Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือระบบปฏิบัติการหอนิทัศน์ราชภัฏ ณ อาคารส่งเสริมการเรียนรู้ ชั้น 2

คู่มือระบบปฏิบัติการหอนิทัศน์ราชภัฏ ณ อาคารส่งเสริมการเรียนรู้ ชั้น 2

Published by learnoffice, 2023-07-18 02:43:06

Description: คู่มือระบบปฏิบัติการหอนิทัศน์ราชภัฏ ณ อาคารส่งเสริมการเรียนรู้ ชั้น 2

Search

Read the Text Version

คมู่ ือปฏิบตั ิงานหลัก เรือ่ ง คู่มอื ระบบปฏิบัติการหอนทิ ศั นร์ าชภฏั ณ อาคารสง่ เสริมการเรยี นรู้ ชั้น 2 จัดทำโดย นายเมธี ถูกแบบ สังกดั หน่วยงาน สำนกั ส่งเสริมการเรยี นรู้และบรกิ ารวชิ าการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จงั หวัดปทุมธานี

คู่มอื ปฏิบัตงิ านหลัก เรือ่ ง คูม่ ือระบบปฏบิ ตั ิการหอนิทัศนร์ าชภัฏ ณ อาคารส่งเสรมิ การเรียนรู้ ช้นั 2 จดั ทำโดย นายเมธี ถูกแบบ สังกัดหนว่ ยงาน สำนกั สง่ เสริมการเรยี นรแู้ ละบรกิ ารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ จงั หวัดปทมุ ธานี ตรวสอบการจัดทำ ครัง้ ท่ี 2 ...................................................... (ผชู้ ่วยศาสตราจารย์เศกพร ตันศรปี ระภาศิริ) ผูอ้ ำนวยการสำนกั สง่ เสริมการเรยี นรู้และบรกิ ารวิชาการ วนั ที.่ ......เดือน....พฤษภาคม..พ.ศ.2565....

คำนำ คู่มือปฏิบัติงานหลัก เร่ือง คู่มือระบบปฏิบัติการหอนิทัศน์ราชภัฏ ณ อาคารส่งเสริมการ เรียนรู้ ช้ัน 2 เล่มน้ีจัดทำตามประกาศ ก.พ.อ. เรื่องมาตรฐานการกำหนดตำแหน่งและการแต่งต้ัง ขา้ ราชการพลเรือน ในสถาบันอุดมศึกษาให้ดำรงตำแหน่งสูงขึ้น พ.ศ.2553 ซ่ึง กพอ.ให้คำนยิ ามของคู่มือ ปฏิบัติงานหลักไว้ว่าเป็นเอกสารแสดงเส้นทางการทำงานหลักตั้งแต่เร่ิมต้นจนกระบวนการ โดยระบุ ข้ันตอนและรายละเอียดของกระบวนการต่างๆ ในการปฏิบัตงิ าน กฎระเบยี บท่ีเก่ียวข้องในการปฏิบัติงาน (เอกสารแนบ 5) ตลอดจนแนวทางแก้ไขปัญหาและการดำเนินการต่างๆ โดยคู่มือปฏิบัติงานหลักมี ความสำคัญอย่างย่ิงในการปฏิบัติงาน เพ่ือช่วยให้หน่วยงานมีคู่มือปฏิบัติงานหลักไว้ใช้ในการปฏิบัติงาน และช่วยให้ผู้ปฏิบัติงานใหม่สามารถศึกษางานได้อย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ เพ่ือให้บุคลากรสำนักใช้ในการ ปฏิบัตงิ าน ซึ่งจะทำใหง้ านของหน่วยงานมีระบบและมีประสิทธภิ าพมากขนึ้ จากคูม่ ือปฏิบตั ิงานหลักเลม่ น้ี วัตถุประสงค์ของการจัดทำคู่มือระบบปฏิบัติการหอนิทัศน์ราชภัฏ ณ อาคารส่งเสริมการ เรียนรู้ ชั้น 2 สังกัดหน่วยงานสำนักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลย อ ล งก รณ์ ใน พ ระบ รม ราชู ป ถั ม ภ์ จั ง ห วัด ป ทุ ม ธ านี เพื่ อ ให้ ผู้ ป ฏิ บั ติ งาน ท ราบ ข้ั น ต อ น วิธีปฏิบัติงาน รวมท้ังประกาศ ระเบียบ ขอ้ บังคับที่เกย่ี วข้องในการดำเนนิ งานหอนิทัศน์ราชภัฏ ณ อาคาร ส่งเสริมการเรียนรู้ ช้ัน 2 และเป็นแนวทางในการปฏิบตั ิงานในการปฏิบตั ิงานสำหรบั บคุ ลากรในหนว่ ยงาน ให้สามารถปฏิบัติงานทดแทนกนั ได้ เพ่ือให้การดำเนินงานเกิดประสิทธิภาพในการดำเนินงาน และมีความ ตอ่ เนือ่ งในการดำเนินงานของมหาวิทยาลัย สดุ ท้ายน้ี ข้าพเจา้ ขอขอบพระคุณมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ จังหวัดปทุมธานีเป็นอย่างย่ิงที่ส่งเสริมสนับสนุนในการจัดทำคู่มือปฏิบัติงานหลักเล่มนี้ขึ้นมา และ ขอขอบพระคุณผู้ทรงคุณวุฒิที่ให้ความรู้และคำแนะนำในการจัดทำคู่มือเล่มน้ี ท่านคณะผู้บริหาร มหาวิทยาลัยในการส่งเสริมให้บุคลากรได้จัดทำคู่มือ และคณะผู้บริหารสำนักส่งเสริมการเรียนรู้และ บริการวิชาการในการให้คำปรึกษา และคำแนะนำในการจัดทำคู่มือ เพ่ือนร่วมงานทุกคนท่ีเป็นกำลังใจใน การจดั ทำคู่มือเล่มนีส้ ำเรจ็ ลงไดด้ ี นายเมธี ถูกแบบ นกั วชิ าการศึกษา มกราคม 2565

สารบญั หนา้ คำนำ .......................................................................................................................................... ก สารบัญ .......................................................................................................................................... ข สว่ นท่ี 1 บริบทมหาวิทยาลัย......................................................................................................... 1 ส่วนท่ี 2 ประวัตมิ หาวิทยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ.์ ............................. 1 สว่ นท่ี 3 ปรัชญา วสิ ัยทัศน์ อตั ลักษณ์ เอกลกั ษณ์ และพนั ธกิจของมหาวทิ ยาลยั .................... 4 เปา้ ประสงค์ ยทุ ธศาสตร์ และคา่ นยิ มหลกั ของมหาวิทยาลัย........................................ 5 โครงสรา้ งการแบง่ ส่วนราชการของมหาวทิ ยาลัย........................................................ 6 ทำเนยี บผบู้ รหิ าร คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย...................................................... 7 บริบทของสำนกั ส่งเสริมการเรียนรแู้ ละบริการวิชาการ.................................................. 11 ประวัติสำนักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการ...................................................... 11 โครงสรา้ งการบรหิ ารของสำนักสง่ เสรมิ การเรยี นร้แู ละบริการวชิ าการ........................ 12 พนั ธกิจ วิสัยทัศน์ ค่านยิ ม วฒั นธรรมองค์กร สมรรถนะหลัก...................................... 13 นโยบายของสำนักส่งเสรมิ การเรยี นรแู้ ละบริการวชิ าการ............................................ 14 กลยทุ ธข์ องสำนกั ส่งเสรมิ การเรยี นรแู้ ละบริการวชิ าการ.............................................. 14 ลักษณะงานทป่ี ฏบิ ตั ิ.................................................................................................... 14 ขน้ั ตอนการปฏิบัติงาน..................................................................................................... 16 บทนำ.......................................................................................................................... 16 ประวัตคิ วามเป็นมาหอนทิ ัศน์ราชภฏั อาคารส่งเสรมิ การเรียนรู้ ช้ัน 2....................... 18 ผังกระบวนการการเขา้ ใช้ระบบปฏิบัติการหอนิทัศนร์ าชภฏั ...................................... 19 ข้ันตอนที่ 1 รับแจ้งจากหน่วยงานมผี ู้ขอเข้าใชบ้ ริการหอนทิ ศั นร์ าชภัฏ.................... 21 ขนั้ ตอนท่ี 2 การประชมุ และการวางแผนการดำเนินงาน.......................................... 24 ขั้นตอนที่ 3 การเปดิ หอนิทศั นร์ าชภัฏใหแ้ มบ่ ้านทำความสะอาดลว่ งหน้า................ 26 ขั้นตอนท่ี 4 การจัดเตรยี มอปุ กรณ์และเอกสารในการเข้าเยี่ยมชม........................... 27

สารบัญ (ตอ่ ) หนา้ ส่วนที่ 3 ขั้นตอนท่ี 5 วธิ ีการเปิดใช้ระบบการทำงานห้องควบคุมระบบหอ้ งไฟและระบบ 28 ประวตั ิย่อ การทำงานนิทรรศการ................................................................................................. ขั้นตอนที่ 6 วิธกี ารเปดิ ใช้หอ้ งนิทัศน์ราชภฏั ตามรอยพระยคุ ลบาท.......................... 30 ขั้นตอนที่ 7 วธิ กี ารเปิดใช้ห้องนทิ ัศน์ราชภฏั สมเดจ็ พระราชปติ จุ ฉาเจ้าฟา้ 34 วไลยอลงกรณ์.................................................................................... ........................ 38 ขั้นตอนที่ 8 ขั้นตอนก่อนการนำเรียนรู้ เยีย่ มชมหรอื การศกึ ษาดูงาน........................ ขน้ั ตอนที่ 9 การนำเยย่ี มชมหอ้ งนิทัศน์ราชภัฏ สมเด็จพระราชปติ จุ ฉาเจ้าฟ้า 43 วไลยอลงกรณ.์ ............................................................................................................. ขนั้ ตอนที่ 10 การนำเยยี่ มชมหอ้ งหอ้ งนิทศั น์ราชภฏั ตามรอยพระยุคลบาท............. 48 ขน้ั ตอนที่ 11 ขัน้ ตอนกระบวนการสรปุ ผลการศกึ ษาเรยี นรู้หรือการเข้าเยีย่ มชม....... 52 ขั้นตอนท่ี 12 ข้ันตอนปิดระบบทั้งหมด ระบบแอร์ ระบบไฟส่องสว่าง และระบบ 55 ห้องควบคมุ ................................................................................................................. ขั้นตอนที่ 13 การเผยแพร่ประชาสัมพนั ธ์ข้อมลู กิจกรรมบนส่อื สงั คมออนไลน์.......... 56 ข้นั ตอนที่ 14 การสรุปผลแบบประเมินความพึงพอใจ และข้อเสนอแนะปรบั ปรงุ 57 ในครัง้ ตอ่ ไป................................................................................................................. ........................................................................................................................................ 61

สว่ นท่ี 1 บริบทมหาวิทยาลยั 1.ประวตั ิมหาวิทยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จงั หวดั ปทุมธานี สมเด็จพระราชปิตุจฉาเจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร ทรงมีพระเมตตาต่อ การศึกษาของกุลสตรีไทย จึงประทานอาคารพร้อมท่ีดินประมาณ 4 ไร่ ให้กระทรวงธรรมการในสมัยนั้น (ปัจจุบันคือกระทรวงศึกษาธิการ) จัดตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูเพชรบุรีวิทยาลงกรณ์ เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน 2475 ปัจจุบันคือ เลขท่ี 153 ถนนเพชรบุรี แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร โดยย้าย นักเรียนฝึกหัดครูและนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.7-8) มาจากโรงเรียนเบญจมราชาลัย อาจารย์ ใหญ่คนแรกคือ อาจารย์นิลรัตน์ บรรณสิทธ์ิวรสาสน์ โรงเรียนใช้ช่ือย่อว่า พ เป็นสัญลักษณ์ และสีเขียว เปน็ สีประจำโรงเรียนเนื่องจากเป็นสปี ระจำวนั ประสูตขิ องพระองค์ สถานศึกษาแห่งน้ีได้ปฏิบัติภารกิจด้านการศึกษาท้ังแผนกฝึกหัดครู และแผนกสามัญด้วยดีตลอด มา และไดพ้ ฒั นาปรบั เปล่ยี นสถานภาพ และคำนำหน้าชือ่ ตามความเหมาะสม ดังนี้ 1 ตลุ าคม 2513 เป็นวทิ ยาลยั ครเู พชรบรุ ีวทิ ยาลงกรณ์ 1 ตุลาคม 2515 ขยายงานการฝึกหัดครูมาอยู่ ณ ท่ีต้ังปัจจุบัน คือ เลขท่ี 1 หมู่ 20 ถนน พหลโยธิน กิโลเมตรที่ 48 ตำบลคลองหน่ึง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 13180 มีพื้นท่ี 294 ไร่ 3 งาน 72 ตารางวา ทั้งน้ีอาจารย์อวยพร เปล่งวานิช ผู้อำนวยการวิทยาลัยครูเพชรุบรีวิทยาลงกรณ์ในขณะน้ัน ได้ดำเนินการติดต่อ ประสานงานล่วงหน้ากับผู้ว่าราชการจังหวัดปทุมธานี (นายประสิทธ์ิ อุไรรัตน์) จึงได้ท่ีดินทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์แปลงน้ีมาเป็นที่ต้ังของสถาบันใน ปจั จุบนั 14 พฤศจิกายน 2517 พระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู ัวภมู พิ ลอดุลยเดชฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ รับ วิทยาลัยครูเพชรบุรีวิทยาลงกรณ์ และสมาคมศิษย์เก่าฯไว้ \"ในพระบรม ราชปู ถัมภ์

2 9 พฤศจาิ ยน 2518 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ เสด็จฯพร้อมด้วยสมเด็จ พระบรมราชินีนาถ และสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนสุดา กิติ พ.ศ. 2520 วัฒนาดุลโสภาคย์ ทรงเปิดพระอนุสาวรีย์ สมเด็จพระราชปิจตุจฉาเจ้าฟ้า พ.ศ. 2528 วไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร และพระราชทานพระราชทรัพย์ 14 กุมภาพันธ์ 2535 ส่วนพระองค์ จำนวน 2 แสนบาท ต้งั เป็น \"มลู นธิ สี มเด็จเจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์\" 24 มกราคม 2538 เปิดสอนถงึ ระดบั ปริญญาตรี ครศุ าสตรบัณฑติ 6 มีนาคม 2538 เปิดสอนสาขาวิชาชีพอ่ืนด้วยครบ 3 สาขา คือ สาขาวิชาการศึกษา สาขาวิชา ศลิ ปศาสตร์ และสาขา วิชาวิทยาศาสตร์ 15 กมุ ภาพันธ์ 2542 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามสถาบันราชภัฏ แก่วิทยาลัยครูทั่วประเทศ เป็นเหตุให้เปลี่ยน ปกี ารศึกษา 2542 ชอ่ื เป็น “สถาบนั ราชภัฏเพชรบรุ วี ทิ ยาลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์” ปกี ารศกึ ษา 2543 ประกาศในราชกจิ จานุเบกษา เรือ่ ง พ.ร.บ.สถาบนั ราชภฏั เปน็ ผลใหส้ ถาบันราช 15 กมุ ภาพันธ์ 2544 ภฏั ทั่วประเทศเป็นสถาบนั อุดมศึกษาเพอ่ื การพฒั นาท้องถิน่ อยา่ งแท้จริง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ 21 สงิ หาคม 2545 พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้ใช้ตราพระราชลัญจกรประจำพระองค์ 10 มถิ นุ ายน 2547 รัชกาลที่ 9 เป็นตราสัญลักษณ์ประจำสถาบันราชภัฎ นับเป็นพระมหา กรุณาธิคุณล้นเกล้าล้นกระหม่อมหาที่สุดมิได้ แก่ สถาบันราชภัฏเพชรบุรีวิทยา ลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (ปัจจุบันคือ สมเด็จพระ กนิษฐาธิราชเจา กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร) เสด็จ ฯ วางพวงมาลาพระอนุสาวรีย์ฯ และทรงเปิดอาคารฝึกประสบการณ์วิชาชีพ \"อาคารสมเดจ็ เจา้ ฟา้ วไลยอลงกรณ์\" เปิดสอนนกั ศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี 2 ปี และ 4 ปี หลักสตู รบริหารธุรกิจบณั ฑติ เปิดสอนนักศึกษาระดับปริญญาโท สาขาวิชาการบริหารการศึกษา และ สาขาวิชาหลกั สตู รและการสอน สมเด็จพระเจา้ พี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาส ราชนครินทร์ เสด็จฯ วางพวงมาลาพระอนุสาวรีย์ฯ “ทรงเปิดอาคาร 100 ปี สมเด็จพระศรี นครนิ ทร์ และหอ้ งประชุมราชนครนิ ทร์” ภายในอาคาร 100 ปี สมเด็จพระศรี นครินทร์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาต ให้เปลี่ยนชื่อเป็น \"สถาบันราชภัฏวไลย อลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัวภมู ิพลอดุลยเดชฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ฯ ทรง ลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ พุทธศักราช 2547 และได้ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันท่ี 14 มิถุนายน พุทธศักราช 2547 ยังผลให้สถาบันราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้ยกฐานะ

3 ปีการศกึ ษา 2549 เป็น \"มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัด 3 พฤษภาคม 2555 ปทุมธาน\"ี ตง้ั แต่วนั ที่ 15 มิถนุ ายน พ.ศ. 2547 เปิดสอนระดับปริญญาเอก สาขาวิชาการบริหารการศึกษา สาขาวิชาหลักสูตร ปีการศกึ ษา 2556 และการสอน และสาขาวชิ ารฐั ประศาสนศาสตร์ ปีการศึกษา 2557 สภามหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ มีมติเห็นชอบให้ มหาวิทยาลัยดำเนินการจัดซื้อที่ดินด้านทิศเหนือของมหาวิทยาลัย เน้ือท่ี 86 ไร่ ปกี ารศกึ ษา 2558 3 งาน 19 ตารางวา ปัจจุบันมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรม ปีการศกึ ษา 2559 ราชูปถัมภ์ มีเนื้อท่ีทั้งหมด 381 ไร่ 2 งาน 91 ตารางวา ตั้งอยู่เลขท่ี 1 หมู่ 20 ถนนพหลโยธิน ตำบลคลองหนงึ่ อำเภอคลองหลวง จงั หวดั ปทุมธานี เปิดสอนหลักสูตรนานาชาติ ได้แก่ หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการ จัดการธุรกิจการบิน (หลักสูตรนานาชาติ) และโรงเรียนสาธิตวไลยอลงกรณ์ หลกั สูตรนานาชาติ ท่ศี นู ยจ์ ัดการศึกษากรงุ เทพมหานคร เปิดสอนหลักสูตรภาษาอังกฤษ (English Program) ได้แก่ หลักสูตรครุศาสตร บัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทั่วไป และสาขาวิชาคณิตศาสตร์ เปิดสอน หลักสูตรนานาชาติ (International Program) ได้แก่ หลักสูตรศิลปศาสตร บณั ฑติ สาขาวิชาภาษาองั กฤษเพ่อื การสอ่ื สารนานาชาติ เปดิ สอนหลักสตู ร 3 หลกั สูตร ไดแ้ ก่ หลักสูตรรฐั ประศาสนศาสบัณฑิต หลักสูตร บริหารธุรกิจบัณฑิต หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏ วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สระแก้ว ดำเนินการโครงการจัดต้ังคระสาธารณสุขศาสตร์ เปิดสอน 2 สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวชิ าสาธารณสขุ ศาสตร์ และสาขาวชิ าการจัดการสถานพยาบาล ตราสญั ลกั ษณ์ประจำมหาวทิ ยาลัย ตราสัญลักษณ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เป็นรูปวงรี 2 วงซ้อน กนั ระหว่างวงรีส่วนบนเขียนเป็นอักษร ภาษาไทยว่า \"มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์\" ส่วนล่างเขียน เป็น อกั ษรภาษาอังกฤษว่า \"VALAYA ALONGKORN RAJABHAT UNIVERSITY\" ภายใต้วงรีด้านในมี ตราพระราชลัญจกรประจำพระองค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 9 ซ่ึงเป็นรูปพระที่นั่งอัฐทิศ ประกอบด้วยวงจักร กลางวงจักรมีอักขระเป็นอุหรือเลข ๙ รอบวงจักรมีรัศมีเปล่งออกโดยรอบ เหนือจักร เปน็ รูปเศวตฉัตรเจ็ดชน้ั ตง้ั อยบู่ นพระท่ีนง่ั อัฐทศิ แปลความหมายวา่ ทรงมีพระบรมเดชานภุ าพในแผน่ ดิน สีนำ้ เงนิ แทนค่า สถาบนั พระมหากษัตรยิ ผ์ ูใ้ ห้กำเนิดและพระราชทานนาม \"มหาวิทยาลยั ราชภัฏ\" สีเขียว แทนค่า แหล่งท่ีตั้งของมหาวิทยาลัยราชภัฏ ซ่ึงอยู่ในแหล่งธรรมชาติและมีสภาพแวดล้อมท่ี สวยงาม

4 สีทอง แทนค่า ความเจริญรงุ่ เรอื งทางปญั ญา สสี ม้ แทนค่า ความเจรญิ รงุ่ เรอื งของศิลปวฒั นธรรมท้องถ่ิน ท่ีกา้ วไกลในมหาวิทยาลยั ราชภัฏ สีขาว แทนค่า ความคิดอันบรสิ ุทธ์ิของนกั ปราชญแ์ หง่ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู วั สีประจำมหาวทิ ยาลัย สีเขียว หมายถึง สีที่ตรงกับวันประสูติของสมเด็จเจ้าฟ้าวไลยองกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิริน ธร ซึ่งเป็นองคป์ ระทานกำเนิดมหาวิทยาลัย ตนไมประจํามหาวทิ ยาลยั “ตนราชพฤกษ” ชือ่ วิทยาศาสตร Cassia fistula Linn. ชือ่ วงศ CAESALPINIACEAE / LEGUMINOSAE ชือ่ สามัญ Golden Shower, Indian Laburnum, Pudding-pine tree คติความเช่ือ ชยั พฤกษหรือ ราชพฤกษ เปนไมที่มีคุณคาสูง เปนไมมงคลนามนิยมใชในพิธีสําคัญตางๆ และอินธนูของขาราชการพล เรอื นก็ ปกดิ้นทองเปนรูปชอชัยพฤกษ 2. ปรชั ญา วิสยั ทัศน์ อัตลกั ษณ์ เอกลกั ษณ์ และพนั ธกิจของมหาวิทยาลยั ปรัชญา “วชิ าการเด่น เน้นคุณธรรม นำท้องถ่ินพฒั นา กา้ วหน้าด้านเทคโนโลยีW วสิ ัยทศั น์ “มหาวิทยาลัยต้นแบบแห่งการผลิตครู พัฒนาศักยภาพมนุษย์ โดยยึดหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ ”พอเพียง และสรา้ งนวัตกรรม เพอ่ื พัฒนาทอ้ งถน่ิ ให้ม่ันคง มัง่ คั่ง ยั่งยืน อตั ลกั ษณ์ “บัณฑิตจิตอาสา พัฒนาท้องถ่ิน” เอกลกั ษณ์ “เป็นสถาบันท่ีนอ้ มนำแนวทางการดำเนินชวี ิต ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง”

5 พนั ธกจิ : 1. ยกระดบั การผลติ ครูและพัฒนาศกั ยภาพมนุษย์โดยกระบวนการจดั การเรยี นรเู้ ชงิ ผลติ ภาพ (Productive Learning) สร้างเครือข่ายความรว่ มมือตามรูปแบบประชารัฐเพื่อพฒั นาท้องถ่ิน โดยยดึ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2. พัฒนาการวจิ ัยและนวตั กรรมเพื่อตอบสนองต่อการแก้ไขปัญหาของทอ้ งถิ่น และเป็นต้นแบบท่ี สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และความเข้มแข็งของท้องถน่ิ 3. ประสานความร่วมมือระหว่างมหาวทิ ยาลยั และผูม้ สี ว่ นได้ส่วนเสีย เพื่อพฒั นางานพันธกิจ สัมพันธ์และถ่ายทอด เผยแพรโ่ ครงการอนั เน่ืองมาจากพระราชดำรเิ พอ่ื ขยายผลการปฏบิ ัตไิ ปสู่ ประชาชนในท้องถ่นิ อย่างเปน็ รปู ธรรม 4. สง่ เสรมิ ศาสนา ศลิ ปวัฒนธรรม รณรงคส์ ร้างจติ สำนกึ ทางวัฒนธรรมและการเรียนรตู้ า่ ง วัฒนธรรม อนรุ กั ษฟ์ ้นื ฟูและเผยแพร่มรดกทางวัฒนธรรม พัฒนาระบบการบรหิ ารจัดการ ศลิ ปวฒั นธรรมทนี่ ำไปต่อยอดสู่เศรษฐกจิ สรา้ งสรรค์ 5. พฒั นาระบบการบริหารจัดการท่ีเปน็ เลศิ มีธรรมาภิบาลเพ่ือเป็นต้นแบบของการพัฒนา มหาวิทยาลัยอยา่ งย่ังยนื 3.เป้าประสงค์ ยทุ ธศาสตร์ และค่านยิ มหลักของมหาวทิ ยาลัย เปา้ ประสงค์ : 1. บัณฑิตมีคุณภาพมาตรฐาน มีทักษะในการคิดวิเคราะห์และการเรียนรู้ตลอดชีวิต มีศกั ยภาพสอดคลอ้ งกบั การพัฒนาประเทศ 2. วิจัยและนวัตกรรมสามารถแก้ไขปัญหาหรือเสรมิ สรา้ งความเข้มแข็งของท้องถิ่นเพอื่ ความ มน่ั คง มง่ั คง่ั ยัง่ ยนื ของประเทศ 3. ประชาชนสามารถดำรงชีวิตโดยใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจชุมชน เข้มแขง็ ประชาชนมคี วามสุข และมรี ายไดเ้ พมิ่ ขน้ึ 4. บัณฑิต และผู้มีส่วนได้เสียมีคุณธรรม ศีลธรรม จริยธรรม จิตสำนึกที่ดีต่อสังคมโดยรวม รักษามรดกทางวัฒนธรรมและเขา้ ใจในสังคมพหวุ ัฒนธรรม 5. มหาวิทยาลัยมีคุณภาพ มาตรฐาน โปร่งใส และธรรมาภิบาลตอบสนองต่อความต้องการ ประเทศ และเปน็ ทย่ี อมรบั ต่อประชาชน ยุทธศาสตร์ : 1. การผลิตบัณฑิตโดยกระบวนการจัดการเรียนรู้เชิงผลิตภาพ (Productive Learning) สร้างเครือข่ายความร่วมมือตามรูปแบบประชารัฐเพ่ือพัฒนาท้องถ่ินในการพัฒนาท้องถิ่น โดยยึดหลัก ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2. การวจิ ยั และนวัตกรรมเพ่ือตอบสนองตอ่ การแกไ้ ขปญั หาของท้องถิ่น 3. การพัฒนางานพันธกจิ สมั พันธ์และถ่ายทอด เผยแพรโ่ ครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชดำริ 4. การส่งเสริมศาสนา ศิลปวัฒนธรรม รณรงค์สร้างจิตสำนึกทางวัฒนธรรมและการเรียนรู้ ต่างวัฒนธรรม อนุรักษ์ฟื้นฟูและเผยแพร่มรดกทางวัฒนธรรม พัมนาระบบการบริหารจัดการ ศลิ ปวฒั นธรรม 5. การพัฒนาระบบการบริหารจดั การทเ่ี ป็นเลศิ มีธรรมาภิบาล

6 ค่านยิ มหลกั : เปน็ ผรู้ อบรู้ และมีวสิ ยั ทัศน์ V : Visionary ทำงานเชิงรุก ริเร่ิมสร้างสรรค์ A : Activeness สนใจใฝเ่ รยี นร้อู ย่างต่อเน่อื ง L : Like to learn ปรับตัวไดด้ ี พร้อมนำการเปล่ียนแปลง A : Adaptive สร้างผลงานเป็นทป่ี ระจักษ์ Y : Yields เปน็ ทย่ี อมรับในการเปน็ กัลยาณมติ ร A : Acceptance and Friendliness ทีม่ าของคา่ นิยม : • แนวนโยบายพนื้ ฐานแหง่ รัฐและนโยบายรฐั บาล • กรอบแผนอดุ มศกึ ษาระยะยาว 15 ปี • แผนแมบ่ ทโครงสร้างทางปัญญาของชาติ • บริบททางสงั คม เศรษฐกิจ การเมอื ง • วสิ ยั ทัศน์ พันธกิจ ยทุ ธศาสตร์ของมหาวิทยาลยั • ความคาดหวังของสภามหาวิทยาลยั วัฒนธรรมองค์กร : \"พฒั นานวตั กรรม มงุ่ เน้นความเปน็ เลศิ รว่ มพฒั นาท้องถ่นิ \" สมรรถนะหลกั : \"บรู ณาการพันธกจิ สมั พันธเ์ พื่อพฒั นาท้องถนิ่ \" 4.โครงสร้างการแบ่งส่วนราชการของมหาวทิ ยาลยั (ที่มา : สำนกั งานอธิการบดี ขอ้ มลู วนั ที่ 7 เดือน ธนั วาคม พ.ศ. 2564)

7 5. ทำเนียบผู้บริหาร คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย รายนามคณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย ทำเนียบผู้บรหิ าร พ.ศ. 2475 – 2480 อ.นลิ รตั น์ บรรณสทิ ธิว์ รสาสน์ พ.ศ. 2480 - 2485 อ.สนุ ทรี นลิ กำแหง พ.ศ. 2485 - 2489 คณุ หญงิ สมไสววงศ์ ทองเจอื พ.ศ. 2489 - 2497 อ.นลิ รตั น์ บรรณสทิ ธิว์ รสาสน์ พ.ศ. 2497 - 2505 อ.จรสั สม ปณุ ณะหติ านนท์ พ.ศ. 2505 - 2515 อ.อวยพร เปล่งวานิช พ.ศ. 2515 - 2517 อ.พเยาว์ ศรีหงส์ พ.ศ. 2517 - 2519 ดร.อรณุ ปรีดดี ิลก พ.ศ. 2519 - 2528 รศ.ลำพอง บุญชว่ ย พ.ศ. 2528 - 2529 ดร.วิชยั แขง่ ขัน พ.ศ. 2529 - 2537 ผศ.ปรีชา เศรษฐธี ร พ.ศ. 2537 - 2542 ผศ.จรญู ถาวรจกั ร์ พ.ศ. 2542 - 2551 รศ.ดร.ทองหลอ่ วงษ์อินทร์ ธ.ค. 2551 - ม.ิ ย. 2552 ผศ.ดร.อรสา โกศลานนั ทกุล (รักษาราชการแทนอธิการบด)ี มิ.ย. 2552 - ก.ย. 2552 ศ.พลโท ดร.โอภาส รัตนบรุ ี (รักษาราชการแทนอธิการบดี) ก.ย. 2552 - ต.ค. 2560 รศ.ดร.สมบัติ คชสทิ ธ์ิ ต.ค. 2560 - ปัจจุบัน ผศ.ดร.สพุ จน์ ทรายแก้ว

8 คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย (ท่มี า : http://202.29.39.5/board-vru/board-council.html ขอ้ มูลวันที่ 7 เดอื น ธันวาคม พ.ศ. 2564)

9 กรรมการสภามหาวิทยาลัยโดยตำแหน่ง กรรมการผแู้ ทนผ้บู ริหาร กรรมการผ้แู ทนคณาจารย์ (ท่ีมา : http://202.29.39.5/board-vru/board-council.html ขอ้ มลู วนั ท่ี 7 เดอื น ธันวาคม พ.ศ. 2564)

10 รายนามคณะผ้บู รหิ ารมหาวิทยาลัย อธิการบดี รองอธิการบดี 1. ผศ.ดร.สพุ จน์ ทรายแก้ว รองอธิการบดี 2. รศ.ศศนิ นั ท์ เศรษฐวัฒน์บดี รองอธกิ ารบดี 3. ผศ.เจษฎา ความคุน้ เคย รองอธกิ ารบดี 4. รศ.ดร.นฤมล ธนานนั ต์ รองอธิการบดี 5. อ.ไชย มหี นองหว้า ผชู้ ่วยอธกิ ารบดี 6. ผศ.ปยิ ะ สงวนสิน ผู้ช่วยอธกิ ารบดี 7. ผศ.พชิ ญาณี เชิงครี ี ไชยยะ ผชู้ ่วยอธิการบดี 8. อ.ศริ ิพร จริ ะชยั ประสิทธิ ผู้ช่วยอธิการบดี 9. อ.ดร.ชัยวฒุ ิ เทโพธิ์ ผู้ชว่ ยอธิการบดี 10. ผศ.ธราพงษ์ พัฒนศักด์ภิ ิญโญ ผู้ช่วยอธิการบดี 11. อ.ดร.โรจนันท์ ทรงอยู่ 12. ผศ.ดร.อัญชัญ ยตุ ธิ รรม (ท่ีมา : http://202.29.39.5/board-vru/board-vru.html ขอ้ มลู วนั ที่ 7 เดอื น ธวั าคม พ.ศ. 2564)

11 สว่ นที่ 2 บรบิ ทของสำนกั ส่งเสริมการเรียนรูแ้ ละบริการวิชาการ 2.1 ประวตั ิสำนกั สง่ เสรมิ การเรยี นรูแ้ ละบรกิ ารวิชาการ ปีพ.ศ.2549 สำนักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการ (สสร.) เป็นหน่วยงานส่วนราชการ โครงสร้างการบรหิ ารมหาวิทยาลัยที่ประกาศอย่างเป็นทางการในราชกิจจานุเบกษา เม่ือวันท่ี 25 ตุลาคม พ.ศ.2549 ซ่ึงแต่เดิมการดำเนินงานบริการวิชาการซ่ึงเป็นพันธกิจของมหาวิทยาลัยอยู่ในความรับผิดชอบ ของสำนกั วิจัยและบริการวิชาการ แต่เมอ่ื มกี ารจดั โครงสรา้ งส่วนราชการใหม่ทำให้งานบริการวิชาการโอน มาอยู่ในความรับผิดชอบของสำนักฯ และในปีดังกล่าวสภามหาวิทยาลัยมีมติเห็นชอบแต่งต้ัง ผศ.วิมล จโิ รจพันธ์ุ ดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการสำนักส่งเสริมการเรยี นรแู้ ละบริการวชิ าการเปน็ คนแรก ปีพ.ศ.2550 สภามหาวิทยาลัยมีมติเห็นชอบแต่งตั้ง อ.ดร.สุเทพ บุญซ้อน ดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการสำนัก เม่ือวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2550 มีการริเร่ิมการวางระบบการบริการวิชาการแก่สังคม ของมหาวิทยาลยั ปีพ.ศ.2551 สภามหาวิทยาลัยมีมติเห็นชอบแต่งต้ัง ผศ.ร.ท.หญิงวิภาวี เกียรติศิริ ดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการสำนัก เมื่อวันท่ี 9 ธันวาคม พ.ศ.2551 โดยสำนักฯเป็นหน่วยประสานงานและเก็บรวบรวม ขอ้ มลู ตวั ชวี้ ัดดา้ นบรกิ ารวชิ าการของมหาวิทยาลัย ปีพ.ศ.2552 สภามหาวิทยาลัยมีมติเห็นชอบแต่งตั้ง อ.ดร. สุนทรี จีนธรรม ดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการสำนัก เริ่มมีการจัดตั้งแหล่งเรียนรู้ภายในมหาวิทยาลัย และริเริ่มโครงการอนุรักษ์พันธุกรรม พืชขน้ึ ปีพ.ศ.2557 สภามหาวิทยาลัยมีมติเห็นชอบแต่งตั้ง ผศ.ละเอียด ขจรภัย ดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการสำนัก มีการเปิดหอนิทัศน์ราชภัฏเป็นแหล่งเรียนรู้ และริเริ่มดำเนินงานพันธกิจสัมพันธ์เพ่ือ พฒั นาทอ้ งถิน่

12 ปีพ.ศ.2561 สภามหาวิทยาลัยมีมติเห็นชอบแต่งต้ัง ผศ.เศกพร ตันศรีประภาศิริ ดำรงตำแหน่ง ผู้อำนวยการสำนัก เมื่อวันที่ 5 กันยายน พ.ศ.2561 โดยได้ดำเนินงานพันธกิจสัมพันธ์ในพื้นท่ีจังหวัด ปทุมธานีจังหวัดสระแก้ว และจังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีการจัดตั้งฐานศูนย์เรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพียงจำนวน 4 ฐานการเรียนรู้ข้นึ จนถึงปัจจบุ นั ปัจจุบันสำนักฯ เป็นหน่วยงานเทียบเท่าระดับคณะ และส่วนราชการตามโครงสร้างการบริหาร ของมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ท่ีประกาศอย่างเป็นทางการในราชกิจจา นเุ บกษา ทำหน้าท่ีเป็นหน่วยงานสนับสนนุ ให้คณะ สำนัก และศูนย์ต่างๆ ของมหาวิทยาลัย สำนักฯ ได้ กำหนดวิสัยน์ทัศน์ตามพันธกิจของมหาวิทยาลัยมีการกำหนดนโยบายในการเป็นราชภัฏสู่การพัฒนา ท้องถิ่น และดำเนินงานด้านพันธกิจสัมพันธ์ตามความต้องการของชุมชน ท้องถ่ิน หรือองค์การเป้าหมาย เพื่อให้เกิดการพัฒนาและมีความเข้มแข็งสามารถพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง และได้มีการจัดกิจกรรม บริการทางวิชาการแก่ท้องถิ่น ท่ีสอดคล้องกับนโยบาย และวัตถุประสงค์ของมหาวิทยาลัย โดยมีการแบ่ง สว่ นราชการของสำนกั ฯ ออกเปน็ 4 งานคอื 1. งานบริหารท่ัวไป 2. งานส่งเสริมการเรียนรูต้ ามรอยพระยุคลบาท 3. งานบรกิ ารวชิ าการแกท่ อ้ งถิน่ และสังคม 4. งานโครงการอนรุ ักษพ์ ันธุกรรมพืช 2.2 โครงสรา้ งการบริหารของสำนกั ส่งเสรมิ การเรยี นรู้และบรกิ ารวชิ าการ (ทีม่ า : http://learn.vru.ac.th/learn/index.php ข้อมลู วนั ที่ 7 เดือน ธวั าคม พ.ศ. 2564)

13 (ทม่ี า : http://learn.vru.ac.th/learn/index.php ข้อมูลวันท่ี 7 เดอื น ธวั าคม พ.ศ. 2564) 2.3 พนั ธกิจ วิสยั ทศั น์ คา่ นิยม วัฒนธรรมองคก์ ร สมรรถนะหลัก และเปา้ ประสงคเ์ ชงิ ยทุ ธศาสตร์ ปรัชญา นอ้ มนำศาสตร์พระราชา พัฒนางานพนั ธกิจสมั พนั ธ์ สร้างสรรคน์ วตั กรรมชุมชน วิสยั ทัศน์ มุง่ งานพันธกิจสัมพนั ธ์ โดยนอ้ มนำศาสตรพ์ ระราชา เพื่อพฒั นาท้องถิ่นให้มนั่ คง มงั คงั่ ยั่งยนื พันธกิจ 1. สง่ เสริมการเรยี นรู้ และสบื สาน ศาสตร์พระราชา 2. สง่ เสริม สนบั สนุน งานพนั ธกิจสมั พันธ์ เสรมิ สร้างเครอื ข่ายประชารฐั พัฒนาชุมชน ทอ้ งถน่ิ ค่านยิ ม วัฒนธรรม Learn องคก์ ร l = learning สง่ เสรมิ การเรียนรู้อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง E = Engagement = งานพนั ธกิจสมั พนั ธ์พฒั นาคุณภาพชีวิตชุมชนทอ้ งถิน่ A = Active = กระตือรนื รน้ ในการดำเนินงาน R = Relationship = สรา้ งความสมั พนั ธท์ ดี่ กี ับหนว่ ยงานเครือขา่ ยและชุมชนทอ้ งถน่ิ N = Network = สร้างเครอื ขา่ ยความร่วมมอื เพือ่ ความยั่งยนื สมรรถนะหลกั 1. บรกิ ารวิชาการแก่ทอ้ งถน่ิ และสงั คม 2. สง่ เสรมิ การเรยี นรตู้ ามรอยพระยคุ ลบาท เปา้ ประสงค์เชงิ 1.การสรา้ งนวัตกรรมสงั คม หรอื นวัตกรรมชุมชนทส่ี ามารถใชป้ ระโยชน์ร่วมกนั และ ยทุ ธศาสตร์ ลดความเหลือ่ มล้ำของสงั คมหรอื ชมุ ชน การให้บริการวิชาการแกส่ ังคม และชมุ ชนในพ้ืนที่ เพ่ือสรา้ งความเขม้ แขง็ ของชมุ ชน 2. สรา้ งเครอื ข่ายความรว่ มมอื งานพันธกจิ สัมพันธ์ และสบื สานศาสตร์พระราชาในการ พฒั นาชมุ ชน และทอ้ งถน่ิ 3. สนองพระราชดำริโครงการอนรุ กั ษพ์ นั ธุกรรมพชื อนั เนื่องมาจากพระราชดำริสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าสยามบรมราชกุมารี มหาวิทยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์ (มรวอ. - อพ.สธ.) 4.มีแหลง่ การเรยี นรู้ เพ่อื พฒั นานวัตกรรมสังคมหรือชมุ ชน ตามศาสตรพ์ ระราชา

14 2.4 นโยบายของสำนักสง่ เสริมการเรียนรู้และบรกิ ารวชิ าการ 1. พัฒนาระบบและกลไกในการดำเนินงานพนั ธกจิ สัมพนั ธ์ให้สอดคล้องกบั กระบวนการดำเนินการ ของมหาวทิ ยาลยั หรือมีการต่อยอดความรกู้ บั ชุมชนท้องถน่ิ และองคก์ ารเปา้ หมายท่ีกอ่ ให้เกิดรายได้ 2. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ อาจารย์ บุคลากร นักศึกษา และชุมชน หรือองค์การเป้าหมาย มีส่วน ร่วมในการพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์ การพัฒนาศักยภาพอาจารย์ ที่มีผลต่อการผลิตบัณฑิตเพื่อรับใช้ สงั คม 3. ส่งเสริม สนับสนุน และประสานงานในการพัฒนางานพันธกิจสัมพันธ์ตามความต้องการของ สังคม หรือชุมชน และก่อให้เกิดวิจัยชุมชน เพื่อสร้างคุณภาพชีวิต และความเป็นอยู่ให้เกิด การพัฒนา ตนเองอยา่ งตอ่ เน่ืองและยง่ั ยนื 4. การจัดการความรู้ด้านงานพันธกิจสัมพันธ์ และงานสืบสานศาสตร์พระราชา โดยถ่ายทอดองค์ ความรู้ และเผยแพรส่ ู่บคุ ลากร นกั ศึกษาและสาธารณชน 5. เสริมสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับมหาวทิ ยาลัย และหน่วยงานต่างๆ ในการพัฒนาชุมชน หรือ องคก์ ารเปา้ หมาย ซึง่ เป็นแหลง่ งานของนักศึกษา 6. เสรมิ สร้างการบรหิ ารงานแบบมสี ว่ นรว่ ม และหลักธรรมมาภิบาลใหม้ ีประสทิ ธิภาพย่งิ ข้นึ 7. เป็นแหล่งเรียนรูแ้ ละตน้ แบบเศรษฐกิจพอเพยี ง 8. ส่งเสริมและพัฒนาให้มีการน้อมนำแนวทางการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงให้แกห่ นว่ ยงานภายใน ภายนอก และชุมชน 2.5 กลยุทธ์ของสำนักส่งเสรมิ การเรียนรู้และบริการวิชาการ 1. ศกึ ษาแนวพระราชดำริและโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดำริ 2. พฒั นาระบบฐานขอ้ มูลพระราชดำรสั /พระบรมราโชวาท 3. ฝึกอบรมขยายผลแนวพระราชดำริไปสู่การปฏบิ ัติ 4. ศกึ ษา วิเคราะหป์ ัญหาความตอ้ งการในการพฒั นาศกั ยภาพบุคลากรและประชาชนในท้องถน่ิ 5. พฒั นาหลกั สูตรและจัดฝกึ อบรมทั้งหลักสตู รทวั่ ไปและหลักสูตรตามความต้องการของท้องถ่ิน 6. พัฒนาระบบการให้คำปรึกษาและบริการวิชาการ 7. สรา้ งความรว่ มมือ จดั ทำโครงการร่วมกบั หน่วยงาน/องค์กรอ่ืนๆ 8. รวบรวม สังเคราะห์องค์ความรู้ และนวัตกรรม 9. พัฒนาส่อื และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ 2.6 ลักษณะงานที่ปฏิบตั ิ สำนักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการ เป็นหน่วยงานส่งเสริมสนับสนุนให้คณะ สำนักและ ศนู ย์ตา่ ง ๆ ของมหาวทิ ยาลัยไดจ้ ัดทำบรกิ ารวิชาการแก่ทอ้ งถ่ิน ท่ีสอดคลอ้ งกับนโยบาย และวัตถุประสงค์ ของมหาวิทยาลัย การสำรวจความต้องการของท้องถิ่นในการดำเนินงานบริการวิชาการ โดย ดำเนินงาน ท้ังในรูปแบบของการให้บริการวิชาการที่มหาวิทยาลัยจัดสรรงบประมาณสนับสนุน และการใช้แหล่ง งบประมาณจากภายนอกมหาวิทยาลัย นอกจากน้ี สำนักฯ ได้จัดตั้งศูนย์เรียนรู้ตามหลักปรัชญาของ

15 เศรษฐกิจพอเพียงข้ึน เพ่ือเป็นแหล่งเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แก่หน่วยงานภายใน และหนว่ ยงานภายนอกมหาวทิ ยาลัย สำหรับการปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติหน้าที่นักวิชาการศึกษา สำนักส่งเสริมการเรียนรู้และ บรกิ ารวิชาการมหี น้าทรี่ ับผดิ ชอบ ดังน้ี ด้านการปฏบิ ตั งิ าน 1. ศึกษา วิเคราะห์ วางแผน ควบคุมดูและหาแนวทางในการดำเนินงานด้านงานส่งเสริมการ เรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท งานนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติหอนิทัศน์ราชภัฏและงานวิทยากรฝึกอบรม งานเผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศ/กจิ กรรมบนเวบ็ ไซต์สำนัก งานบริการวิชาการ งานประกันคุณภาพการศึกษาระดับ มหาวิทยาลัย งานของกิจกรรมและโครงการตามปฏิบัติงานประจำปี ให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการประจำปี และปฏิทนิ การศกึ ษาประจำปขี องมหาวิทยาลัย 2.ตรวจสอบ ควบคุม ดแู ลงานจัดซือ้ /จดั จา้ ง 3. ควบคมุ ดูแลและติดตามผลการปฏบิ ัตงิ านตามหน้าท่ี 4. จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพงานประกันคุณภาพการศึกษา ให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการประจำปี และปฏทิ นิ การศกึ ษาประจำปีของมหาวทิ ยาลัย และของสำนกั 5. ควบคุมดูแลการใช้งบประมาณ และทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด ดา้ นการวางแผน วางแผนการทำงานที่รับผิดชอบ และร่วมวางแผนการทำงานกับผู้บริหารของสำนัก และหน่วยงาน ภายในมหาวทิ ยาลัยเพอ่ื ใหก้ ารดำเนินงานบรรลตุ ามเป้าหมาย และผลสัมฤทธท์ิ ่ีกำหนด ด้านการประสานงาน 1.ประสานงานการทำงานร่วมกันระหว่างทีมงานหรือหน่วยงานทั้งภายในและภายนอก เพ่ือให้เกิด ความร่วมมอื และผลสมั ฤทธ์ิตามท่กี ำหนดไว้ 2.ชี้แจงและให้รายละเอียดเกี่ยวกับข้อมูลของกิจกรรมหรือโครงการ แก่บุคคลหรือหน่วยงานที่ เก่ยี วขอ้ ง เพอ่ื สร้างความเข้าใจหรอื ความร่วมมือในการดำเนนิ งานตามที่ไดร้ บั มอบหมาย ด้านการบริการ 1.ให้คำปรึกษา แนะนำเบ้อื งต้น เผยแพร่ ถ่ายทอดความรู้ เกีย่ วกบั ดา้ นงานส่งเสริมการเรยี นรู้ตาม รอยพระยุคลบาท งานนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติหอนิทัศน์ราชภัฏและงานวิทยากรฝึกอบรม งานเผยแพร่ ข้อมูลสารสนเทศ/กิจกรรมบนเว็บไซต์สำนัก ของมหาวิทยาลัยและของสำนักฯ รวมท้ังตอบปัญหาและชี้แจงเร่ือง ต่าง ๆ แกบ่ คุ ลากร เพื่อใหผ้ ูร้ ับบริการได้รบั ทราบข้อมูลที่เปน็ ประโยชน์ 2. จัดเก็บขอ้ มลู เบื้องตน้ และให้บรกิ ารขอ้ มูลกจิ กรรมหรือโครงการ เก่ียวกับดา้ นงานสง่ เสรมิ การ เรยี นรู้ตามรอยพระยุคลบาท งานนิทรรศการเฉลิมพระเกยี รติหอนทิ ัศน์ราชภฏั และงานวทิ ยากรฝกึ อบรม งาน เผยแพร่ข้อมลู สารสนเทศ/กิจกรรมบนเวบ็ ไซตส์ ำนัก งานประกันคณุ ภาพการศกึ ษา เพือ่ ให้บคุ ลากรทัง้ ภายในและ ภายนอกหน่วยงาน นักศึกษา ตลอดจนผบู้ รกิ าร ไดท้ ราบข้อมูล และความรตู้ า่ ง ๆ ท่ีเป็นประโยชน์ สอดคล้อง และสนบั สนุนภารกิจของหนว่ ยงานและใชป้ ระกอบการพิจารณากำหนดนโยบาย แผนงาน หลกั เกณฑ์ มาตรการ ต่าง ๆ

16 ส่วนท่ี 3 ขนั้ ตอนการปฏบิ ัติงาน บทนำ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ สำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรที่ทรงมีต่อพสกนิกร ชาวไทย นับเป็นมหามงคลอย่างยิ่งท่ีปวงชนทุกหมู่เหล่า จะได้น้อมรำลึกในพระกรุณาธิคุณ และแสดง ความจงรักภักดี ถวายเป็นราชสักการะแด่พระองค์ท่านท่ีทรงปฏิบัติ พระราชกรณียกิจในการบำบัดทุกข์ บำรุงสุขแก่อาณาประชาราษฎร์มาอย่างต่อเน่ือง พระองค์ได้ทรงยึดม่ันในพระปฏิญญาทรงพระวิริย อุตสาหะ มุ่งมั่นปฏิบัติพระราชกรณียกิจเพ่ือประเทศชาติ และประชาชนชาวไทย โดยมิได้ย่อท้อ มหาวิทยาลัยจึงได้จัดทำศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงข้ึน เพ่ือเป็นแหล่งเรียนรู้ และแหล่งศึกษาดูงาน จำนวน 4 ฐานการเรียนรู้ ได้แก่ ฐานที่ 1 ภูมิพลังแผ่นดิน จัดแสดงนิทรรศการเฉลิม พระเกียรติ โดยปัจจุบันสถานท่ีต้ังอยู่ ณ หอนิทัศน์ราชภัฏ อาคารส่งเสรมิ การเรียนรู้ ชั้น 2 มีนิทรรศการ 2 สว่ นตอ่ เน่ืองกนั สว่ นท่ี 1 ได้แก่ นทิ รรศการพระราชประวัติสมเดจ็ พระราชปติ จุ ฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร เพ่ือเป็นการสำนึกในพระกรุณาธิคุณที่พระองค์ทรงเป็นองค์ประทานกำเนิด มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ และส่วนท่ี 2 นิทรรศการเผยแพร่พระเกียรติ คุณและสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพติ ร รัชกาลที่ 9 โดยนิทรรศการส่วนนป้ี ระกอบด้วย พระราชประวัติ พระอัจฉรยิ ภาพ ด้านต่างๆ อาทิเช่น ด้านดนตรี ด้านการถ่ายภาพ และด้านวรรณกรรมฯ หลักการทรงงาน และโครงการ อันเน่ืองมาจากพระราชดำริ ฐานที่ 2 อุทกธารอาหารเพื่อชุมชน เรียนรู้การปลูกพืช ผัก อาหาร ริมน้ำ ฐานที่ 3 ความมั่นคงด้านอาหาร “โคก-หนอง-นา” โมเดล ฐานท่ี 4 วิถีไทยร่วมสมัย วิถีชาวนา การอนุรักษ์พันธุกรรมพืช บ้านชีววิถี อยู่อย่างพอเพียง เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้และแหล่งศึกษาดูงานให้ท้ัง นกั เรยี น นักศกึ ษา และประชาชนทั่วไปที่สนใจ การดำเนินงานท่ีผ่านมา สำนักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการ ซึ่งได้รับมอบหมายจากมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลย อลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ให้เป็นผู้รับผิดชอบดูแลศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง มหาวิทยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถมั ภ์ ได้ดำเนินงานพฒั นา ให้เปน็ การแหล่ง เรียนรู้แก่นักเรียน นักศึกษา อาจารย์ บุคลากรในมหาวิทยาลัย และประชาชนทั่วไป สำนักจึงได้จัดทำ โครงการเฉลิมพระเกียรติและนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติข้ึน โดยการจัดทำนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ ต่างๆ และศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงขึ้น 4 ฐานการเรียนรู้ เพ่ือเป็นแหล่ง ศึกษาเรียนรู้สำหรับประชาชนท่ัวไป อันเป็นการส่งเสรมิ การเรียนรู้ตลอดท้ังสืบสานแนวพระราชดำริ และ นอ้ มนำพระราชปณิธาน พระราชดำริ พระราโชวาท และพระราชกรณียกิจเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิต ตอ่ ไป

17 แหลง่ เรียนรู้ จำนวน 4 ฐาน ดงั น้ี ฐานที่ 1 ภมู ิพลังแผ่นดิน (หอนิทัศนร์ าชภฏั ) 1. พระราชประวัตขิ องรัชกาลท่ี 9 2. พระอจั ฉริยภาพของรัชกาลท่ี 9 3. พระราชกรณยี กิจสำคัญของรัชกาลท่ี 9 /การบรหิ ารจัดการทรพั ยากรธรรมชาติ“ จากนภา ผ่านภผู า สู่มหานที” 4. หลกั การทรงงาน/แนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง 5. พระราชประวัติพระราชปิตุจฉา เจา้ ฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร ฐานท่ี 2 อุทกธารอาหารเพ่ือชุมชน 1. พชื ผัก อาหาร ริมนำ้ 2. เล้ียงปลาด้วยอาหารธรรมชาติ 3. เครื่องมือจับปลาพืน้ บ้าน 4. หาอยู่ หากิน ในวถิ ีริมน้ำ 5. การรักษาคุณภาพน้ำในชมุ ชน ฐานที่ 3 ความม่นั คงด้านอาหาร 1. “โคก-หนอง-นา” โมเดล 2. เกษตรคนเมือง 3. ห้องเรียน ห้องครวั ห้องยา 4. สวนหย่อมกินได้ 5. การปรับปรุงดิน 6. การพ่ึงพาตนเองด้านพลงั งาน ฐานท่ี 4 วถิ ีไทยร่วมสมัย 1. วิถีชาวนา 2. เกษตรปลอดภัย 3. บา้ นชีววถิ ี อยู่อยา่ งพอเพียง 4. วิถชี าวสวนริมนำ้ 5. SMART Farmer 6. การอนรุ ักษ์พนั ธกุ รรมพืช 7. ผลติ ภัณฑ์ครวั เรือนพน้ื ฐาน ศูนย์การเรียนรตู้ ามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มหาวิทยาลยั ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระ บรมราชูปถัมภ์ ประกอบไปด้วยฐานการเรียน 4 ฐาน ได้แก่ ฐานการเรียนรู้ที่ 1 ภูมิพลังแผ่นดิน (ซ่ึงหอ นิทัศนร์ าชภัฏ อาคารสง่ เสริมการเรียนรู้อยภู่ ายใต้ศนู ย์การเรียนรู้ฯแห่งนี้ ) ฐานการเรยี นร้ทู ่ี 2 อุทกฐาน อาหารเพอ่ื ชมุ ชน ฐานการเรียนรู้ท่ี 3 ความมนั่ คงด้านอาหาร ฐานการเรียนรู้ท่ี ๔ วิถไี ทยรว่ มสมัย เพ่ือเป็น แหล่งเรียนรู้ให้กับนักเรียน นักศึกษา บุคลากรและอาจารย์ ชุมชน และประชาชนทั่วไป ภายใต้การดูแล ของสำนักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการ (Office of Learning Support and Academic Services) โทร:02-9093026 เบอร์ภายใน: 253 โทรสาร : 02-9093026 อเี มล : [email protected]

18 3.1 ประวัติความเป็นมาหอนิทัศน์ราชภัฏ อาคารส่งเสริมการเรียนรู้ ช้ัน 2 หอนิทัศน์ราชภัฏ อาคารส่งเสริมการเรียนรู้ ชั้น 2 เปิดใช้อย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2560 โดย พลเอกดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ องคมนตรีในรัชกาลที่ 9 และรัชกาลที่ 10 มีนิทรรศการ 2 ส่วนต่อเนื่องกัน ได้แก่ ส่วนที่ 1 ห้องนิทัศน์ราชภัฏ สมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ จัดนิทรรศการพระราชประวัติสมเด็จพระราชปิตุจฉา เจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร เพื่อเป็นการสำนึกในพระกรุณาธิคุณที่พระอง ค์ทรงเป็นองค์ ประทานกำเนิดมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ และส่วนที่ 2 ห้องนิทัศน์ราชภัฏตามรอยพระยุคลบาท จัดแสดงนิทรรศการเผยแพร่พระเกียรติคุณและสำนึก ในพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ในหลวงรัชกาลที่ 9 โดยนิทรรศการส่วนนี้ประกอบด้วย พระราชประวัติ พระอัจฉริยภาพด้านต่างๆ อาทิเช่น ด้านดนตรี ด้านการถ่ายภาพ และด้านวรรณกรรมฯ หลักการ ทรงงาน และโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ หอนทิ ศั นร์ าชภฏั เปดิ ใชอ้ ย่างเป็นทางการ เมื่อวันที่ 15 กุมภาพนั ธ์ 2560 โดย พลเอกดาวพ์ งษ์ รัตนสุวรรณ องคมนตรีในรัชกาลที่ 9 และรชั กาลที่ 10

19 หอนทิ ศั น์ราชภัฏ เปน็ แหล่งศึกษาเรียนรูท้ ้ังภายในและภายนอกมหาวิทยาลยั และเปน็ ทีศ่ ึกษาดูงาน ร่วมถึงการจัดฝึกอบรม การประชุม การสัมมนาทางวิชาการต่างๆ ภายใต้การดูแลของสำนักส่งเสริมการ เรียนรู้และบริการวิชาการ โดยสำนักฯ ได้ให้ความสำคัญในการเข้าใช้บริการหอนิทัศน์ราชภัฏจึงได้ให้ บุคลากรที่รับผิดชอบจัดทำคู่มือระบบปฏิบัติการหอนิทัศน์ราชภัฏ ณ อาคารส่งเสริมการเรียนรู้ ชั้น 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี เพ่ือให้ผู้ปฏิบัติงานทราบ ข้ันตอน วิธีปฏิบัติงาน รวมทั้งประกาศ ระเบียบ ข้อบังคับท่ีเก่ียวข้องในการดำเนินงานหอนิทัศน์ราชภัฏ และเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานในการปฏิบัติงานสำหรับบุคลากรในหน่วยงานให้สามารถปฏิบัติงาน ทดแทนกันได้ และเพื่อให้การดำเนินงานเกิดประสิทธิภาพในการดำเนินงาน และมีความต่อเน่ืองในการ ดำเนินงานของมหาวิทยาลัย ซ่ึงในการเข้าใช้ระบบปฏิบัติการหอนิทัศน์ราชภัฏ มีกระบวนการในการ ดำเนนิ งาน 12 ขั้นตอน ดงั นี้ ผงั กระบวนการการเขา้ ใช้ระบบปฏิบตั กิ ารหอนทิ ัศนร์ าชภัฏ 1.รับแจง้ จากหนว่ ยงานมผี ขู้ อเข้าใช้บรกิ าร หอนทิ ัศนร์ าชภฏั 2.การประชมุ และการวางแผนการดำเนนิ งาน 3.การเปดิ หอนิทัศนร์ าชภัฏใหแ้ มบ่ ้านทำความ สะอาดลว่ งหน้า 4.การจัดเตรียมอุปกรณ์และเอกสารในการเขา้ เยย่ี มชม 5.วธิ ีการเปิดใชร้ ะบบปฏิบัตกิ ารนทิ รรศการหอ นิทัศนร์ าชภฏั 6.วธิ กี ารเปดิ ห้องนิทัศน์ราชภัฏ ตามรอยพระยุคล บาทนทิ รรศการในหลวงรัชกาลที่ 9 7.วิธีการเปดิ ใช้หอ้ งนิทัศน์ราชภัฏ สมเด็จพระ ราชปติ จุ ฉาเจ้าฟา้ วไลยอลงกรณ)์ 8.ขั้นตอนก่อนการนำเรยี นรู้ เยย่ี มชมหรอื การศึกษาดูงาน (มีตอ่ หนา้ ถัดไป)

20 8. แจง้ กระบวนการเรียนรู้ และระเบียบการเข้า ชม และแจกใบงาน (สำหรับนักศึกษา และ นกั เรียน) และเปิดวีดิทัศน์ประวัติมหาวทิ ยาลยั 9.การนำเยี่ยมชมห้องนิทศั น์ราชภัฏ สมเด็จพระ ราชปิตุจฉาเจา้ ฟ้าวไลยอลงกรณ์ 10. การนำเย่ยี มชมห้องห้องนิทัศน์ราชภัฏ ตาม รอยพระยุคลบาท 11.ขน้ั ตอนกระบวนการสรปุ ผลการศึกษาเรียนรู้ หรือการเข้าเย่ยี มชม (เฉพาะนักเรียนนักศึกษา) และแนะนำชอ่ งทางการตดิ ต่อส่อื สาร 12.ขั้นตอนปิดระบบทัง้ หมด ระบบแอร์ ระบบไฟ สอ่ งสวา่ ง และระบบหอ้ งควบคมุ หอนิทัศนร์ าช ภัฏ อาคารสง่ เสริมการเรียนรู้ 13.การเผยแพรป่ ระชาสมั พนั ธ์ขอ้ มลู กจิ กรรมบน สื่อสงั คมออนไลน์ 14.การสรปุ ผลแบบประเมินความพึงพอใจ และ ข้อเสนอแนะปรบั ปรงุ ในครั้งต่อไป

21 ขั้นตอนที่ 1 รับแจ้งจากหน่วยงานมีผู้ขอเข้าใช้บริการหอนิทัศน์ราชภัฏโดยเป็นหน่วยงานหรือบุคคล ขอเข้าเรียนรู้ เยีย่ มชมหรือการศกึ ษาดงู าน ณ หอนิทศั นร์ าชภัฏ อาคารส่งเสรมิ การเรียนรู้ ดังนี้ 1.1 หน่วยงานหรือบุคคลจากท้ังภายในหรือท้ังภายนอกขอเข้าเรียนรู้ เย่ียมชมหรือ การศึกษาดูงาน ณ หอนิทัศน์ราชภัฏโดยท้ังเป็นรูปแบบทางการ เช่นผ่านระบบ E-saraban ของสำนกั เป็นตน้ และไม่เปน็ ทางการ เช่น การรับมอบหมายกรณีเรง่ ดว่ น 1.2 ได้รับมอบหมายจากผู้บริหารของสำนักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการวิชาการในการ เขา้ เย่ยี มชมหอนิทศั น์ราชภัฏ 1.3 ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานเจ้าของเร่ือง เก่ียวกับรายละเอียดการเข้าเยี่ยมชมหอ นิทัศน์ราชภัฏ ประเด็นหรือหัวข้อ วัตถุประสงค์ที่ต้องการในการเข้าศึกษาเรียนรู้ หรือ การเขา้ เยยี่ มชม รูปแบบการพาเยี่ยมชม และขอ้ มูลรายละเอยี ดตา่ งๆ 1.4 ประสานงานกับแม่บ้านอาคารหอนิทัศน์เพื่อเข้าทำความสะอาดล่วงหน้า (ปกติจะเปิด ใหแ้ มบ่ ้านเขา้ ทำความสะอาดทุกวนั พธุ ตอนเชา้ )

22 ตัวอย่างหนังสือขอความอนุเคราะห์และตารางกิจกรรมการในการเรียนรแู้ ละการเขา้ เย่ยี มชม หอนิทศั นร์ าชภฏั อาคารสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ ชัน้ 2

23 ปัญหา 1.ไม่มีหนังสือนำส่งจากหน่วยงานหรือบุคคลเพ่ือขอความอนุเคราะห์เข้าเยี่ยมชม หอนิทัศน์ราชภัฏ ทำให้ผู้ปฏิบัติงานไม่สามารถนำเรียนผู้บริหารสำนักถึงวัตถุประสงค์ของการ เข้าใช้ได้ และไม่ทราบรูปแบบในการจัดกิจกรรม วัตถุประสงค์ท่ีต้องการให้เน้น รูปแบบการพา เยยี่ มชม อาจทำให้เกิดปัญหาในการปฏิบตั งิ านได้ 2.กรณีเร่งด่วนการสั่งการด่วนโดยตรงจากผู้บังคับบัญชาเพ่ือให้เปิดใช้หอนิทัศน์ราช ภฏั ในกรณีทมี่ ีผู้เข้าเยี่ยมชมมาจากภายนอกมหาวิทยาลยั แนวทางการแก้ไขปัญหา 1.กรณีท่ีไม่มหี นังสือนำส่งจากหนว่ ยงานหรือบุคคลเพ่อื ขอความอนเุ คราะห์เข้าเรียนรู้ เย่ียมชม หรือศึกษาดูงานหอนิทัศน์ราชภัฏ ให้ผู้ปฏิบัติงานเรียนนำผู้บริหารสำนักให้รับรู้ รับทราบ และโทรติดต่อประสานงานโดยตรงเพื่อขอทราบรายละเอียดการในเข้าเย่ียมชม และ ขอใหส้ ่งหนังสือตามมาในภายหลัง 2.กร ณี เร่ งด่ วน การสั่ งการด่ ว น โด ย ต ร งจา กผู้ บั งคับ บั ญ ช า ร ะดั บ สู ง เพ่ื อให้ เปิ ด ใช้ หอนิทัศน์ราชภัฏในกรณีมีผู้เข้าเยี่ยมชมจากภายนอกมหาวิทยาลัย ให้ติดต่อประสานงานกับ ผบู้ ริหารสำนักเพื่อรบั มอบความรบั ผิดชอบ หรือเรยี นนำผู้บริหารสำนักให้รบั ร้ดู ว้ ย ข้อเสนอแนะ 1.ในการเปิดเข้าใช้หอนิทัศน์ราชภัฏควรเรียนนำผู้บริหารสำนักให้รับรู้หรือรับทราบ ด้วย 2.ควรจดั ให้มีการจองเขา้ ใชห้ อนิทัศน์แบบออนไลน์เพื่อใหส้ ะดวกในการปฏบิ ัตงิ าน 3.ควรให้เจ้าหน้าที่ทุกคนตลอดทั้งแม่บ้านของสำนักได้เรียนรู้กระบวนการการเปิด- ปิดการใช้ห้องหอนิทัศน์ราชภัฏจากคู่มือเล่มน้ี เพ่ือในกรณีเร่งด่วนหรือในกรณีที่เจ้าหน้าที่ ผู้รับผิดชอบไม่อยู่หรือไปราชการด้านนอกมหาวิทยาลัย เพ่ือให้การดำเนินงานของสำนักเป็นไป ดว้ ยความเรยี บร้อยและมปี ระสทิ ธภิ าพในการปฏิบตั งิ าน

24 ขน้ั ตอนที่ 2 การประชุมและการวางแผนการดำเนินงาน หลังจากรับมอบหมายจากผู้บริหารของสำนักหรือหนังสือขอความอนุเคราะห์ในการเข้าเรียนรู้ เยี่ยมชมหรือศึกษาดูงาน หอนิทัศน์ราชภัฏ ผู้ปฏิบัติงานควรหาข้อสรุปให้ชัดเจน และแบ่งหน้าท่ีความ รับผดิ ชอบกบั ผรู้ บั ผิดชอบทเ่ี กีย่ วข้อง ดงั นี้ 2.1 การจัดประชุมกับทีมงานและมอบหมายผู้รับผิดชอบในการทำหน้าที่ของ เช่น การลงทะเบียน การถ่ายรูปภาพกิจกรรม การนำเย่ียมชมแต่ละห้อง เป็นต้น เพื่อแบ่ง หน้าทค่ี วามรบั ผดิ ชอบ และวางแผนของแตล่ ะงานให้เกดิ ความชัดเจนก่อนดำเนนิ งาน 2.2 ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานเจ้าของเร่ือง เก่ียวกับรายละเอียดการเข้าเย่ียมชมหอ นิทัศน์ราชภัฏ ประเด็นหรือหัวข้อ วัตถุประสงค์ที่ต้องการให้เน้น รูปแบบการพาเย่ียมชม และขอ้ มูลรายละเอยี ดต่างๆ การประชมุ และการวางแผนการดำเนนิ งานและรบั มอบหมายจากผบู้ รหิ ารของสำนกั ปญั หา เน่ืองจากภาระงานของผู้ที่เก่ียวข้องมีค่อนข้างเยอะทำให้ไม่สามารถร่วมกลุ่มการ ประชุมและการวางแผนการดำเนินงานได้ครบตามจำนวนที่ต้องการอาจทำให้เกิดปัญหาในการ ดำเนินงานได้ แนวทางการแก้ไขปญั หา การแจง้ ข้อมลู การประชมุ ลงในกลุ่มไลน์ของบุคลากรของสำนักส่งเสริมการเรียนรแู้ ละ บริการวิชาการเพ่ือช้ีแจ้งการประชุม รวมถึงการมอบหมายงานสำหรับผู้เก่ียวข้องเพื่อให้ ผูเ้ ก่ยี วข้องรบั ทราบ

25 ขอ้ เสนอแนะ 1.ควรจัดให้มีการประชุมทุกครั้งในการดำเนินงาน เพ่ือลดช่องว่างหรือข้อผิดพลาดท่ี จะเกดิ ขน้ึ ในการทำงาน 2.ควรจัดสร้างกลุ่มไลน์ (Line) หรือกลุ่มงานในเฟซบุ๊ก (Facebook) งานหอนิทัศน์ ราชภัฏ หรือกลุ่มงานฐานการเรียนรู้เพื่อขบั เคลื่อนงานผ่านเทคโนโลยีในการตดิ ต่อประสานงาน รว่ มกันและสร้างความเข้าใจในการทำงาน

26 ข้ันตอนท่ี 3 การเปดิ หอนิทัศน์ราชภัฏให้แม่บา้ นทำความสะอาดลว่ งหนา้ ดงั นี้ 3.1 ให้ผู้ปฏิบัติงานประสานงานกับแม่บ้านหอนิทัศน์ราชภัฏ อาคารส่งเสริมการเรียนรู้ ชั้น 2 เพอ่ื ทำความสะอาด (ปกติจะเปดิ ใหท้ ำความสะอาดทุกวนั พธุ เช้า) 3.2 ดำเนินการเปิดห้องหอนิทัศน์ราชภัฏ ตรวจสอบระบบการทำงาน ระบบแอร์ ระบบไฟฟ้า ส่องสว่าง เปน็ ต้น 3.3 การจดั เตรียมอุปกรณ์ท่ีใช้ในการเข้าเยยี่ มชม และจัดเตรียมเอกสารๆ เพื่อรองรับในการเข้า เยีย่ มชม ดงั น้ี เปิดหอนทิ ัศนร์ าชภฏั เพอื่ ให้แม่บา้ นทำความสะอาดและเตรยี มความรยี บร้อย ปัญหา แม่บ้านที่ทำความสะอาดหอนิทัศน์เป็นแม่บ้านท่ีจ้างงานจากบริษัทรับเหมาบริการ จากภายนอกทำให้ไม่ได้อยู่ประจำชั้นตลอด เนื่องจากมีการทำความสะอาดหลายที่ในการ รับเหมาบริการ ทำให้เกิดปัญหากรณีเร่งดว่ นไมส่ ามารถมาทำความสะอาดให้ทนั ทีได้ แนวทางการแกไ้ ขปัญหา 1.ต้องดำเนินการติดต่อประสานงานกับผู้ดูแลจากส่วนกลางในการติดต่อ หัวหน้า แมบ่ า้ นหรอื แมบ่ า้ นในการเข้าทำความสะอาด 2.การขอเบอร์โทรหรือไลน์ (Line) หัวหนา้ ผู้รบั เหมาแมบ่ ้านหรือแม่บ้านในการติดต่อ ประสานงานในการเขา้ ทำความสะอาดลว่ งหนา้ เพ่ือใหพ้ ร้อมใช้งานตลอดเวลา ขอ้ เสนอแนะ 1.จัดตารางในการเข้าทำความสะอาดทุกวันพุธ หรือเพิ่มวันตามความเหมาะสม เพือ่ ใหห้ อนทิ ัศนร์ าชภัฏสะอาดเรียบรอ้ ย และพร้อมใชง้ านอย่เู สมอ 2.ควรให้เจ้าหน้าที่ทุกคนตลอดท้ังแม่บ้านของสำนักได้เรียนรู้กระบวนการการเปิด - ปิดการใช้งานห้องหอนิทัศน์ราชภัฏจากคู่มือเล่มน้ี เพื่อในกรณีเร่งด่วนหรือในกรณีที่เจ้าหน้าท่ี ผู้รับผดิ ชอบไม่อยู่ หรือไปราชการดา้ นนอกมหาวิทยาลัย เพ่อื ใหก้ ารดำเนินงานของสำนักเป็นไป ด้วยความเรียบรอ้ ยและมีประสิทธิภาพในการปฏบิ ัติงาน หรือปฏิบัติหน้าที่ทดแทนกันได้

27 ขั้นตอนที่ 4 การจดั เตรยี มอุปกรณ์และเอกสารในการเข้าเยย่ี มชม การจดั เตรียมอปุ กรณ์ท่ีใช้ในการเขา้ เยย่ี มชม และจัดเตรียมเอกสารๆ เพ่ือใช้ในการเข้าเย่ียมชม ดังนี้ 4.1 การจัดเตรียมอุปกรณ์ต่างๆ เช่น กล้องเพื่อใช้ในการถ่ายรูปภาพกิจกรรม การชาร์จ แบตเตอรีก่ ล้อง การชารจ์ ลำโพงนำเย่ียมชม การเตรยี มปากกา แฟ้มลงทะเบียน เปน็ ตน้ 4.2 การจัดเตรียมแบบรายช่ือลงทะเบยี น (ภายในและภายนอก) 4.3 การจัดเตรียมแบบประเมินความรู้ ใบงานเพื่อการเรียนรู้ (แจกเป็นรายกรณี เช่น นักศึกษา นักเรยี น เปน็ ต้น) 4.4 การจดั เตรยี มแบบประเมนิ ความพึงพอใจหลงั การเรยี นรู้ การจัดเตรยี มอปุ กรณแ์ ละเอกสารในการเข้าเยย่ี มชม ปญั หา 1.แบตเตอร่ีกลอ้ งหรือลำโพงนำเยยี่ มชมหมดหรือมนี อ้ ยทำใหเ้ กิดปัญหาในการปฏิบัตงิ าน 2.เอกสารแบบประเมินความรู้หรอื ใบงานเพื่อการเรยี นรู้ไมเ่ พยี งพอต่อผเู้ ขา้ รับการอบรม แนวทางการแก้ไขปญั หา 1.ดำเนินการการชารจ์ แบตเตอรี่กล้อง และการชาร์จลำโพงนำเย่ียมชมทุกครั้ง หรอื ดำเนินการ ตรวจสอบอปุ กรณท์ กุ คร้งั กอ่ นการปฏิบัติงานทุกครั้ง 2.ดำเนินการถ่ายเอกสารหรอื พริ้นเอกสารแบบประเมินความรู้หรือใบงานเพ่ือการเรียนรู้เพ่ือให้ เพียงพอในการปฏิบตั งิ านทุกครั้ง ข้อเสนอแนะ ควรเตรียมอุปกรณ์หรือเอกสารให้พร้อมก่อนการปฏิบัติงาน โดยนำไปยังหอนิทัศน์ราชภัฏไว้ กอ่ นล่วงหน้าเพ่อื ให้พร้อมในการปฏิบตั งิ าน

28 ข้ันตอนที่ 5 วิธีการเปิดใช้ระบบปฏิบัติการนิทรรศการหอนิทัศน์ราชภัฏ การเปิดระบบการทำงาน ห้องควบคุมระบบหอ้ งไฟและระบบการทำงานนทิ รรศการ มขี ้ันตอน ดงั น้ี 5.1 ผู้ปฏิบัติงานดำเนินการใช้กุญแจหมายเลข 1 เปิดห้องควบคุมระบบห้องไฟอยู่บริเวณหน้า ห้องน้ำ อาคารส่งเสริมการเรียนรู้ชั้น 2 ซ่ึงเป็นห้องควบคุมระบบการทำงานของหอนิทัศน์ราชภัฏทั้งหมด (โดยขออนุญาตและขอรับกุญแจได้ท่ีหัวหนา้ สำนักงานผอู้ ำนวยการสำนักส่งเสริมการเรียนรู้และบริการ) 5.2 กดเปิดสวิตซ์ไฟท้ังหมดตรงกลอ่ งควบคุมระบบไฟ (ยกเว้นสวิตซ์ หมายเลข 21,23, ซ่ึงเปิด ไว้อยู่แล้ว ซ่งึ เปน็ ไฟส่องสว่างห้องน้ำและบรเิ วณด้านหน้าหอ้ งนำ้ ) ปัญหา ปัญหาในกรณีไฟฟ้าห้องนิทรรศการไม่ติดหรือไม่ทำงานทั้งระบบ หลังจากท่ีกดเปิด สวติ ซ์ไฟทงั้ หมดตรงกลอ่ งควบคมุ ระบบไฟแลว้ แตร่ ะบบยงั ไมท่ ำงาน แนวทางแก้ไขปัญหา ในกรณีไฟห้องนิทรรศการไม่ติดหรือระบบไม่ทำงาน ให้ดำเนินการ ดังนี้ ผู้ปฏิบัติงานดำเนินการโดยติดต่อเจ้าหน้าท่ีฝ่ายอาคารท่ีดูแลอาคาร เพ่ือให้ตรวจสอบปัญหา โดยปัญหา ส่วนใหญ่ พบว่า ได้แก่ กล่องควบคุมระบบไฟฟ้าชั้น 1 (หน้าห้องน้ำ) อาจจะตัดเม่ือไฟฟ้าตก หรือ เจ้าหน้าที่ฝ่ายอาคารปิดสวชิ ต์เอาไวใ้ นกรณีท่ีหยดุ หลายวันเพือ่ ป้องกันไฟฟ้าลัดวงจร โดยให้แจง้ เจ้าหน้าท่ี ฝา่ ยอาคารสถานท่ีเพือ่ ทำการเปิดระบบการทำงานของระบบไฟฟ้า

29 ขอ้ เสนอแนะ 1.ควรขอเบอร์โทรศัพท์หรือการขอไลน์ (Line) ของผู้ดูแลเพ่ือใช้ติดต่อประสานงาน กรณที ีไ่ ฟฟา้ ดบั หรอื ไม่ทำงาน 2.ควรตดิ หมายเลขท่ีพวงกุญแจและประตูเพ่อื ให้สะดวกในการปฏบิ ตั งิ าน 3.ควรบำรุงรักษาและดูแลประตูหน้าต่างให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ เช่นการหยอด น้ำมันอเนกประสงค์เพ่ือหล่อลื่นกลอนประตู และอุปกรณ์อย่างอ่ืนภายในห้อง เป็นต้น โดยทำ การตรวจสอบสอบแลว้ จดั ทำรายการนำเสนอผูบ้ รหิ ารสำนักพิจารณา 4.ควรให้เจ้าหน้าที่ทุกคน ตลอดทั้งแม่บ้านของสำนักได้เรียนรู้กระบวนการการเปิด- ปิดการใช้ห้องหอนิทัศน์ราชภัฏจากคู่มือเล่มน้ี เพื่อในกรณีเร่งด่วนหรือในกรณีที่เจ้าหน้าท่ี ผรู้ ับผิดชอบไม่อยู่หรือไปราชการด้านนอกมหาวิทยาลัย เพื่อให้การดำเนินงานของสำนักเป็นไป ด้วยความเรียบร้อยและมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน เพ่ือให้สามารถปฏิบัติหน้าท่ีทดแทน กนั ได้

30 ข้ันตอนที่ 6 วิธีการเปิดห้องนิทัศน์ราชภัฏ ตามรอยพระยุคลบาทนิทรรศการในหลวงรัชกาลที่ 9 มี ขัน้ ตอน ดังน้ี ห้องนทิ ัศนร์ าชภัฏ ตามรอยพระยคุ ลบาท 6.1 ผู้ปฏิบัติงานดำเนินการใช้กุญแจหมายเลข 2 หมายเลข 3 เปิดประตูท้ัง 2 ประตู ห้อง นทิ ัศนร์ าชภฏั ตามรอยพระยคุ ลบาท ห้องนิทรรศการในหลวง ร.9 6.2 เปดิ ระบบไฟสอ่ งสวา่ ง บริเวณดา้ นหนา้ ภายในห้องนิทัศนร์ าชภฏั ตามรอยพระยคุ ลบาท (นทิ รรศการในหลวง ร.9)

31 6.3 เปดิ แอรท์ ้ังหมด จำนวน 6 ตวั โดยใช้รีโมทตรงบริเวณจดุ ดา้ นหนา้ โต๊ะพระบรมฉายาลกั ษณ์ ในหลวง ร.9 .ในการเปดิ 6.4 เปิดห้องลับด้านหลัง อยู่ตรงบริเวณด้านซ้ายมือประวัติในหลวง ร.9 แล้วเข้าไปด้านใน จากนั้น ดำเนินการเปิดตู้ควบคุมระบบการทำงานนิทรรศการ 6.5 เปิดระบบการทำงานเครื่องเสียงดว้ ยการเปดิ สวซิ ต์ 1 จดุ จากนั้นกดเปดิ เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ เพ่ือใหเ้ ครือ่ งทำงานนิทรรศการจากนภา ผา่ นภูผา สมู่ หานที

32 6.6 ให้นำคีย์บอร์ดไร้สายท่วี างอยู่หลังตู้ควบคุม โดยใชต้ ัวเสียบ USB เสยี บด้านหลังจอ แล้วกด F1 บนคยี บ์ อร์ด เพ่ือใหค้ อมพวิ เตอรเ์ ร่มิ การทำงาน ในหอ้ งน้ีจะดำเนนิ การเปิด จำนวน 2 เครอ่ื ง 6.7 จากน้ันให้เดินออกจากห้องลับโดยนำคีย์บอร์ดไร้สาย โดยใช้ตัว USB เข้ากับสายตวั รับของ หน้าจอคอมพิวเตอร์ แล้วกด F1 บนคีย์บอร์ด เพ่ือให้คอมพิวเตอร์เร่ิมการทำงาน โดยจะดำเนินการเปิด ดงั กล่าว จำนวน 7 เคร่อื ง 6.8 ให้นำรีโมทท่ีบรเิ วณด้านหลงั จอคอมพิวเตอร์ ทำการเปิดเคร่ืองฉายโปรเจคเตอร์ จำนวน 2 เครื่องเพื่อใหร้ ะบบนิทรรศการขับเสภาและเพลงพระราชนิพนธ์ทำงาน หากจอมขี นาดเลก็ หรอื ไม่เตม็ จอให้ นำเมาส์ไร้สายในห้องเจ้าฟ้าทำการขยายให้เต็มหน้าจอ โดยเสียบ USB เข้ากับคอมพิวเตอร์ในห้องลับ ด้านหลงั อยตู่ รงบริเวณด้านซ้ายมอื ประวตั ิในหลวง ร.9 ทำการปรบั ขนาดตามความต้องการ

33 6.9 จากนั้นให้นำรีโมททวี ีในห้องลับท่บี ริเวณด้านหลังต้คู วบคุม แล้วทำการเปดิ ทีวี หากหน้าจอ ไม่ทำงานให้ทำการกดเปดิ ปุ่มสีน้ำเงินเปิดฮารด์ ดิสบริเวณช่องใต้ดา้ นขวาทีวีเพ่อื ให้ฮารด์ ดิสทำงานและเร่ิม กระบวนการทำงาน จากน้ันดำเนินการตรวจสอบการทำงานระบบนิทรรศการห้องนิทัศน์ราชภัฏ ตามรอยพระยุคลบาท นทิ รรศการในหลวงรชั กาลที่ 9 ทัง้ หมด ปญั หา ระบบคอมพวิ เตอรท์ ใ่ี ชเ้ ปิดนิทรรศการเฉลมิ พระเกยี รติจะไมท่ ำงานอตั โนมตั ิ ทำให้เกิด ปญั หาในการเปิดใช้งานนิทรรศการเฉลิมพระเกียรตทิ ี่จะแสดงแก่ผ้เู ข้าเยี่ยมชม ในกรณีเรง่ ด่วน แนวทางแก้ไขปัญหา ดำเนินการโดยใช้คีย์บอร์ดไร้สายท่ีมียูเอสบี (USB) ในห้องลับหลัง ตูค้ วบคมุ ทำการเสียบใส่ทสี่ ายต่อตวั รบั USB แล้วกด F1 บนคีย์บอร์ดเพื่อให้จอคอมพิวตอร์ทำงานขึ้นมา ใหม่ โดยจะดำเนนิ การทกุ จอทม่ี ีปัญหาในการแสดงผล ขอ้ เสนอแนะ 1.ควรจัดหาคีย์บอร์ดไร้สาย และเมาส์ไร้สายไว้ใช้สำรองเพื่อใช้เปิดระบบคอมพิวเตอร์กรณีท่ีไม่ ทำงาน 2.ควรสำรองขอ้ มูลนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติ เช่น ข้อมลู ไฟล์งานต่างๆ ท้ังภาพและเสียง เพื่อ เป็นฐานขอ้ มูลในกรณที ี่คอมพิวเตอร์เกดิ ความเสียหายจะได้มฐี านข้อมูลสำรองในการจัดทำนิทรรศการใหม่ ได้ 3.ควรดูแลและบำรุงรักษาเครื่องคอมพิวเตอร์หรือระบบนิทรรศการอยู่เสมอโดยจัดทำหนังสือ บนั ทึกข้อความใหศ้ ูนย์คอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลยั เข้าไปตรวสอบอยา่ งน้อยปลี ะ 2 คร้ัง 4.ควรให้เจ้าหน้าท่ีทุกคนตลอดทั้งแม่บ้านของสำนักได้เรียนรู้กระบวนการการเปิด ใช้ห้องหอ นิทัศน์ราชภฏั เพอ่ื ในกรณีเร่งด่วนหรือในกรณที เี่ จ้าหนา้ ท่ีผู้รับผดิ ชอบไมอ่ ยู่หรอื ไปปฏบิ ัตริ าชการด้านนอก มหาวิทยาลัย เพอ่ื ใหก้ ารดำเนินงานของสำนกั เป็นไปดว้ ยความเรยี บร้อย 5.ควรพาเจ้าหน้าท่ีบุคลากรสำนักเข้าไปทดลองเปิดใช้ห้องหอนิทัศน์ราชภัฏ เพื่อให้เรียนรู้การ ทำงานของระบบนิทรรศการ และเห็นสภาพการปฏบิ ัตงิ านจริงของการปฏบิ ตั ิงาน

34 ข้ันตอนที่ 7 วิธีการเปิดใช้ห้องนิทัศน์ราชภัฏ สมเด็จพระราชปิตุจฉาเจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ มีข้ันตอน ดังนี้ หอ้ งนทิ ัศนร์ าชภฏั สมเด็จพระราชปติ ุจฉาเจา้ ฟ้าวไลยอลงกรณ์ 7.1 ก่อนถงึ ห้องนิทัศนร์ าชภัฏ สมเด็จพระราชปติ จุ ฉาเจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ ให้ดำเนนิ การกด เปดิ ไฟส่องสวา่ งทางเดิน ณ บริเวณด้านหน้าลิฟท์ 7.2 ใช้กุญแจหมายเลข 4 หมายเลข 5 ทำการเปดิ ประตูท้ัง 2 ประตู ห้องนิทัศน์ราชภัฏ สมเด็จ พระราชปติ จุ ฉาเจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์

35 7.3 ทำการเปิดระบบไฟฟ้าส่องสวา่ ง บริเวณด้านหน้าห้องนิทัศน์ราชภัฏ สมเด็จพระ ราชปิตุจฉาเจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ และใช้รีโมทแอร์ทำการเปิดแอร์ บริเวณด้านนอกจะมีแอร์ จำนวน 3 เครอื่ งในการเปดิ จากนั้นให้เดินเข้าไปภายในหอ้ งประชมุ 7.4 ทำการเปิดระบบไฟฟ้าส่องสว่าง และใช้รีโมทแอร์ทำการเปิดแอร์ ตรงบริเวณด้านหน้าห้อง ประชมุ 7.5 เปิดห้องคอนโทรล (บริเวณด้านหลังของห้องประชุม) โดยใช้กุญแจหมายเลข 6 ทำการเปิด ห้อง และเปิดระบบไฟสอ่ งสว่าง

36 7.6 เปิดระบบเครื่องเสียงโดยการกดเปิดสวิทต์ จากน้ันกดปุ่มเปิดไมค์ลอย กดสวิทต์ปล๊ักไฟฟ้า และกดสวทิ ตเ์ ปิดไมคป์ ระชมุ 7.7 กดเปิดโนต๊ บุค (Notebook) และเปดิ นิทรรศการพระราชประวตั ิสมเด็จพระราชปิตุจฉาเจ้า ฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร องค์ประทานกำเนิดมหาวิทยาลัย จะแสดงผลด้านนอก จากนั้นทำการเปิดเคร่ืองคอมพิวเตอร์ (computer) เพื่อใช้เปิดวิดีทัศน์แนะนำประวัติของมหาวิทยาลัย และพระราชประวัติสมเด็จพระราชปิตุจฉาเจ้าฟ้าวไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบุรีราชสิรินธร องค์ ประทานกำเนิดมหาวทิ ยาลยั 7.8 ใช้รีโมทกดเปิดเครื่องฉายโปรเจคเตอร์ในห้องประชุม จากน้ันใช้รีโมทกดเปิดเครื่องฉาย โปรเจคเตอร์ในห้องนิทรรศการเจ้าฟ้าฯ และทำการตรวจเซ็คระบบการแสดงนิทรรศการทั้งหมด เพ่ือให้ เกิดความเรียบรอ้ ยในการนำเย่ียมชม

37 ปัญหา 1.อุปกรณ์แปลงสัณญานภาพเช่ือมต่อสาย HDMi จากคอมพิวเตอร์ไปยังจอภาพ โปรเจคเตอรไ์ มท่ ำงาน 2.จอแสดงผลนิทรรศการเพลงมหาวิทยาลยั บริเวณดา้ นหน้าห้อง เกดิ การล็อคหนา้ จอ เนื่องจากผู้เข้าใช้มีการกดรหัสเกินท่ีกำหนดหรือกดเล่นทำให้เคร่ืองล็อคหน้าจอไม่สามารถแสดงผลการ ทำงานได้ แนวทางการแกไ้ ขปญั หา 1.เน่ืองจากสาย HdMi มีขนาดความยาวมากทำให้อุปกรณ์แปลงสัณญานภาพมีเกิด ความร้อนถ้าใช้เป็นระยะเวลานาน ควรจัดซื้อสำรองเพ่ือใช้ในกรณีอุปกรณ์เสียหายหรือใช้งาน ไม่ได้ 2.ควรตดิ ป้ายเตือน หรอื ไมค่ วรตั้งคา่ หนา้ จอเอาไว้เพื่อไม่ให้เคร่ืองล็อคหนา้ จอ ขอ้ เสนอแนะ 1.ควรจัดหาอุปกรณ์แปลงสัณญานภาพเพิ่ม และอุปกรณ์อย่างอ่ืนท่ีจำเป็นในการ ดำเนินงาน เช่น แบตเตอรส่ี ำรอง สายสัณญาณภาพ สายสัญญาณเสียง เป็นตน้ 2.ควรสำรองข้อมูลนิทรรศการ เช่น ข้อมูลไฟล์งานต่างๆ ท้ังภาพและเสียง เพ่ือเป็น ฐาน ข้อมูล ในกรณี ท่ีคอมพิ วเตอร์เกิดความเสี ยหายจะได้มีฐานข้อมูล สำรองในการจั ดท ำ นทิ รรศการใหม่ได้ 3.ควรดูแลและบำรุงรักษาเคร่ืองคอมพิวเตอร์หรือระบบนิทรรศการอยู่เสมอโดย จัดทำหนงั สอื บันทึกขอ้ ความใหศ้ ูนยค์ อมพิวเตอรข์ องมหาวทิ ยาลยั เขา้ ไปตรวสอบอยา่ งน้อยปลี ะ 2 ครง้ั 4.ควรให้เจ้าหน้าท่ีทุกคนตลอดทั้งแม่บ้านของสำนักได้เรียนรู้กระบวนการการเปิด ใช้ห้องหอนิทัศน์ราชภัฏ เพ่ือในกรณีเร่งด่วนหรือในกรณีที่เจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบไม่อยู่หรือ ไปปฏิบัติราชการด้านนอกมหาวิทยาลัย เพ่ือให้การดำเนินงานของสำนักเป็นไปด้วยความ เรียบร้อย 5.ควรพาเจ้าหน้าที่บุคลากรสำนักเข้าไปทดลองเปิดใช้ห้องหอนิทัศน์ราชภัฏ เพื่อให้ เรยี นร้กู ารทำงานของระบบนิทรรศการ แลเหน็ สภาพการปฏบิ ตั ิงานจรงิ ของการปฏบิ ตั ิงาน

38 ข้ันตอนที่ 8 ข้ันตอนก่อนการนำเรยี นรู้ เยย่ี มชมหรอื การศึกษาดงู าน โดยมีขน้ั ตอนดงั ตอ่ ไปนี้ 8.1 การลงทะเบยี น และการตอ้ นรับผเู้ ขา้ ใช้บรกิ าร (ถา่ ยรปู ตอนลงทะเบยี น) 8.2 การแนะนำหอนทิ ัศน์ราชภัฏ ระเบียบและข้นั ตอนการเข้าเยย่ี มชมหอนิทัศน์ 8.3 แจกใบงานเพ่อื การเรียนรู้ หรือแบบทดสอบความร้อู อนไลน์ (เฉพาะนกั เรียน/นกั ศึกษาท่ีเข้า เรียนร้)ู 8.4 เปิดวิดีทัศน์แนะนำประวัติมหาวิทยาลัย สรุปการชมวิดีทัศน์ และแนะนำรูปพระฉายา ลักษณ์ในหอ้ งประชมุ 8.5 แบ่งกลุม่ เพ่ือการเรยี นรู้ 8.6 วิทยากรแนะนำเยี่ยมชมในการเรียนรู้และเยี่ยมชมท้ังห้องนิทัศน์ราชภัฏ สมเด็จพระราช ปิตุจฉาเจ้าฟา้ วไลยอลงกรณ์ และหอ้ งนทิ ัศนร์ าชภฏั ตามรอยพระยุคลบาท (นิทรรศการในหลวง ร.9) 8.7 ถ่ายรูปภาพกิจกรรมในการเข้าเยี่ยมชมทั้งภาพน่ิงและวีดีโอ เพื่อใช้ในการเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ปัญหา ผู้เข้าเย่ียมชมมีจำนวนมากหรือมาเกินจำนวนที่แจ้งไว้ทำให้เก้าอ้ีท่ีรองรับไม่เพียงต่อ จำนวนคนทเี่ ข้ามาเรียนรู้ เยีย่ มชมหรอื ศึกษาดงู าน ทำให้เกดิ ปญั หาในการปฏิบัติงาน แนวทางการแก้ไขปญั หา 1.จัดเตรียมเก้าอ้ีสำรองไว้เพื่อรองรับผู้เข้าเย่ียมชมมีจำนวนมากหรือมาเกินจำนวนท่ี แจ้งไว้ 2.แก้ไข้ปัญหาโดยการแบ่งกลุ่มการเรียนรเู้ ป็น 2 กลุ่ม เพื่อเรยี นรู้ เยย่ี มชมหรือศกึ ษา ดูงาน 2 ห้อง จากนั้นสลับหอ้ งกนั เพื่อให้ได้เข้าเย่ียมชมท้ัง 2 ห้อง

39 ข้อเสนอแนะ 1.ควรจัดเตรยี มเกา้ อี้รองรบั ไว้ในหอ้ งคอนโทรด้านหลังเพื่อใหห้ ้องมีความเรยี บรอ้ ย 2.ควรจัดเตรยี มเครื่องวัดอุณหภูมิ เพื่อคัดกรองกอ่ นเข้าห้อง รวมท้ังนำ้ ยาแอลกอฮอล์ และอุปกรณ์ท่ีจำเป็นเพื่อป้องกันโรคระบาดโควิด19 ไว้ด้วยเพื่อให้เกิดความพร้อมในการ ปฏิบัติงาน 3.ควรขอความร่วมมือให้ผู้เข้าเย่ียมชมใส่หน้ากากอนามัยตลอดเวลาที่เข้าใช้งานหอ นิทศั นร์ าชภัฏ

40 ตวั อย่างแบบทดสอบความรู้หอนทิ ัศน์ราชภฏั แบบทดสอบความร้หู อนิทศั น์ราชภฏั ใบงานกิจกรรมเพอื่ การเรียนรู้ หอนทิ ัศน์ราชภฏั ช่อื ...............................................นามสกลุ ...........................................คณะ......................................................................... รหัสนักศกึ ษา.............................................................โทร..................................................................................................... ห้องนิทศั น์ราชภัฏสมเด็จพระราชปิตจุ ฉา เจา้ ฟา้ วไลยอลงกรณ์ 1. เอกลักษณ์ของมหาวทิ ยาลัย : …………………………………………………………………................…………………………………….…… อัตลักษณ์ของมหาวทิ ยาลัย : ........................................................................................................................................... 2. สมเดจ็ พระราชปติ จุ ฉา เจ้าฟา้ วไลยอลงกรณ์ กรมหลวงเพชรบรุ รี าชสิรินธร ทรงเป็นพระราชธิดาของ ใคร?.................................................................................................................................................................................. 3. ตราสัญลกั ษณป์ ระจำมหาวทิ ยาลัย สขี าวแทน................................................................................................................. 4. สีประจำมหาวิทยาลยั สเี ขยี ว หมายถึง…………………………………………………………………..............……………………….……… 5. ค่านิยมหลกั L- ...........................................หมายถึง....................................................................................................... 6. พระราชพิธีโสกันต์ หมายถงึ .............................................................................................................................................. 7. อาจารย์ใหญค่ นแรกของโรงเรียนฝกึ หัดครูเพชรบุรีวิทยาลงกรณ์ คือ................................................................................ 8. พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ ัวภมู ิพลอดุลยเดชฯ ทรงพระกรณุ าโปรดเกล้าฯ รบั วิทยาลัยครเู พชรบรุ ี วทิ ยาลงกรณ์ ไว้ “ในพระบรมราชปู ถมั ภ์” เม่อื วันที่ ....................................................................................................... 9. พิธีเปดิ พระอนสุ าวรีย์ ในวนั ท่ี .......................................................................................................................................... 10. สมเดจ็ พระราชปติ จุ ฉา เจา้ ฟา้ วไลยอลงกรณ์ เกย่ี วขอ้ งอย่างไร กบั พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู ิพลอดลุ ยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร....................................................................................................................... ห้องนิทศั นร์ าชภฏั ตามรอยพระยุคลบาท พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดลุ ยเดช 11. พระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตรทรงศกึ ษาตอ่ ณ ประเทศ...................................................................................................................................................................... 12. หลักการทรงงาน มีทัง้ หมด จำนวน .................... ข้อ ข้อ ท่ี 7 คือ............................................................................... 13. พระราชพิธบี รมราชาภิเษก ในวันท.่ี ................................................................................................................................ 14. เพลงยิม้ สู้ พระราชทานแก่ โรงเรยี น............................................................................................................................... 15. เพลงพระราชนิพนธ์ทีม่ พี ระบรมราชานญุ าตให้เผยแพรเ่ ป็นเพลงแรก คือ...................................................................... 16. ความเพียร ของพระมหาชนก มี 3 สิ่งคอื 1.................................2.....................................3.......................................... 17. Concept (แนวคิด) ของหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง คอื .................................................................... 18. ศูนยศ์ กึ ษาการพัฒนามที ้งั หมด...................ศูนย์ ศนู ยศ์ กึ ษาการพัฒนาห้วยทรายอันเน่อื งมาจากพระราชดำริ มปี ัญหาในเรอื่ ง ................................................................................................................................................................. ทรงใช้ พชื ชนิดใดในการแก้ปัญหา..................................................................................................................................... 19. พระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพในหลวงรชั กาลท่ี 9 ในวนั ท่ี................................................................................ 20. โครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดำรทิ ั้งหมดมีกโ่ี ครงการ............................................................................................... ผ่านการเรียนรูแ้ ลว้ ........................................................................ ลายเซน็ /ตราประทบั

41 Nithat Rajabhat Hall Name……………………………….…..………...……………….….. Faculty …………………..………………………..……… Date …………………………………………………………………………………………………………………………………………… Exhibition on Princess Valaya Alongkorn 1. Princess Valaya Alongkorn was the daughter of ………………………………………………….…………… …………………………………………………………………………………………………………………………………….……………… 2. Princess’s birthday was on …………………………………………………….…………………………………………… 3. So Kan Ceremony is ……………………………………………………………………………………………..……………… 4. Princess was highly interested in …………….…………………………..……………………………………………… 5. Princess passed away on ……….…………………………………………………….……………………………………… 6. Princess’s contribution to Thai education was ………………………………………..……........................ 7. The First Principal of Bejraburi Teachers’ Training School named …………………………………… 8. Bejraburi Teacher College and Bejraburi Alumni were granted royal endorsement to be under the patronage of HM King Bhumibol on ………..…………………………………………………………… 9. VRU Identity is ………………….…………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………….………………………………………………………………..........................…… 10. Relationship between Princess Valaya Alongkorn and HM King Bhumibol was .…………… ………………………………………………………………….………………………………………………………………………………… Exhibition on Follow the Foot Steps of HM King Bhumibol 11. HM King Bhumibol was born on ……………………………………………………………………………………… 12. The Prince Father and Princess Mother of HM King Bhumibol was ……………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 13. Coronation Ceremony was held on ………………………………………………………………………………… 14. HM King Bhumibol’s First Royal Command was ……………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 15. The song no.27 of HM King Bhumibol was ……………………………………………………………………… 16. The Working Principle no.23 of HM King Bhumibol was ………………………………………………… 17. HM King Bhumibol’s books are (1) …………………………………………………………………………………… (2) …………………………………………………………………………….. (3) …………………………………………………… 18. The Initiative Pikulthong Development Study Center locates in ……………………..…………… 19. The Sufficiency Economy Philosophy (SEP) is ………………………………………………………….……… ……………………………………………………………………………………………………………………………….…………………… 20. HM King Bhumibol’s Award and Honourable Reputation was ……………….…………………… Fulfilled …………………………………………………………. signed/sealed

42 ตัวอย่างแบบทดสอบความรู้ออนไลนห์ อนิทัศนร์ าชภัฏ ทีม่ า : https://quizizz.com/profile/600e4a98558390001bb8e7b6?fromBrowserLoad=true

43 ขั้นตอนท่ี 9 การนำเยย่ี มชมห้องนิทศั น์ราชภฏั สมเดจ็ พระราชปิตจุ ฉาเจา้ ฟ้าวไลยอลงกรณ์ โดยเป็นวิทยากรในการนำเยี่ยมชมห้องนิทัศน์ราชภัฏ สมเด็จพระราชปิตุจฉาเจ้าฟ้าวไลย อลงกรณ์ โดยมจี ดุ ในการเข้าเยยี่ มชม ดงั นี้ จุดเย่ียมชมท่ี 1 เกร่ินนำ แนะนำประวัติมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรม ราชปู ถมั ภ์ และปรชั ญาของมหาวิทยาลัย จุดเยี่ยมชมท่ี 2 ตราสัญญลักษณ์ประจำมหาวิทยาลัย ความหมาย เพลงประจำมหาวิทยาลัย ตน้ ไม้ และสปี ระจำมหาวทิ ยาลัย

44 จดุ เยี่ยมชมที่ 3 เอกลักษณม์ หาวิทยาลัย อัตลกั ษณม์ หาวทิ ยาลยั วสิ ยั ทัศน์ และท่ีตั้งปจั จุบนั ของมหาวิทยาลยั และค่านยิ มองค์กร จุดเยี่ยมชมที่ 4 จากโรงเรียนฝึกหดั ครสู ู่มหาวทิ ยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรม ราชปู ถัมภ์ จดุ เย่ยี มชมท่ี 5 แบบจำลองอาคารนทิ ราสนิท

45 จุดเยย่ี มชมที่ 6 ลำดบั ราชสกลุ วงศ์ จดุ เยยี่ มชมที่ 7 ภาพวาดเจา้ ฟา้ วไลยอลงกรณ์ และพระประวัตชิ ีวติ ส่วนพระองค์ จุดเย่ียมชมท่ี 8 พระกรณียกิจในการให้ความสำคัญต่อการพัฒนาสตรีและการศึกษา และพระ กรณียกจิ ที่สำคญั ตา่ งๆ