Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชุดฝึกเรื่องเสียง

ชุดฝึกเรื่องเสียง

Published by Ananya Riddle, 2020-02-14 23:06:52

Description: ชุดฝึกเรื่องเสียง

Keywords: เสียง

Search

Read the Text Version

ชุดฝึก เรื่อง เสียง (Sound) รายวิชา ฟสิ ิกส์ 4 รหัสวิชา ว32204 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 นางอนญั ญา รดิ เดิล โรงเรยี นเกาะคาวิทยาคม สานกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 35 สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรศึกษำข้ันพื้นฐำน กระทรวงศึกษำธิกำร

1 กจิ กรรมการเรยี นรู้ เรือ่ ง การไดย้ นิ เสียง ผลการเรียนรู้ อธิบายการเกิดเสียง การเคลื่อนที่ของเสียง ความสัมพันธ์ระหว่างคลื่นการกระจดั ของอนภุ าค กับคลืน่ ความดัน ความสัมพันธ์ระหว่างอตั ราเร็วของเสียงในอากาศทีข่ นึ้ กับอณุ หภมู ใิ นหน่วย องศาเซลเซียส การสะท้อน การหักเห การแทรกสอด การเลีย้ วเบน ของคลื่นเสียง รวมทั้งคานวณ ปริมาณต่าง ๆ ทีเ่ กี่ยวข้อง จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายและคานวณปริมาณที่เกี่ยวข้องกับความเข้มเสียง 2. อธิบายระดบั เสียง ความสมั พนั ธ์ระหว่างระดับเสียงและความเข้มเสียง และคานวณปริมาณที่เกีย่ วข้อง 3. อธิบายระดับเสียงและความถีท่ ีม่ ผี ลต่อการได้ยิน 4. อธิบายระดบั สงู ตา่ ของเสียงและคณุ ภาพเสียง 5. อธิบายมลพิษทางเสียงทีม่ ตี ่อสุขภาพและการป้องกัน เวลาท่ใี ช้ ใช้เวลา 4 ชั่วโมง เขา้ ใจแลว้ . . . . . ใหน้ กั เรยี นทาแบบทดสอบ กอ่ นเรยี นเลยคะ่

แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง การได้ยินเสียง คาชีแ้ จง ให้นกั เรียนทาเครอ่ื งหมายกากบาท () ทบั อักษร ก ข ค ง ข้อใดข้อหนึ่งทีเ่ ห็นว่าถกู ต้อง ที่สดุ เพียงข้อเดียวลงในกระดาษคาตอบ 1. ระดับเสียงดนตรีทางวิทยาศาสตร์ เสียง A มีความถี่ 427 เฮิรตซ์ เสียง A” มีความถี่กี่เฮิรตซ์ ก. 854 ข. 1,281 ค. 1,708 ง. 3,416 2. ชายคนหน่งึ น่งั ฟังดนตรโี ดยเขาสามารถจาแนกเสียงชนิดของเครื่องดนตรีได้เน่ืองจากคณุ ลักษณะใด ของเสียง ก. ความเข้มเสียง ข. คุณภาพเสียง ค. ระดบั เสียง ง. ความถีเ่ สียง 3. ถ้าคลน่ื เสียงในอากาศบริเวณหน่งึ มีความยาวคลื่นมากจะได้ยินเสียงแบบใด ก. เสียงดงั ข. เสียงค่อย ค. เสียงแหลม ง. เสียงทุ้ม 4. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง ก. หูส่วนในทาหน้าทีป่ รบั ความดนั อากาศภายในให้เท่ากันหตู ลอดเวลา ข. หคู นปกติจะไม่สามารถได้ยินเสียงทีม่ คี วามถีเ่ กิน 2,000 เฮิรตซ์ ค. การหาตาแหนง่ ฝูงปลาในทะเลจะใช้เครอื่ งโซนาร์ที่มีความถีเ่ สียง 20 - 100 กิโลเฮิรตซ์ ง. การเกิดคลืน่ กระแทกทีพ่ บเช่น การได้ยินเสียงของเฮลิคอปเตอร์บินผ่านหลงั คาบ้าน 5. ข้อความใดถกู ต้องทีส่ ุด ก. เครือ่ งดนตรที ุกชนิดเล่นโน้ตตัวเดียวกนั จะมีคุณภาพเสียงเหมอื นกัน ข. ขณะที่สายไวโอลินส่นั จะเกิดเสียงที่มีความถี่มูลฐานเท่าน้ัน ค. คณุ ภาพเสียงจะช่วยใหเ้ ราแยกประเภทของแหล่งกาเนิดเสียงได้ ง. ความถี่ของเสียงทีม่ นษุ ย์สามารถได้ยินจะต้องสูงกว่า 20,000 เฮิรตซ์

6. เพราะเหตุใดเสียงขลุ่ยกบั เสียงกีตาร์ที่เล่นโน้ตตวั เดียวกันจงึ มเี สียงต่างกัน ก. เครือ่ งเสียงดนตรที ้ังสองมคี วามถี่ต่างกนั ข. เสียงเครอ่ื งดนตรที ้ังสองมคี วามถี่มูลฐานต่างกัน ค. เครื่องดนตรที ั้งสองมจี านวนคลืน่ ความถี่ธรรมชาติต่างกัน ง. เสียงเครื่องดนตรีทั้งสองมีแอมพลิจูดของคลื่นความดันต่างกัน 7. มลภาวะของเสียง หมายถึงข้อใด 1. เสียงที่มรี ะดับความเข้มตั้งแต่ 0 – 120 เดซิเบล 2. เสียงทีม่ รี ะดับเสียงสูงเกินกว่า 20,000 เฮิรตซ์ 3. เสียงทีม่ คี วามเข้มตั้งแต่ 10-12 - 1 วัตต์ต่อตารางเมตร 4. เสียงที่มรี ะดับความเข้ม 90 เดซิเบล และรับฟังเสียงเกิน 8 ช่วั โมงต่อวนั คาตอบที่ถกู คือ ก. ขอ้ 1,2,3 ข. ข้อ 3,4 ค. ข้อ 4 เท่านนั้ ง. ขอ้ 1,2,3,4 8. พิจารณาข้อความตอ่ ไปนี้ 1. เสียงแหลมคอื เสียงที่มคี วามถี่สูง 2. เสียงดงั คือเสียงทีม่ คี ่าฮาร์โมนกิ น้อย 3. เสียงทุ้มคอื เสียงที่มคี วามถีต่ า่ 4. เสียงคู่แปดคือเสียงที่มคี วามถี่เป็น 8 เท่าของอกี เสียงหนง่ึ ข้อใดถกู ต้อง ก. ขอ้ 1,2 ข. ข้อ 3,4 ค. ข้อ 1,3 ง. ขอ้ 2,3 9. ขอบเขตความสามารถของการได้ยินเสียงของหคู นเราขึน้ อยู่กบั ปริมาณใดของเสียง ก. ระดับความเข้มเสียงและความถี่เสียง ข. คณุ ภาพเสียงและความเข้มเสียง ค. อตั ราเร็วเสียงและกาลังเสียง ง. แอมพลิจูดและความยาวคลื่น

10. คุณภาพเสียงอธิบายได้ด้วยคณุ สมบัติของฟิสิกส์ของเสียงตามข้อใด ก. ความถี่และความยาวคลืน่ เสียง ข. พลังงานและกาลงั ของแหล่งกาเนิด ค. ความเข้มเสียงและระดับความเข้มเสียง ง. จานวนฮาร์โมนกิ และความเข้มเสียงแตล่ ะฮาร์โมนกิ

ใบความรู้ เรื่อง การไดย้ ินเสียง 1. หูกับการได้ยิน คลื่นเสียงทีเ่ ดินทางมาเข้าหเู รานั้น จะสูง-ต่า ดัง-ค่อย หรอื ไพเราะเพียงใดนั้น ขนึ้ อยู่กบั องค์ประกอบใดบ้าง และเราเข้าใจเสียงนั้นได้อย่างไร หูมีความสาคญั อย่างไรตอ่ การได้ยินเสียงของเรา หขู อง คนเราประกอบด้วย 3 ส่วน ได้แก่ หูช้ันนอก ประกอบด้วยใบหซู ึง่ จะทาหน้าทีร่ ับคลื่นเสียง และ ส่งผา่ นไปตามช่องหูจนถึงช้ันเยื่อแก้วหซู ึง่ ก้ันระหว่างหูช้ันนอกและหูช้ัน กลาง ส่วนที่สองคือ หูช้ัน กลาง มีลกั ษณะเปน็ โพรงอากาศที่ถูกแยกออกจากหูช้ันนอกด้วยเยื่อแก้วหทู ีแ่ ปะติดกับ กระดกู 3 ชิน้ เลก็ ๆ ที่เรยี งต่อกันเป็นโซ่ คือ ค้อน ทงั่ และโกลน ทาหนา้ ที่รับแรงส่นั สะเทือนและขยายเสียงตอ่ จากเยื่อแก้วหู แล้วสง่ ตอ่ ไปยังหู ชั้นใน นอกจากนีท้ ีห่ ูช้ันกลางยังมที ่อยสู เตเช่ยี นที่ตอ่ ไปยังส่วนบนของคอที่ต่อกบั โพรง จมูก ทาหนา้ ทีร่ ะบายอากาศภายในหูช้ันกลาง ส่วนทีส่ ามคือ หชู ้ันใน ประกอบด้วยอวยั วะ 2 ส่วน คือ ส่วน ทีท่ าหน้าทีเ่ กี่ยวกับการได้ยิน เปน็ อวยั วะรปู หอย ภายในมขี องเหลวและเซลขนทีท่ าหน้าทีร่ ับเสียงจาก กระดกู โกลนในหชู น้ั กลางแล้ว แปลงเปน็ สัญญาณประสาทส่งไปยังประสาทหู (ประสาทสมองคู่ที่ 8) ซึง่ ทา หนา้ ที่สง่ สญั ญาณประสาทไปยังสมองเพือ่ แปลความหมายของคลื่นเสียง และส่วนทีท่ าหนา้ ที่ควบคุมการ ทรงตวั ดังรูป รูป 4.1 ส่วนประกอบของหู (ทีม่ า : วีรจิต คุ้มวงศ์. http://thegeniusphysics.blogspot.com )

ออเนื่องจากเสียงเกิดจากการสัน่ ของวัตถุที่เป็นต้นกาเนิดเสียง และในการทาใหว้ ตั ถสุ นั่ ต้องใช้ พลงั งาน \"ถ้าพลังงานทีใ่ ชม้ ีค่ามาก แอมพลิจูดของการสน่ั จะมีค่ามาก แต่ถ้าพลังงานที่ใช้มคี ่าน้อย แอมพลิ จดู ของการสั่นจะมีค่าน้อย\" พลงั งานในการสนั่ ของตน้ กาเนิดเสียงจะถ่ายโอนใหก้ ับอนุภาคของอากาศตอ่ กันเปน็ ทอดๆ มายงั หูผฟู้ ัง ทาให้แก้วหูเกิดการสัน่ ผู้ฟังจงึ รบั รู้เสียงนนั้ การได้ยินคร้ังหนึง่ ๆ จะต้องมีองค์ประกอบสาคัญ 3 ประการ คือ ต้นกาเนิดเสียง ตวั กลางและ ประสาทรบั เสียงในหู ขณะได้ยินเสียงหนึ่งๆ ความรู้สึกในการได้ยินของมนษุ ย์โดยทวั่ ไป แยกออกเป็น ลักษณะต่างๆ ดงั นี้ 1. ความรูส้ ึกดงั -คอ่ ยของเสียง ขึน้ อยู่กับแอมพลิจดู ของคลื่นและความเข้มเสียง 2. ความรู้สึกท้มุ -แหลมของเสียง ขึน้ อยู่กับความถี่ของเสียง 3. ความไพเราะของเสียง ขึน้ อยู่กับคณุ ภาพเสียง เราทราบแล้วว่าขอบเขตความสามารถในการได้ยินของหูคนเราขนึ้ อยู่กบั ระดับความเข้มเสียง และความถี่เสียง จากการศกึ ษาความสามารถทางการได้ยินของคนปกติพบว่า ช่วงความถี่และระดับ ความเข้มเสียงที่คนเรารบั รู้ได้มคี วามสัมพนั ธ์กนั ดังรปู รูป 4.2 เส้นแสดงความดังในกราฟระดบั เสียงกับความถี่ (ที่มา: คูมมอื ครฟู ิสิกส์เล่ม 4 (ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ.2560). สสวท. 2560:40) จากรูปจะเหน็ ได้ว่า สาหรับเสียงทีม่ คี วามถี่ต่าๆ เชน่ 20 - 30 เฮิรตซ์ หจู ะได้ยินเสียงดังกล่าว กต็ ่อเมือ่ เสียงนน้ั มรี ะดับความเข้มเสียง 60 - 70 เดซิเบล ซึ่งแตกต่างกับเสียงทีม่ คี วามถีส่ ูงปานกลาง เชน่ 1,000 เฮิรตซ์ ที่เราสามารถได้ยินแม้จะมีระดับความเข้มเสียงเพียง 10 เดซิเบลกต็ าม กราฟช่วง ล่างแสดงตาแหน่ง ขีดเริ่มของการได้ยิน และกราฟเส้นบนแสดง ขีดเริ่มของความเจบ็ ปวด พื้นทีซ่ ึ่งล้อม ด้วยกราฟเส้นบนและเส้นล่างน้ีจะแทนขอบเขตการได้ยินของมนุษย์ เสียงที่เราสามารถรบั รู้ได้จะมีความถี่ และระดบั ความเข้มเสียงอยู่ภายในขอบเขตของการได้ยินนี้

2. ระดบั เสยี ง การทีเ่ ราได้ยินเสียงแหลมหรอื สงู เสียงทุ้มหรือต่า ขึน้ อยู่กบั ความถี่ของเสียงนั้น ถ้าความถีส่ ูง เสียงจะสงู ความถี่ตา่ เสียงจะต่า เสียงสูงหรือต่าเรียกว่า ระดบั เสียง คนธรรมดาฟังเสียงที่มคี ลืน่ ความถี่ระหว่าง 20 – 20,000 เฮิรตซ์ ได้ หรอื ความยาวคลืน่ 17 – 0.017 เมตร คลืน่ ที่มคี วามถีต่ ่ากว่าช่วงคลืน่ ที่เราได้ยิน ( ต่ากว่า 20 เฮิรตซ์ ) เรยี กวา่ Infra sonic ส่วนคลืน่ ที่ มีความถีม่ ากกว่าช่วงคล่นื ที่เราได้ยิน ( สงู กว่า 20,000 เฮิรตซ์ ) เรยี กว่า Ultra sonic Infra sonic จะเห็นได้ว่าคนเรารับฟังเสียงได้ในชว่ งความถีห่ นง่ึ เท่าน้ัน สาหรบั สัตว์อน่ื ๆ ก็เช่นเดียวกันคือ จะได้ยินเสียงในชว่ งความถีห่ นง่ึ เช่นกนั ซึ่งช่วงความถี่ทีส่ ัตว์แตล่ ะชนิดได้ยินก็จะแตกต่างกนั ไป และต่าง จากช่วงความถี่ ที่คนได้ยิน นอกจากนแี้ ล้วแหล่งกาเนิดเสียงแต่ละแหล่งก็ใหเ้ สียงได้ในชว่ งความถีต่ ่างกัน เชน่ คน สามารถเปล่งเสียงได้ในชว่ งความถี่ 85 - 1,100 เฮิรตซ์ แมวสามารถเปล่งเสียงได้ในชว่ งความถี่ 760 - 1,500 เฮิรตซ์ แตส่ ามารถได้ยินในชว่ งความถี่ 60 - 65,000 เฮิรตซ์ เมื่อได้ยินเสียงตามปกติ เราจะบอกได้ว่าเสียงนนั้ มรี ะดับเสียงสงู หรอื ต่า ความแตกต่างของเสียง ดังกล่าว ขึน้ อยู่กบั ความถี่ของเสียง เสียงทีม่ รี ะดบั เสียงต่าเป็นเสียงทีม่ คี วามถีน่ ้อยคนท่วั ไปมกั จะรียกว่า เสียงทุ้ม ส่วนเสียง ที่มีระดับเสียงสงู จะเป็นเสียงที่มคี วามถีม่ าก เรียกว่า เสียงแหลม การจดั แบ่ง ระดบั เสียง อาจทาได้หลายวิธี วิธีหน่งึ คอื แบ่งเป็นระดับเสียงดนตรี ดังตาราง ระดับเสียงดนตรี C (โด) D (เร) E (ม)ี F (ฟา) G (ซอล) A (ลา) B (ที) C/ (โด) ความถี่ (เฮิรตซ์) 256 288 320 341 384 427 480 512 ตารางการแบ่งระดบั เสียงดนตรีในทางวิทยาศาสตร์ จากตาราง แบ่งเสียงทางวิทยาศาสตร์ เสียงโด(C) ความถีเ่ สียง 256 Hz แล้วไล่ลาดับเสียงความถี่ สูงข้ึนไปจนครบ 7 ระดับเสียงทีเ่ สียง ที(B) แล้วข้ึนเสียงโด ( C' ) ซึ่งมีความถีเ่ สียง 512 Hz เป็นรอบต่อไป จะเหน็ ว่าเสียง C' (512 Hz) มีความถีเ่ สียงเปน็ 2 เท่าของ C (256 Hz) เรียกเสียงคู่นวี้ ่า เสียงคู่แปด ซึ่งเป็น ระดบั เสียงทีห่ ่างกัน 8 ตัวพอดี เสียงคู่แปดยังมคี ู่อ่นื ๆที่เป็นเสียงเดียวกัน แต่ความถีเ่ ป็น 2 เท่า เช่น D กับ D' ฯลฯ ในการเล่นดนตรี จะเล่นไปตามโน้ตทีละตัวตามทานองเพลงหรอื ทาให้เกิดเสียงโน้ตหลายตัว พร้อมๆกันก็ได้ เช่น การเล่นคอร์ด ซึง่ เปน็ การทาให้เกิดเสียงโน้ตหลายตัวพร้อมกนั ซึ่งในการแบ่ง ระดบั เสียงของเครื่องดนตรีสากล เสียงต่างๆจะมีความถีต่ ามตารางดงั นี้

ระดับเสียงดนตรี C (โด) D (เร) E (ม)ี F (ฟา) G (ซอล) A (ลา) B (ที) C/ (โด) ความถี่ (เฮิรตซ์) 261.6 293.7 329.6 349.2 392.0 440.0 493.9 523.3 ตารางการแบ่งระดับเสียงดนตรีในทางดนตรีศาสตร์ เมือ่ พจิ ารณาเสียงดนตรพี ืน้ เมืองแตล่ ะชาติ พบว่ามีการแบ่งระดับเสียงแตกต่างกนั จงึ ทาให้ เสียงดนตรีของแตล่ ะชาติมีเอกลกั ษณ์เฉพาะตัว การแบ่งระดบั เสียงดนตรีของไทยในยคุ ใหม่ใกล้เคียงกับ การแบ่งระดบั เสียงของดนตรีสากล ทาให้เครือ่ งดนตรไี ทยสามารถเล่นเพลงสากลบางเพลงได้ และ เครื่องดนตรีสากลกส็ ามารถเล่นเพลงไทยบางเพลงได้เช่นกัน จงึ มกี ารนาเครือ่ งดนตรสี ากลมาบรรเลง ร่วมกบั ดนตรีไทย เชน่ เครื่องสายผสมออร์แกน หรอื เครื่องสายผสม เปียร์โน เปน็ ต้น คุณภาพเสียง ( timbre ) ลักษณะของคลน่ื เสียงทีแ่ ตกต่างกันสาหรับแต่ละแหล่งกาเนิดที่ต่างกันซึง่ จะให้เสียงทีม่ ลี ักษณะ เฉพาะตัวที่ตา่ งกนั มีความถี่มลู ฐานและฮาร์มอนิกต่าง ๆ ออกมาพร้อมกันเสมอ แต่จานวนฮาร์มอนิกและ ความเข้มเสียงจะแตกต่างกันไป คุณภาพเสียง ช่วยใหเ้ ราสามารถแยกประเภทของแหล่งกาเนิดเสียงได้ การเกิดเสียงของเคร่อื งดนตรแี บบต่างๆ นอกจากจะเกิดเสียงความถีม่ ูลฐานของเสียงน้ันออก มาแล้ว เช่น เล่นโน้ตเสียง C มีความถี่มูลฐาน 256 Hz ออกมาซึง่ เป็นเสียงทีมคี วามเข้มเสียงมากที่สุด แล้วยังมคี วามถี่เสียงที่เปน็ ฮาร์มอนิกอื่นๆ(ความถีท่ ีเ่ ปน็ จานวนเท่าของความถี่มลู ฐาน) ผสมออกมาด้วย แตล่ ะฮาร์มอนิกที่ออกมาก็ยงั มีความเข้มเสียงต่างๆกันไป แต่เสียงความถีม่ ลู ฐานดังมากที่สดุ ผฟู้ งั จึงได้ ยินเสียงมีระดับเสียง C ตามเสียงทีเ่ ล่น เสียงจากเครื่องดนตรีหรอื จากแหล่งกาเนิดเสียงตา่ งชนิด ก็จะให้ เสียงทีม่ จี านวนฮาร์มอนิก และความเข้มของแตล่ ะฮาร์มอนิกออกมาต่างกันไป แม้จะเล่นเสียงโน้ตตวั เดียวกนั ซึง่ มีความถี่เสียงเท่ากัน ทาให้เสียงรวมออกมาเปน็ เอกลักษณ์เฉพาะของเสียงจากแหล่งกาเนิดแต่ ละชนิด ทาให้ผู้ฟงั แยกชนิดของแหล่งกาเนิดเสียงได้ว่าเป็นเสียงขลุ่ย เสียงไวโอลิน เสียงเปียโน เปน็ ต้น

แบบฝึกท่ี 1 เรื่อง การได้ยิน คาชีแ้ จง ให้นักเรียนกาเครื่องหมาย  หนา้ ข้อที่ถูก และกาเครื่องหมาย  หนา้ ข้อที่ผดิ ……….1. หสู ่วนในทาหนา้ ที่ปรับความดันอากาศภายในหูให้เท่ากนั ตลอดเวลา ……….2. หคู นปกติจะไม่สามารถได้ยินเสียงที่มคี วามถีเ่ กิน 2,000 เฮิรตซ์ ……….3. ถ้าเสียง C มีความถี่เป็น 256 เฮิรตซ์ คู่แปดของเสียงน้จี ะมีความถี่เปน็ 512 เฮิรตซ์ ……….4. เสียงแหลมคอื เสียงที่มคี วามถีส่ ูงสว่ นเสียงทุ้มเป็นเสียงทีม่ คี วามถี่ต่า ……….5. เสียงคู่แปดคือเสีบงที่มคี วามถี่เป็น 8 เท่าของอกี เสียงหน่งึ ……….6. เครือ่ งดนตรีทกุ ชนิดเล่นโน้ตตวั เดียวกนั จะมีคุณภาพเสียงเหมอื นกัน ……….7. คณุ ภาพเสียงจะช่วยใหเ้ ราแยกประเภทของแหล่งกาเนิดเสียงได้ ……….8. ถ้าในบริเวณหนึ่งมีความยาวคลืน่ มากจะได้ยินเสียงทุ้ม ……….9. สิ่งมีชีวติ แตล่ ะชนิดจะได้ยินเสียงที่มคี วามถี่แตกต่างกนั ไป ………10. เสียงประสานจากหลายฮาร์มอนกิ ยังคงใหเ้ สียงรวมที่มีความถี่เท่ากับความถีม่ ลู ฐาน

แบบฝึกท่ี 2 เรอ่ื ง การไดย้ ิน คาชี้แจง ให้นกั เรียนตอบคาถามลงในชอ่ งว่างให้ถูกต้อง 1. หปู ระกอบด้วย.......................สว่ น คือ .................................................................................................................................................. …………………………......................................................................................................................... 2. ระดับเสียงคือ .................................................................................................................................................. 3. คนปกติจะได้ยินเสียงที่มคี วามถี่ในชว่ ง .................................................................................................................................................. 4. Infra Sonic คือ ................................................................................................................................................ Ultra Sonic คือ .................................................................................................................................................. 5. เสียงคู่แปด คอื .................................................................................................................................................. 6. ถ้าเสียง C มีความถี่ 256 เฮิรตซ์ C// จะมีความถี่ .................................................................................................................................................. 7. ขณะน่ังฟงั เสียงดนตรี เราสามารถจาแนกชนดิ ของเครือ่ งดนตรีได้เน่อื งจาก .................................................................................................................................................. .................................................................................................................................................. 8.เสียงแหลม คือ .................................................................................................................................................. ส่วนเสียงทุ้ม คือ .................................................................................................................................................. 9. ถ้าเราเล่นไวโอลินและกีตาร์ดว้ ยเสียง D (เร) ความถี่ 288 เฮิรตซ์ เสียงทีอ่ อกมาจาก เครื่องดนตรีแตล่ ะชิน้ มคี ุณภาพเสียงเหมอื นกันหรือไม่.................เพราะ....................................... .................................................................................................................................................. 10.ในบางครั้งเราอาจเรียกสุนขั ด้วยการเป่านกหวีดชนิดทีค่ นไม่ได้ยินเสียงนกหวีดชนิดน้ี นกหวีด ชนดิ ดงั กล่าวควรใหเ้ สียงที่มีความถี่.............................................................เน่อื งจาก………………… ..................................................................................................................................................

แบบทดสอบหลังเรียน เรือ่ ง การไดย้ ิน คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครอ่ื งหมายกากบาท () ทับอกั ษร ก ข ค ง ข้อใดข้อหนึ่งทีเ่ ห็นว่าถูกต้องทีส่ ุด เพียงข้อเดียวลงในกระดาษคาตอบ 1. ชายคนหน่ึงนง่ั ฟังดนตรโี ดยเขาสามารถจาแนกเสียงชนิดของเครื่องดนตรีได้เน่อื งจากคุณลกั ษณะ ใดของเสียง ก. ความเข้มเสียง ข. คณุ ภาพเสียง ค. ระดบั เสียง ง. ความถีเ่ สียง 2. ระดับเสียงดนตรีทางวิทยาศาสตร์ เสียง A มีความถี่ 427 เฮิรตซ์ เสียง A” มีความถีก่ ีเ่ ฮิรตซ์ ก. 854 ข. 1,281 ค. 1,708 ง. 3,416 3. ข้อความใดถกู ต้องที่สดุ ก. เครื่องดนตรที ุกชนิดเล่นโน้ตตวั เดียวกันจะมีคุณภาพเสียงเหมือนกนั ข. ขณะทีส่ ายไวโอลินสน่ั จะเกิดเสียงทีม่ ีความถี่มลู ฐานเท่านั้น ค. คุณภาพเสียงจะช่วยใหเ้ ราแยกประเภทของแหล่งกาเนิดเสียงได้ ง. ความถี่ของเสียงที่มนษุ ย์สามารถได้ยินจะต้องสูงกว่า 20,000 เฮิรตซ์ 4. ถ้าคล่ืนเสียงในอากาศบริเวณหนง่ึ มคี วามยาวคลืน่ มากจะได้ยินเสียงแบบใด ก. เสียงดัง ข. เสียงค่อย ค. เสียงแหลม ง. เสียงทุ้ม 5. ข้อใดกล่าวได้ถกู ต้อง ก. หูส่วนในทาหน้าที่ปรบั ความดนั อากาศภายในให้เท่ากนั หูตลอดเวลา ข. หูคนปกติจะไม่สามารถได้ยินเสียงที่มีความถี่เกิน 2,000 เฮิรตซ์ ค. การหาตาแหนง่ ฝงู ปลาในทะเลจะใช้เคร่อื งโซนาร์ที่มีความถีเ่ สียง 20 - 100 กิโลเฮิรตซ์ ง. การเกิดคลืน่ กระแทกทีพ่ บเช่น การได้ยินเสียงของเฮลิคอปเตอร์บินผ่านหลงั คาบ้าน

6. มลภาวะของเสียง หมายถึงข้อใด 1. เสียงที่มรี ะดบั ความเข้มต้ังแต่ 0 – 120 เดซิเบล 2. เสียงที่มรี ะดับเสียงสูงเกินกว่า 20,000 เฮิรตซ์ 3. เสียงที่มคี วามเข้มต้ังแต่ 10-12 - 1 วัตต์ต่อตารางเมตร 4. เสียงที่มรี ะดบั ความเข้ม 90 เดซิเบล และรบั ฟังเสียงเกิน 8 ช่ัวโมงต่อวัน คาตอบทีถ่ กู คือ ก. ขอ้ 1,2,3 ข. ข้อ 3,4 ค. ข้อ 4 เท่านนั้ ง. ขอ้ 1,2,3,4 7. เพราะเหตุใดเสียงขลยุ่ กับเสียงกีตาร์ที่เล่นโน้ตตวั เดียวกนั จงึ มเี สียงต่างกัน ก. เครื่องเสียงดนตรที ้ังสองมคี วามถี่ต่างกนั ข. เสียงเครอ่ื งดนตรที ั้งสองมคี วามถี่มูลฐานต่างกัน ค. เครื่องดนตรที ้ังสองมจี านวนคลืน่ ความถีธ่ รรมชาติต่างกัน ง. เสียงเครือ่ งดนตรีทั้งสองมีแอมพลิจดู ของคลน่ื ความดันต่างกนั 8. พิจารณาข้อความตอ่ ไปนี้ 1. เสียงแหลมคอื เสียงทีม่ คี วามถี่สงู 2. เสียงดังคือเสียงทีม่ คี ่าฮาร์โมนกิ น้อย 3. เสียงทุ้มคอื เสียงทีม่ ีความถี่ต่า 4. เสียงคู่แปดคือเสียงทีม่ คี วามถี่เปน็ 8 เท่าของอกี เสียงหน่งึ ข้อใดถกู ต้อง ก. ขอ้ 1,2 ข. ข้อ 3,4 ค. ข้อ 1,3 ง. ขอ้ 2,3 9. คณุ ภาพเสียงอธิบายได้ด้วยคุณสมบัติของฟิสกิ ส์ของเสียงตามข้อใด ก. ความถี่และความยาวคลื่นเสียง ข. พลังงานและกาลังของแหล่งกาเนิด ค. ความเข้มเสียงและระดับความเข้มเสียง ง. จานวนฮาร์โมนกิ และความเข้มเสียงแตล่ ะฮาร์โมนกิ 10. ขอบเขตความสามารถของการได้ยินเสียงของหคู นเราข้ึนอยู่กับปริมาณใดของเสียง ก. ระดบั ความเข้มเสียงและความถี่เสียง ทำถกู กขี่ อ้ คะ... ข. คณุ ภาพเสียงและความเข้มเสียง ไปดเู ฉลยอยทู่ ภี่ ำคผนวกกนั เลยค่ะ ค. อัตราเร็วเสียงและกาลังเสียง ง. แอมพลิจูดและความยาวคลืน่

บรรณานกุ รม จักรินทร์ วรรณโพธิก์ ลาง. รวมสดุ ยอดฟสิ ิกส์ เอนทรานซ์. กรุงเทพฯ : ห้างหนุ้ สว่ นจากัด รุ่งเรืองสาส์นการพมิ พ์, มปป. ชว่ ง ทมทิตชง และคณะ. ฟิสิกสเ์ สียง แสง แสงและทัศนอุปกรณ์. นนทบุรี : โรงพมิ พ์ ไทยเนรมติ กิจอนิ เตอร์โปรเกรสซิฟ จากัด, มปป. . ฟิสิกส์ ม.4 เล่ม 2 ว 021. กรุงเทพฯ : บริษัทไฮเอ็ดพับลิชช่งิ จากัด, มปป. . ฟิสิกส์ 3 ว 027. กรงุ เทพฯ : บริษัทไฮเอ็ดพับลิชชง่ิ จากดั , มปป. ชติ ชัย โพธิ์ประภา. คู่มอื ครสู อนทางไกลผา่ นดาวเทียมสาหรับโรงเรียนปลายทาง. ประจวบคีรีขนั ธ์ : โรงเรียนวังไกลกังวล, 2549. ธรรมสถิต ทองเงินเจือธรรม. ฟิสิกส์ เล่ม 4 ม.5 ชว่ งชั้นที่ 4 . กรุงเทพฯ : บริษัทภูมิบัณฑิตการพมิ พ์, มปป. นพิ นธ์ ตังคณานุรักษ์ และคณติ า ตงั คณานรุ กั ษ์. เสียงในชีวิตประจาวนั สาหรับชว่ งชั้นที่ 3 – 4. กรงุ เทพฯ : บริษัท สานักพมิ พแ์ ม็ค จากดั , มปป. นริ นั ดร์ สวุ รัตน์. ฟิสิกสเ์ สียง แสง แสงและทศั นอปุ กรณ์. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พธ์ นทัชการพิมพ์จากัด, 2549. สถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี, กระทรวงศกึ ษาธิการ. ฟิสิกส์ เล่ม 3. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พค์ รุ ุสภาลาดพร้าว, 2541. . ฟิสิกส์ เลม่ 2 . กรุงเทพฯ : โรงพมิ พค์ รุ ุสภาลาดพร้าว, 2547. . คู่มอื ครูฟิสิกสเ์ ล่ม 2. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พค์ รุ ุสภาลาดพร้าว, 2547. . คู่มอื ครรู ายวชิ าเพม่ิ เตมิ วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ฟิสิกสเ์ ลม่ 4. สถาบนั สง่ เสริมการ สอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธิการ อดชิ าต บ้วนกียาพันธุ์. ฟิสิกส์ ม.5 เล่ม 3 ว 027. กรงุ เทพฯ : บริษัทภมู ิบณั ฑิตการพมิ พ์ จากดั , มปป.

ภาคผนวก เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น ข้อ 1. ค ข้อ 2. ข ข้อ 3. ง ข้อ 4. ค ข้อ 5. ค ข้อ 6. ค ข้อ 7. ค ข้อ 8. ค ข้อ 9. ก ข้อ 10. ง

เฉลยแบบฝึกท่ี 1 เรื่อง การได้ยนิ ข้อ เฉลย 1x 2x 3 4 5x 6x 7 8 9 10  ตอบถกู กนั หรอื เปลา่ คะ

เฉลยแบบฝึกท่ี 2 เรื่อง การได้ยนิ เสียง คาถาม / คาตอบ 1. หูประกอบด้วย 3 ส่วน คือ หชู ้ันนอก หูช้ันกลาง และหชู ้ันใน 2. ระดบั เสียง คือ เสียงสูงหรอื เสียงต่า 3. คนปกติจะได้ยินเสียงที่มคี วามถี่ในชว่ ง 20 - 20,000 เฮิรตซ์ 4. Infra Sonic คือ คลื่นเหนือเสียงซึ่งมคี วามถี่สูงกว่า 20,000 เฮิรตซ์ข้นึ ไป Ultra Sonic คือ คลืน่ ใต้เสียงซึง่ มคี วามถี่ต่ากว่า 20 เฮิรตซ์ 5. เสียงคู่แปด คือ เสียงทีม่ ีความถี่เสียงเปน็ 2 เท่าของ เสียงเดิม ซึง่ เปน็ ระดับเสียงทีห่ ่างกัน 8 ตวั พอดี 6. ถ้าเสียง C มีความถี่ 256 เฮิรตซ์ C// จะมีความถี่ 1,024 เฮิรตซ์ 7. ขณะนั่งฟงั เสียงดนตรี เราสามารถจาแนกชนดิ ของเครือ่ งดนตรีได้เน่อื งจาก เครื่องดนตรแี ต่ละ ชนิดจะมีคณุ ภาพเสียงแตกต่างกัน 8.เสียงแหลม คือ เสียงที่มีความถี่สงู ส่วนเสียงทุ้ม คือ เสียงทีม่ ีความถีต่ า่ 9. ถ้าเราเล่นไวโอลินและกีตาร์ดว้ ยเสียง D (เร) ความถี่ 288 เฮิรตซ์ เสียงทีอ่ อกมาจาก เครื่องดนตรีแตล่ ะชิน้ มคี ุณภาพเสียงเหมอื นกันหรือไม่ ไม่ เพราะ จานวนฮาร์มอนิกและความ เข้มเสียงในแต่ละฮารม์ อนิกของเสียงไวโอลินและเสียงกีตาร์ต่างกนั เป็นผลให้เกิดคลืน่ รวมที่มี ลกั ษณะต่างกนั คือคณุ ภาพเสียงต่างกัน 10.ในบางครั้งเราอาจเรียกสุนขั ด้วยการเป่านกหวีดชนิดทีค่ นไม่ได้ยินเสียงนกหวีดชนิดน้ี นกหวีด ชนดิ ดังกล่าวควรใหเ้ สียงทีม่ ีความถี่ 20,000 - 50,000 เฮิรตซ์ เนื่องจากมนุษย์ได้ยินเสียง ในช่วงความถี่ 20 - 20,000 เฮิรตซ์ และสุนขั ได้ยินเสียงในช่วงความถี่ 15 - 50,000 เฮิรตซ์ ดังน้ันช่วงความถี่ตั้งแต่ 20,000 - 50,000 เฮิรตซ์ มนุษย์จะไม่ได้ยินเสียง เหน็ ไหมวา่ … ไมย่ ากอยา่ งท่ีคดิ ไว้ใช่ไหมคะ

เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน เฉลยแบบทดสอบหลงั เรียน ข้อ 1. ข ข้อ 2. ค ข้อ 3. ค ข้อ 4. ง ข้อ 5. ค ข้อ 6. ค ข้อ 7. ค ข้อ 8. ค ข้อ 9. ง ข้อ 10. ก

หมายเหตุ 1. นักเรียนตอ้ งผ่านเกณฑร์ ้อยละ 80 (ทาถูก 8 ข้อข้นึ ไป) 2. ถ้านกั เรียนไม่ผา่ นเกณฑใ์ ห้กลบั ไปศกึ ษาบทเรียนนั้นใหม่ แล้วทาการทดสอบหลงั เรียนอีก ครั้งจนกว่าจะผ่านเกณฑ์ที่กาหนด เยๆ้ …เราผา่ นเกณฑแ์ ลว้ แล้วกลับมาพบกนั ใหมก่ บั บทถดั ไปนะคะ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook