Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ถอดบทเรียน บ้านพระเพลิง New

ถอดบทเรียน บ้านพระเพลิง New

Published by learnoffice, 2021-02-08 04:44:29

Description: ถอดบทเรียน บ้านพระเพลิง New

Search

Read the Text Version

“หมบู านตวั อยา ง 4 ดี วิถีพอเพยี ง” บา นพระเพลิง หมทู ี่ 1 ตำบลพระเพลงิ อำเภอเขาฉกรรจ จังหวัดสระแกว จงั หวดั สระแกว รวมกับ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ ในพระบรมราชปู ถมั ภ สระแกว ภายใตโ ครงการสระแกวเมืองแหงความสขุ ดว ยวิถีพอเพยี ง กิจกรรมพฒั นาศูนยก ารเรยี นรูสระแกว 4 ดี วถิ พี อเพียง



บา้ นพระเพลงิ

“หมู่บา้ นตวั อยา่ ง 4 ดี วถิ ีพอเพียง” บา้ นพระเพลิง หมูท่ ่ี 1 ต�ำบลพระเพลิง อ�ำเภอเขาฉกรรจ์ จงั หวัดสระแกว้ ข้อมลู ทางบรรณานกุ รมของหอสมุดแหง่ ชาติ ฉตั รชัย เสนขวญั แกว้ . หม่บู า้ นตวั อยา่ ง 4 ดี วถิ ีพอเพียง หมู่ที่ 1 ต�ำบลพระเพลิง อำ� เภอเขาฉกรรจ์ จังหวัดสระแก้ว. -- พิมพ์คร้งั ท่ี 2. -- สระแกว้ : มหาวิทยาลัยราชภฏั วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถัมภ์ สระแกว้ , 2564. 68 หน้า. 1.การพัฒนาชมุ ชน. 2. เศรษฐกจิ พอเพยี ง. I. ชอ่ื เรื่อง 307.14 ISBN 978-974-337-266-7 สงวนลขิ สทิ ธต์ิ ามราชบัญญัติ หา้ มท�ำการลอกเลียนแบบไมว่ า่ ส่วนใดสว่ นหนึ่งของหนังสอื เล่มน้ี นอกจากจะได้รบั อนุญาต พิมพ์ครงั้ ท่ี 2 มกราคม 2564 บรรณาธกิ ารอำ� นวยการ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.สุพจน์ ทรายแก้ว รองศาสตราจารย์ ดร.นฤมล ธนานนั ต์ อาจารยป์ ยิ ะ สงวนสิน อาจารยช์ ยั วุฒิ เทโพธิ์ ผชู้ ่วยศาสตราจารยเ์ ศกพร ตนั ศรปี ระภาศิริ ผู้จดั ทำ� อาจารย์ฉตั รชยั เสนขวัญแก้ว ศิลปกรรม พจิ ิตร พรมลี ออกแบบปก พิจิตร พรมลี จดั พมิ พ์โดย มหาวทิ ยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ สระแกว้ เลขท่ี 1177 หมู่ที่ 2 ต�ำบลทา่ เกษม อำ� เภอเมอื งสระแกว้ จังหวดั สระแก้ว 27000 โทรศพั ท์ : 037-447-043 http://www.sk.vru.ac.th พิมพท์ ่ ี บริษทั ดีไซน์ ดีไลท์ จำ� กดั เลขที่ 69/18 หมทู่ ี่ 7 ถนนรัตนาธเิ บศร์ ตำ� บลเสาธงหนิ อำ� เภอบางใหญ่ จังหวดั นนทบรุ ี 11140 โทรศัพท์ 089-812-2140 “หมบู่ ้านตัวอย่าง 4 ดี วถิ ีพอเพยี ง”



คำ� นำ� โครงการสระแก้วเมืองแห่งความสุขภายใต้ 4 ดี วิถีพอเพียง (Sa Kaeo Happiness Model) ประจ�ำปี 2562 ภายในโครงการฯ มีหมู่บ้าน ที่ได้รับการคัดเลือกใน 9 อ�ำเภอ 9 หมู่บ้าน ประกอบด้วย 1. บ้านวังหิน หมู่ท่ี 10 ต�ำบลบ้านแก้ง อ�ำเภอเมืองสระแก้ว 2. บ้านพระเพลิง หมู่ท่ี 1 ตำ� บลพระเพลิง อ�ำเภอเขาฉกรรจ์ 3. บ้านบอ่ นางชงิ หมทู่ ี่ 4 ต�ำบลหว้ ยโจด อำ� เภอวัฒนานคร 4. บา้ นตาหลงั ใน หมูท่ ี่ 1 ตำ� บลตาหลังใน อ�ำเภอวังน้�ำเย็น 5. บ้านวังทอง หมู่ท่ี 1 ต�ำบลวังทอง อ�ำเภอวังสมบูรณ์ 6. บ้านเขาสารภี หมู่ที่ 3 ต�ำบลทับพริก อ�ำเภออรัญประเทศ 7. บ้านคลองไก่เถ่ือน หมู่ท่ี 1 ต�ำบลคลองไก่เถ่ือน อ�ำเภอคลองหาด 8. บ้านหนองแวง หมู่ที่ 1 ต�ำบล หนองแวง อำ� เภอโคกสูง และ 9. บ้านทพั ไทย หมทู่ ่ี 1 ตำ� บลทัพไทย อ�ำเภอ ตาพระยา ไดถ้ ูกคดั เลอื กเป็นหมูบ่ า้ นตวั อย่าง 4 ดี วิถพี อเพยี ง แต่ละอำ� เภอ ของจังหวัดสระแก้ว ก “หมบู่ ้านตัวอย่าง 4 ดี วถิ ีพอเพยี ง”

เอกสารการถอดบทเรียนเล่มนี้ ได้มุ่งเน้นการถอดบทเรียน ความส�ำเร็จของการพัฒนาชุมชนบ้านพระเพลิง หมู่ที่ 1 ต�ำบลพระเพลิง อ�ำเภอเขาฉกรรจ์ จังหวัดสระแก้ว จัดท�ำโดยมหาวิทยาลัยราชภัฏ วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ร่วมกับจังหวัดสระแก้ว เพื่อศึกษา กระบวนการ ดำ� เนนิ งาน แนวคิดปฏบิ ตั ิ องค์ความรตู้ า่ ง ๆ ของการพัฒนา เพ่ือเป็นแบบอย่าง และแนวทางให้กับชุมชนอ่ืน ๆ ได้เรียนรู้ และเข้าใจ จนน�ำไปสู่การปฏิบัติและพัฒนาชุมชนของตนเองจนสามารถเป็นหมู่บ้าน แห่งความสุขด้วยแนวทาง 4 ดี วิถีพอเพียง หวังเป็นอย่างย่ิงว่าหนังสือ เลม่ น้จี ะเป็นประโยชน์ เป็นแนวทางการพฒั นาหมบู่ ้าน ชุมชน หรือผู้ทสี่ นใจ ข้อมูลและน�ำไปประยุกต์ใช้ในการด�ำเนินชีวิต หรือการน�ำไปบูรณาการ รว่ มกนั ของทกุ ภาคส่วน ฉัตรชัย เสนขวัญแกว้ บา้ นพระเพลงิ ข

กิตตกิ รรมประกาศ รายงานวิจัยโครงการถอดบทเรียนบ้านพระเพลิง หมู่ท่ี 1 ส�ำเร็จลุล่วง ได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือเป็นอย่างดียิ่งจากนายจิรภัทร ปักครึก ผู้ใหญ่บ้าน คณะกรรมการหมู่บ้าน เยาวชนและชาวบ้านพระเพลิง หมู่ท่ี 1 ต�ำบลพระเพลิง อ�ำเภอเขาฉกรรจ์ จงั หวัดสระแก้ว ด้วยความเต็มใจ พร้อมทั้งอ�ำนวยความสะดวก การเก็บรวบรวมขอ้ มูล การสมั ภาษณต์ ลอดระยะเวลาการดำ� เนนิ โครงการ ขอขอบคุณนายสุชิน ชลสินธ์ เจ้าของศูนย์เรียนรู้สมุนไพร ท่ีให้ข้อมูล การเพาะปลูกพชื สรรพคุณของสมนุ ไพร ขอขอบคุณนายสมพาน ค�ำมี เกษตรกรสวนฟักทอง ท่ีเอ้ือเฟื้อข้อมูล ประสบการณ์ แนวคิดการน้อมน�ำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้สร้างความ พอเพียงของการดำ� เนินชวี ิต ขอบคุณคุณนางอัมรา กรดคิริ เกษตรกรเจ้าของสวนอัมรา ท่ีถ่ายทอด องคค์ วามรแู้ ละสร้างแรงบันดาลใจ การท�ำเกษตรอินทรยี ์ ขอบคุณกลุ่มขับร้องสรภัญญะ ส�ำหรับองค์ความรู้การอนุรักษ์สืบสาน วฒั นธรรมพนื้ บา้ นของบ้านพระเพลิงให้คงอยู่ ขอบคุณมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ทีใ่ หก้ ารสนบั สนุน ตลอดจนโอกาสในการเข้ารว่ มโครงการวิจัยนี้ ขอบคุณจังหวัดสระแก้ว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณด�ำเนินการวิจัยนี้ ตลอดจนโอกาสในการเข้าร่วมโครงการสระแก้วเมืองแห่งความสุขภายใต้ 4 ดี วถิ ีพอเพยี ง ครง้ั นี้ ฉัตรชยั เสนขวัญแกว้ ค “หมูบ่ ้านตัวอยา่ ง 4 ดี วถิ พี อเพียง”

คำ� น�ำ สารบญั กิตตกิ รรมประกาศ แนะน�ำ “บา้ นพระเพลงิ ” ก ประวตั ิความเป็นมาของหมู่บา้ น ค สภาพทางภมู ิศาสตร ์ 2 ทีต่ งั้ หมู่บา้ น 4 อาณาเขต 6 วสิ ัยทัศน์ชุมชนบ้านพระเพลิง 7 ศักยภาพของหม่บู า้ นวังทอง 7 จุดแข็ง (Strength) 8 จดุ อ่อน (Weaknesses) 10 โอกาส (Opportunity) 12 อปุ สรรค (Threats) 15 กฏกตกิ าในชุมชน 16 การถอดบทเรียนออกเปน็ 4 มิต ิ 17 มิติด้านสังคม 19 มติ ดิ า้ นการเมือง 23 มิติดา้ นเศรษฐกจิ 24 มิตดิ ้านส่ิงแวดลอ้ ม 26 บคุ คลตน้ แบบของบา้ นพระเพลงิ หมทู่ ่ี 1 29 4 ดี วถิ พี อเพียง บา้ นพระเพลิง หมู่ท่ี 1 31 คนด ี 32 สขุ ภาพดี 40 รายได้ดี 43 ส่ิงแวดลอ้ มดี 47 51 53 บา้ นวังทอง 1

แนะนำ� “อำ� เภอเขาฉกรรจ”์ เมอื งสระแกว้ ตาพระยา วัฒนานคร โคกสูง อรัญประเทศ เขาฉกรรจ์ คลองหาด วงั น�ำ้ เยน็ วงั สมบูรณ์ ที่มา : https://th.wแiผkipนeทdiอ่ีa.�ำoเrgภ/wอiเkขi/อา�ำฉเภกอรเขราจฉก์ จรรงั จห#์ /วmัดeสdiรa/ะไแฟลก์:A้วmphoe_2707.svg เขาฉกรรจ์ มีความเชื่อจากชาวบ้านที่ถ่ายทอดสืบกันว่า เขาฉกรรจ์ แห่งน้ี เป็นจุดที่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช สมัยท่ีทรงเป็นพระยา วชิรปราการ ได้ทรงรวบรวมคนไทยจากชุมนุมต่าง ๆ เพ่ือกอบกู้เอกราช ตอนเสียกรงุ ศรอี ยุธยาคร้ังที่ 2 ไดท้ รงกระทำ� พธิ ี ฉอ-กณั ฑ์ ซ่ึงถอื วา่ เป็นพธิ ี ตดั ไมข้ ม่ นามทส่ี �ำคัญ โดยพระผู้มีพลังจิตสูงเปน็ ผ้ทู �ำพธิ ีให้ โดยการเพง่ กสณิ เพื่อเรียกจิตภูติของชุมนุมต่าง ๆ ท่ีส�ำคัญท้ัง 5 ชุมนุม มาประชุมกันแล้ว ทรงก�ำหราบจิตภูติของชุมนุมท้ัง 5 พร้อมทั้งท�ำพิธีตัดไม้ข่มนาม หลังจาก เสด็จพิธีแล้วจึงยกทัพไปตีชุมนุมทั้ง 5 จนสามารถรวมเป็นหน่ึงเดียว และ กอบกู้เอกราชส�ำเร็จ และจากพธิ ีดังกล่าวจงึ เรียกวา่ “เขาฉอ-กณั ฑ”์ แตม่ า เพ้ียนเสียงเปน็ “เขาฉกรรจ”์ จนทุกวันนี้ 2 “หมู่บา้ นตัวอยา่ ง 4 ดี วถิ พี อเพียง”

อำ� เภอเขาฉกรรจ์ ตั้งอยทู่ างทศิ ตะวันตกของจังหวัด มอี าณาเขต ติดต่อกบั เขตการปกครองข้างเคยี ง ดงั น้ี ทิศเหนอื ตดิ ตอ่ กับ อำ� เภอเมอื งสระแกว้ ทศิ ตะวันออก ติดต่อกบั อ�ำเภอวฒั นานครและอำ� เภอคลองหาด ทศิ ใต้ ตดิ ตอ่ กับ อำ� เภอวังนำ�้ เย็น และอ�ำเภอท่าตะเกยี บ (จังหวดั ฉะเชิงเทรา) ทิศตะวนั ตก ตดิ ตอ่ กับ อำ� เภอสนามชยั เขต (จังหวดั ฉะเชงิ เทรา) และอ�ำเภอกบินทร์บรุ ี (จังหวัดปราจีนบุรี) คำ� ขวญั ประจ�ำอำ� เภอเขาฉกรรจ์ “เขาหนิ แกรง่ แหล่งอารยธรรม ถำ้� เขาทะลุ กรโุ ครงกระดกู เพาะปลูกพชื ไร่ ลงิ ไพรนับหมนื่ ค้างคาวต่ืนนบั ลา้ น” อำ� เภอเขาฉกรรจ์ แบง่ เขตการปกครองออกเปน็ 4 ต�ำบล ดังนี้ 1. เขาฉกรรจ์ (Khao Chakan) พื้นทร่ี บั บผดิ ชอบ 11 หมบู่ ้าน 2. หนองหวา้ (Nong Wa) พ้นื ท่รี ับบผดิ ชอบ 28 หม่บู ้าน 3. พระเพลิง (Phra Phloeng) พื้นท่รี บั บผิดชอบ 19 หมูบ่ า้ น 4. เขาสามสิบ (Khao Sam Sip) พนื้ ทรี่ บั บผิดชอบ 13 หมู่บา้ น บ้านพระเพลิง 3

ประวัติความเปน็ มาของหมบู่ า้ น บ้านพระเพลิง หมู่ท่ี 1 ก่อตั้งมาประมาณ 30 กว่าปีมาแล้ว พ้ืนที่จะเป็นป่าดงดิบ ประชาชนมาจากหลากหลายภาค ได้แก่ ภาคเหนือ จังหวัดเชียงราย ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดอุดรธานี ขอนแก่น ชัยภูมิ กาฬสินธุ์ นครราชสีมา ภาคตะวันออก จังหวัดระยอง จึงท�ำให้ 4 “หมบู่ ้านตัวอย่าง 4 ดี วถิ ีพอเพยี ง”

มีจ�ำนวนประชากรเพิ่มข้ึนเร่ือย ๆ จึงมีการแยกหมู่บ้านออกจาก บ้านพระเพลิง ซึ่งแยกออกเป็นบ้านซับมูลและบ้านนาคันหัก อาชีพส่วนใหญ่ของชาวบ้านพระเพลิง หมู่ที่ 1 มีอาชีพเกษตรกรรม การปลูกผักสวนครัว โดยปัจจุบันมี นายจิรภัทร ปักครึก เป็นผู้ใหญ่บ้าน คนปจั จบุ นั บ้านพระเพลงิ 5

สภาพทางภมู ิศาสตร์ สภาพโดยทั่วไป เป็นพื้นท่ีราบสูง มีภูเขาเล็ก ๆ หลายแห่ง ท�ำให้ มีล�ำคลองตามธรรมชาติสายเล็ก ๆ หลายสายไหลผ่านรวมเป็นคลอง สายใหญ่ 2 สายซ่ึงหมู่บ้านพระเพลิง หมู่ท่ี 1 ต�ำบลพระเพลิง อ�ำเภอ เขาฉกรรจ์ จงั หวดั สระแกว้ มที ัง้ หมด 9 คุ้ม ไดแ้ ก่ 1. คมุ้ หนองเอกลกั ษณ์ 2. คมุ้ ทรพั ย์เศรษฐี 3. คมุ้ เชียงราย 4. คมุ้ เวียงแก้ว 5. คมุ้ เขามะกอกเมืองใหม ่ 6. คุ้มอุดรพฒั นา 7. คุ้มหนองพอก 8. ค้มุ ชลบรุ ี 9. คมุ้ โนนมะค่า พ้ืนทเ่ี ปน็ ท่ีราบสูง มีคลองพระสะทึงไหลผา่ น เหมาะแกก่ ารเพาะปลกู พืชไร่ ท�ำนาปี - นาปรัง และปลกู พชื เศรษฐกจิ ได้ทกุ ชนดิ ตลอดทัง้ ปี 6 “หมบู่ ้านตัวอยา่ ง 4 ดี วิถพี อเพียง”

ทต่ี ้งั ของหมบู่ ้าน “บา้ นพระเพลงิ ” หมู่ท่ี 1 เป็น 1 ใน 19 หมู่บา้ นภายใตก้ ารปกครอง ขององคก์ ารปกครองส่วนทอ้ งถ่ินต�ำบลพระเพลงิ ตงั้ อยู่ หมู่ที่ 1 ตำ� บลพระเพลิง อ�ำเภอเขาฉกรรจ์ จังหวัดสระแก้ว บ้านพระเพลิงห่างจากตัวเมืองสระแก้ว ประมาณ 30 กโิ ลเมตร ต้ังอยู่ทางทิศใต้ของอ�ำเภอเขาฉกรรจ์ ระยะทางเข้าหมู่บ้านพระเพลิง ดังน้ี - ระยะทางจากศาลากลางจังหวัดสระแกว้ ถงึ หมบู่ า้ น 35 กิโลเมตร - ระยะทางจากที่ว่าการอำ� เภอเขาฉกรรจถ์ ึงหมูบ่ ้าน 10 กิโลเมตร - ระยะทางจาก อบต.พระเพลิง ถงึ หมูบ่ า้ น 1 กิโลเมตร เน้ือท่ี บ้านพระเพลงิ หมูท่ ี่ 1 มเี นื้อที่ทง้ั หมด 3,750 ไร่ ทศิ เหนือ อาณาเขต ทิศใต้ ทศิ ตะวนั ออก ตดิ กบั บา้ นซับมลู หม่ทู ี่ 12 ทิศตะวันตก ติดกบั บา้ นท่าตาสี ต�ำบลตาหลังใน อ�ำเภอวังน้�ำเย็น ติดกับ บ้านเขาจันทร์ หมู่ท่ี 3 ติดกับ บ้านบึงพระราม หมทู่ ่ี 4 แผนที่ตำ� บลพระเพลงิ อำ� เภอเขาฉกรรจ์ จังหวัดสระแก้ว 7 ทีม่ า : Google Eart ณ วันท่ี 9 มกราคม 2563 บา้ นพระเพลงิ

วสิ ยั ทศั นช์ มุ ชนบา้ นพระเพลงิ “เกษตรกรรมเฟอื่ งฟู ผู้คนแข็งแกรง่ ร่วมแรงสามคั คี ประเพณีลำ้� เลศิ ตอ่ ตา้ นยาเสพตดิ เศรษฐกจิ พอเพยี ง” 8 “หมบู่ า้ นตวั อย่าง 4 ดี วิถีพอเพยี ง”

บ้านพระเพลงิ 9

ศักยภาพของหมู่บา้ นวังทอง ชุมชนบ้านพระเพลิงเป็นชุมชนท่ีมีความหลากหลายของคนในพ้ืนท่ี มีภูมิล�ำเนาเดิมมาจากภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออก บ้านพระเพลิงเป็นหมู่บ้านท่ีมีพ้ืนที่อยู่อาศัย 150 ไร่ พ้ืนท่ีเกษตรกรรม 3,600 ไร่ โดยแบ่งเป็น พ้ืนที่ท�ำนา 600 ไร่ พื้นที่ ท�ำไร่ 2,500 ไร่ พื้นที่ท�ำสวน 500 ไร่ พ้ืนที่การเกษตรในเขตชลประทาน (เขตสบู น�ำ้ ดว้ ยไฟฟ้าคลองชลประทาน) 600 ไร่ 10 “หม่บู ้านตัวอยา่ ง 4 ดี วถิ ีพอเพียง”

บ้านพระเพลงิ 11

จุดแข็ง (Strength) ชุมชนบ้านพระเพลิง คือ การมีผู้น�ำ มีความเข้มแข็ง มีศูนย์การเรียนรู้ภายใน ชุมชนหลายแหล่ง การมีการบริหาร จัดการอย่างเป็นระบบ ประชากรมีความ กระตือรือร้นในการพัฒนาตนเอง มีที่ดิน ในการเพาะปลูกเป็นจ�ำนวนมาก สามารถ ผลิตวัตถุดิบทางการเกษตรได้เป็นจ�ำนวน มาก และการมีระบบการคมนาคมที่ ค่อนข้างสะดวก 12 “หม่บู า้ นตัวอย่าง 4 ดี วิถีพอเพยี ง”

บ้านพระเพลงิ 13

14 “หม่บู ้านตวั อย่าง 4 ดี วถิ ีพอเพยี ง”

จุดอ่อน (Weaknesses) จุดอ่อนที่พบของชุมชน คือ ยังมี ระบบชลประทานเพื่อการเกษตรท่ียัง ไม่เพียงพอ ขาดแคลนพันธุ์พืชที่มี คุณภาพ แรงงานบางส่วนขาดทักษะ/ ฝีมือ เกิดปัญหาดินเส่ือมสภาพ และ ขาดผ้เู ช่ียวชาญมาใหค้ วามรเู้ ฉพาะด้าน บ้านพระเพลิง 15

โอกาส (Opportunity) สามารถส่งเสริมความสามารถพัฒนาวัตถุดิบทางการเกษตรไปสู่ อุตสาหกรรมการเกษตร สามารถพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวเชิงนิเวศและ วัฒนธรรม และสามารถพัฒนาเป็นแหล่งเศรษฐกิจได้ โดยเช่ือมโยงการค้า ชายแดนและเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษ 16 “หมบู่ ้านตวั อยา่ ง 4 ดี วถิ ีพอเพียง”

อปุ สรรค (Threats) ปัจจุบันยังมีเกษตรกรส่วนใหญ่ยังนิยมใช้ปุ๋ยเคมี ยาปราบศัตรูพืช ซ่ึงส่งผลเสียต่อระบบนิเวศ การท�ำการเกษตรนิยมในการปลูกพืชเชิงเดี่ยว ขาดความหลากหลายท�ำให้ราคาตกต�่ำ และประชาชนขาดความเข้าใจ ในการดูแลและบำ� รุงรกั ษาสงิ่ แวดลอ้ ม บ้านพระเพลงิ 17

18 “หม่บู ้านตวั อย่าง 4 ดี วถิ ีพอเพยี ง”

กฏกตกิ าในชุมชน อดีตชุมชนบ้านพระเพลิงมีการ ย้ายเข้ามาจากหลากหลายภาคท�ำให้ มีความแตกต่างทางด้านวัฒนธรรม ความเป็นอยู่ ประเพณี และอุปนิสัย จึงเกิดความวุ่นวาย ประกอบกับสมัยนั้น ยังมีพวกคอมมวิ นิสต์ การเกดิ อาชญกรรม ตา่ ง ๆ เช่น การปลน้ ขโมย เปน็ ต้น เกดิ ขึ้น ภายในหมู่บ้าน นอกจากน้ียังมีความ ขัดแย้งภายในชุมชนอยู่อย่างต่อเนื่อง จึงได้คิดมีการตั้งกฏของชุมชน เพื่อจะ ให้เกิดความสุขสงบในชุมชน จึงได้ มีกระบวนการจัดท�ำธรรมนูญชุมชน บ้านพระเพลิง เพ่ือให้เกิดความสงบ เรียบร้อย บา้ นพระเพลงิ 19

20 “หม่บู ้านตวั อย่าง 4 ดี วถิ ีพอเพยี ง”

กฏกติกาหมู่บ้านหรือธรรมนูญหมู่บ้านพระเพลิง หมู่ท่ี 1 สรุป ธรรมนญู ชุมชน บ้านพระเพลิง 11 ข้อ ดังนี้ 1. ครอบครัวใดยุ่งเก่ียวกับยาเสพติดจะไม่ได้รับการช่วยเหลือจาก ชุมชน 2. ห้ามขายสรุ าและบุหร่ี ให้เดก็ ตำ่� กวา่ 15 ปี 3. ให้ทุกครัวเรือนช่วยกันรักษาความสะอาดบริเวณบ้านและชุมชน อยา่ งสมำ�่ เสมอ 4. ห้ามทุกคนในชุมชนส่งเสียงดังในตอนกลางคืนหลังเวลา 24.00 น. ยกเวน้ เทศกาล 5. ห้ามเปิดเครอื่ งเสียงดังรบกวนบ้านอน่ื ๆ โดยไมจ่ �ำเป็น 6. หา้ มขับรถเสยี งดังเกนิ กว่าทางการก�ำหนด 7. ให้มเี วรยามตรวจตราในเวลากลางคนื เพื่อดูแลความปลอดภยั 8. ให้มกี ารออมเงนิ เพอื่ เปน็ การประหยดั ทกุ ครวั เรอื น 9. หา้ มเล่นการพนันและอบายมุขตา่ ง ๆ ในชมุ ชน 10. ทุกครอบครัวให้ปลูกพืชผักส่วนครัวไว้บริโภค ภายในครัวเรือน ตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัว 11. ส่งเสรมิ สขุ ภาพและการศึกษา ในชมุ ชนอย่างท่วั ถึง บา้ นพระเพลงิ 21

22 “หม่บู ้านตวั อย่าง 4 ดี วถิ ีพอเพยี ง”

การถอดบทเรยี นออกเปน็ 4 มติ ิ บ้านพระเพลิง มีแนวคิดพัฒนาองค์ความรู้ต่างๆ ท่ีจน สามารถแสดงความโดดเด่น และแนวทางการพัฒนาของ ชุมชนจากอดีตจนถึงปัจจุบันซ่ึงเป็นแนวทางสามารถ ถอดบทเรียนภายในใต้แนวคิด สระแก้วเมืองแห่งความ สุขภายใต้ 4 ดี วถิ ีพอเพียง โดยแบง่ การถอดบทเรียนออก เป็น 4 มติ ิ บา้ นพระเพลงิ 23

มติ ดิ า้ นสงั คม การสร้างธรรมนูญชุมชนของบ้านพระเพลิง หมู่ท่ี 1 ให้ชุมชน เกิดการเปลี่ยนแปลง จากเดิมที่ชาวชุมชนบ้านพระเพลิง ขาดความร่วม มือร่วมใจ มีการทะเลาะขัดแย้งกันภายในชุมชน ต่างคนต่างอยู่ ขาดการ พบปะสร้างความสัมพันธ์กันของคนในชุมชนก่อนที่จะมีธรรมนูญชุมชน การไม่เข้าร่วมกิจกรรม การเห็นประโยชน์ส่วนตัวมากกว่าส่วนรวม แต่ หลังจากการสร้างกฏระเบียบหรือธรรมนูญชุมชนขึ้นมาแล้ว ชาวชุมชน บ้านพระเพลิงเร่ิมมีการเปลี่ยนแปลงมีการให้ การเอื้อเฝื้อซ่ึงกันและกัน การออกมาช่วยเหลืองานในชุมชนมากยิ่งข้ึน โดยกิจกรรมท่ีชุมชน จัดขน้ึ ไดแ้ ก่ กจิ กรรมพฒั นาชมุ ชน เป็นต้น และมกี ารพัฒนา “บวร” ของ บ้านพระเพลิง 24 “หม่บู า้ นตวั อย่าง 4 ดี วถิ ีพอเพียง”

การพัฒนา “บวร = บ้าน” มีการพัฒนาด้านความสะอาดพ้ืนที่ โดยรอบของชุมชนเป็นประจ�ำทุกเดือน มีกิจกรรมปรับปรุงภูมิทัศน์ของ หมู่บ้านให้สะอาดสวยงามเป็นระเบียบ มีการรณรงค์ให้ประชาชนรักษา ความสะอาดภายใน ภายนอกอาคารบ้านเรือน บริเวณสะพาน ถนนรอบ หมู่บ้าน จัดเก็บเศษขยะ วัชพืช ผักตบชวา บริเวณคลอง ห้วยท่ีไหลผ่าน หมู่บ้าน เพ่ือสร้างจิตส�ำนึกการรักษาความสะอาดแก่คนในชุมชน และ การสร้างความรกั และความสามัคคแี ก่คนในชุมชน การพัฒนา “บวร = วัด” บา้ นพระเพลงิ มีการสนบั สนุนด้านศาสนา ในหมู่บ้าน เช่น กิจกรรมทางศาสนาอย่างสม่�ำเสมอ มีการประพฤติตน ตามหลักธรรมค�ำสอนของศาสนาท่ีตนเองนับถือ ส่งเสริมให้มีการเข้าวัด ฟังธรรม แก่ประชาชน เด็กเยาวชนให้สนใจในการปฏิบัติธรรม มีส่วนร่วม ในการจัดหาทุนพฒั นาวดั และด�ำเนนิ กิจกรรมทางพระพุทธศาสนา การพัฒนา “บวร = โรงเรียน” บ้านพระเพลิงมีการจัดทุนสนับสนุน การศึกษาให้แก่เด็กและเยาวชนในหมู่บ้าน เช่น การจัดหาทุนการศึกษา ให้แก่เด็กและเยาวชนผู้เรียนดีแต่ฐานะยากจน การช่วยเหลือเป็นที่ปรึกษา และการร่วมพัฒนาภายในโรงเรียนร่วมกับคณะครูภายในโรงเรียนให้มีการ พฒั นาทางด้านการศึกษาอยา่ งตอ่ เน่ือง บ้านพระเพลิง 25

มิติดา้ นการเมอื ง การปกครองบา้ นพระเพลงิ เรมิ่ จากนายสบุ นิ เขามะหงิ ส์เปน็ ผใู้ หญบ่ า้ น คนแรกของบ้านพระเพลิง ซึ่งได้มีการพัฒนาชุมชนอย่างต่อเน่ือง จนมาถึง นายจิรภัทร ปักครึก ผู้ใหญ่บ้านพระเพลิงคนปัจจุบัน ได้มีการปกครองดูแล ความสงบเรียบร้อยและความปลอดภัยให้แก่ประชาชนบ้านพระเพลิง เช่น การไกล่เกล่ียข้อพิพาทภายในชุมชน การต้ังจุดตรวจร่วมกับฝ่ายปกครอง ต�ำรวจ หรือเจ้าหน้าท่ีของรัฐ หรือการจัดเวรยามดูแลความปลอดภัย ภายในชุมชน เปน็ ต้น นอกจากน้ียังสร้างความสมานฉันท์และความสามัคคีให้เกิดขึ้น ภายในหมู่บ้านพระเพลิง รวมทั้งการจัดประเพณีในภายในชุนชน เช่น การจดั กจิ กรรมใหป้ ระชาชนมีสว่ นร่วมในการด�ำเนนิ การ และการชว่ ยเหลือ ชาวบา้ นพระเพลิงจากภยนั อันตรายต่าง ๆ นอกจากนั้นยังมกี ารรับฟังปญั หา และความเดือดร้อนและความต้องการของชาวชุมชนบ้านพระเพลิงและ ช่วยด�ำเนินการแก้ไข หรือแจ้งต่อส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ องค์กร ปกครองส่วนท้องถ่ิน หรือหน่วยงานอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขปัญหา และชว่ ยเหลือ 26 “หมบู่ า้ นตัวอยา่ ง 4 ดี วิถพี อเพียง”

การจัดท�ำแผนพัฒนาหมู่บ้านก็มีความส�ำคัญจึงได้จัดท�ำแผนพัฒนาหมู่บ้าน ตามปฏิทินจัดท�ำแผนประจ�ำปี โดยมีการวางแผนและประชาชนสามารถ แสดงความคิดเห็น ข้อแนะน�ำหรือสิ่งต้องการในการพัฒนาเพ่ือบรรจุใน แผนการพัฒนาประจ�ำปี นอกจากน้ันยังมี การประสานจัดท�ำโครงการ เก่ียวกับการพัฒนาหมู่บ้านและคณะกรรมการด้านต่าง ๆ ของชุมชน เพื่อด�ำเนินการหรือขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากหน่วยงานอ่ืน ๆ และยังจัดสถานท่ีให้บริการต่างๆ เพ่ืออ�ำนวยความสะดวกให้กับประชาชน ในชมุ ชนเขา้ ติดต่อรับบรกิ าร บ้านพระเพลิง 27

28 “หม่บู ้านตวั อย่าง 4 ดี วถิ ีพอเพยี ง”

มติ ดิ ้านเศรษฐกิจ การพัฒนาด้านเศรษฐกิจของบ้านพระเพลิง เริ่มต้นจากการน้อมน�ำแนวพระราชด�ำริเศรษฐกิจ พอเพียง สร้างความเป็นอยู่ของตนเองก่อนจากนั้น จึงได้พัฒนาจากสิ่งต้นเองปลูกหรือท�ำอยู่ สร้างเป็น ผลิตภัณฑ์ของตนเองสร้างรายได้ให้กับตนเองและ ครอบครัว นอกจากนั้นเมื่อสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ เป็นท่ีต้องการของตลาดมากยิ่งขึ้น จึงเกิดการ รวมกลุ่มกันของคนในชุมชนสร้างเป็นกลุ่มเล็กๆ ช่วยกันสร้างรายได้ จากน้ันจึงมีการจัดต้ังเป็น กลุ่มวิสาหกิจชุมชน โดยพบว่าวิสาหกิจชุมชนท่ี เขม้ แข็งของชุมชนบา้ นพระเพลงิ หมทู่ ่ี 1 มี 2 กลุ่ม ไดแ้ ก่ 1. กลุ่ม “สตรีท�ำเส้ือหม้อฮ่อม” เป็นสินค้า OTOP มีนางสัมฤทธ์ิ โสภี เป็นประธานกลุ่ม ซึ่งมี ผลิตภัณฑ์ เป็นผ้าขาวม้า เสื้อม่อฮ่อม เป็นกลุ่มที่ สร้างรายไดแ้ ละชือ่ เสยี งใหแ้ กช่ ุมชน 2. กลุ่ม “เกษตรกรเลี้ยงผ้ึง” เป็นอีกหนึ่ง สินคา้ OTOP มนี างอมั รา กรดคีรี เปน็ ประธานกลุม่ ซ่ึงมีผลิตภัณฑ์ น�้ำผึ้ง เป็นกลุ่มท่ีสร้างรายได้และ ช่อื เสียงให้แกช่ มุ ชนเช่นเดียวกัน นอกจากนีย้ งั มีผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ท่สี รา้ งรายได้ ให้กับชุมชน เช่น เคร่ืองจักสานไม้ไผ่ ข้าวอินทรีย์ ปยุ๋ ชีวภาพ เสอ่ื กก เปน็ ตน้ บ้านพระเพลิง 29

30 “หม่บู ้านตวั อย่าง 4 ดี วถิ ีพอเพยี ง”

มิติดา้ นส่งิ แวดล้อม การรักษาส่ิงแวดล้อมของชุมชน บ้านพระเพลิงจะเร่ิมต้นจากการก�ำจัดขยะ จากตน้ ทาง มกี ารคัดแยกขยะภายในครวั เรอื น และการก�ำจัดขยะให้ถูกสุขลักษณะ และ การส่งขยะก�ำจัด นอกจากนี้ยังมีการรณรงค์ การรักษาความสะอาด การปลูกจิตส�ำนึก ให้กับเด็ก เยาวชน และคนในชุมชน ร่วมท้ัง การปลูกป่า และยังมีการท�ำเกษตรแบบ อินทรีย์ซึ่งเป็นการรักษาส่ิงแวดล้อมที่ดี ซ่ึงภายในชุมชนมีกลุ่มในการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ เพ่ือให้คนในชุมชนได้ใช้กัน ลดค่าใช้จ่าย และปลอดภัย รักษาสุขภาพของลูกหลาน คนในชุมชนบา้ นพระเพลงิ บ้านพระเพลิง 31

บคุ คลต้นแบบของบา้ นพระเพลิง หมทู่ ี่ 1 ด�ำเนินการคัดเลือกโดยการผ่านนมติการประชุมของหมู่บ้าน พระเพลิง ซ่ึงเป็นมติชี้ขาดกระบวนการคัดเลือก โดยการเสนอชื่อเพ่ือให้ ที่ประชุมพิจารณาข้อมูลของบุคคลท่ีถูกเสนอช่ือ เพื่อท�ำการลงมติ บุคคล ทมี่ ภี าวะผู้นำ� ความพฤตทิ ี่ดงี าม และคุณธรรม สามารถประเมิน 32 “หมู่บา้ นตวั อย่าง 4 ดี วิถีพอเพียง”

บ้านพระเพลงิ 33

นายจิรภัทร ปกั ครกึ เกษตรกรตวั อยา่ งและเป็นประธานศนู ย์เรยี นรูข้ า้ วอินทรยี ์ เป็นเกษตรกรเกษตรอินทรีย์ตัวอย่าง ไม่ใช้สารเคมี ปลอดภัยต่อชีวิต คืนชีวิตสู่เกษตรกร เป็นผู้น�ำเกษตรกรในชุมชนเข้าร่วมโครงการ การปลูกข้าวระบบอินทรีย์ การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ การบรรจุข้าวกล้อง ระบบสุญญากาศ การท�ำนาอินทรีย์ท่ีมีการรวมตัวกันของประชาชน 3 หมู่บา้ น คอื บา้ นพระเพลงิ หมทู่ ี่ 1 บา้ นนาคันหัก หมทู่ ี่ 2 และบ้านซบั มลู หมู่ท่ี 12 โดยใช้พื้นท่ีสาธารณะของหมู่บ้าน ในการท�ำนาอินทรีย์ ข้าวไรท์เบอร์ร่ี ซ่ึงได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานราชการ เช่น ท่ีท�ำการปกครองอ�ำเภอเขาฉกรรจ์ องค์การบริหารส่วนต�ำบลพระเพลิง ในการเข้าร่วมการด�ำเนินงานตามช่วงระยะเวลาต่าง ๆ เป็นประจ�ำ กลุ่มเกษตรกรที่เข้ารับการอบรมโครงการส่งเสริมและพัฒนาการผลิต ข้าวปลอดภยั / ข้าวอนิ ทรีย์ ซ่งึ มสี มาชกิ ทง้ั หมด 20 คน 34 “หม่บู า้ นตัวอย่าง 4 ดี วถิ พี อเพยี ง”

นางอัมรา กรดดรี ี เกษตรกรตัวอย่างและเปน็ ประธานศนู ยเ์ รียนรู้การท�ำปยุ๋ อินทรยี ์ ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ หมายถึง สารธรรมชาติที่ได้จากกระบวนการ หมักบ่ม วัตถุดิบจากธรรมชาติต่าง ๆ ทั้งพืชและสัตว์จนสลายตัวสมบูรณ์ เป็นฮิวมัสวิตามิน ฮอร์โมน และสารธรรมชาติต่าง ๆ ซ่ึงเป็นท้ังอาหารของ ดิน (ส่ิงมีชีวิตในดิน) ตัวเร่งการท�ำงานของส่ิงมีชีวิตเล็ก ๆ ที่อาศัยอยู่ใน ดนิ และอาศัยอยปู่ ลายรากของพืช (แบคทเี รยี แอคตโิ นมยั ซสิ และ เชอื้ รา ฯลฯ) ท่ีสามารถสร้างธาตุอาหารกว่า 93 ชนิดแก่พืช ภายใต้หลักการ กสิกรรมธรรมชาติที่ว่า “เล้ียงดิน เพื่อให้ดินเลี้ยงพืช” การให้ความส�ำคัญ ของดินด้วยการเคารพบูชาดินเสมือน “แม่” ภูมิปัญญาดั้งเดิมการดูแล รักษาดินกว่า “พระแม่ธรณี” สังคมไทยได้พัฒนาการผลิตอาหารให้แก่ดิน หรือปัจจุบันเรียกว่า ปุ๋ย ไว้หลายรูปแบบ ด้วยเทคโนโลยีที่ลึกซึ้งแนบแน่น กับธรรมชาติ ประโยชน์ของปุย๋ อินทรยี ์ชวี ภาพ ผลิตป๋ยุ อนิ ทรยี ์ ศนู ย์การผลติ ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพบ้านพระเพลิง เพื่อให้เกษตรกรในชุมชนใช้ปุ๋ยอินทรีย์ ในแปลงนาและแปลงพืชผัก ท�ำให้เกษตรกรสามารถลดต้นทุนการผลิตจาก การซื้อปยุ๋ เคมีลง และใช้ปยุ๋ อินทรยี เ์ พมิ่ ข้ึน บ้านพระเพลงิ 35

นายสุชนิ ชลสนิ ธุ์ เกษตรกรตัวอย่างและเปน็ ประธานศนู ย์เรยี นรู้พชื สมนุ ไพรไทย 36 “หมบู่ า้ นตวั อย่าง 4 ดี วิถพี อเพียง”

ศูนย์การเรียนรู้การใช้สมุนไพรชนิดต่าง ๆ และได้รวบรวมพืชสมุนไพร มาปลกู ในสวนหลงั บา้ นพนื้ ทปี่ ระมาณ1ไรเ่ ศษจำ� นวนหลายรอ้ ยชนดิ สายพนั ธ์ุ มีผู้สนใจเข้ามาศึกษา และปรึกษาการใช้สมุนไพรในการรักษาโรคภัยไข้เจ็บ ต่าง ๆ เป็นประจ�ำ จนได้รับการสนับสนุนจากผู้ใหญ่บ้านให้เป็นศูนย์เรียนรู้ พืชสมุนไพรไทยของบ้านพระเพลิง และมีผู้คนสนใจมาศึกษาดูงาน จากหน่วยงานต่าง ๆ ท้งั ในจังหวดั และจังหวดั อ่ืน ๆ เปน็ ประจ�ำ ศูนย์การเรียนรู้มีการขยายพันธุ์พืชสมุนไพร เพ่ือจ�ำหน่ายให้แก่ผู้ท่ี สนใจ มกี ารปลูกพืชผักผลไม้ปลอดสารพษิ ไว้บริโภคและจำ� หนา่ ยหลายชนิด นอกจากนี้ยังมีการท�ำปุ๋ยหมัก น�้ำหมักจุลินทรีย์ และฮอร์โมนพืชไว้ใช้กับ พืชผักผลไม้ เพื่อเผยแพรให้แก่ผู้ท่ีสนใจ เช่น การท�ำจุลินทรีย์หน่อกล้วย การท�ำฮอร์โมนไข่ การท�ำจุสินทรีย์สังเคราะห์แสงส�ำหรับบ�ำรุงพืชและ ผสมอาหารสัตว์ มีการเพาะเล้ียงไส้เดือนเพ่ือการเกษตร โดยน�ำมูลไส้เดือน มาเป็นปุ๋ย มีการเลี้ยงเป็ดออร์แกนิค ท�ำให้เป็ดอารมณ์ดีออกไข่ได้ดี น�ำไข่เป็ดมาจ�ำหน่ายและท�ำไข่เค็ม มีการขยายพันธุ์ไม้ผลด้วยวิธีใหม่ ๆ ท�ำให้พืชแขง็ แรง โตเร็ว ตา้ นทานตอ่ โรค เชน่ การทาบก่งิ มะม่วงขนาดใหญ่ ด้วยการเสริมรากจ�ำนวนมาก การทาบก่ิงมะนาวพันธุ์ดีด้วยการใช้ต้นตอ มะนาวพวง เป็นตน้ บา้ นพระเพลงิ 37

ขา้ วอินทรีย์ ด้านสมนุ ไพร 38 “หมบู่ า้ นตัวอยา่ ง 4 ดี วถิ พี อเพยี ง”

ปยุ๋ อนิ ทรยี ์ ปราชญ์ด้านข้าวอนิ ทรยี ์นายจริ ภัทรปักครึกเป็นผ้ทู มี่ คี วามเช่ยี วชาญ ด้านการปลูกข้าวอินทรีย์และเกษตรอินทรีย์ เป็นผู้มีความรู้ความสามารถ สามารถถ่ายทอดองค์ความรู้ แก่ชาวบ้านพระเพลิง หมู่ที่ 1 และชุมชน ใกลเ้ คียงจนเป็นทย่ี อมรบั ปราชญ์ด้านการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ เป็นผู้ท่ีมีความรู้ความเชี่ยวชาญ การผลิตปุ๋ย จากธรรมชาติเป็นปุ๋ยชีวภาพ มีข้ันตอนการผลิตปุ๋ยหมัก และ มีการถ่ายทอดองค์ความรู้ให้กับประชาชนบ้านพระเพลิงและชุมชน ใกล้เคียง นอกจากน้ียังมีกลุ่มชาวต่างชาติเข้ามาเรียนรู้เป็นการเผยแพร่ ความรู้ ปราชญ์ด้านสมุนไพร เป็นผู้ที่มีความเช่ียวชาญด้านการปลูกพืช สมุนไพร การขยายพันธุ์สมุนไพร และการแปรรูปสมุนไพรเพ่ือใช้ใน การรักษา นอกจากน้ยี ังถ่ายทอดองค์ความรู้แกบ่ คุ คลภายในหมบู่ ้าน ชุมชน ใกล้เคยี งและผทู้ ส่ี นใจ บ้านพระเพลิง 39

คนดี 4 ดี วถิ ีพอเพยี ง รายไดด้ ี 40 “หม่บู ้านตวั อยา่ ง 4 ดี วถิ พี อเพียง”

สุขภาพดี บ้านพระเพลงิ หมทู่ ี่ 1 ส่ิงแวดลอ้ มดี บา้ นพระเพลงิ 41

42 “หม่บู ้านตวั อย่าง 4 ดี วถิ ีพอเพยี ง”


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook