้รับองค์ความรู้จากองค์การบริหารส่วน ตาบลทุ่งมหาเจริญ ทังนีมี กลุ่ม อสม. ร่วมมือกันในการให้ความรู้ การจัดการส่ิงแวดล้อมให้ถูก สุขลักษณะอีกด้วย เพ่ือให้ชุมชนสามารถจัดการส่ิงแวดล้อมด้วยตนเองนาไปสู่การพัฒนาด้าน ส่ิงแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ และเป็นการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมในชุมชนบริเวณหน้าบ้านให้น่าอยู่ น่ามอง มคี วามสวยงาม สะอาด เรยี บร้อย 7. ด้านองคค์ วามรู้ - ไมม่ ี - 8. ด้านวัตถุดิบ มแี หล่งวัตถุดิบ ไดแ้ ก่ มนั สาปะหลัง, ออ้ ย, ข้าว และลาไย สามารถนาไปสู่การพัฒนาด้าน การแปรรูปอาหาร การเพ่ิมประสิทธิภาพของผลผลิต และการส่งออกสินค้าของชุมชน พร้อมทัง ยกระดับสินค้าให้มีคุณภาพมาตรฐานเป็นท่ียอมรบั และใหไ้ ดร้ าคาผลผลติ ท่ีสงู ขนึ 9. ด้านผลิตภณั ฑช์ มุ ชน - ไม่มี - หมทู่ ่ี 11 บ้านคลองขเี หล็ก 1. ดา้ นทรัพยากรมนุษย์ มีพระสงฆ์นักพัฒนา และพระเกจิด้านเครื่องราง ช่ือ หลวงปู่อินทร์ อุปคุตโต ประธาน สานักสงฆ์คลองขีเหล็ก สามารถนาไปสู่การพัฒนาด้านการบารุงพระพุทธศาสนา สร้างวัดให้ เจริญรุ่งเรือง มีความโดดเด่นเป็นอัตลักษณ์ และพัฒนาวัดให้เป็นแหล่งท่องเที่ยว ชุมชนกลายเป็นที่ รูจ้ กั ของคนท่วั ไป เกิดรายได้ภายในชุมชน สามารถเชอ่ื มโยงไปยังสถานทอ่ี ืน่ ๆ ได้อกี ด้วย 2. ด้านภาคเี ครือขา่ ยในพนื ที่ มีหน่วยงานท่ีเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือด้านต่าง ๆ ดังนี โรงพยาบาล สง่ เสริมสขุ ภาพตาบลคลองจระเข้ 3. ทนุ ทางสังคมและทนุ ทางวฒั นธรรม - ทุนทางสังคมภายใน สมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน มีความสามัคคี สามารถนาไปสู่พัฒนาด้านการรวมกลุ่ม จัดตังองค์กรเพื่อร่วมกันพัฒนาชุมชน ก่อให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ อีกทังมีกองทุนต่าง ๆ กลุ่มออมทรัพย์ ท่ีสามารถให้การสนับสนุน ส่งเสริม นาไปสพู่ ัฒนาด้านแหลง่ ทนุ ในชุมชน การจัดการทนุ ในชมุ ชน เป็นต้น - ทุนทางสังคมภายนอก มีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือ ดา้ นตา่ ง ๆ นาไปสูก่ ารพัฒนาชุมชน และยกระดบั คณุ ภาพชวี ติ ของคนในชุมชน
28 - ทุนทางวัฒนธรรม ภายในชุมชนมีวัด ขื่อ วัดคลองขีเหล็ก จะมีการไปเข้าร่วมกิจกรรม ทางวัฒนธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีกับวัด เช่น วันสาคัญทางศาสนา, วันสงกรานต์, วันลอย กระทง เป็นต้น นาไปสู่การสนับสนุน ส่งเสริม ให้คงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามไว้ สว่ นการแสดง พิธกี รรม ประเพณี ศิลปะพนื บา้ นทเี่ ป็นเอกลักษณ์เฉพาะภายในหมู่บา้ นไม่มี 4. ทนุ ทางเศรษฐกจิ และการค้าขาย - ไมม่ ี - 5. ทุนทางทรพั ยากรธรรมชาติ - ไมม่ ี - 6. ด้านจดั การสิง่ แวดล้อม ชุมชนมีการจัดการขยะ การคัดแยกขยะ และได้รับองค์ความรู้จากองค์การบริหารส่วน ตาบลทุ่งมหาเจริญ ทังนีมี กลุ่ม อสม. ร่วมมือกันในการให้ความรู้ การจัดการสิ่งแวดล้อมให้ถูก สุขลักษณะอีกด้วย เพ่ือให้ชุมชนสามารถจัดการสิ่งแวดล้อมด้วยตนเองนาไปสู่การพัฒนาด้าน สิ่งแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ และเป็นการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมในชุมชนบริเวณหน้าบ้านให้น่าอยู่ นา่ มอง มคี วามสวยงาม สะอาด เรยี บร้อย 7. ด้านองค์ความรู้ - ไม่มี - 8. ด้านวตั ถดุ บิ มีแหล่งวัตถดุ ิบ ได้แก่ มันสาปะหลัง, ออ้ ย, ขา้ ว และลาไย สามารถนาไปสู่การพัฒนาด้าน การแปรรูปอาหาร การเพิ่มประสิทธิภาพของผลผลิต และการส่งออกสินค้าของชุมชน พร้อมทัง ยกระดบั สนิ คา้ ใหม้ คี ุณภาพมาตรฐานเปน็ ทย่ี อมรบั และให้ไดร้ าคาผลผลติ ที่สูงขึน 9. ดา้ นผลิตภณั ฑ์ชมุ ชน - ไมม่ ี - หมทู่ ่ี 12 บ้านคลองพัฒนา 1. ดา้ นทรัพยากรมนษุ ย์ - ไม่มี - 2. ดา้ นภาคเี ครือข่ายในพืนที่ มีหน่วยงานที่เข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือด้านต่าง ๆ ดังนี โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตาบลทุ่งมหาเจริญ, สานักงานเกษตรอาเภอวังนาเย็น, สานักงานประมงอาเภอ วังนาเย็น, สานักงานปศุสัตว์อาเภอวังนาเย็น, สานักงานสาธารณสุขอาเภอวังนาเย็น, องค์การบริหาร ส่วนตาบลทุ่งมหาเจริญ, กศน.อาเภอวังนาเย็น, สถานีตารวจภูธรวังนาเย็น, ธนาคารออมสิน สาขา วังนาเยน็ , ธ.ก.ส. สาขาวงั นาเย็น
29 3. ทนุ ทางสงั คมและทนุ ทางวัฒนธรรม - ทุนทางสังคมภายใน สมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน มีความสามัคคี สามารถนาไปสู่พัฒนาด้านการรวมกลุ่ม จัดตังองค์กรเพ่ือร่วมกันพัฒนาชมุ ชน ก่อให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ อีกทังมีกองทุนต่าง ๆ กลุ่มออมทรัพย์ ที่สามารถให้การสนับสนุน ส่งเสริม นาไปสู่พฒั นาดา้ นแหลง่ ทุนในชุมชน การจัดการทุนในชุมชน เป็นตน้ - ทุนทางสังคมภายนอก มีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือ ด้านตา่ ง ๆ นาไปสกู่ ารพฒั นาชมุ ชน และยกระดับคณุ ภาพชวี ติ ของคนในชมุ ชน - ทุนทางวัฒนธรรม ภายในชุมชนมีวัด ข่ือ วัดคลองพัฒนา จะมีการไปเข้าร่วมกิจกรรม ทางวัฒนธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีกับวัด เช่น วันสาคัญทางศาสนา, วันสงกรานต์, วันลอย กระทง เป็นต้น นาไปสู่การสนับสนุน ส่งเสริม ให้คงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามไว้ ส่วนการแสดง พิธีกรรม ประเพณี ศลิ ปะพืนบา้ นทเ่ี ป็นเอกลกั ษณเ์ ฉพาะภายในหมู่บ้านไมม่ ี 4. ทุนทางเศรษฐกิจและการค้าขาย มีแหลง่ ทางเศรษฐกจิ ไดแ้ ก่ ลานตากพืชผลทางการเกษตร สามารถนาไปสู่การพัฒนาและ ยกระดับคุณภาพของสถานที่ให้เกษตรกรมลี านตากขา้ วในพืนท่ี ทาให้ผลผลิตทางการเกษตรมีคุณภาพ เพ่มิ มากขนึ อีกทงั ช่วยลดรายจ่ายใหก้ ับเกษตรกรอกี ดว้ ย 5. ทนุ ทางทรพั ยากรธรรมชาติ - ไมม่ ี - 6. ด้านจัดการส่งิ แวดล้อม ชุมชนมีการจัดการขยะ การคัดแยกขยะ และได้รับองค์ความรู้จากองค์การบริหารส่วน ตาบลทุ่งมหาเจริญ ทังนีมี กลุ่ม อสม. ร่วมมือกันในการให้ความรู้ การจัดการส่ิงแวดล้อมให้ถูก สุขลักษณะอีกด้วย เพ่ือให้ชุมชนสามารถจัดการสิ่งแวดล้อมด้วยตนเองนาไปสู่การพัฒนาด้าน สิ่งแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ และเป็นการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมในชุมชนบริเวณหน้าบ้านให้น่าอยู่ นา่ มอง มีความสวยงาม สะอาด เรียบร้อย 7. ด้านองคค์ วามรู้ มีแหล่งองค์ความรู้ภูมิปัญญาพืนบ้าน ได้แก่ โคก หนอง นา, เกษตรเศรษฐกิจพอเพียง, เกษตร (ดิน ปุ๋ย พืช) สามารถนาไปสู่การจัดการองค์ความรู้พัฒนาให้เกิดการรวมกลุ่ม การจัดตัง องค์กร ถ่ายทอดองค์ความรู้ไปแก่บุคคลอ่ืน ๆ เพ่ือให้สามารถสร้างอาชีพ สร้างงาน สร้างรายได้ ให้เกดิ ขนึ ในครัวเรือนและชมุ ชน 8. ด้านวตั ถุดบิ มีแหล่งวัตถุดิบ ได้แก่ มันสาปะหลัง, ข้าวโพด, อ้อย, ข้าว, ผัก, ลาไย, โคเนือ/โคนม และ สมุนไพร สามารถนาไปสู่การพัฒนาด้านการแปรรูปอาหาร การเพ่ิมประสิทธิภาพของผลผลิต และ การส่งออกสินค้าของชุมชน พร้อมทังยกระดับสินค้าให้มีคุณภาพมาตรฐานเป็นท่ียอมรับและให้ได้ ราคาผลผลิตที่สงู ขนึ 9. ด้านผลิตภัณฑ์ชมุ ชน - ไมม่ ี -
30 หมู่ท่ี 13 บา้ นชยั พัฒนา 1. ดา้ นทรพั ยากรมนษุ ย์ มีปราชญช์ าวบ้านด้านต่าง ๆ ดงั ต่อไปนี 1. นางมดุ ซอ่ื สัตย์ จักสานไม้ไผ่เซรามิค 2. นายนิพนธ์ ออ่ นจันทร์ หมอดู 3. นายสมยศ ไม่ทราบนามสกลุ หมอพราหมณ์ 4. นายสพุ จน์ บินยูซบ โต๊ะอิหมา่ ม / เช่ียวชาญด้านโคเนอื ซ่ึงองค์ความรู้ของบุคคลดังกล่าวท่ีได้กล่าวถึงข้างต้น ด้านพิธีกรรม ความเช่ือ สามารถ นาไปสู่การเป็นศูนย์รวมจิตใจและเป็นท่ีพึ่งในยามมีทุกข์ของชาวบ้าน และด้านภูมิปัญญาพืนบ้าน สามารถรวบรวมองค์ความรู้เก่ียวกับภูมิปัญญาพืนบ้านท่ีถ่ายทอดกันมาจากรุ่นสู่รุ่น เผยแพร่ด้วย วิธีการกระบวนการขันตอนต่าง ๆ เป็นรูปแบบสอ่ื ส่ิงพิมพ์ ส่ือโสตทัศน์ สื่อมัลติมีเดีย หรือสื่อออนไลน์ ให้เด็ก เยาวชนหรือบุคคลท่ีมีความสนใจได้ศึกษา เรียนรู้ เพื่อคงรักษาคุณค่าไว้ไม่ให้เกิดการสูญหาย ของมรดกทางวัฒนธรรม อีกทังสามารถนาไปสู่การสร้างอาชีพ สร้างงาน สร้างรายได้เสริมให้กับ ครอบครัวเป็นสนิ คา้ ส่งออกเป็นผลติ ภัณฑส์ ่ตู ลาดผ้บู รโิ ภคทังภายในประเทศและตา่ งประเทศ 2. ดา้ นภาคีเครอื ขา่ ยในพืนท่ี มีหน่วยงานที่เข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือด้านต่าง ๆ ดังนี โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตาบลคลองตะเคียนชยั , โครงการชลประทานสระแก้ว, สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอ วังนาเยน็ , สานักงานเกษตรอาเภอวงั นาเย็น 3. ทนุ ทางสงั คมและทุนทางวฒั นธรรม - ทุนทางสังคมภายใน สมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน มีความสามัคคี สามารถนาไปสู่พัฒนาด้านการรวมกลุ่ม จัดตังองค์กรเพ่ือร่วมกันพัฒนาชมุ ชน ก่อให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ อีกทังมีกองทุนต่าง ๆ กลุ่มออมทรัพย์ ท่ีสามารถให้การสนับสนุน ส่งเสริม นาไปสู่พฒั นาด้านแหล่งทนุ ในชุมชน การจดั การทุนในชุมชน เป็นต้น - ทุนทางสังคมภายนอก มีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือ ดา้ นตา่ ง ๆ นาไปส่กู ารพฒั นาชมุ ชน และยกระดบั คณุ ภาพชีวติ ของคนในชมุ ชน - ทุนทางวัฒนธรรม ภายในชุมชนมี 3 ศาสนา ประกอบด้วย ศาสนาพุทธ, ศาสนาคริสต์, ศาสนาอิสลาม โดยมี วัดป่าศรีถาวรชัยพัฒนา (ธ), คริสตจักรเซเว่นธ์เดย์แอ็ดเวนตีสทุ่งมหาเจริญ, มัสยดิ นรู ุ้ลฟัตตาห์ จะมกี ารไปเข้าร่วมกจิ กรรมทางวัฒนธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีของแต่ละ ศาสนา นาไปสู่การสนับสนุน ส่งเสริม ให้คงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามไว้ ส่วนการแสดง พธิ ีกรรม ประเพณี อาหาร ศิลปะพนื บา้ นมเี ป็นเอกลักษณ์เฉพาะภายในหมู่บา้ น เช่น อาหาร ประเพณี วัฒนธรรม กิจกรรมต่าง ๆ ของแต่ละศาสนา ท่ีเด่นชัด คือ พิธีกรรมและความเช่ือกราบไหว้บูชา ศาลเจ้าพ่อลิงดา, ดนตรีพืนบ้าน (กลองยาว), นางรา, ข้าวหมกแพะ-ไก่ (อิสลาม), กล้วยฉาบ, นาเสาวรส, มะมว่ งดอง-แชอ่ ่ิม สามารถนาไปสู่การพัฒนาดา้ นการจดั การการท่องเทีย่ วชมุ ชน และการ สืบทอดมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ เป็นคติชน เอกลักษณ์ จุดเด่น อัตลักษณ์ของชุมชนและ พนื ทีใ่ นตาบลได้อกี ดว้ ย
31 4. ทนุ ทางเศรษฐกิจและการค้าขาย - ไมม่ ี - 5. ทนุ ทางทรัพยากรธรรมชาติ มีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ ได้แก่ อ่างเก็บนากระแพรกหมู 3 และสวนพฤกษศาสตร์ 100 ปี วังนาเย็น สามารถนาไปสู่การพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ และศึกษาเรียนรู้ ค้นคว้า สร้างความสมดุลของระบบนิเวศให้กับพืนท่ี และช่วยให้ชุมชนสามารถมีนาอุปโภคบริโภค การทาเกษตรกรรมตลอดปี อกี ทังยงั สามารถสรา้ งอาชพี สรา้ งงาน สรา้ งรายได้กับชุมชนได้อีกด้วย 6. ด้านจัดการสิ่งแวดล้อม ชุมชนมีการจัดการขยะ การคัดแยกขยะ และได้รับองค์ความรู้จากองค์การบริหารส่วน ตาบลทุ่งมหาเจริญ ทังนีมี กลุ่ม อสม. ร่วมมือกันในการให้ความรู้ การจัดการส่ิงแวดล้อมให้ถูก สุขลักษณะอีกด้วย เพ่ือให้ชุมชนสามารถจัดการส่ิงแวดล้อมด้วยตนเองนาไปสู่การพัฒนาด้าน สิ่งแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ และเป็นการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในชุมชนบริเวณหน้าบ้านให้น่าอยู่ น่ามอง มีความสวยงาม สะอาด เรยี บรอ้ ย 7. ด้านองคค์ วามรู้ มีแหล่งองค์ความรู้ภูมิปัญญาพืนบ้าน ได้แก่ ครูช่างศิลป์, จักสาน, พิธีกรรม, เกษตร เศรษฐกิจพอเพียง, โคกหนองนาโมเดล สามารถนาไปสู่การจัดการองค์ความรู้พัฒนาให้เกิดการ รวมกลมุ่ การจัดตังองค์กร ถา่ ยทอดองค์ความรู้ไปแก่บุคคลอ่ืน ๆ เพ่อื ให้สามารถสร้างอาชีพ สรา้ งงาน สรา้ งรายได้ให้เกิดขึนในครวั เรือนและชมุ ชน 8. ด้านวตั ถุดิบ มีแหล่งวัตถุดิบ ได้แก่ ลาไย, อ้อย และมันสาปะหลัง สามารถนาไปสู่การพัฒนาด้านการ แปรรูปอาหาร การเพ่ิมประสิทธิภาพของผลผลิต และการส่งออกสินค้าของชุมชน พร้อมทังยกระดับ สนิ คา้ ใหม้ คี ุณภาพมาตรฐานเปน็ ทย่ี อมรบั และให้ไดร้ าคาผลผลิตที่สูงขนึ 9. ดา้ นผลติ ภัณฑ์ชมุ ชน มผี ลิตภณั ฑ์ชุมชน ไดแ้ ก่ จักสานไมไ้ ผ่เซรามคิ สามารถนาไปสู่การพฒั นาด้านการยกระดับ มาตรฐานของผลิตภัณฑ์ การผลิต การแปรรูป และต่อยอดผลิตภัณฑ์ ให้มีคุณภาพเพิ่มมากขึน อีกทัง เป็นการเปิดโอกาสให้คนในชุมชน มีอาชีพเสริม สร้างงาน สร้างอาชีพ และสร้างรายได้ให้เกิดขึน ภายในชมุ ชน หมทู่ ่ี 14 บา้ นคลองตะขบ 1. ด้านทรัพยากรมนุษย์ - ไมม่ ี - 2. ดา้ นภาคเี ครือข่ายในพืนที่ มีหน่วยงานที่เข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือด้านต่าง ๆ ดังนี โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตาบลคลองตะเคียนชัย, สานักงานเกษตรอาเภอวังนาเย็น, องค์การบริหารส่วนตาบล ทงุ่ มหาเจรญิ , กศน.อาเภอวังนาเย็น, สถานตี ารวจภูธรวังนาเย็น, ธ.ก.ส. สาขาวงั นาเย็น
32 3. ทุนทางสังคมและทนุ ทางวัฒนธรรม - ทุนทางสังคมภายใน สมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน มีความสามัคคี สามารถนาไปสู่พัฒนาด้านการรวมกลุ่ม จัดตังองค์กรเพ่ือร่วมกันพัฒนาชมุ ชน ก่อให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ อีกทังมีกองทุนต่าง ๆ กลุ่มออมทรัพย์ ท่ีสามารถให้การสนับสนุน ส่งเสริม นาไปสพู่ ัฒนาด้านแหล่งทนุ ในชุมชน การจดั การทุนในชมุ ชน เปน็ ต้น - ทุนทางสังคมภายนอก มีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือ ดา้ นต่าง ๆ นาไปสกู่ ารพัฒนาชมุ ชน และยกระดบั คณุ ภาพชีวิตของคนในชมุ ชน - ทุนทางวัฒนธรรม ภายในชุมชนมีวัด ข่ือ วัดคลองตะขบหวาน จะมีการไปเข้าร่วม กิจกรรมทางวัฒนธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีกับวัด เช่น วันสาคัญทางศาสนา, วันสงกรานต,์ วันลอยกระทง เป็นต้น นาไปสู่การสนับสนุน ส่งเสริม ให้คงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามไว้ สว่ นการแสดง พธิ กี รรม ประเพณี ศิลปะพนื บา้ นทเ่ี ป็นเอกลักษณ์เฉพาะภายในหมบู่ า้ นไมม่ ี 4. ทุนทางเศรษฐกิจและการคา้ ขาย - ไมม่ ี - 5. ทุนทางทรพั ยากรธรรมชาติ มีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ ได้แก่ เขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าเขาอ่างฤๅไน สามารถนาไปสู่การ พัฒนาเป็นแหล่งท่องเท่ียวเชิงธรรมชาติ และศึกษาเรียนรู้ ค้นคว้า สร้างความสมดุลของระบบนิเวศ ให้กับพืนท่ี และชว่ ยใหช้ มุ ชนสามารถมนี าอปุ โภคบรโิ ภค การทาเกษตรกรรมตลอดปี อีกทังยังสามารถ สรา้ งอาชพี สร้างงาน สร้างรายได้กบั ชมุ ชนได้อกี ดว้ ย 6. ด้านจดั การส่ิงแวดล้อม ชุมชนมีการจัดการขยะ การคัดแยกขยะ และได้รับองค์ความรู้จากองค์การบริหารส่วน ตาบลทุ่งมหาเจริญ ทังนีมี กลุ่ม อสม. ร่วมมือกันในการให้ความรู้ การจัดการส่ิงแวดล้อมให้ถูก สุขลักษณะอีกด้วย เพ่ือให้ชุมชนสามารถจัดการส่ิงแวดล้อมด้วยตนเองนาไปสู่การพัฒนาด้าน ส่ิงแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ และเป็นการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมในชุมชนบริเวณหน้าบ้านให้น่าอยู่ น่ามอง มคี วามสวยงาม สะอาด เรียบร้อย 7. ดา้ นองคค์ วามรู้ - ไมม่ ี - 8. ด้านวัตถดุ ิบ มีแหล่งวัตถุดิบ ได้แก่ มันสาปะหลัง, ข้าว, ผัก, ลาไย และยางพารา สามารถนาไปสู่การ พัฒนาด้านการแปรรูปอาหาร การเพ่ิมประสิทธิภาพของผลผลิต และการส่งออกสินค้าของชุมชน พรอ้ มทงั ยกระดับสินคา้ ให้มคี ณุ ภาพมาตรฐานเป็นทีย่ อมรบั และใหไ้ ดร้ าคาผลผลติ ท่ีสูงขึน 9. ด้านผลติ ภัณฑช์ มุ ชน มีผลิตภัณฑ์ชุมชน ได้แก่ ขนมไทย สามารถนาไปสู่การพัฒนาด้านการยกระดับมาตรฐาน ของผลิตภัณฑ์ การผลิต การแปรรูป และต่อยอดผลิตภัณฑ์ ให้มีคุณภาพเพิ่มมากขึน อีกทังเป็นการ เปดิ โอกาสใหค้ นในชุมชน มอี าชพี เสริม สรา้ งงาน สร้างอาชีพ และสร้างรายไดใ้ ห้เกิดขนึ ภายในชุมชน
33 หมทู่ ่ี 15 บา้ นหนองเรือ 1. ด้านทรัพยากรมนษุ ย์ - ไม่มี - 2. ด้านภาคเี ครอื ขา่ ยในพนื ท่ี มีหน่วยงานท่ีเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือด้านต่าง ๆ ดังนี โรงพยาบาล สง่ เสริมสขุ ภาพตาบลคลองจระเข้ 3. ทนุ ทางสงั คมและทนุ ทางวัฒนธรรม - ทุนทางสังคมภายใน สมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน มีความสามัคคี สามารถนาไปสู่พัฒนาด้านการรวมกลุ่ม จัดตังองค์กรเพื่อร่วมกันพัฒนาชมุ ชน ก่อให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ อีกทังมีกองทุนต่าง ๆ กลุ่มออมทรัพย์ ท่ีสามารถให้การสนับสนุน ส่งเสริม นาไปสพู่ ัฒนาด้านแหลง่ ทุนในชมุ ชน การจดั การทนุ ในชุมชน เปน็ ตน้ - ทุนทางสังคมภายนอก มีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือ ดา้ นต่าง ๆ นาไปสู่การพฒั นาชุมชน และยกระดบั คุณภาพชีวิตของคนในชมุ ชน - ทุนทางวัฒนธรรม ภายในชุมชนมีวัด ขื่อ วัดหนองเรือพัฒนา จะมีการไปเข้าร่วม กิจกรรมทางวัฒนธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีกับวัด เช่น วันสาคัญทางศาสนา, วันสงกรานต์, วันลอยกระทง เป็นต้น นาไปสู่การสนับสนุน ส่งเสริม ให้คงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามไว้ สว่ นการแสดง พิธีกรรม ประเพณี ศิลปะพนื บ้านท่ีเป็นเอกลักษณ์เฉพาะภายในหมบู่ ้านไม่มี 4. ทุนทางเศรษฐกจิ และการคา้ ขาย - ไม่มี - 5. ทุนทางทรพั ยากรธรรมชาติ มีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ ได้แก่ เขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าเขาอ่างฤๅไน, สวนพฤกษศาสตร์ 100 ปี วังนาเย็น สามารถนาไปสู่การพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ และศึกษาเรียนรู้ ค้นคว้า สร้างความสมดุลของระบบนิเวศให้กับพืนท่ี และช่วยให้ชุมชนสามารถมีนาอุปโภคบริโภค การทาเกษตรกรรมตลอดปี อีกทงั ยงั สามารถสรา้ งอาชีพ สร้างงาน สรา้ งรายไดก้ บั ชมุ ชนไดอ้ กี ดว้ ย 6. ดา้ นจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม ชุมชนมีการจัดการขยะ การคัดแยกขยะ และได้รับองค์ความรู้จากองค์การบริหารส่วน ตาบลทุ่งมหาเจริญ ทังนีมี กลุ่ม อสม. ร่วมมือกันในการให้ความรู้ การจัดการส่ิงแวดล้อมให้ถูก สุขลักษณะอีกด้วย เพื่อให้ชุมชนสามารถจัดการสิ่งแวดล้อมด้วยตนเองนาไปสู่การพัฒนาด้าน ส่ิงแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ และเป็นการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในชุมชนบริเวณหน้าบ้านให้น่าอยู่ นา่ มอง มีความสวยงาม สะอาด เรยี บร้อย 7. ด้านองค์ความรู้ - ไม่มี - 8. ดา้ นวัตถดุ บิ มีแหล่งวัตถุดิบ ได้แก่ ผัก, ลาไย, สามารถนาไปสู่การพัฒนาด้านการแปรรูปอาหาร การเพ่ิมประสิทธิภาพของผลผลิต และการส่งออกสินค้าของชุมชน พร้อมทังยกระดับสินค้าให้มี คณุ ภาพมาตรฐานเป็นที่ยอมรบั และใหไ้ ดร้ าคาผลผลิตที่สงู ขึน
34 9. ด้านผลิตภณั ฑช์ ุมชน - ไมม่ ี - หมทู่ ี่ 16 บ้านสันตะวา 1. ดา้ นทรพั ยากรมนุษย์ - ไม่มี - 2. ด้านภาคเี ครอื ขา่ ยในพืนท่ี มีหน่วยงานที่เข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือด้านต่าง ๆ ดังนี โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตาบลคลองจระเข้ 3. ทุนทางสงั คมและทนุ ทางวัฒนธรรม - ทุนทางสังคมภายใน สมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน มีความสามัคคี สามารถนาไปสู่พัฒนาด้านการรวมกลุ่ม จัดตังองค์กรเพ่ือร่วมกันพัฒนาชุมชน ก่อให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ อีกทังมีกองทุนต่าง ๆ กลุ่มออมทรัพย์ ท่ีสามารถให้การสนับสนุน ส่งเสริม นาไปสพู่ ฒั นาดา้ นแหลง่ ทนุ ในชมุ ชน การจดั การทุนในชุมชน เป็นต้น - ทุนทางสังคมภายนอก มีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือ ดา้ นตา่ ง ๆ นาไปสู่การพฒั นาชมุ ชน และยกระดับคุณภาพชวี ติ ของคนในชมุ ชน - ทุนทางวัฒนธรรม ภายในชุมชนมีวัด ขื่อ วัดสายชลสมบูรณ์ธรรม และสานักสงฆ์ หนองสันตะวา จะมีการไปเข้าร่วมกิจกรรมทางวัฒนธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีกับวัด เช่น วนั สาคัญทางศาสนา, วันสงกรานต,์ วนั ลอยกระทง เปน็ ต้น นาไปสกู่ ารสนบั สนนุ ส่งเสรมิ ให้คงรักษา ขนบธรรมเนียมประเพณีอันดงี ามไว้ สว่ นการแสดง พิธีกรรม ประเพณี ศลิ ปะพืนบา้ นทีเ่ ป็นเอกลักษณ์ เฉพาะภายในหมูบ่ า้ นไม่มี 4. ทนุ ทางเศรษฐกิจและการคา้ ขาย - ไมม่ ี - 5. ทุนทางทรพั ยากรธรรมชาติ - ไม่มี - 6. ดา้ นจัดการสิ่งแวดล้อม ชุมชนมีการจัดการขยะ การคัดแยกขยะ และได้รับองค์ความรู้จากองค์การบริหารส่วน ตาบลทุ่งมหาเจริญ ทังนีมี กลุ่ม อสม. ร่วมมือกันในการให้ความรู้ การจัดการส่ิงแวดล้อมให้ถูก สุขลักษณะอีกด้วย เพื่อให้ชุมชนสามารถจัดการสิ่งแวดล้อมด้วยตนเองนาไปสู่การพัฒนาด้าน ส่ิงแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ และเป็นการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในชุมชนบริเวณหน้าบ้านให้น่าอยู่ นา่ มอง มคี วามสวยงาม สะอาด เรยี บร้อย 7. ดา้ นองคค์ วามรู้ - ไม่มี -
35 8. ด้านวตั ถุดิบ มีแหล่งวัตถุดิบ ได้แก่ ผัก, ลาไย สามารถนาไปสู่การพัฒนาด้านการแปรรูปอาหาร การเพิ่มประสิทธิภาพของผลผลิต และการส่งออกสินค้าของชุมชน พร้อมทังยกระดับสินค้าให้มี คณุ ภาพมาตรฐานเปน็ ท่ียอมรับและใหไ้ ดร้ าคาผลผลิตที่สงู ขึน 9. ดา้ นผลติ ภณั ฑ์ชุมชน - ไม่มี - หมทู่ ี่ 17 บา้ นชยั มงคลเจริญลาภ 1. ดา้ นทรพั ยากรมนษุ ย์ - ไม่มี - 2. ดา้ นภาคีเครอื ข่ายในพนื ท่ี มีหน่วยงานท่ีเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือด้านต่าง ๆ ดังนี โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตาบลคลองตะเคียนชัย, กรมส่งเสริมการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์, สานักงานเกษตรอาเภอวังนาเย็น, สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอวังนาเยน็ , องค์การบริหารส่วนตาบล ทุ่งมหาเจรญิ , ทีว่ ่าการอาเภอวังนาเย็น, ธนาคารออมสนิ สาขาวงั นาเยน็ , ธ.ก.ส. สาขาวังนาเย็น 3. ทนุ ทางสังคมและทนุ ทางวฒั นธรรม - ทุนทางสังคมภายใน สมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน มีความสามัคคี สามารถนาไปสู่พัฒนาด้านการรวมกลุ่ม จัดตังองค์กรเพ่ือร่วมกันพัฒนาชุมชน ก่อให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ อีกทังมีกองทุนต่าง ๆ กลุ่มออมทรัพย์ ที่สามารถให้การสนับสนุน ส่งเสริม นาไปสพู่ ฒั นาดา้ นแหลง่ ทนุ ในชมุ ชน การจัดการทนุ ในชมุ ชน เป็นต้น - ทุนทางสังคมภายนอก มีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือ ดา้ นต่าง ๆ นาไปสกู่ ารพฒั นาชมุ ชน และยกระดับคณุ ภาพชีวิตของคนในชุมชน - ทุนทางวัฒนธรรม ภายในชุมชนมีวัด ข่ือ วัดทุ่งมหาเจริญ จะมีการไปเข้าร่วมกิจกรรม ทางวัฒนธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีกับวัด เช่น วันสาคัญทางศาสนา, วันสงกรานต์, วันลอย กระทง เป็นต้น นาไปสู่การสนับสนุน ส่งเสริม ให้คงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามไว้ ส่วน การแสดง พธิ กี รรม ประเพณี ศิลปะพนื บ้านท่เี ป็นเอกลกั ษณเ์ ฉพาะภายในหมู่บ้านไม่มี 4. ทุนทางเศรษฐกจิ และการค้าขาย - ไมม่ ี - 5. ทุนทางทรัพยากรธรรมชาติ - ไมม่ ี - 6. ด้านจัดการสิง่ แวดล้อม ชุมชนมีการจัดการขยะ การคัดแยกขยะ และได้รับองค์ความรู้จากองค์การบริหารส่วน ตาบลทุ่งมหาเจริญ ทังนีมี กลุ่ม อสม. ร่วมมือกันในการให้ความรู้ การจัดการส่ิงแวดล้อมให้ถูก สุขลักษณะอีกด้วย เพ่ือให้ชุมชนสามารถจัดการส่ิงแวดล้อมด้วยตนเองนาไปสู่การพัฒนาด้าน ส่ิงแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ และเป็นการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมในชุมชนบริเวณหน้าบ้านให้น่าอยู่ นา่ มอง มคี วามสวยงาม สะอาด เรียบร้อย
36 7. ด้านองค์ความรู้ - ไม่มี - 8. ด้านวัตถดุ ิบ มีแหล่งวัตถุดิบ ได้แก่ อ้อย, มันสาปะหลัง, ลาไย, มะม่วง, มะพร้าว และผัก สามารถ นาไปสู่การพัฒนาด้านการแปรรูปอาหาร การเพิ่มประสทิ ธภิ าพของผลผลิต และการสง่ ออกสินค้าของ ชุมชน พรอ้ มทังยกระดบั สนิ ค้าให้มคี ณุ ภาพมาตรฐานเป็นทีย่ อมรบั และให้ได้ราคาผลผลิตที่สงู ขนึ 9. ด้านผลติ ภณั ฑ์ชุมชน - ไมม่ ี - หม่ทู ่ี 18 บา้ นแสนสุข 1. ด้านทรพั ยากรมนษุ ย์ - ไม่มี - 2. ด้านภาคีเครอื ข่ายในพนื ท่ี มีหน่วยงานท่ีเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือด้านต่าง ๆ ดังนี โรงพยาบาล สง่ เสริมสขุ ภาพตาบลทุง่ มหาเจริญ, สานักทรัพยากรนาบาดาล เขต 9 (ระยอง), กศน.อาเภอวังนาเย็น 3. ทุนทางสังคมและทุนทางวฒั นธรรม - ทุนทางสังคมภายใน สมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน มีความสามัคคี สามารถนาไปสู่พัฒนาด้านการรวมกลุ่ม จัดตังองค์กรเพ่ือร่วมกันพัฒนาชมุ ชน ก่อให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ อีกทังมีกองทุนต่าง ๆ กลุ่มออมทรัพย์ ท่ีสามารถให้การสนับสนุน ส่งเสริม นาไปสู่พฒั นาด้านแหลง่ ทุนในชุมชน การจดั การทนุ ในชุมชน เปน็ ตน้ - ทุนทางสังคมภายนอก มีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือ ด้านต่าง ๆ นาไปส่กู ารพฒั นาชุมชน และยกระดับคณุ ภาพชีวิตของคนในชมุ ชน - ทุนทางวัฒนธรรม ภายในชุมชนมี 2 ศาสนา ประกอบด้วย ศาสนาพุทธ, ศาสนาคริสต์ ได้แก่ วัดแสนสุขพัฒนาราม, ที่พักสงฆ์ป่าเมตตาหลวง (หลวงพ่อพระใหญ่), ศริสตจักรยูพีซีไอ (UPCI) จะมกี ารไปเข้ารว่ มกิจกรรมทางวฒั นธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีของแตล่ ะศาสนา นาไปสู่การ สนับสนุน ส่งเสริม ให้คงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามไว้ อีกทังท่ีพักสงฆ์ป่าเมตตาหลวง (หลวงพ่อพระใหญ่) สามารถนาไปสู่การพัฒนาด้านการปฏิบัติธรรม เข้าค่ายธรรมะ และเป็นจุดชมวิว ท่องเที่ยวชุมชนได้อีกด้วย ส่วนการแสดง พิธีกรรม ประเพณี ศิลปะพืนบ้านท่ีเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ ภายในหมูบ่ ้านไมม่ ี 4. ทนุ ทางเศรษฐกจิ และการค้าขาย - ไมม่ ี - 5. ทุนทางทรัพยากรธรรมชาติ - ไม่มี -
37 6. ด้านจัดการสง่ิ แวดลอ้ ม ชุมชนมีการจัดการขยะ การคัดแยกขยะ และได้รับองค์ความรู้จากองค์การบริหารส่วน ตาบลทุ่งมหาเจริญ ทังนีมี กลุ่ม อสม. ร่วมมือกันในการให้ความรู้ การจัดการสิ่งแวดล้อมให้ถูก สุขลักษณะอีกด้วย เพื่อให้ชุมชนสามารถจัดการสิ่งแวดล้อมด้วยตนเองนาไปสู่การพัฒนาด้าน ส่ิงแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ และเป็นการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในชุมชนบริเวณหน้าบ้านให้น่าอยู่ น่ามอง มคี วามสวยงาม สะอาด เรยี บรอ้ ย 7. ด้านองค์ความรู้ - ไมม่ ี - 8. ด้านวัตถุดิบ มีแหล่งวัตถุดิบ ได้แก่ มันสาปะหลัง, อ้อย, ลาไย และโคเนือ สามารถนาไปสู่การพัฒนา ด้านการแปรรูปอาหาร การเพิ่มประสิทธิภาพของผลผลิต และการส่งออกสินค้าของชุมชน พร้อมทัง ยกระดับสินคา้ ให้มคี ุณภาพมาตรฐานเปน็ ที่ยอมรบั และให้ได้ราคาผลผลติ ที่สูงขนึ 9. ดา้ นผลติ ภัณฑช์ มุ ชน - ไมม่ ี - หมู่ที่ 19 บา้ นแสงตะวนั 1. ดา้ นทรพั ยากรมนษุ ย์ - ไม่มี - 2. ดา้ นภาคีเครือขา่ ยในพืนท่ี มีหน่วยงานท่ีเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือด้านต่าง ๆ ดังนี โรงพยาบาล ส่งเสริมสขุ ภาพตาบลคลองตะเคยี นชยั 3. ทนุ ทางสงั คมและทุนทางวัฒนธรรม - ทุนทางสังคมภายใน สมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน มีความสามัคคี สามารถนาไปสู่พัฒนาด้านการรวมกลุ่ม จัดตังองค์กรเพื่อร่วมกันพัฒนาชมุ ชน ก่อให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ อีกทังมีกองทุนต่าง ๆ กลุ่มออมทรัพย์ ที่สามารถให้การสนับสนุน ส่งเสริม นาไปสู่พฒั นาด้านแหลง่ ทุนในชุมชน การจดั การทุนในชุมชน เปน็ ตน้ - ทุนทางสังคมภายนอก มีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือ ด้านต่าง ๆ นาไปสกู่ ารพฒั นาชุมชน และยกระดบั คุณภาพชวี ิตของคนในชมุ ชน - ทุนทางวัฒนธรรม ภายในชุมชนไม่มีวัด แต่จะมีการไปเข้าร่วมกิจกรรมทางวัฒนธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีกับวัดของหมู่บ้านข้างเคียง เช่น วันสาคัญทางศาสนา, วันสงกรานต์, วันลอยกระทง เป็นต้น นาไปสู่การสนับสนุน ส่งเสริม ให้คงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามไว้ สว่ นการแสดง พิธกี รรม ประเพณี ศลิ ปะพนื บ้านที่เป็นเอกลักษณเ์ ฉพาะภายในหมบู่ า้ นไมม่ ี 4. ทนุ ทางเศรษฐกจิ และการคา้ ขาย - ไมม่ ี -
38 5. ทนุ ทางทรัพยากรธรรมชาติ แหล่งทรัพยากรธรรมชาติ ได้แก่ อ่างเก็บนากระแพรกหมู 1 สามารถนาไปสู่การพัฒนา เป็นแหล่งท่องเท่ียวเชิงธรรมชาติ สร้างความสมดุลของระบบนิเวศให้กับพืนท่ี และช่วยให้ชุมชน สามารถมีนาอุปโภคบริโภค การทาเกษตรกรรมตลอดปี อีกทังยังสามารถสร้างอาชีพ สร้างงาน สร้างรายได้กับชมุ ชนไดอ้ กี ดว้ ย 6. ด้านจดั การส่งิ แวดลอ้ ม ชุมชนมีการจัดการขยะ การคัดแยกขยะ และได้รับองค์ความรู้จากองค์การบริหารส่วน ตาบลทุ่งมหาเจริญ ทังนีมี กลุ่ม อสม. ร่วมมือกันในการให้ความรู้ การจัดการสิ่งแวดล้อมให้ถูก สุขลักษณะอีกด้วย เพื่อให้ชุมชนสามารถจัดการส่ิงแวดล้อมด้วยตนเองนาไปสู่การพัฒนาด้าน ส่ิงแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ และเป็นการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมในชุมชนบริเวณหน้าบ้านให้น่าอยู่ น่ามอง มีความสวยงาม สะอาด เรียบรอ้ ย 7. ดา้ นองค์ความรู้ มีแหลง่ องค์ความรู้ภูมิปัญญาพืนบ้าน ได้แก่ เกษตรเศรษฐกิจพอเพียง สามารถนาไปสู่การ จัดการองค์ความรู้พัฒนาให้เกิดการรวมกลุ่ม การจัดตังองค์กร ถ่ายทอดองค์ความรู้ไปแก่บุคคลอ่ืน ๆ เพ่อื ใหส้ ามารถสรา้ งอาชพี สรา้ งงาน สร้างรายได้ ให้เกิดขนึ ในครวั เรอื นและชมุ ชน 8. ดา้ นวัตถุดบิ มแี หล่งวตั ถุดิบ ได้แก่ มันสาปะหลงั , ออ้ ย, ข้าว, ผัก และลาไย สามารถนาไปสู่การพัฒนา ด้านการแปรรูปอาหาร การเพ่ิมประสิทธิภาพของผลผลิต และการส่งออกสินค้าของชุมชน พร้อมทัง ยกระดบั สินคา้ ใหม้ ีคุณภาพมาตรฐานเป็นทีย่ อมรบั และให้ไดร้ าคาผลผลติ ที่สูงขนึ 9. ด้านผลติ ภัณฑช์ ุมชน - ไม่มี - หมูท่ ี่ 20 บา้ นไร่เหนือพัฒนา 1. ดา้ นทรัพยากรมนษุ ย์ - ไมม่ ี - 2. ดา้ นภาคีเครือขา่ ยในพืนที่ มีหน่วยงานที่เข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือด้านต่าง ๆ ดังนี โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตาบลทุ่งมหาเจริญ, สานักงานเกษตรอาเภอวังนาเย็น, สานักงานประมงอาเภอ วังนาเย็น, สานกั งานปศุสัตว์อาเภอวังนาเย็น, กลมุ่ พลังงานเพื่อชีวิตที่พอเพียง, ธนาคารออมสนิ สาขา วงั นาเยน็ , ธ.ก.ส. สาขาวงั นาเยน็ 3. ทนุ ทางสังคมและทุนทางวฒั นธรรม - ทุนทางสังคมภายใน สมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน มีความสามัคคี สามารถนาไปสู่พัฒนาด้านการรวมกลุ่ม จัดตังองค์กรเพ่ือร่วมกันพัฒนาชุมชน ก่อให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ อีกทังมีกองทุนต่าง ๆ กลุ่มออมทรัพย์ ท่ีสามารถให้การสนับสนุน ส่งเสริม นาไปสู่พัฒนาดา้ นแหลง่ ทนุ ในชมุ ชน การจัดการทนุ ในชมุ ชน เปน็ ต้น
39 - ทุนทางสังคมภายนอก มีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือ ดา้ นต่าง ๆ นาไปสูก่ ารพฒั นาชมุ ชน และยกระดับคณุ ภาพชีวิตของคนในชุมชน - ทุนทางวัฒนธรรม ภายในชุมชนไม่มีวัด แต่จะมีการไปเข้าร่วมกิจกรรมทางวัฒนธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีกับวัดของหมู่บ้านข้างเคียง เช่น วันสาคัญทางศาสนา, วันสงกรานต์, วันลอยกระทง เป็นต้น นาไปสู่การสนับสนุน ส่งเสริม ให้คงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามไว้ ส่วนการแสดง พิธีกรรม ประเพณี ศิลปะพืนบ้านมีเป็นเอกลักษณ์เฉพาะภายในหมู่บ้านเกี่ยวกับ เรื่องประเพณีเพียงอย่างเดียว คือ ประเพณีบุญบังไฟ สามารถนาไปสู่การพัฒนาด้านการจัดการ การท่องเท่ียวชมุ ชน และการสืบทอดมรดกทางวัฒนธรรมทจี่ ับตอ้ งไม่ได้ เป็นคตชิ น เอกลักษณ์ จดุ เด่น อัตลกั ษณ์ของชมุ ชนและพนื ทใ่ี นตาบลได้อกี ด้วย 4. ทนุ ทางเศรษฐกจิ และการค้าขาย - ไมม่ ี - 5. ทุนทางทรพั ยากรธรรมชาติ - ไมม่ ี - 6. ดา้ นจดั การส่ิงแวดล้อม ชุมชนมีการจัดการขยะ การคัดแยกขยะ และได้รับองค์ความรู้จากองค์การบริหารส่วน ตาบลทุ่งมหาเจริญ ทังนีมี กลุ่ม อสม. ร่วมมือกันในการให้ความรู้ การจัดการส่ิงแวดล้อมให้ถูก สุขลักษณะอีกด้วย เพื่อให้ชุมชนสามารถจัดการสิ่งแวดล้อมด้วยตนเองนาไปสู่การพัฒนาด้าน สิ่งแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ และเป็นการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในชุมชนบริเวณหน้าบ้านให้น่าอยู่ นา่ มอง มคี วามสวยงาม สะอาด เรียบร้อย 7. ดา้ นองคค์ วามรู้ - ไมม่ ี - 8. ดา้ นวัตถุดบิ มแี หลง่ วตั ถดุ บิ ไดแ้ ก่ ออ้ ย มนั สาปะหลัง, ลาไย, ปาล์มนามัน, กล้วยไข่ และขา้ ว สามารถ นาไปสู่การพฒั นาด้านการแปรรูปอาหาร การเพิม่ ประสทิ ธิภาพของผลผลิต และการส่งออกสินค้าของ ชุมชน พร้อมทงั ยกระดบั สนิ คา้ ใหม้ ีคุณภาพมาตรฐานเป็นท่ียอมรับและให้ไดร้ าคาผลผลติ ท่ีสงู ขึน 9. ดา้ นผลติ ภณั ฑช์ ุมชน - ไมม่ ี - หมูท่ ี่ 21 บา้ นไพรวัลย์ 1. ดา้ นทรัพยากรมนษุ ย์ - ไม่มี - 2. ด้านภาคเี ครอื ข่ายในพนื ท่ี มีหน่วยงานที่เข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือด้านต่าง ๆ ดังนี โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตาบลคลองจระเข้, สานักงานเกษตรอาเภอวังนาเย็น, สานักงานประมงอาเภอ วังนาเย็น, สานักงานพัฒนาชุมชนอาเภอวังนาเย็น, ธนาคารออมสิน สาขาวังนาเย็น, ธ.ก.ส. สาขา วังนาเยน็
40 3. ทุนทางสังคมและทุนทางวัฒนธรรม - ทุนทางสังคมภายใน สมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน มีความสามัคคี สามารถนาไปสู่พัฒนาด้านการรวมกลุ่ม จัดตังองค์กรเพ่ือร่วมกันพัฒนาชมุ ชน ก่อให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ อีกทังมีกองทุนต่าง ๆ กลุ่มออมทรัพย์ ท่ีสามารถให้การสนับสนุน ส่งเสริม นาไปสู่พัฒนาด้านแหลง่ ทนุ ในชมุ ชน การจัดการทุนในชุมชน เป็นต้น - ทุนทางสังคมภายนอก มีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือ ด้านตา่ ง ๆ นาไปสกู่ ารพฒั นาชุมชน และยกระดับคุณภาพชวี ติ ของคนในชมุ ชน - ทุนทางวัฒนธรรม ภายในชุมชนมีวัด ชื่อ วัดโครงการสองสามัคคีธรรม จะมีการไป เข้าร่วมกิจกรรมทางวัฒนธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีกับวัด เช่น วันสาคัญทางศาสนา, วันสงกรานต์, วันลอยกระทง เป็นต้น นาไปสู่การสนับสนุน ส่งเสริม ให้คงรักษาขนบธรรมเนียม ประเพณีอันดีงามไว้ ส่วนการแสดง พิธีกรรม ประเพณี ศิลปะพืนบ้านท่ีเป็นเอกลักษณ์เฉพาะภายใน หมู่บ้านไมม่ ี 4. ทนุ ทางเศรษฐกิจและการคา้ ขาย - ไม่มี - 5. ทุนทางทรัพยากรธรรมชาติ มีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ ได้แก่ เขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าเขาอ่างฤๅไน สามารถนาไปสู่การ พัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ และศึกษาเรียนรู้ ค้นคว้า สร้างความสมดุลของระบบนิเวศ ใหก้ บั พืนท่ี และชว่ ยให้ชุมชนสามารถมีนาอปุ โภคบรโิ ภค การทาเกษตรกรรมตลอดปี อีกทงั ยงั สามารถ สร้างอาชีพ สรา้ งงาน สร้างรายไดก้ บั ชุมชนไดอ้ กี ด้วย 6. ด้านจัดการส่ิงแวดล้อม ชุมชนมีการจัดการขยะ การคัดแยกขยะ และได้รับองค์ความรู้จากองค์การบริหารส่วน ตาบลทุ่งมหาเจริญ ทังนีมี กลุ่ม อสม. ร่วมมือกันในการให้ความรู้ การจัดการสิ่งแวดล้อมให้ถูก สุขลักษณะอีกด้วย เพื่อให้ชุมชนสามารถจัดการส่ิงแวดล้อมด้วยตนเองนาไปสู่การพัฒนาด้าน สิ่งแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ และเป็นการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในชุมชนบริเวณหน้าบ้านให้น่าอยู่ น่ามอง มีความสวยงาม สะอาด เรยี บรอ้ ย 7. ด้านองคค์ วามรู้ - ไม่มี - 8. ด้านวตั ถุดิบ มีแหล่งวัตถุดิบ ได้แก่ มันสาปะหลัง, ลาไย และข้าวโพด สามารถนาไปสู่การพัฒนาด้าน การแปรรูปอาหาร การเพิ่มประสิทธิภาพของผลผลิต และการส่งออกสินค้าของชุมชน พร้อมทัง ยกระดับสินคา้ ใหม้ คี ุณภาพมาตรฐานเปน็ ที่ยอมรับและใหไ้ ด้ราคาผลผลติ ท่ีสงู ขึน 9. ดา้ นผลิตภณั ฑช์ ุมชน - ไม่มี -
41 หมูท่ ่ี 22 บ้านชยั อดุ ม 1. ดา้ นทรัพยากรมนษุ ย์ - ไม่มี - 2. ดา้ นภาคีเครอื ข่ายในพนื ที่ มีหน่วยงานท่ีเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือด้านต่าง ๆ ดังนี โรงพยาบาล ส่งเสรมิ สุขภาพตาบลทุ่งมหาเจรญิ 3. ทุนทางสงั คมและทุนทางวัฒนธรรม - ทุนทางสังคมภายใน สมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน มีความสามัคคี สามารถนาไปสู่พัฒนาด้านการรวมกลุ่ม จัดตังองค์กรเพื่อร่วมกันพัฒนาชุมชน ก่อให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ อีกทังมีกองทุนต่าง ๆ กลุ่มออมทรัพย์ ท่ีสามารถให้การสนับสนุน ส่งเสริม นาไปสพู่ ฒั นาด้านแหลง่ ทนุ ในชุมชน การจดั การทนุ ในชมุ ชน เปน็ ต้น - ทุนทางสังคมภายนอก มีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือ ดา้ นตา่ ง ๆ นาไปสกู่ ารพัฒนาชุมชน และยกระดบั คุณภาพชีวิตของคนในชุมชน - ทุนทางวัฒนธรรม ภายในชุมชนไม่มีวัด แต่จะมีการไปเข้าร่วมกิจกรรมทางวัฒนธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีกับวัดของหมู่บ้านข้างเคียง เช่น วันสาคัญทางศาสนา, วันสงกรานต์, วันลอยกระทง เป็นต้น นาไปสู่การสนับสนุน ส่งเสริม ให้คงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามไว้ ส่วนการแสดง พิธกี รรม ประเพณี ศลิ ปะพืนบา้ นท่ีเปน็ เอกลกั ษณเ์ ฉพาะภายในหมบู่ า้ นไม่มี 4. ทนุ ทางเศรษฐกิจและการคา้ ขาย - ไม่มี - 5. ทุนทางทรัพยากรธรรมชาติ - ไม่มี - 6. ดา้ นจัดการสงิ่ แวดลอ้ ม ชุมชนมีการจัดการขยะ การคัดแยกขยะ และได้รับองค์ความรู้จากองค์การบริหารส่วน ตาบลทุ่งมหาเจริญ ทังนีมี กลุ่ม อสม. ร่วมมือกันในการให้ความรู้ การจัดการส่ิงแวดล้อมให้ถูก สุขลักษณะอีกด้วย เพื่อให้ชุมชนสามารถจัดการสิ่งแวดล้อมด้วยตนเองนาไปสู่การพัฒนาด้าน สิ่งแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ และเป็นการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมในชุมชนบริเวณหน้าบ้านให้น่าอยู่ น่ามอง มีความสวยงาม สะอาด เรยี บร้อย 7. ด้านองคค์ วามรู้ - ไม่มี - 8. ด้านวตั ถุดบิ มีแหล่งวัตถุดิบ ได้แก่ มันสาปะหลัง, ข้าวโพด, ลาไย และมะม่วง สามารถนาไปสู่การพัฒนา ด้านการแปรรูปอาหาร การเพ่ิมประสิทธิภาพของผลผลิต และการส่งออกสินค้าของชุมชน พร้อมทัง ยกระดบั สินคา้ ใหม้ คี ุณภาพมาตรฐานเปน็ ที่ยอมรับและให้ได้ราคาผลผลิตท่ีสูงขนึ 9. ดา้ นผลติ ภัณฑช์ ุมชน - ไมม่ ี -
42 หมู่ที่ 23 บา้ นคลองเจรญิ 1. ดา้ นทรพั ยากรมนษุ ย์ - ไมม่ ี - 2. ด้านภาคเี ครอื ข่ายในพืนที่ มีหน่วยงานท่ีเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือด้านต่าง ๆ ดังนี โรงพยาบาล สง่ เสรมิ สขุ ภาพตาบลทุ่งมหาเจริญ, กศน.อาเภอวงั นาเย็น 3. ทนุ ทางสังคมและทนุ ทางวัฒนธรรม - ทุนทางสังคมภายใน สมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน มีความสามัคคี สามารถนาไปสู่พัฒนาด้านการรวมกลุ่ม จัดตังองค์กรเพ่ือร่วมกันพัฒนาชมุ ชน ก่อให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ อีกทังมีกองทุนต่าง ๆ กลุ่มออมทรัพย์ ท่ีสามารถให้การสนับสนุน ส่งเสริม นาไปสู่พัฒนาดา้ นแหล่งทนุ ในชุมชน การจดั การทุนในชุมชน เป็นตน้ - ทุนทางสังคมภายนอก มีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือ ด้านต่าง ๆ นาไปสกู่ ารพัฒนาชมุ ชน และยกระดบั คุณภาพชวี ิตของคนในชุมชน - ทุนทางวัฒนธรรม ภายในชุมชนไม่มีวัด มีเพียงคริสตจักรคลองเจริญ เป็นศาสนาคริสต์ แต่ผู้ท่ีนับถือศาสนาพุทธจะมีการไปเข้าร่วมกิจกรรมทางวัฒนธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีกับ วัดของหมู่บ้านข้างเคียง เช่น วันสาคัญทางศาสนา, วันสงกรานต์, วันลอยกระทง เป็นต้น นาไปสู่การ สนับสนุน ส่งเสริม ให้คงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามไว้ ส่วนการแสดง พิธีกรรม ประเพณี ศิลปะพนื บา้ นที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะภายในหมู่บ้านไม่มี 4. ทุนทางเศรษฐกจิ และการค้าขาย - ไมม่ ี - 5. ทนุ ทางทรัพยากรธรรมชาติ - ไมม่ ี - 6. ด้านจัดการสง่ิ แวดลอ้ ม ชุมชนมีการจัดการขยะ การคัดแยกขยะ และได้รับองค์ความรู้จากองค์การบริหารส่วน ตาบลทุ่งมหาเจริญ ทังนีมี กลุ่ม อสม. ร่วมมือกันในการให้ความรู้ การจัดการส่ิงแวดล้อมให้ถูก สุขลักษณะอีกด้วย เพ่ือให้ชุมชนสามารถจัดการสิ่งแวดล้อมด้วยตนเองนาไปสู่การพัฒนาด้าน สิ่งแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ และเป็นการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในชุมชนบริเวณหน้าบ้านให้น่าอยู่ นา่ มอง มคี วามสวยงาม สะอาด เรยี บรอ้ ย 7. ด้านองค์ความรู้ - ไม่มี - 8. ดา้ นวัตถุดิบ มีแหล่งวัตถุดิบ ได้แก่ มันสาปะหลัง, ข้าวโพด และลาไย สามารถนาไปสู่การพัฒนาด้านการ แปรรูปอาหาร การเพิ่มประสิทธิภาพของผลผลิต และการส่งออกสินค้าของชุมชน พร้อมทังยกระดับ สินค้าใหม้ คี ณุ ภาพมาตรฐานเป็นที่ยอมรบั และใหไ้ ด้ราคาผลผลติ ท่ีสูงขนึ 9. ด้านผลิตภณั ฑ์ชมุ ชน - ไมม่ ี -
43 หมทู่ ี่ 24 บ้านแผ่นดินทอง 1. ดา้ นทรพั ยากรมนุษย์ - ไมม่ ี - 2. ด้านภาคเี ครอื ข่ายในพนื ท่ี มีหน่วยงานที่เข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือด้านต่าง ๆ ดังนี โรงพยาบาล ส่งเสริมสขุ ภาพตาบลทุง่ มหาเจริญ 3. ทุนทางสงั คมและทุนทางวฒั นธรรม - ทุนทางสังคมภายใน สมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน มีความสามัคคี สามารถนาไปสู่พัฒนาด้านการรวมกลุ่ม จัดตังองค์กรเพ่ือร่วมกันพัฒนาชมุ ชน ก่อให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ อีกทังมีกองทุนต่าง ๆ กลุ่มออมทรัพย์ ที่สามารถให้การสนับสนุน ส่งเสริม นาไปสูพ่ ัฒนาด้านแหลง่ ทุนในชุมชน การจัดการทุนในชุมชน เปน็ ต้น - ทุนทางสังคมภายนอก มีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือ ดา้ นตา่ ง ๆ นาไปสกู่ ารพฒั นาชมุ ชน และยกระดบั คณุ ภาพชีวติ ของคนในชุมชน - ทุนทางวัฒนธรรม ภายในชุมชนมีวัด ชื่อ วัดพรนิมิตร จะมีการไปเข้าร่วมกิจกรรมทาง วัฒนธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีกับวัด เช่น วันสาคัญทางศาสนา, วันสงกรานต์, วันลอย กระทง เป็นต้น นาไปสู่การสนับสนุน ส่งเสริม ให้คงรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามไว้ ส่วนการแสดง พธิ ีกรรม ประเพณี ศลิ ปะพืนบ้านทเ่ี ป็นเอกลกั ษณ์เฉพาะภายในหมบู่ า้ นไม่มี 4. ทนุ ทางเศรษฐกจิ และการคา้ ขาย - ไมม่ ี - 5. ทุนทางทรพั ยากรธรรมชาติ - ไมม่ ี - 6. ดา้ นจดั การส่ิงแวดลอ้ ม ชุมชนมีการจัดการขยะ การคัดแยกขยะ และได้รับองค์ความรู้จากองค์การบริหารส่วน ตาบลทุ่งมหาเจริญ ทังนีมี กลุ่ม อสม. ร่วมมือกันในการให้ความรู้ การจัดการสิ่งแวดล้อมให้ถูก สุขลักษณะอีกด้วย เพ่ือให้ชุมชนสามารถจัดการส่ิงแวดล้อมด้วยตนเองนาไปสู่การพัฒนาด้าน สิ่งแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ และเป็นการอนุรักษ์ส่ิงแวดล้อมในชุมชนบริเวณหน้าบ้านให้น่าอยู่ น่ามอง มีความสวยงาม สะอาด เรยี บรอ้ ย 7. ดา้ นองคค์ วามรู้ - ไมม่ ี - 8. ดา้ นวตั ถดุ บิ มีแหล่งวัตถุดิบ ได้แก่ มะม่วง, ผัก และลาไย สามารถนาไปสู่การพัฒนาด้านการแปรรูป อาหาร การเพิม่ ประสิทธิภาพของผลผลิต และการสง่ ออกสินค้าของชุมชน พร้อมทงั ยกระดบั สินค้าให้ มคี ณุ ภาพมาตรฐานเป็นทีย่ อมรบั และให้ไดร้ าคาผลผลติ ที่สงู ขนึ 9. ดา้ นผลติ ภัณฑช์ ุมชน - ไม่มี -
44 หมู่ท่ี 25 บา้ นเนินสามคั คี 1. ดา้ นทรพั ยากรมนุษย์ - ไมม่ ี - 2. ดา้ นภาคีเครอื ขา่ ยในพนื ที่ มีหน่วยงานท่ีเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือด้านต่าง ๆ ดังนี โรงพยาบาล ส่งเสริมสุขภาพตาบลทุ่งมหาเจริญ 3. ทุนทางสงั คมและทนุ ทางวัฒนธรรม - ทุนทางสังคมภายใน สมาชิกในชุมชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชน มีความสามัคคี สามารถนาไปสู่พัฒนาด้านการรวมกลุ่ม จัดตังองค์กรเพื่อร่วมกันพัฒนาชุมชน ก่อให้เกิดการสร้างงาน สร้างอาชีพ สร้างรายได้ อีกทังมีกองทุนต่าง ๆ กลุ่มออมทรัพย์ ที่สามารถให้การสนับสนุน ส่งเสริม นาไปสู่พัฒนาด้านแหล่งทุนในชุมชน การจัดการทนุ ในชมุ ชน เปน็ ต้น - ทุนทางสังคมภายนอก มีหน่วยงานภาครัฐเข้ามาให้การสนับสนุน ส่งเสริม ช่วยเหลือ ดา้ นตา่ ง ๆ นาไปสู่การพฒั นาชุมชน และยกระดับคณุ ภาพชวี ิตของคนในชุมชน - ทุนทางวัฒนธรรม ภายในชุมชนมีวดั ช่ือ วัดคลองใหญ่ จะมีการไปเข้าร่วมกิจกรรมทาง วัฒนธรรม ตามขนบธรรมเนียมประเพณีกับวัดของหมู่บ้านข้างเคียง เช่น วันสาคัญทางศาสนา, วันสงกรานต์, วันลอยกระทง เป็นต้น นาไปสู่การสนับสนุน ส่งเสริม ให้คงรักษาขนบธรรมเนียม ประเพณีอันดีงามไว้ ส่วนการแสดง พิธีกรรม ประเพณี อาหาร ศิลปะพืนบ้านท่ีเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ ภายในหมบู่ ้านมเี ก่ียวกับเรอ่ื งประเพณีเพยี งอยา่ งเดียว คือ ประเพณบี ายศรีสขู่ วัญขา้ ว สามารถนาไปสู่ การพัฒนาด้านการจัดการการท่องเที่ยวชุมชน และการสืบทอดมรดกทางวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ เป็นคตชิ น เอกลกั ษณ์ จุดเด่น อัตลักษณ์ของชุมชนและพืนท่ีในตาบลได้อีกดว้ ย 4. ทนุ ทางเศรษฐกิจและการค้าขาย - ไมม่ ี - 5. ทนุ ทางทรัพยากรธรรมชาติ - ไมม่ ี - 6. ด้านจดั การส่ิงแวดลอ้ ม ชุมชนมีการจัดการขยะ การคัดแยกขยะ และได้รับองค์ความรู้จากองค์การบริหารส่วน ตาบลทุ่งมหาเจริญ ทังนีมี กลุ่ม อสม. ร่วมมือกันในการให้ความรู้ การจัดการส่ิงแวดล้อมให้ถูก สุขลักษณะอีกด้วย เพ่ือให้ชุมชนสามารถจัดการสิ่งแวดล้อมด้วยตนเองนาไปสู่การพัฒนาด้าน ส่ิงแวดล้อมให้มีประสิทธิภาพ และเป็นการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในชุมชนบริเวณหน้าบ้านให้น่าอยู่ น่ามอง มีความสวยงาม สะอาด เรียบรอ้ ย 7. ดา้ นองค์ความรู้ - ไมม่ ี - 8. ดา้ นวัตถดุ ิบ มีแหล่งวัตถุดิบ ได้แก่ มะม่วง, ผัก และลาไย สามารถนาไปสู่การพัฒนาด้านการแปรรูป อาหาร การเพิม่ ประสิทธิภาพของผลผลิต และการส่งออกสนิ ค้าของชุมชน พร้อมทังยกระดบั สินค้าให้ มีคณุ ภาพมาตรฐานเป็นทย่ี อมรับและให้ได้ราคาผลผลิตที่สงู ขึน
Search