Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Village E-Commerce - E-Commerce Master Manual (1)

Village E-Commerce - E-Commerce Master Manual (1)

Description: Village E-Commerce - E-Commerce Master Manual (1)

Search

Read the Text Version

ค่มู ือสำหรบั วทิ ยำกร E-Commerce ชุมชน โครงการศูนย์ดิจิทัลชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerce พ้ืนที่ว่ำง การจัดองค์ประกอบเว็บไซต์ก็เหมือนกับการออกแบบหน้านิตยสาร ผู้ประกอบการจะต้อง จัดการหน้าร้านค้า ไม่ควรมีภาพและเนื้อหาที่แน่นเกินไป จนทาให้รู้สึกอึดอัด และไม่มีที่พักสายตา การจัดหนา้ ร้านค้าออนไลน์จะตอ้ งมีพืน้ ที่การวางเน้ือหาอย่างเหมาะสม ไม่แนน่ หรอื ว่างจนเกนิ ไป ฟอนต์หรือตัวอักษร ควรใช้ฟอนต์ท่ีอ่านง่าย หัวกลม ตัวพิมพ์ปกติ และขนาดไม่เล็กจนเกินไป เพ่ือรองรับต่อกลุ่มเป้าหมายของตนเอง โดยการเลือกฟอนต์หรือตัวอักษร ควรเลือกให้อ่านง่ายและเหมาะสม กบั รูปแบบของสนิ ค้าและรา้ นค้า สำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจทิ ัลเพ่อื เศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชำติ (สดช.) 45

Village E-Commerce สง่ เสรมิ ผลิตภัณฑ์/บริการ ในชุมชนด้วยเศรษฐกจิ ดจิ ิทัล เน้ือหำ ธรรมชาติของผู้ซื้อ การอ่านข้อมูลจากหน้าร้านค้าออนไลน์จะต้องนาเสนอในรูปแบบเน้ือหาสั้น เข้าใจง่าย และสามารถตอบปัญหาผู้ซ้ือสินค้าได้ โดยเทคนิคหน่ึงท่ีทาให้ผู้เข้าชมไม่รู้สึกว่าเนื้อหามีความยาว จนเกินไป ก็คือการเลือกใช้รายการประโยชน์ หรือรายการจุดเด่นของสินค้า ในการนาเสนอเน้ือหา หรือการนาเสนอเน้ือหาแบบ อินโฟกราฟิก ซึ่งย่อเน้ือหาให้ส้ันกระชับ ร่วมกับการเล่าเร่ืองด้วยภาพถ่ายหรือ ภาพวาดดว้ ยโปรแกรมคอมพวิ เตอรเ์ ปน็ ตน้ Tips อินโฟกราฟิก (Infographic) สามารถทาง่ายๆ ผ่านเว็บไซต์ โดยผู้ประกอบการสามารถเข้าสร้าง ได้ทเี่ ว็บไซต์ http://piktochart.com จะทาใหไ้ ด้ภาพสรุปขอ้ มูลรา้ นคา้ เพือ่ เผยแพร่ให้ผู้บรโิ ภคได้ เว็บไซต์ Piktochart สำหรบั กำรสร้ำงอินโฟกรำฟกิ แบบออนไลน์ 46 สำนักงำนคณะกรรมกำรดจิ ทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชำติ (สดช.)

คมู่ อื สำหรับวิทยำกร E-Commerce ชมุ ชน โครงการศนู ย์ดิจทิ ลั ชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerce สำนักงำนคณะกรรมกำรดจิ ทิ ลั เพ่ือเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชำติ (สดช.) 47

Village E-Commerce สง่ เสริมผลติ ภณั ฑ์/บรกิ าร ในชุมชนด้วยเศรษฐกจิ ดิจิทลั  วธิ ีกำรตั้งคำ่ รำ้ นคำ้ ออนไลน์ Inwshop ระบบรา้ นค้าออนไลนท์ ม่ี าดว้ ยแนวทาง “เปิดร้านคา้ ออนไลน์ฟรี ไม่มเี ง่ือนไข” มีขัน้ ตอน การขอใช้บริการร้านคา้ ออนไลนง์ ่ายๆ ดังตอ่ ไปนี้ 1. เข้าเวบ็ ไซต์ https://www.lnwshop.com และกดปุ่ม (เปิดรา้ นค้าฟรี) 2. ตัง้ ค่าข้อมูลรา้ นค้า 3 ขั้นตอน คือ กรอกข้อมลู ร้านค้าและอัพโหลดรูปภาพร้าน เลือกเทมเพลต สาหรับร้านค้า และยอมรบั ข้อตกลงและนโยบายการใช้งาน 48 สำนกั งำนคณะกรรมกำรดจิ ทิ ลั เพื่อเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชำติ (สดช.)

คมู่ อื สำหรบั วิทยำกร E-Commerce ชมุ ชน โครงการศนู ย์ดิจิทลั ชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce ขนั้ ตอนที่ 1 กรอกข้อมลู รำ้ นค้ำและอพั โหลดรปู ภำพร้ำน สำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจทิ ลั เพ่อื เศรษฐกิจและสงั คมแห่งชำติ (สดช.) 49

Village E-Commerce ส่งเสริมผลิตภณั ฑ/์ บรกิ าร ในชมุ ชนดว้ ยเศรษฐกิจดิจทิ ัล ขนั้ ตอนท่ี 2 เลอื กเทมเพลตสำหรบั รำ้ นค้ำ 50 สำนักงำนคณะกรรมกำรดิจทิ ลั เพื่อเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชำติ (สดช.)

คมู่ อื สำหรบั วทิ ยำกร E-Commerce ชุมชน โครงการศูนย์ดจิ ิทัลชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบข้อมูลและยอมรบั ขอ้ ตกลง สำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชำติ (สดช.) 51

Village E-Commerce ส่งเสรมิ ผลิตภณั ฑ/์ บริการ ในชุมชนดว้ ยเศรษฐกิจดจิ ิทัล ขน้ั ตอนที่ 3 (ต่อ) อ่ำนข้อตกลงและเงือ่ นไขกำรใช้งำนและกดเปิดใชบ้ ริกำรรำ้ นค้ำออนไลน์ เปดิ รำ้ นค้ำออนไลนเ์ รียบร้อย 52 สำนกั งำนคณะกรรมกำรดจิ ิทลั เพอ่ื เศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ (สดช.)

คู่มือสำหรบั วิทยำกร E-Commerce ชุมชน โครงการศูนยด์ จิ ิทัลชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerce Tips การเพิ่มสินค้า ผู้ประกอบการชุมชนสามารถดูคาแนะนาการเพิ่มสินค้าในระบบ หรือขอคาแนะนา จากวิทยากร E-Commerce ชุมชน ณ ศูนย์ดิจิทัลชุมชนใกล้บ้านท่าน โดยรายการสินค้าท่ีพร้อมจาหน่าย จะปราก ให้ลกู คา้ เห็นผ่านร้านค้าออนไลน์ ซึ่งขอ้ มูลทผี่ ปู้ ระกอบการชุมชนจะต้องเตรียมตวั ก่อนการเพมิ่ สินค้า คอื ชื่อสินค้า ราคา คาอธบิ าย รูปภาพ เปน็ ต้น สำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจทิ ัลเพ่อื เศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชำติ (สดช.) 53

Village E-Commerce สง่ เสริมผลิตภัณฑ์/บริการ ในชมุ ชนดว้ ยเศรษฐกิจดิจทิ ัล Tips การตกแต่งร้านค้าออนไลน์สาหรับผู้ประกอบการชุมชนเป็นเรื่องท่ีสาคัญ ผู้ประกอบการชุมชน ควรตกแต่งหน้าร้านให้สอดคล้องกับสินค้าท่ีจาหน่าย โดยสามารถเลือกเทมเพลตที่มีลักษณะเหมาะสมกับ ร้านค้า และปรับแต่งส่วนต่างๆให้มีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว พร้อมจัดทาโลโก้ร้านค้าและแบนเนอร์ ประชาสมั พันธ์แนะนาร้านค้า ตามหลักการตกแตง่ หน้ารา้ นออนไลน์ ดังตอ่ ไปนี้ 54 สำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจทิ ัลเพื่อเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชำติ (สดช.)

คมู่ ือสำหรับวทิ ยำกร E-Commerce ชมุ ชน โครงการศูนยด์ ิจทิ ลั ชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce กำรสรำ้ งหน้ำร้ำนผ่ำนเฟซบุ๊ก (Facebook Page) การสร้างหน้าร้านผ่านบริการของเครือข่ายสังคมออนไลน์เฟซบุ๊ก จะต้องมีบัญชีสังคมออนไลน์ สามารถเข้าใช้งานที่ https://www.facebook.com/pages/create โดยผู้ประกอบการชุมชนจะต้องเลือก ประเภทของเพจ เช่น ตัวอย่างคุณยายอนงค์ ขายมะม่วงแช่อ่ิม ทาการเลือกเป็ นแบรนด์หรือสินค้า เพื่อให้สัมพันธ์กับรูปแบบการให้บริการของเฟซบุ๊กแฟนเพจ พร้อมดาเนินการกรอกรายละเอียดให้ครบถ้วน ประกอบดว้ ย กาหนดหมวดหมสู่ ินค้า และระบุชอื่ แบรนดห์ รอื ช่ือสินคา้ สำนักงำนคณะกรรมกำรดจิ ิทัลเพอื่ เศรษฐกิจและสงั คมแห่งชำติ (สดช.) 55

Village E-Commerce สง่ เสริมผลติ ภัณฑ/์ บรกิ าร ในชมุ ชนด้วยเศรษฐกจิ ดจิ ทิ ลั เมื่อทาการระบุข้อมูลเสร็จเรียบร้อย ผู้ประกอบการชุมชนสามารถอ่านข้อกาหนดการให้บริการ ของเพจเฟซบุก๊ ได้เมื่อยินยอมตามข้อกาหนดดงั กลา่ ว ใหก้ ดปมุ่ “เริ่มต้นใช้งาน” ระบบจะสร้างเพจร้านค้า โดยระบุชื่อร้านค้า ผู้ประกอบการชุมชนจะต้องกรอกรายละเอียด เกี่ยวกบั สนิ ค้า การจดั ส่ง และขอ้ มลู การติดต่อ เพอ่ื ให้ลูกค้าเหน็ ข้อมลู และสามารถตัดสินใจซ้ือ และตดิ ต่อผ่าน ช่องทางต่างๆไดอ้ ย่างสะดวก 56 สำนักงำนคณะกรรมกำรดจิ ทิ ัลเพ่ือเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชำติ (สดช.)

คู่มือสำหรับวทิ ยำกร E-Commerce ชุมชน โครงการศนู ยด์ ิจทิ ลั ชุมชน กจิ กรรม : Village E-Commerce Tips การสร้าง URL ใหร้ ้านคา้ เพ่ือใหล้ กู ค้าเข้าถึงได้อย่างสะดวก และสามารถแชร์และทาการตลาดดจิ ิทัลได้ง่าย ซึ่งเป็นอีกวิธีในการช่วยให้ร้านค้าออนไลน์บนเพจเฟซบุ๊กสามารถจดจาได้ง่ายยิ่งขึ้น โดยผู้ประกอบการชุมชน สามารถดาเนินการได้ง่ายๆ โดยเลือกเมนู “เก่ียวกับ” ท่ีหน้าเพจของตนเอง จากนั้นกดท่ี “สร้างชื่อผู้ใช้ของเพจ” และทาการระบุชื่อผู้ใช้ของเพจเป็นภาษาอังกฤษ ยกตัวอย่างของคุณยายอนงค์ ต้ังเป็น “AnongThaiFruit” คุณยายอนงค์จะสามารถประชาสัมพันธ์ให้ลูกค้าทราบได้ โดยใช้ช่ือเพจเป็น @AnongThaiFruit ทาให้ง่าย ตอ่ การจดจาของลูกค้าได้ สำนักงำนคณะกรรมกำรดิจทิ ัลเพือ่ เศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชำติ (สดช.) 57

Village E-Commerce ส่งเสรมิ ผลติ ภัณฑ/์ บรกิ าร ในชุมชนด้วยเศรษฐกิจดจิ ิทลั  ภำษรี ำ้ นคำ้ ออนไลน์ ผูป้ ระกอบการชุมชน หากทาธรุ กรรมซ้อื ขายสนิ ค้าออนไลน์ นอ้ ยกว่า 1.8 ลา้ นบาท ต่อปี ให้เสยี ภาษีรายได้ บุคคล (ตามปกติ) หากมีรายได้มากกว่า 1.8 ล้านบาท ต่อปีจะต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม การรายงานภาษีสามารถ รายงานข้อมูลให้กรมสรรพากรรับทราบ ในช่วงรอบการเสียภาษีแต่ละปี และยื่นแบบภาษีได้ท่ี www.rd.go.th หรือสานักงานสรรพากรในพ้ืนท่ี สรุปคือ ถ้ารายได้ทั้งหมด (เงินที่ได้รับทั้งหมดโดยไม่หักค่าใช้จ่าย) ไม่เกิน 900,000 บาท/ปี และไม่มรี ายไดจ้ ากทางอื่น ผ้ปู ระกอบการชุมชนจะไมต่ ้องเสยี ภาษี 58 สำนักงำนคณะกรรมกำรดจิ ทิ ลั เพ่อื เศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชำติ (สดช.)

คู่มือสำหรบั วิทยำกร E-Commerce ชุมชน โครงการศนู ยด์ ิจิทลั ชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce  หลักและเทคนคิ กำรถ่ำยทอดควำมรู้ ด้วยเน้ือหาในขั้นตอนที่ 2 การเปิดร้านค้าออนไลน์ (Online Shop) จะเป็นการแสดงขั้นตอนต่างๆใน การเปิดร้านค้าออนไลน์ตั้งแต่การสมัครอีเมล์เพ่ือยืนยันตนเอง และรับข้อมูลข่าวสาร การเลือกระบบร้านค้า ออนไลน์ ตลอดจนหลักการต้ังช่ือร้านค้าออนไลน์ท่ีถูกต้องเหมาะสมกับสินค้าหรือบริการ ไปจนถึง การตกแต่งหน้าร้านค้าออนไลน์ โดยประกอบดว้ ยกิจกรรมเชิงป ิบัติการ อเี มลเ์ ปดิ โลก ระบบรา้ นค้าออนไลน์ไหนดี ชอ่ื ร้านเก๋ไกก๋ าไรเปน็ ล้าน กจิ กรรมเชิงปฏิบัตกิ ำร “อเี มลเ์ ปดิ โลก” วตั ถุประสงคข์ องกิจกรรม เพ่ือให้ผู้ประกอบการชุมชนมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับอุปกรณ์พื้นฐานในการเปิดร้านค้าออนไลน์ ซึ่งได้แก่ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และอินเทอร์เน็ต และสามารถเปิดบัญชีอีเมล์เพ่ือยืนยันตนเอง เพ่ือรับข้อมูล ข่าวสาร หรือคาสั่งซื้อได้ โดยอินเทอร์เน็ตเป็นส่วนสาคัญของการติดต่อสื่อสารผ่านโลกดิจิทัล โดยผู้ท่ีจะใช้ โครงข่ายจะต้องมีบัญชีในการยืนยันตนเอง ในการรับข้อมูลข่าวสาร หรือคาส่ังซ้ือ โดยจะต้องสมัครจดหมาย อิเล็กทรอนกิ ส์ หรอื “อีเมล์” สง่ิ ที่ตอ้ งเตรยี มกำร 1. เครื่องคอมพิวเตอร์ทสี่ ามารถเชื่อมต่ออนิ เทอร์เน็ตพร้อมใช้ 2. ชอ่ื ท่ีอยู่ เบอรโ์ ทรศัพท์ของผูท้ ่ีต้องการสมัครจดหมายอิเล็กทรอนิกส์หรืออีเมล์ วิธีกำรดำเนนิ กิจกรรม 1. วทิ ยากรให้ความรู้เกี่ยวกับอุปกรณ์พื้นฐานในการเปิดร้านค้าออนไลน์ อันไดแ้ ก่ (1) อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น สมาร์ทโฟน แท็บแล็ต คอมพิวเตอร์ กล้องถ่ายภาพ เครื่องพิมพ์เอกสารและ (2) อินเทอร์เน็ต พร้อมท้งั อธิบายขน้ั ตอนตา่ งๆของการสมัครอีเมล์ 2. ผ้เู ข้าอบรมป บิ ตั ิตามขน้ั ตอนต่างๆ 3. ผเู้ ขา้ อบรมแสดงบัญชอี ีเมล์ของตน 4. วทิ ยากรสรุปภาพรวมการดาเนินการ สำนกั งำนคณะกรรมกำรดจิ ทิ ลั เพื่อเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชำติ (สดช.) 59

Village E-Commerce ส่งเสริมผลติ ภณั ฑ์/บรกิ าร ในชมุ ชนดว้ ยเศรษฐกจิ ดจิ ิทลั ผลลพั ธก์ ิจกรรม 1. ผู้เขา้ รว่ มอบรมมคี วามรู้เก่ยี วกบั อปุ กรณพ์ ้ืนฐานในการเปิดร้านค้าออนไลน์ 2. ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถสมัครจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ หรือ “อีเมล์” เพื่อใช้ในการยืนยันตนเอง ในการรับข้อมลู ข่าวสาร หรือคาส่ังซอ้ื ได้ กิจกรรมเชิงปฏบิ ตั ิกำร “ระบบร้ำนค้ำออนไลนไ์ หนดี” วัตถุประสงค์ของกิจกรรม เพ่ือให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการเลือกระบบร้านค้าออนไลน์ท่ีเหมาะสม กับประเภทของสินค้าหรือบริการ เช่น หากผู้เข้าร่วมอบรมผลิตและจาหน่ายสินค้าประเภทค้าปลีก สามารถเลือกระบบร้านค้าแบบเทพช็อป หรือหากผู้เข้าร่วมอบรมผลิตและจาหน่ายสินค้าประเภทค้าส่ง สามารถเลอื กระบบรา้ นคา้ แบบพนั ธวนิช เป็นต้น สิ่งท่ตี ้องเตรียมกำร 1. เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ทสี่ ามารถเช่ือมต่ออนิ เทอรเ์ น็ตพร้อมใช้ 2. กระดาษ A4, ปากกา วิธกี ำรดำเนนิ กิจกรรม 1. วิทยากรให้ความรู้เก่ียวกับระบบร้านค้าออนไลน์ โดยบรรยายถึงร้านค้าออนไลน์สาเร็จรูป ในรูปแบบต่างๆ ว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร เพื่อผู้เข้าร่วมอบรมจะได้เลือกใช้ร้านค้าออนไลน์ สาเร็จรูปได้ตรงตามความต้องการและเหมาะสม ท้ังนี้ควรอธิบายตามหัวข้อร้านค้าออนไลน์สาเร็จรูป แบบ C2C B2C และB2B 2. วิทยากรยกตัวอย่างสินค้าที่เหมาะสมกับระบบร้านค้าออนไลน์ประเภทใดประเภทหน่ึง เช่น หากขาย สนิ ค้าใหผ้ ู้บรโิ ภคทัว่ ไปหรือค้าปลกี ควรเลอื กระบบรา้ นคา้ ออนไลน์ประเภท B2C 3. ผูเ้ ข้าอบรมทาการจดบนั ทกึ และเปรียบเทียบระบบรา้ นค้าออนไลน์ที่เหมาะสมกับสินค้า 4. ผู้เข้าอบรมแสดงระบบรา้ นคา้ ออนไลน์ทตี่ ้องการนาสนิ คา้ น้นั ๆเข้าส่รู ะบบ พร้อมทงั้ แสดงขอ้ คดิ เห็น 5. วิทยากรสรุปภาพรวมการดาเนินการ 60 สำนักงำนคณะกรรมกำรดิจิทลั เพื่อเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชำติ (สดช.)

คู่มอื สำหรบั วิทยำกร E-Commerce ชมุ ชน โครงการศนู ย์ดิจิทัลชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce ผลลัพธก์ จิ กรรม ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเลือกระบบร้านค้าออนไลน์ท่ีเหมาะสมกับประเภท ของสนิ คา้ หรอื บริการ กิจกรรมเชิงปฏิบตั ิกำร “ชือ่ ร้ำนเกไ๋ ก๋ กำไรเปน็ ล้ำน” วัตถปุ ระสงค์ของกิจกรรม เพ่ือให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับหลักการตั้งช่ือร้านค้าออนไลน์ให้ถูกต้อง และเปน็ ท่นี ่าสนใจแกผ่ ู้พบเห็น ช่อื รา้ นคา้ ที่ดจี ะสร้างภาพลักษณใ์ ห้แก่สินคา้ และธรุ กิจได้ สิง่ ท่ตี อ้ งเตรียมกำร 1. กระดาษ A4, ปากกา วธิ ีกำรดำเนนิ กิจกรรม 1. วิทยากรให้ความรู้เก่ียวกับความสาคัญของการต้ังช่ือร้านและหลักการตั้งชื่อร้านค้าออนไลน์ท่ีถูกต้อง ได้แก่ ชื่อร้านควรมีความหมายดี ใช้คาที่ง่ายต่อการจดจา เป็นคาท่ีสะกดง่าย ไม่ตั้งช่ือร้านซ้ากับร้านอ่ืน การตง้ั ชื่อควรคานงึ ถงึ การขยายกิจการในอนาคต และใชช้ ่อื ท่งี า่ ยต่อการสร้างโลโก้ร้าน 2. วทิ ยากรยกตวั อยา่ งการตั้งชื่อร้านที่น่าสนใจ ใช้คาง่าย สะกดงา่ ย ความหมายดี เชน่ ลูกช้นิ หมูฮอ่ งเต้ 3. ผเู้ ขา้ อบรมทาการจดบันทึก และทดลองต้งั ช่ือร้านทีเ่ หมาะสมกับสนิ คา้ และบริการ 4. ผู้เข้าอบรมนาเสนอชือ่ ร้านค้าออนไลน์ พรอ้ มทั้งแสดงข้อคดิ เหน็ หลกั การและเหตุผลในการตัง้ ช่ือรา้ น 5. วิทยากรสรุปภาพรวมการดาเนินการ ผลลัพธก์ จิ กรรม ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับหลักการต้ังชื่อร้านค้าออนไลน์ที่ถูกต้อง และสามารถ ต้ังช่อื รา้ นค้าออนไลน์ทีเ่ หมาะสมกบั สินค้าหรือบรกิ ารได้ สำนกั งำนคณะกรรมกำรดจิ ทิ ัลเพอื่ เศรษฐกจิ และสังคมแห่งชำติ (สดช.) 61

Village E-Commerce สง่ เสริมผลติ ภณั ฑ์/บรกิ าร ในชุมชนด้วยเศรษฐกจิ ดิจทิ ัล 62 สำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจทิ ลั เพื่อเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชำติ (สดช.)

คู่มือสำหรบั วทิ ยำกร E-Commerce ชุมชน โครงการศนู ยด์ ิจทิ ัลชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce ขัน้ ตอนท่ี 3 สง่ เสรมิ กำรขำย (Online Marketing)  กำรตลำดดิจทิ ลั การตลาดดิจิทัล (Digital Marketing) คือการนาเสนอสินค้าหรือบริการผ่านช่องทางอุปกรณ์ อิเล็กทรอนิกส์ ผ่านคอมพิวเตอร์ หรือ สมาร์ทโฟน โดยใช้ช่องทางการตลาดดิจิทัล (Digital marketing channel) เช่น เครือข่ายสังคมออนไลน์ จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น เพ่ือเป็นช่องทางในการส่งข้อมูล เม่ือข้อมูลถูกส่งไปแล้ว ผู้ประกอบการชุมชนสามารถรู้ผลตอบรับได้อย่างรวดเร็ว โดยผู้รับข้อความสามารถ เข้าถึงข้อความได้จากทุกที่ทุกเวลาท่ีต้องการ โดยประเทศไทยมีการขับเคลื่อนทางด้านอีคอมเมิร์ช โซเชียลคอมเมิร์ช และออนไลน์โปรโมช่ัน ตลอดจนการทาส่วนลดจากผู้ใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Discount) โปรโมชั่นพิเศษวันเดียว (One-day Deal) การซ้ือผ่านระบบไซเบอร์ (Cyber Deal) บน Facebook ของแบรนด์ต่าง ๆ นิยามของคาว่า “โซเชียล” ขยายขอบเขตจากเดิมจาก “สถานที่” ท่ีเป็นชุมชนออนไลน์ กลายเป็น “เพื่อนและกลุ่มเพื่อน” โดยการตลาดดิจิทัลจะใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ เพ่ือใช้ในการโฆษณา ส่ือสารเป็นกลุ่มหรือเฉพาะบุคคล โดยเครือข่ายสังคมออนไลน์ต่างๆ มีการสร้างเคร่ืองมือทางการตลาดดิจิทัล ไว้รองรับเป็นจานวนมาก อาทิ เฟซบุ๊ก (Facebook) มีการจัดตั้งเพจ (Pages) เพื่อโฆษณาสินค้าพร้อม การบูทโพสต์ (Boost Post) เพ่ือให้ผู้ใช้งานเครือข่ายสังคมออนไลน์ สามารถเห็นโฆษณาของร้านค้า ท่ีทาการประกาศขายมากยิง่ ข้ึน ตรงกลุ่มเป้าหมายยงิ่ ข้นึ สำนกั งำนคณะกรรมกำรดจิ ทิ ัลเพื่อเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชำติ (สดช.) 63

Village E-Commerce ส่งเสรมิ ผลติ ภณั ฑ/์ บรกิ าร ในชุมชนด้วยเศรษฐกิจดิจิทัล  กำรวิเครำะห์กลมุ่ ลูกค้ำ การวิเคราะห์กลุ่มลูกค้า จะต้องเข้าใจพฤติกรรมของผู้บริโภคสินค้า โดยปัจจุบัน ทุกเพศ ทุกช่วงอายมุ ีการใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทลั การเขา้ ถงึ อินเทอร์เน็ตเป็นเร่ืองท่ีงา่ ย ซง่ึ ในกลุ่มเป้าหมายน้ีสามารถเข้าถึง โฆษณาท่ีผู้ประกอบการชุมชนทาการตลาดดิจิทัลได้ ดังนั้น ผู้ประกอบการจะต้องเข้าใจ คนกลุ่มต่างๆในสังคม เพอ่ื สามารถปรบั รปู แบบทางการตลาดใหเ้ หมาะสมกับกลมุ่ เป้าหมายของผลติ ภัณฑ/์ บริการ ปัจจบุ นั ในมมุ มองด้านการตลาด ผ้ปู ระกอบธุรกิจ แบ่งผ้บู ริโภคตามชว่ งอายุ เป็น 4 กลุ่ม คือ กลมุ่ Silent Generation กลุม่ Baby Boomer อายุ 65-73 ปี อายุ 46-64 ปี กล่มุ ทมี่ ีกาลงั ซ้ือ กลมุ่ ผู้สงู อายุ สนใจสนิ คา้ บารงุ รา่ งกาย กลุม่ Gen-X กลุ่ม Gen-Y (Millennials) อายุ 34-45 ปี อายุ 18-33 ปี กลุ่มทม่ี ีกาลังซ้ือสูง จากรายไดใ้ นการป ิบตั งิ าน กลมุ่ ทก่ี าลงั ศกึ ษาและป บิ ัติงาน 64 สำนกั งำนคณะกรรมกำรดจิ ทิ ลั เพอื่ เศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชำติ (สดช.)

คมู่ อื สำหรับวิทยำกร E-Commerce ชมุ ชน โครงการศูนยด์ ิจทิ ลั ชุมชน กจิ กรรม : Village E-Commerce  เครอ่ื งมือกำรทำตลำดออนไลน์ แบบขั้นตน้ (ไม่มคี ่ำใชจ้ ำ่ ย) เครือ่ งมือการทาการตลาดดจิ ิทัลขนั้ ต้น แบบไม่มีค่าใชจ้ ่าย เหมาะสมกับผปู้ ระกอบการชุมชน เพอื่ จัดทาช่องทางการตลาดดิจทิ ัลให้รองรบั กับกลุ่มเปา้ หมายของสนิ ค้า โดยผปู้ ระกอบการจะต้องมีบัญชีอีเมล์ และบัญชีเครือข่ายสังคมออนไลน์ ซ่ึงสามารถเปิดช่องทางในการประชาสัมพันธ์ได้ด้วยการทาการตลาดและ ประชาสัมพันธ์แบบขั้นต้น แบบไม่มีค่าใช้จ่ายท่ีมีความนิยม คือ การเปิดเพจร้านค้าบนเฟซบุ๊ก และการเปิดบัญชีไลน์แอด โดยระบบทั้งสองจะมีคุณสมบัติในการนาเสนอสินค้า และการพูดคุยโต้ตอบ รวมท้ังการทาโปรโมช่ันสินค้า ผู้ประกอบการชุมชนสามารถพิจารณาเคร่ืองมือแต่ละตัวตามคุณสมบัติ ดังตอ่ ไปนี้ เฟซบุ๊กเพจ (Facebook Fanpage) เป็นเคร่ืองมือในการทาการตลาด เพื่อสร้างการรับรู้ การมีตัวตนของร้านค้า โดยผู้ประกอบการชุมชนสามารถสร้างเร่ืองราว (Story) ของร้านค้าเพื่อบอกเล่า ให้ผู้ที่เข้ามาได้รับทราบเรื่องราวของร้านค้าและสินค้าที่ผู้ประกอบการชุมชนกาลังจาหน่าย การเปิดใช้ เฟซบุ๊กเพจ ไม่มีค่าใช้จ่ายในการดาเนินการ แต่ถ้าหากต้องการจะประชาสัมพันธ์ให้ผู้ใช้งานเฟซบุ๊ก ได้เห็นร้านค้าหรือเห็นโปรโมชั่นร้านค้า จะมีค่าใช้จ่ายในการดาเนินการ ซึ่งจะเป็นเคร่ืองมือการทาการตลาด ดิจิทลั แบบขนั้ สงู (มคี ่าใชจ้ า่ ย) โดยสามารถดวู ิธกี ารทาไดใ้ นหวั ขอ้ ตอ่ ไป สำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจทิ ัลเพ่ือเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชำติ (สดช.) 65

Village E-Commerce สง่ เสริมผลติ ภัณฑ/์ บริการ ในชุมชนดว้ ยเศรษฐกิจดจิ ทิ ลั จากสถติ ิผู้ใช้งานเฟซบุ๊กในประเทศไทย ปี 2560 พบวา่ มจี านวนผ้ใู ชท้ งั้ สน้ิ 46 ลา้ นบญั ชี โดยจาแนก ตามกลุ่มอายเุ ป็นอัตราส่วนดังตอ่ ไปนี้ กลุม่ Gen-Y กลุ่ม Gen-X กล่มุ Baby กลุ่ม Silent Generation (Millennials) Boomer ร้อยละ 8 รอ้ ยละ 6 รอ้ ยละ 1 ร้อยละ 29 7.28 ลา้ นบัญชี 5.2 ลา้ นบัญชี 1.05 ลา้ นบัญชี 28.5 ลา้ นบัญชี หากกลุ่มเป้าหมายของผู้ประกอบการเป็นหนึ่งในผู้ใช้งานเฟซบุ๊ก ในข้ันตอนการทาการตลาด ถือว่า มีฐานลูกค้าท่ีตรงเป้าหมายเป็นจานวนมาก ตัวอย่างเช่น คุณยายอนงค์ ขายมะม่วงแช่อ่ิม เป็นสินค้าสาหรับ บริโภค โดยไม่จากัดอายุ คนส่วนใหญ่จะเป็นวัยรุ่น วัยทางาน ซึ่ง จะครอบคลุมกลุ่ม Gen Y, Gen X และ กลมุ่ Baby Boomer ซ่ึงมีจานวนมากถึง 40.98 ล้านบญั ชี ดงั นั้น เฟซบุก๊ เพจ จึงเปน็ เครอ่ื งมือทีม่ ีประสทิ ธิภาพ ในการประชาสัมพันธใ์ หล้ ูกค้าที่ใชง้ านเฟซบุ๊ก 66 สำนักงำนคณะกรรมกำรดจิ ิทัลเพอ่ื เศรษฐกจิ และสังคมแห่งชำติ (สดช.)

คมู่ อื สำหรับวทิ ยำกร E-Commerce ชุมชน โครงการศนู ย์ดจิ ทิ ลั ชุมชน กจิ กรรม : Village E-Commerce ไลน์แอด (Line@) เป็นบัญชีทางการรูปแบบใหม่ (Official Account) สาหรับการเปิดเป็น ช่องทางสาหรับการติดต่อกับลูกค้า ที่ตอบสนองผู้ประกอบการรายย่อย เพื่อใช้เป็นช่องทางหลักท่ีมีคุณสมบัติ การติดตามได้ไม่จากัด มีผู้ดูแลได้มากถึง 100 คน มีฟังก์ช่ันการกระจายข้อความ และการโต้ตอบอัตโนมัติ และระบบอื่นๆท่ีรองรับ โดยสามารถดาวน์โหลดและติดตั้งบนโทรศัพท์ได้ โดยค้นหาคาว่า Line@ จาก Google Play Store และ AppStore โดยใช้บัญชีอเี มล์เป็นข้อมูลสาหรับการสมคั รใช้งาน สำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจทิ ลั เพื่อเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชำติ (สดช.) 67

Village E-Commerce สง่ เสริมผลิตภัณฑ์/บริการ ในชุมชนด้วยเศรษฐกจิ ดจิ ิทัล แบบข้นั สูง (มคี ำ่ ใชจ้ ่ำย) เคร่ืองมือการทาการตลาดดิจิทัลขั้นสูง แบบมีค่าใช้จ่าย เหมาะสมกับผู้ประกอบการชุมชน ที่มีศักยภาพต้องการสร้างรายได้และการแข่งขันทางการตลาด เพ่ือทาการส่งเสริมช่องทางการตลาดดิจิทัล ให้กลุ่มเป้าหมายของสินค้า ได้รับรู้และเห็นร้านค้าและสินค้า โดยใช้เครื่องมือในการประชาสัมพันธ์ในการนาเสนอ ข้อมูลให้กับกล่มุ เป้าหมาย ด้วยเทคนิคการทาการตลาด วิธีต่างๆ โดยมีค่าใช้จ่ายตามเป้าหมายที่ต้องการให้รบั ทราบ เนื้อหา โดยมีการนิยมใช้งานท้ัง เฟซบุ๊ก และการเปิ ดบัญชีไลน์แอด โดยระบบทั้งสองจะมีคุณสมบัติ ในการนาเสนอสินค้า และการพูดคุยโต้ตอบ รวมท้ังการทาโปรโมชั่นสินค้า โดยเคร่ืองมือแต่ละตัวมีคุณสมบัติพิเศษ ดังต่อไปน้ี เฟซบกุ๊ เพจ (Facebook Fanpage) 68 สำนกั งำนคณะกรรมกำรดจิ ิทลั เพื่อเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชำติ (สดช.)

คู่มอื สำหรบั วิทยำกร E-Commerce ชุมชน โครงการศูนยด์ จิ ิทัลชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerce เฟซบุ๊กเพจ มีคุณสมบัติทางการตลาดดิจิทัล โดยมีความสามารถจัดทาการโปรโมทเพจ และโปรโมทโพสต์ท่ีตนเองสร้างข้ึนบนเฟซบุ๊ก ให้กลุ่มเป้าหมายท่ีใช้งานเฟซบุ๊กเห็นได้ โดยสามารถกาหนด กลุ่มเป้าหมายให้สอดคล้องกับสินค้าได้ เพื่อให้การประชาสัมพันธ์มีประสิทธิภาพสูงสุด จะมีการคานวณ ค่าใช้จ่ายและประมาณการผู้ท่ีจะเห็นข้อมูลข่าวสาร โดยผู้ประกอบการชุมชนจะต้องระบุและตั้งค่า กลุ่มเปา้ หมายของตนเองให้สอดคลอ้ งกับสนิ คา้ หรือบริการท่ีจาหน่าย ดงั ภาพ ตัวอย่างการตั้งค่าการทาการตลาดดิจิทัลบนเฟซบุ๊กเพจ ของคุณยายอนงค์ผลไม้ดอง โดยดาเนินการการต้ังค่ากลุ่มเป้าหมายสาหรับการประชาสัมพันธ์ร้านค้า ตามกลุ่มเป้าหมายของสินค้า คือ ผลไม้ดอง เป็นสินค้าสาหรับบริโภค โดยมีกลุ่มเป้าหมาย ช่วงอายุ 18-50 ปี ที่อยู่ในประเทศไทย โดยให้ความสนใจ การหมักดอง ของทานเล่น มะม่วง ผลไม้ ความเปรี้ยว โดยจากการประเมินกลุ่มเป้าหมาย ที่สามารถเป็นไปได้มากถึง 4,500,000 คน โดยการประชาสัมพันธ์สามารถตั้งงบประมาณต่อวัน เช่น 169 บาทต่อวัน จะมีโอกาสการกดถูกใจ 14-54 คนต่อวัน ซึ่งจะมีผู้ที่เห็นโฆษณาเป็นจานวนมาก โดยการชาระเงินจะตอ้ งชาระเงนิ ผา่ นบตั รเครดติ และลงทะเบียนการชาระเงนิ ผ่านระบบของเฟซบ๊กุ เพจ สำนักงำนคณะกรรมกำรดจิ ิทลั เพ่ือเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชำติ (สดช.) 69

Village E-Commerce สง่ เสริมผลิตภัณฑ/์ บริการ ในชุมชนดว้ ยเศรษฐกิจดิจทิ ลั ไลน์แอด (Line@) ไลน์แอด สาหรับผู้ประกอบการชุมชนนั้น หากใช้ฟังก์ชั่นที่ไม่เสียค่าใช้จ่ายแล้วต้องการประกาศ ให้ผู้ติดตามทราบโปรโมชัน่ มากยิ่งขึ้น กว่า 1,000 ข้อความต่อเดือน หรือ 4 โพสบน Timeline จะมีค่าใช้จ่าย ในการใช้บริการไลน์แอด โดยผู้ประกอบการชุมชนสามารถเลือกใช้บริการได้ตามกลุ่มเป้าหมาย โดยชาระ เป็นค่าบริการรายเดือนสามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบการใช้บริการได้ โดยคุณสมบัติของการกระจายข้อความ (Broadcast) ให้ผ้ตู ดิ ตามทกุ คนรับทราบนนั้ จะชว่ ยสร้างการรบั รโู้ ปรโมช่นั ให้กบั ลูกคา้ ได้ ดังน้ัน ผู้ประกอบการชุมชนจะต้องเลือกใช้บริการที่สอดคล้องกับการทาการตลาดดิจิทัลของร้านค้า ซึง่ จะส่งผลให้การทาการตลาดดจิ ทิ ัลประสบผลสาเร็จโดยไม่ใชเ้ งินในการทาการตลาดมากเกนิ ไป 70 สำนกั งำนคณะกรรมกำรดจิ ทิ ัลเพ่อื เศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชำติ (สดช.)

คูม่ อื สำหรับวทิ ยำกร E-Commerce ชุมชน โครงการศนู ย์ดิจทิ ลั ชมุ ชน กจิ กรรม : Village E-Commerce  หลกั และเทคนคิ กำรถ่ำยทอดควำมรู้ ด้วยเนื้อหาในขั้นตอนท่ี 3 การส่งเสริมการขาย (Online Marketing) เป็นการกล่าวถึงการวิเคราะห์ กลุ่มลูกค้าเป้าหมายเพ่ือให้สามารถจาหน่ายสินค้าและทาการส่งเสริมการขายได้ตรงตามกลุ่มลูกค้า รวมถึง เครื่องมือการทาตลาดออนไลน์ ซึ่งเป็นเครื่องมือที่ทาให้สามารถเปิดช่องทางในการทาประชาสัมพันธ์เก่ียวกับ สินค้า สร้างการรับรู้ให้กับผู้บริโภค และสามารถพูดคุยโต้ตอบให้ข้อมูลต่างๆรวมถึงการจัดทาโปรโมชั่นต่างๆ ได้อีกด้วย โดยประกอบด้วยกิจกรรมเชิงป ิบตั ิการ กลุ่มลูกค้าสาคัญอย่างไร? ส่งเสริมการขายด้วยเฟซบุ๊กเพจ และโฆษณาอย่างไร? ให้โดนใจลกู คา้ กจิ กรรมเชิงปฏบิ ัตกิ ำร “กลุ่มลูกค้ำสำคญั อยำ่ งไร?” วัตถุประสงค์ของกิจกรรม เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิเคราะห์กลุ่มลูกค้าเป้าหมาย และสามารถ จาหน่ายสินค้าและทาการส่งเสริมการขายได้ตรงตามกลุ่มลูกค้า สามารถกาหนดสื่อประชาสัมพันธ์ และคดิ สร้างกิจกรรมการสื่อสารรูปแบบต่างๆ ได้อย่างเหมาะสมตรงกบั ความสนใจของกลมุ่ เปา้ หมาย สิ่งทต่ี ้องเตรยี มกำร 1. แจ้งผเู้ ข้ารว่ มการอบรมจะต้องนาสินคา้ ของตนเอง อย่างน้อยผปู้ ระกอบการละ 1 ชนิ้ 2. กระดาษ A4, ปากกา วิธกี ำรดำเนินกิจกรรม 1. วิทยากรให้ความรู้เก่ียวกับลูกค้าทั้ง 4 กลุ่ม อันได้แก่ (1) กลุ่มผู้สูงอายุท่ีสนใจสินค้าบารุงร่างกาย เป็นกลุ่มผ้บู รโิ ภคท่ีมีอายุ 65-73 ปี (2) กลุ่มที่มีกาลังซื้อเป็นกลุ่มผู้บริโภคท่ีมีอายุ 46-64 ปี (3) กลุม่ ท่ี มีกาลังซื้อสูงจากรายได้ในการป ิบัติงาน เป็นกลุ่มผู้บริโภคที่มีอายุ 34-45 ปี และ (4) กลุ่มใกล้จบ การศกึ ษาและทางาน เปน็ กลุม่ ผบู้ ริโภคที่มอี ายปุ ระมาณ 18-33 ปี 2. วิทยากรยกตัวอยา่ งการวเิ คราะห์สนิ ค้าท่ีเหมาะสมกบั กล่มุ เป้าหมาย 3. ผู้เข้าอบรมทาการจดบนั ทึก และวิเคราะห์กลุม่ เป้าหมายของสินคา้ ท่ีผู้ประการชุมชนผลติ และตอ้ งการ จาหน่ายวา่ อยู่ในกลุม่ เปา้ หมายใดบ้าง 4. ผ้เู ขา้ อบรมนาเสนอกลุ่มเป้าหมายท่ีได้จากการวิเคราะห์ พร้อมแสดงความคดิ เห็น 5. วทิ ยากรสรุปภาพรวมการดาเนินการ สำนักงำนคณะกรรมกำรดิจิทัลเพือ่ เศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชำติ (สดช.) 71

Village E-Commerce ส่งเสริมผลติ ภัณฑ/์ บริการ ในชมุ ชนด้วยเศรษฐกิจดิจิทลั ผลลัพธ์กิจกรรม 1. ผเู้ ขา้ ร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจเก่ยี วกบั การวเิ คราะห์กลุ่มลกู คา้ เปา้ หมายท่ตี ้องการจาหนา่ ยสินค้า ทผี่ ลิตให้ 2. สามารถเข้าถงึ กลมุ่ ลูกคา้ เป้าหมายอยา่ งตรงกลุ่มด้วยหลักประหยัดและเกิดประโยชนส์ ูงสุด กิจกรรมเชงิ ปฏิบตั กิ ำร “สง่ เสรมิ กำรขำยดว้ ยเฟซบกุ๊ เพจ” วัตถปุ ระสงคข์ องกิจกรรม เพ่ือให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการการส่งเสริมการขายโดยใช้เครื่องมือ การทาตลาดออนไลน์ และสามารถสร้างเฟซบุ๊กเพจซ่ึงเป็นเครื่องมือท่ีทาให้สามารถเปิดช่องทาง ในการทาประชาสัมพันธ์เก่ียวกับสินค้า สร้างการรับรู้ให้กับผู้บริโภค และสามารถพูดคุยโต้ตอบให้ข้อมูลต่างๆ รวมถึงการจัดทาโปรโมชั่นของร้านค้า สิ่งที่ตอ้ งเตรยี มกำร 1. เครือ่ งคอมพวิ เตอร์ทสี่ ามารถเช่ือมตอ่ อนิ เทอรเ์ นต็ พรอ้ มใช้ 2. บญั ชอี ีเมล์ท่ีผู้เขา้ ร่วมอบรมไดร้ บั จากการทากจิ กรรมในขั้นตอนที่ 2 วิธีกำรดำเนินกิจกรรม 1. วิทยากรนาผู้เข้าอบรมโดยการเริ่มนาเข้าไปที่ https://www.facebook.com/pages/create จะพบหนา้ ลักษณะนที้ ่ี Facebook โดยหลกั ๆแล้วจะมีชนิดของเพจใหเ้ ลือก 6 ชนิด คือ 1.1 ธรุ กจิ หรือสถานท่ีท้องถนิ่ 1.2 บริษทั องค์กร หรอื สถาบัน 1.3 แบรนดห์ รือสินค้า 1.4 ศลิ ปนิ วง หรือบคุ คลสาธารณะ 1.5 บันเทงิ 1.6 การกุศลหรอื ชมุ ชน 72 สำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ (สดช.)

คู่มือสำหรบั วิทยำกร E-Commerce ชุมชน โครงการศูนยด์ จิ ิทัลชมุ ชน กิจกรรม : Village E-Commerce 2. วิทยากรแนะนาผูเ้ ข้าอบรมเลือกชนิดของเพจท่ีตรงตามรูปแบบของสนิ ค้า หรือบรกิ ารของผู้เข้ารว่ มอบรม โดยในตัวอย่ างจะก าหนดเป็ น BentoWeb Page Test จากนั้นทาการกรอกข้ อมู ลให้ ครบ ทุกช่อง จนถงึ ขัน้ ตอนสดุ ท้าย ให้เลือก “ฉนั ยอมรับเงอ่ื นไขหน้า Facebook” และจากนั้นกดทป่ี ุ่ม “เริม่ ” 3. วทิ ยากรนาผเู้ ข้าอบรมทาการเพมิ่ ข้อมูลต่างๆให้กบั หน้าเพจ โดยเร่มิ จาก 3.1 ในช่องของหมวดหมู่ ให้ใส่ประเภทของธุรกิจ (ตัวอย่างจะเป็นผู้ให้บริการทางอินเทอร์เน็ต โดยในส่วนน้ี ใหท้ ดลองใสป่ ระเภท ทางระบบจะแสดงตวั เลือกขนึ้ มาให้ เพราะขอ้ มลู ในส่วนนีจ้ ะไม่สามารถตั้งเองได)้ 3.2 ส่วนในช่อง “เพมิ่ คาอธบิ ายด้วยขอ้ มลู เบ้อื งต้นสาหรบั BentoWeb Page Test” ให้ใส่เป็น รายละเอยี ด สาหรับเพจเชน่ “BentoWeb” คือ ระบบร้านคา้ สาเร็จรูป.....” (จาเปน็ ตอ้ งใส่รายละเอยี ด) สำนักงำนคณะกรรมกำรดิจทิ ลั เพื่อเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชำติ (สดช.) 73

Village E-Commerce สง่ เสรมิ ผลติ ภณั ฑ/์ บรกิ าร ในชมุ ชนด้วยเศรษฐกจิ ดิจทิ ัล 3.3 ถัดมาจะเป็นช่องให้ใส่ “เว็บไซต์ของคุณ” (หากไม่มีสามารถเว้นช่องน้ีไปได้) ในท่ีน้ีจะใส่เป็น https://www.BentoWeb.com 3.4 จากตัวอย่าง Bentoweb Page Test เป็นการก่อตั้งธุรกิจ หรือสถานท่ีจัดงานที่มีอยู่จริงให้เลือก ใช่, ไมม่ ีอยู่จริงให้เลือกไม่ 3.5 จากตัวอย่าง Bentoweb Page Test จะเป็นตัวแทนอย่างเป็นทางการท่ีได้รับอนุญาตของ การก่อตั้งธรุ กจิ หรอื สถานท่จี ดั งานนบี้ น Facebook หรอื ไม่ 4. วิทยากรนาผู้เข้าอบรมทาการเพ่ิมรูปภาพประจาตัว (รูป Profile) โดยสามารถอัพโหลดรูป จากในคอมพิวเตอร์ ให้เลือกไปท่ี “อัพโหลดจากคอมพิวเตอร์” เมื่อทาการเลือกรูปเสร็จเรียบร้อยให้ กดทป่ี มุ่ “ถดั ไป” 74 สำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจิทัลเพ่ือเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชำติ (สดช.)

คมู่ ือสำหรับวิทยำกร E-Commerce ชุมชน โครงการศนู ย์ดิจิทัลชมุ ชน กิจกรรม : Village E-Commerce 5. วิทยากรนาผ้เู ขา้ อบรมทาการเพิม่ ในรายการโปรด ส่วนน้ีจะเป็นข้นั ตอนทีท่ างระบบจะถามเราว่า “ต้องการเพิ่มหน้าเพจนล้ี งในรายการโปรดหรอื ไม่” หากไม่ต้องการเพิ่ม สามารถกดขา้ มไปไดเ้ ลย สำนกั งำนคณะกรรมกำรดจิ ิทัลเพื่อเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชำติ (สดช.) 75

Village E-Commerce สง่ เสรมิ ผลิตภัณฑ์/บริการ ในชุมชนดว้ ยเศรษฐกิจดจิ ิทัล 6. วิทยากรนาผู้เข้าอบรมทาการ “เข้าถึงผู้คนเพ่ิมเติม” ส่วนนี้จะเป็นขั้นตอนการทาโฆษณา ให้กับหน้า Facebook Page เป็นการโปรโมทหน้าเพจให้มีผู้ใช้พบเห็นมากข้ึน และสามารถช่วยเพ่ิม จานวน Like ให้กับทางเพจได้แน่นอน แต่ก็จาเป็นต้องเสียค่าใช้จ่ายในการโปรโมท ซึ่งในส่วนของ ค่าใชจ้ า่ ยนนั้ จะเป็นไปตามข้อกาหนดของทาง Facebook หากไม่ต้องการใช้บริการในส่วนนีส้ ามารถ กดท่ีปุ่ม “ข้าม” 7. ผเู้ ขา้ อบรมแสดงหน้าเพจทไี่ ด้จดั ต้ังขึ้นและเสนอแนะโปรโมช่นั ที่ต้องการจดั ใหก้ ับรา้ นค้าของตนเอง 8. วิทยากรสรปุ ภาพรวมการดาเนนิ การ 76 สำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชำติ (สดช.)

คมู่ ือสำหรับวทิ ยำกร E-Commerce ชุมชน โครงการศนู ยด์ ิจทิ ัลชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerce ผลลพั ธก์ จิ กรรม ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถสร้างเฟซบุ๊กเพจ ซ่ึงเป็นเครื่องมือท่ีทาให้สามารถเปิดช่องทาง ในการทาประชาสัมพันธ์เก่ียวกับสินค้า สร้างการรับรู้ให้กับผู้บริโภค และสามารถพูดคุยโต้ตอบให้ข้อมูลต่างๆ รวมถึงการจดั ทาโปรโมชน่ั ของร้านคา้ ได้ กิจกรรมเชิงปฏิบัติกำร “โฆษณำอยำ่ งไร? ใหโ้ ดนใจลูกค้ำ” วัตถปุ ระสงค์ของกิจกรรม เพื่อให้ผเู้ ขา้ รว่ มอบรมสามารถพจิ ารณาเลอื กรปู แบบการโฆษณาทเ่ี หมาะสมกับสินค้าของตนเอง สิง่ ท่ีต้องเตรยี ม 1.กระดาษขนาดใหญ่ 2.ปากกาสี 3.นติ ยสารเกา่ ท่ีมรี ูปภาพ 30 เลม่ 4.กาว 5.กรรไกร 6.ตัวอย่างสินคา้ ชุมชน 10-15 ชนดิ วธิ ีกำรดำเนินกิจกรรม 1.วิทยากรแนะนาชอ่ื กจิ กรรมและบรรยายถึงวัตถปุ ระสงค์ของกจิ กรรม 2.วิทยากรแจ้งใหผ้ ูป้ ระกอบการแบง่ กลุ่มผเู้ ข้าร่วมอบรมกลุ่มละ 7-10 คน 3.วทิ ยากรชแ้ี จงผู้เข้ารว่ มอบรม ให้จับฉลาก แบง่ ตัวอย่างสนิ คา้ ว่ากลุม่ ไหนได้ตวั อย่างสนิ ค้าชนดิ ใด 4.จากน้ันวิทยากรช้ีแจงให้ผู้เข้าร่วมอบรมวิเคราะห์สินค้าของตนเองเป็นเวลา 15 นาที โดยให้วิทยากร ตั้งคาถามว่า “จงพิจารณาในกลุ่ม ถึงรูปแบบการโฆษณาสินค้าที่เหมาะสมกับตัวอย่างสินค้าที่ตนเอง ได้รับ พรอ้ มแสดงเหตุผล” 5.ให้เขียนคาตอบพร้อมเหตุผลของแต่ละกลุ่ม โดยช่วยกันเขียนลงกระดาษ พร้อมตกแต่งด้วยรูปภาพ จากนติ ยสารให้สอดคลอ้ งกบั เหตุผลที่กลุ่มตนเองเลอื ก 6.หลงั จากใหเ้ วลาผู้เข้ารว่ มอบรมครบ 15 นาที ใหว้ ิทยากรกล่าวเชิญตัวแทนของแต่ละกลุ่มข้ึนมานาเสนอ ภาพของตนเอง สำนักงำนคณะกรรมกำรดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกิจและสงั คมแห่งชำติ (สดช.) 77

Village E-Commerce สง่ เสริมผลิตภณั ฑ์/บริการ ในชมุ ชนด้วยเศรษฐกิจดจิ ิทัล 7.หลังจากฟังการนาเสนอครบทุกกลุ่มแล้ว หากผู้เข้าร่วมอบรมกลุ่มใด แสดงความคิดเห็นที่ถูกต้อง ให้กล่าวชน่ื ชม หากใครวเิ คราะหม์ าแลว้ ผิดจากหลกั การโฆษณาสนิ คา้ ใหว้ ทิ ยากรแกไ้ ขให้ถูกต้อง 8.วทิ ยากรสรุปภาพรวมการดาเนินการ ผลลัพธก์ จิ กรรม 1.เพื่อใหผ้ ู้ประกอบการสามารถพิจารณาเลอื กรปู แบบการโฆษณาท่ีเหมาะสาหรับลกั ษณะสินค้าและบรกิ ารได้ 2.เพ่ือฝึกให้ผู้เข้าอบรมคิดวิเคราะห์ และรับฟังความคิดเห็นถึงข้อดีข้อเสียของรูปแบบการโฆษณาสินค้า จากผู้อบรมทา่ นอ่ืน 78 สำนักงำนคณะกรรมกำรดิจทิ ลั เพือ่ เศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชำติ (สดช.)

คมู่ อื สำหรับวิทยำกร E-Commerce ชมุ ชน โครงการศนู ย์ดิจทิ ลั ชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerce สำนักงำนคณะกรรมกำรดจิ ทิ ลั เพ่ือเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชำติ (สดช.) 79

Village E-Commerce ส่งเสรมิ ผลติ ภัณฑ์/บริการ ในชมุ ชนดว้ ยเศรษฐกิจดิจิทัล ขัน้ ตอนท่ี 4 บริหำรกำรขำย (Shop Management)  กำรจัดเตรียมสินค้ำ สาหรับผู้ประกอบการชุมชน การจัดเตรียมสินค้าเพื่อรองรับการส่ังซื้อของผู้บริโภคนั้น มีความจาเป็นอย่างยิ่ง เพื่อให้เกิดความรวดเร็ว และพร้อมที่จะจัดส่งสินค้าให้ลูกค้าได้โดยไว ดังน้ัน จะต้องจัดเตรียมสินค้าให้พร้อม โดยจะต้องประเมินความต้องการของลูกค้า และการจัดเตรียมสินค้า ไว้อย่างเหมาะสม เช่น คุณยายอนงค์ขายมะม่วงแช่อิ่มใส่ขวดโหล มีผู้ซ้ือสินค้าวันละ 15-20 ขวด แต่คุณยายอนงค์ผลิตได้วันละ 10 ขวด คุณยายควรจะเพิ่มกาลังการผลิตต่อวันให้มีปริมาณมากย่ิงข้ึน เพื่อรองรับความต้องการ โดยมีการผลิตและเก็บไวล้ ่วงหน้า ดังนั้น ควรประเมินปริมาณสนิ ค้าท่ีพร้อมจาหน่าย ไว้ลว่ งหน้า เพอ่ื ใหร้ องรับกับลูกค้าได้ โดยเป็นไปตามหลกั การบรหิ ารจัดการคลังสนิ คา้ (Stock Management) คุณยำยอนงค์ มะมว่ งแชอ่ ่ิม ควรจัดเตรยี มสินค้ำใหเ้ พียงพอตอ่ ควำมต้องกำรของผู้บรโิ ภคเสมอ 80 สำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจทิ ัลเพอื่ เศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชำติ (สดช.)

คมู่ ือสำหรบั วทิ ยำกร E-Commerce ชุมชน โครงการศนู ยด์ จิ ทิ ัลชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerce  กำรตรวจสอบรำยกำรคำสง่ั ซือ้ การดูแลร้านค้าออนไลน์ เหมือนการดูแลธุรกิจให้ประสบความสาเร็จ หากร้านค้าออนไลน์ ไม่มีสินค้าใหม่ ไม่มีการปรับปรุงโปรโมช่ัน ไม่มีการตรวจสอบรายการคาส่ังซ้ือ ก็จะทาให้ร้านค้าออนไลน์ ขาดการเคลื่อนไหวไม่มีการอัพเดทข้อมูลใหม่ๆ ไม่มีการสื่อสารกับผเู้ ข้าชม ทาให้เป็นร้านค้าออนไลน์ที่ไม่มใี คร อยากเข้ามาชม ฉะน้ัน ผู้ดูแลร้านค้าออนไลน์จะต้องมีการจัดการให้ร้านค้ามีสินค้า และบริหารจัดการ คาสั่งซ้ือ โดยต้องมีทักษะในการใช้งานคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ และเข้าใจระบบร้านค้า ออนไลน์ รวมไปถึงเทคนิคทางการตลาด ดังน้ัน หากผู้ประกอบการชุมชนไม่สามารถดาเนินการได้ด้วยตนเอง สามารถให้บุตรหลานของท่านเข้ามาช่วยเหลือ ดูแลร้านค้าออนไลน์ได้ หรือถ้าหากไม่มีผู้บริหารจัดการร้านคา้ ออนไลน์ สามารถติดต่อผู้บริหารศูนย์ดิจิทัลชุมชนใกล้บ้านผู้ประกอบการช่วยเหลือ ทาหน้าท่ีดูแล ความเรียบร้อย อัพเดทข่าวสาร และป ิสัมพันธ์กับผู้เข้าชม จะทาให้ร้านค้าออนไลน์ของผู้ประกอบการชุมชน กลายเปน็ รา้ นคา้ ท่ีติดอันดบั และขายสนิ คา้ ไดด้ ี ระบบกำรแจ้งเตือนรำยกำรส่ังซ้อื สินคำ้ (E-Commerce Platform Notification) กรณตี วั อยา่ งระบบ lnwshop รา้ นค้าจะมรี ะบบบริหารจดั การหลงั ร้าน โดยผจู้ ัดการร้านค้าสามารถบริหาร จัดการข้อมูลร้านค้า ท้ังใบส่ังซื้อ การแจ้งโอน ชาระเงิน ข้อความติดต่อร้านและอ่ืนๆ หากมีการส่ังซื้อสินค้าเกิดขึ้น ระบบจะแสดงจานวนใบส่ังซื้อให้ผู้ประกอบการชุมชนจัดเตรียมสินค้าไว้รองรับ และหากมีการแจ้ง การโอนเงิน ชาระเงิน จะปราก ในช่อง แจ้งโอน ชาระเงิน เพ่ือให้ผู้ประกอบการจัดส่งสินค้าให้ลูกค้า ตามข้อมูลใน ใบสงั่ ซ้ือ สำนกั งำนคณะกรรมกำรดจิ ิทลั เพ่อื เศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชำติ (สดช.) 81

Village E-Commerce ส่งเสริมผลติ ภณั ฑ์/บรกิ าร ในชุมชนดว้ ยเศรษฐกจิ ดิจิทัล กำรรบั คำส่งั ซื้อจำกเครือข่ำยสังคมออนไลน์ (Social Network Chat) การรบั คาสง่ั ซ้ือจากเครือข่ายสงั คมออนไลน์ เชน่ การทาโฆษณาผ่านเฟซบกุ๊ (Facebook) แลว้ มลี กู ค้า สนใจสงั่ ซอื้ สนิ คา้ สามารถดาเนนิ การส่งลิงคส์ าหรับการสง่ั ซื้อสินคา้ หรอื ให้บริการผ่านแชทของเครือขา่ ยสงั คม ออนไลน์ เช่น คณุ ยายอนงคเ์ ปิด Facebook Page : ยายอนงค์ผลไม้ดอง มลี ูกค้าสนใจซื้อโดยส่งั ผา่ นข้อความ ดังน้ัน คุณยายอนงค์จะต้องบริหารจัดการรับรายการสั่งซื้อผ่านทางเครือข่ายสังคมออนไลน์ โดยสามารถใช้โปรแกรมโต้ตอบอัตโนมัติช่วยในการส่ือสารกับลูกค้า หรือใช้คุณสมบัติตัวช่วยการโต้ตอบ ในการส่งการตอบกลับด่วนถึงคนท่ีส่งข้อความหาเพจของคุณยายอนงค์ เพื่อให้คุณยายมารับรายการส่ังสินค้า หรอื ตอบคาถาม เพื่อให้สามารถปดิ การขายได้ 82 สำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจทิ ัลเพอ่ื เศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชำติ (สดช.)

ค่มู อื สำหรับวิทยำกร E-Commerce ชมุ ชน โครงการศูนย์ดจิ ิทลั ชุมชน กจิ กรรม : Village E-Commerce  กำรตรวจสอบกำรชำระเงนิ ขณะท่ีผู้ประกอบการชุมชนบริหารจัดการร้านค้านั้น จะมีคาส่ังซื้อจากลูกค้าเข้ามาผ่านระบบร้านค้า ออนไลน์ ระบบจะแจ้งยอดการชาระเงินให้ผู้ซ้ือ ทาการชาระเงินผ่านช่องทางต่างๆ โดยช่องทางท่ีเป็นทางตรง สาหรับร้านค้าออนไลน์ จะเป็นการโอนเงินเข้าสู่บัญชีของผู้ประกอบการชุมชน ฉะนั้น ผู้ประกอบการชุมชน จะต้องมีการตรวจสอบการชาระเงิน ว่าได้รับเงินจากลูกค้าเป็นที่เรียบร้อยแล้ว จึงดาเนินการจัดส่งต่อไป โดยการตรวจสอบการชาระเงนิ ของลูกค้ามวี ิธหี ลัก ดงั นี้ 1.ปรับรำยกำรสมุดเงินฝำกอัตโนมัติ (Update Passbook) ไม่ต้องสมัครใช้ บริการไม่มีค่าธรรมเนียมในการปรับรายการ โดยผู้ประกอบการจะต้องเดินทางไปธนาคาร เพื่อทาการปรับรายการ หากมีการซื้อขายเป็นจานวนมากๆ อาจไม่สะดวกในการปรับ รายการสมุดเงนิ ฝาก 2. สมัครข้อควำมแจ้งเตือน (SMS Alert) จะต้องสมัครใช้บริการ โดยมีค่าธรรมเนียมในการแจ้งเตือนทั้งแบบรายเดือนและรายปีซึ่งค่าใช้จ่ายข้ึนอยู่ กับการให้บริการของธนาคาร สร้างความสะดวกให้กับผู้ประกอบการ ในการตรวจสอบตามรายการโอนได้ 3. ใช้บริกำรธนำคำรบนมือถือ (Mobile Banking) จะต้องสมัครใช้บริการ และดาวน์โหลดแอปพลิเคชันติดตั้งบนโทรศัพท์มือถือของผู้ประกอบการ โดยจะต้องเสีย ค่าอินเทอร์เน็ตสาหรับโทรศัพท์มือถือเพ่ือใช้งานระบบ โดยสามารถติดตามดูข้อมูล ข้อมูลสรุป รวมท้ังการบริการอื่นๆ เช่น การโอน การเติมเงิน จ่ายบิล พร้อมเพย์ และบรกิ ารอ่นื ๆได้ สำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจทิ ลั เพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ (สดช.) 83

Village E-Commerce สง่ เสรมิ ผลติ ภัณฑ์/บรกิ าร ในชมุ ชนด้วยเศรษฐกิจดจิ ิทัล โดยการบริการตรวจสอบยอดการชาระเงินผ่านธนาคารท่ีแนะนาสาหรับผู้ประกอบการ ชุมชน คอื การใช้งานระบบธนาคารบนโทรศพั ทม์ ือถือ ซง่ึ สะดวก รวดเรว็ ปลอดภัย ดงั ตวั อยา่ งต่อไปน้ี ธนำคำรกรุงไทย ธนาคารกรุงไทย ให้บริการระบบ KTB netbank ผู้ประกอบการสามารถสมัครใช้บริการโดยกรอกข้อมูล และยืนยันตัวตนผ่านแอปพลิเคชัน สามารถทารายการตรวจสอบยอดเงิน โอนเงินและบริการอื่นของธนาคารได้ ลักษณะเดียวกับการใช้งานที่ตู้ ATM สมัครและดาวน์โหลดโปรแกรมได้ท่ี Google Play และ AppStore โดยค้นหา “KTB netbank” ธนำคำรกสิกรไทย ธนาคารกสิกรไทย ให้บริการระบบ K PLUS สามารถตรวจสอบยอดเงิน โอนเงิน ชาระค่าบริการได้ โดยสมคั รใชง้ านและดาวนโ์ หลดโปรแกรมไดท้ ่ี Google Play หรอื AppStore โดยค้นหาคาว่า “K PLUS” 84 สำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ (สดช.)

คมู่ ือสำหรบั วทิ ยำกร E-Commerce ชมุ ชน โครงการศูนย์ดิจทิ ลั ชมุ ชน กิจกรรม : Village E-Commerce ธนำคำรไทยพำณชิ ย์ ธ นาคารไทยพาณิช ย์ ให้บริการระบบ SCB EASY โ ดยสามารถใช้บริการ ตรว จสอบ สรุปยอดเงิน โอนเงิน ชาระเงิน ช่วยให้ผู้ประกอบการประหยัดเวลาและสามารถบริหารเงินได้หลายบัญชี ในแอปพลิเคชันเดียว สามารถดาวน์โหลดโปรแกรมได้ที่ Google Play หรือ AppStore โดยค้นหาคาว่า “SCB Easy” สำนักงำนคณะกรรมกำรดิจิทัลเพือ่ เศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชำติ (สดช.) 85

Village E-Commerce สง่ เสริมผลิตภณั ฑ์/บรกิ าร ในชมุ ชนดว้ ยเศรษฐกิจดิจิทลั  หลกั และเทคนิคกำรถ่ำยทอดควำมรู้ ด้วยเน้ือหาในขั้นตอนที่ 4 บริหารการขาย (Shop Management) เป็นการกล่าวถึงการจัดเตรียม สินค้าเพื่อรองรับความต้องการของลูกค้า เพื่อให้เกิดความรวดเร็วและพร้ อมจัดส่งสินค้าให้ลูกค้าได้ รวมถึงการตรวจสอบรายการคาส่งั ซอ้ื และการตรวจสอบการชาระเงิน โดยประกอบด้วยกจิ กรรมเชิงป บิ ตั ิการ บริหารสินค้าให้เพียงพอต่อความต้องการ และธนาคารบนมอื ถือ กิจกรรมเชงิ ปฏบิ ัติกำร “บรหิ ำรสินคำ้ ใหเ้ พยี งพอตอ่ ควำมต้องกำร” วตั ถุประสงคข์ องกจิ กรรม เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถบริหารและจัดเตรยี มสินคา้ ให้เพยี งพอต่อความต้องการของลกู คา้ เพอื่ ความรวดเร็วในการจัดส่งสนิ คา้ สง่ิ ที่ตอ้ งเตรยี ม 1. กระดาษ A4, ปากกา 2. เครือ่ งคิดคานวณ วธิ กี ำรดำเนินกจิ กรรม 1. วิทยากรให้ความรู้เก่ียวกับการจัดเตรียมสินค้า ความสาคัญของการบริหารสินค้าเพื่อเพียงพอสาหรับ จาหน่าย 2. วทิ ยากรยกตัวอยา่ งการคานวณหาปริมาณสินคา้ ท่ผี ลติ ได้ตอ่ วัน เปรียบเทยี บกบั จานวนคาส่ังซ้ือต่อวัน โดยเฉลยี่ 3. วิทยากรให้ความรู้เกี่ยวกับแนวทางแก้ไขในกรณีที่สินค้าผลิตไม่เพียงพอต่อการจาหน่าย โดยใช้วิธีการ เพิ่มกาลังการผลิตต่อวันให้มีปริมาณมากข้ึน เพื่อรองรับความต้องการโดยมีการผลิตและเก็บไว้ ลว่ งหนา้ 4. ผู้อบรมรับกระดาษเพื่อจดบันทึก และใช้เครื่องคานวณในการคิดคานวณหาจานวนสินค้าท่ีสามารถ ผลิตไดต้ ่อวัน และหาจานวนคาสง่ั ซอ้ื ต่อวนั โดยเฉลยี่ 5. ผู้เข้าอบรมอภิปรายเกี่ยวกับการบริหารและจัดเตรียมสินค้าของตนเองเพ่ือให้เพียงพอต่อการต่อการ จาหนา่ ย 6. วทิ ยากรสรุปภาพรวมการดาเนนิ การ 86 สำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจิทลั เพ่ือเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชำติ (สดช.)

คู่มอื สำหรบั วิทยำกร E-Commerce ชุมชน โครงการศนู ยด์ จิ ิทัลชมุ ชน กิจกรรม : Village E-Commerce ผลลัพธ์กิจกรรม 1. ผเู้ ข้ารว่ มอบรมสามารถบริหารและจัดเตรียมสินค้าได้เพยี งพอต่อความต้องการของลูกค้า 2. ผูเ้ ข้าร่วมอบรมทราบแนวทางการแก้ไขกรณสี นิ คา้ ไม่เพียงพอตอ่ การจาหนา่ ย กิจกรรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ำร “ธนำคำรบนมอื ถือ” วตั ถปุ ระสงค์ของกิจกรรม เ พ่ื อ ใ ห้ ผู้ เ ข้ า ร่ ว ม อ บ ร ม ส า ม า ร ถ ท า ธุ ร ก ร ร ม ก า ร เ งิ น ผ่ า น ร ะ บ บ อ อ น ไ ล น์ บ น โ ท ร ศั พ ท์ มื อ ถื อ ไ ด้ เช่น การโอนเงนิ หรือการเช็คยอดชาระของลูกคา้ ผา่ นระบบออนไลน์ได้อยา่ งสะดวกสบายและประหยัดเวลามากข้นึ ส่ิงทต่ี ้องเตรยี ม ตดิ ตง้ั แอปพลเิ คชนั ของธนาคารบนโทรศัพท์มือถือ วิธีกำรดำเนนิ กจิ กรรม 1.วิทยากรให้ความรู้เรื่องการตรวจสอบและการชาระเงินผ่านระบบออนไลน์ พร้อมท้ังเสนอแนะ ข้อดีหรอื ประโยชนข์ องการทาธรุ กรรมการเงินผา่ นระบบออนไลน์บนโทรศัพทม์ ือถือ 2.วทิ ยากรแนะนาอุปกรณแ์ ละทาการสาธติ การใชง้ าน 3.ผู้เข้าอบรมทาการทดลองใช้งานโดยทาธุรกรรมการเงินผ่านระบบออนไลน์บนโทรศัพท์มือถือ ตามความรู้ทไี่ ดร้ ับจากวิทยากร 4.วิทยากรตรวจดูผู้เข้าร่วมอบรมแตล่ ะคนว่า ทดลองใชง้ านการทาธรุ กรรมทางการเงนิ ผ่านระบบออนไลน์ บนโทรศพั ทม์ อื ถอื ไดห้ รอื ไม่ พรอ้ มให้คาแนะนาชว่ ยเหลือ 5.วิทยากรสรุปภาพรวมการดาเนนิ การ สำนักงำนคณะกรรมกำรดจิ ิทัลเพ่ือเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชำติ (สดช.) 87

Village E-Commerce ส่งเสริมผลิตภณั ฑ์/บรกิ าร ในชุมชนด้วยเศรษฐกจิ ดิจทิ ัล ผลลพั ธก์ จิ กรรม 1.ผเู้ ขา้ ร่วมอบรมสามารถทาธรุ กรรมการเงนิ ผา่ นระบบออนไลน์บนโทรศัพท์มือถือ และสามารถตรวจสอบ ยอดการชาระเงินค่าสนิ คา้ หรือบริการได้ 2. ผู้ เ ข้ า ร่ ว ม อ บ ร ม ไ ด้ ท ด ล อ ง ก า ร ท า ธุ ร ก ร ร ม ท า ง ก า ร เ งิ น ผ่ า น ร ะ บ บ อ อ น ไ ล น์ บ น โ ท ร ศั พ ท์ มื อ ถื อ ได้อย่างถูกตอ้ ง โดยได้รบั คาแนะนาจากวทิ ยากร 88 สำนกั งำนคณะกรรมกำรดิจทิ ลั เพอ่ื เศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ (สดช.)

คมู่ อื สำหรับวิทยำกร E-Commerce ชมุ ชน โครงการศนู ย์ดิจทิ ลั ชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerce สำนักงำนคณะกรรมกำรดจิ ทิ ลั เพ่ือเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชำติ (สดช.) 89

Village E-Commerce ส่งเสรมิ ผลิตภณั ฑ์/บริการ ในชุมชนด้วยเศรษฐกิจดิจทิ ลั ข้นั ตอนที่ 5 กำรบรรจุและจดั สง่ สินค้ำ (Packing & Shipping)  กำรบรรจุสินค้ำ การบรรจุสินค้าท่ีเหมาะสมจะช่วยให้การจัดส่งสินค้าท่ีลูกค้าส่ังซ้ือ ส่งถึงท่ีหมายอย่าง ปลอดภัย ท้ังน้ีผู้ประกอบการชุมชนจะต้องคานึงถึงสิ่งต่อไปน้ี ได้แก่ ประเภทสินค้าท่ีขนส่ง ขนาดของกล่อง บรรจุสินค้า น้าหนักรวมทั้งหมดของสินค้า การห่อสินค้า การปิดผนึกกล่อง การติดฉลาก และข้อจากัดของสินค้า เพื่อให้การบรรจุและจัดส่งสินค้าดาเนินการอย่างเรียบร้อย โดยตัวอย่าง คุณยายอนงค์ทามะม่วงแช่อิ่ม ได้รับคาส่ังซื้อสินค้ามะม่วงแช่อิ่ม จากลูกค้าผ่านบริการระบบร้านค้าออนไลน์ คุณยายจะต้องเตรียมการจัดส่ง สินค้าเพื่อทาการบรรจุสินค้าเพ่ือทาการขนส่งโดยสินค้าของคุณยายเป็นแบบขวดแก้ว ต้องการบรรจุภัณฑ์ ท่ีใช้วัสดุกันกระแทก เพ่ือปกป้องสินค้าระหว่างจัดส่ง ดังนั้น คุณยายจะต้องพิจารณา เรื่องขนาดบรรจุภัณฑ์ และนา้ หนกั ของสนิ ค้า รปู แบบหีบหอ่ และการเขยี นจา่ หนา้ เพ่ือให้ถงึ มือผู้รับได้ คุณยำยอนงค์ มะมว่ งแชอ่ ่มิ ผลติ ภณั ฑ์แบบขวดแก้ว 90 สำนักงำนคณะกรรมกำรดิจิทัลเพือ่ เศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชำติ (สดช.)

คูม่ ือสำหรับวิทยำกร E-Commerce ชมุ ชน โครงการศูนย์ดิจทิ ัลชุมชน กิจกรรม : Village E-Commerce 1.พจิ ำรณำขนำดบรรจภุ ณั ฑ์และนำ้ หนักของสนิ คำ้ ขนาดบรรจุภัณฑ์และน้าหนักของสินค้า จะขึ้นอยู่กับการเลือกใช้ประเภทบริการ ขนส่ง เชน่ ขนสง่ ดว้ ยมอเตอร์ไซด์ ขนส่งด้วยรถกระบะ ขนส่งด้วยรถตู้ ขนสง่ ด้วยรถบรรทุก ขนสง่ ด้วยเรอื ขนส่งดว้ ย รถไฟ ขนส่งด้วยเครื่องบิน และเง่ือนไขของบริษัทขนส่งที่ผู้ประกอบการเลือกใช้ แต่ละรูปแบบการขนส่ง และบริษัทขนส่งจะมีข้อกาหนดและข้อกาจัดในเร่ืองของขนาดและน้าหนักที่แตกต่างกัน ดังนั้น ต้องเลือก บรรจุภัณฑ์สินค้าให้มขี นาดและน้าหนกั เหมาะสมสาหรับการขนส่ง หรือเลือกบริษัทขนส่งท่ีเหมาะสมกับสินค้า และบริการของตนเอง จำกตัวอย่ำง สินค้าของยายอนงค์เป็นมะม่วงแช่อ่ิม ซ่ึงเป็นสินค้าที่มีขนาดไม่ใหญ่มากแต่มีน้าหนัก พอสมควร เนื่องจากเป็นอาหารท่ีมีน้าเป็นส่วนประกอบ การเลือกรูปแบบการขนส่งจึงต้องเป็นรูปแบบ การขนส่งท่ีสามารถขนส่งสินค้าที่มีขนาดเล็กได้ แต่เนื่องด้วยบรรจุภัณฑ์เป็นแก้วและมีน้าอยู่ภายใน ดงั นัน้ รปู แบบการขนส่งจะตอ้ งเลือกทม่ี คี วามปลอดภัยจากการแตกของขวดแกว้ ด้วย สำนักงำนคณะกรรมกำรดิจทิ ัลเพ่ือเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชำติ (สดช.) 91

Village E-Commerce ส่งเสรมิ ผลติ ภณั ฑ/์ บริการ ในชมุ ชนดว้ ยเศรษฐกิจดิจิทลั 2.บรรจสุ นิ คำ้ เม่ือผู้ประกอบการเลือกรูปแบบการขนส่งแล้ว จะทาการบรรจุสินค้าให้มีความเหมาะสม กับกระบวนการจัดส่ง ดังน้ัน ข้ันตอนต่อไปคือการบรรจุสินค้า ซ่ึงผู้ประกอบการต้องมีการจัดเตรียมอุปกรณ์ และทาการบรรจุสนิ คา้ ตามขน้ั ตอน ดังนี้ เตรยี มอุปกรณ์ที่ใช้ในกำรบรรจุสนิ ค้ำสินคำ้ 1.บรรจภุ ณั ฑส์ ำหรับใสส่ นิ คำ้ - ซองกระดาษ หรอื ซองพลาสติกทึบ (เหมาะกบั สนิ คา้ ไม่เกิน 500 กรัม) - กล่องกระดาษหลายขนาด เลอื กทเี่ หมาะสมกบั สนิ ค้า (เหมาะกบั สินค้าเกิน 500 กรัมข้นึ ไป) 2.วสั ดุกันกระแทก - เศษกระดาษไม่ใช้แล้ว (ไม่มีค่าใชจ้ ่าย) - ฟองน้า (มีค่าใช้จ่าย) - พลาสตกิ กันกระแทก หรือ Air bubble (มคี ่าใช้จ่าย) 3.เทปกำว 4.เชือกมัดกลอ่ ง 92 สำนักงำนคณะกรรมกำรดจิ ทิ ัลเพื่อเศรษฐกจิ และสังคมแหง่ ชำติ (สดช.)

คู่มือสำหรบั วทิ ยำกร E-Commerce ชุมชน โครงการศนู ยด์ ิจิทัลชุมชน กจิ กรรม : Village E-Commerce เรม่ิ ตน้ กำรบรรจสุ ินค้ำ 1. เลอื กขนาดกล่องหรือซองทม่ี ีขนาดใหญ่กวา่ ตัวสนิ คา้ เล็กน้อย 2. ห่อสินค้าด้วยกระดาษหนังสือพิมพ์ แผ่นฟองน้า หรือพลาสติกกันกระแทก (Air Bubble) อย่างน้อย 2 ชัน้ และปิดเทปให้ตดิ กัน 3. หลงั จากหอ่ สนิ คา้ จะพบวา่ มชี อ่ งว่างระหว่างกลอ่ งสินค้ากับตวั สินคา้ ให้เติมเตม็ ช่องว่าง นน้ั ด้วยการใส่เม็ดโฟม หรอื ก้อนหนงั สือพมิ พ์ หรือแผ่นโฟม เพ่อื ป้องกนั การเคลื่อนไหว ของสนิ ค้าในกล่องระหวา่ งการขนส่ง สำนักงำนคณะกรรมกำรดิจิทัลเพอ่ื เศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชำติ (สดช.) 93

Village E-Commerce ส่งเสริมผลติ ภัณฑ์/บรกิ าร ในชมุ ชนดว้ ยเศรษฐกจิ ดิจิทลั 4. และปิดผนกึ กลอ่ งสนิ คา้ ด้วยเทปโดยปดิ ผนกึ เปน็ รูปตวั H จำกตวั อย่ำงยำยอนงค์ ตอ้ งบรรจสุ ินคา้ มะม่วงแชอ่ ่มิ ที่มีบรรจภุ ัณฑเ์ ปน็ ขวดแกว้ การบรรจสุ นิ คา้ ของ ยายอนงค์ หากทาตามข้ันตอนที่กล่าวมาข้างต้น ยายอนงค์ต้องเริ่มจากการ ห่อสินค้าด้วยวัสดุกันกระแทก หลังจากน้ัน เลือกกล่องท่ีมีขนาดใหญ่กว่าสินค้าเลก็ น้อย นาสินค้าลงมาใส่ในกล่อง หากมีช่องว่างภายในกลอ่ ง ให้นาวัสดุกันกระแทก เช่น เศษกระดาษ หรือฟองน้า มาใส่ให้เต็ม เมื่อเสร็จเรียบร้อยให้ปิดกล่องแล้วใช้ เทปกาวปดิ ผนึกเปน็ รูปตวั H 94 สำนักงำนคณะกรรมกำรดจิ ทิ ัลเพ่ือเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชำติ (สดช.)