Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 5.1ทฤษฎีการผลิต

5.1ทฤษฎีการผลิต

Published by นงเยาว์ บุญริน, 2021-07-19 21:31:31

Description: 5.1ทฤษฎีการผลิต

Search

Read the Text Version

ทฤษฎกี ารผลติ ทฤษฎีการผลิตแบบด้ังเดมิ TP ทฤษฎีการผลติ ตามหลัก AP ผลผลิตและตน้ ทนุ เท่ากัน MP IQ IC

ทฤษฎีการผลติ การศกึ ษาทฤษฎีการผลิตมอี ยู่ 2 วธิ ี คอื - ทฤษฎกี ารผลิตแบบดั้งเดิม (Traditional Approach) เปน็ การศกึ ษาลกั ษณะของ ฟงั กช์ ่ันการผลิต เป็นการศึกษาการผลติ ในระยะสนั้ - ทฤษฎีการผลิตตามหลักผลผลติ และตน้ ทนุ เท่ากัน (Isoquat-Isocost Approach) เป็นการศึก - เส้นผลผลติ เท่ากนั - เส้นตน้ ทนุ เทา่ กนั

1. ทฤษฎีการผลิตแบบด้ังเดมิ - ทฤษฎีการผลติ แบบดง้ั เดิม (Traditional Approach) ฟงั ก์ชน่ั การผลติ (Production Function) คอื ฟงั กช์ น่ั ท่ีแสดงถึงความสัมพันธ์ ระหวา่ งปจั จยั การผลติ ทใ่ี ช้ไปในกระบวนการผลิต กับผลผลิตที่ได้ออกมาในช่วงเวลาใด เวลาหนง่ึ ปจั จยั การผลติ แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 1. ปจั จัยคงท่ี (Fixed Factor) คือปัจจยั ท่ไี มม่ กี ารเปลีย่ นแปลงจานวนในระหว่างทาการผลติ เช่น ทดี่ ิน โรงงาน เครือ่ งจักร เป็นต้น 2. ปัจจยั ผนั แปร (Variable Factor) คือ ปัจจยั ท่มี กี ารเปลี่ยนแปลงจานวนในขณะทาการผลติ เชน่ แรงงาน วัตถุดบิ เชอ้ื เพลิง เป็นตน้

1. ทฤษฎีการผลิตแบบดงั้ เดมิ การผลิตระยะสัน้ (Short-run Production) หมายถึง การผลิตทหี่ น่วยธรุ กจิ ใชป้ จั จัย การผลติ อยู่ 2 ประเภท คือ ปัจจัยคงทแี่ ละปจั จยั ผนั แปร การศกึ ษาการผลติ ระยะส้นั จะมีคาสาคัญ ดังนี้ ผลผลิตรวม (Total Product : TP) คือ จานวนผลผลติ ทัง้ หมดที่เกิดขึ้น จากการนาปัจจยั การ ผลติ ผันแปรทางานร่วมกับปัจจัยการผลติ คงท่ี ผลผลติ เฉล่ีย (Average Product : AP) คือ จานวนผลผลติ ทัง้ หมดคิดเฉล่ยี ตอ่ ปัจจัยการผลติ ผนั แปร 1 หน่วย (TP÷จานวนปัจจัยผนั แปร) ผลผลิตหน่วยสดุ ทา้ ยหรือผลผลิตเพิม่ (Marginal Product : MP) คอื จานวนผลผลิตรวมที่ เพ่ิมข้ึน เมอื่ เพม่ิ ปจั จยั การผลติ ผนั แปร 1 หนว่ ย

1. ทฤษฎกี ารผลติ แบบดง้ั เดมิ ลกั ษณะการผลิตทเี่ กดิ ขึน้ ในระยะส้ันจะเปน็ ไปตาม กฎการลดน้อยถอยลงของผลได้ คอื เม่ือเพ่ิมปัจจยั การผลติ ชนดิ ใดชนิดหนึ่ง เพ่ิมขนึ้ เร่ือย ๆ โดยให้ปจั จยั การผลิตอกี ชนิดหน่งึ คงที่แลว้ ในท่ีสดุ ผลผลติ จะลดลง ระยะแรกผลผลติ รวม (TP) จะเพิ่มข้นึ ในอตั ราทเ่ี พิม่ ขน้ึ ระยะทีส่ องผลผลิตรวม (TP) จะเพมิ่ ข้นึ ในอตั ราท่ลี ดลง ระยะท่สี ามผลผลิตรวม (TP) จะลดลง

คา่ TP, AP และ MP ทด่ี นิ ปุย๋ TPขา้ ว APขา้ ว MPข้าว จากการใช้ท่ดี นิ ร่วมกับป๋ยุ 100 1 10 10 10 100 2 24 12 14 100 3 45 15 21 100 4 60 15 15 100 5 70 14 10 100 6 78 13 8 100 7 83 11.9 5 100 8 83 10.4 0 100 9 75 8.3 -8

ความสัมพนั ธร์ ะหว่าง TP, AP และ MP 1. เม่อื AP เพิ่มขน้ึ MP > AP เสมอ 2. เมอื่ AP ลดลง MP < AP เสมอ TP,AP,MP 3. เม่อื AP มคี า่ สงู สดุ MP = AP 123 4. เมอ่ื TP มคี ่าสูงสุด MP = 0 TP AP OX MP

การแบง่ การผลิตในระยะส้ัน ระยะแรกเรมิ่ ตั้งแต่ 0 จนผลผลิตเฉล่ยี มีคา่ สงู สุด ในระยะนผ้ี ู้ผลิตจะสามารถ เพิ่มปัจจัยการผลิตผันแปรเข้าไปในกระบวนการผลติ ได้เรื่อยๆ เพราะยงั สามารถขยาย การผลิตและทากาไรเพมิ่ เน่อื งจากผลผลิตรวม (TP) ยงั เพ่มิ ข้นึ ระยะที่สองเริม่ ต้ังแต่ AP มคี า่ สูงสุด ถึง MP เท่ากับศนู ย์ ระยะน้ผี ู้ผลิตยังคง เพม่ิ ปัจจยั การผลิตได้เรื่อย ๆ จนกระท่ัง MP เทา่ กับศนู ย์ ในขั้นนีผ้ ู้ผลติ จะได้รบั TP สูง ทส่ี ดุ ระยะที่สามเริ่มจาก MP เทา่ กบั ศูนย์ หรอื TP มคี ่าสูงสดุ เปน็ ตน้ ไป ในขัน้ น้เี มอ่ื ผ้ผู ลติ เพิม่ ปัจจัยการผลติ เขา้ ไปอีก ผลผลิตรวมจะลดลงเรอ่ื ย ๆ ผู้ผลิตจึงไมค่ วรทาการ ผลติ ในขน้ั น้ี

สาเหตุของการลดลงของผลได้จากปัจจัยผันแปรแต่ละหน่วยน้ัน เนื่องจากความ ไม่ได้สดั สว่ นของปัจจยั ผันแปรและปัจจัยคงท่ี ผลผลิตรวม สามารถจะเพม่ิ สูงขึ้นได้ต่อไป อีกก็ต่อเมื่อมีการขยายขนาดหรือเพิ่มปัจจัยคงที่ให้สอดคล้องกับจานวนปัจจัยผันแปรที่ เพิ่มขน้ึ นั้น ตวั อยา่ งเชน่ เมื่อเพ่ิมปัจจัยการผลิตผันแปรเข้าไปเร่ือย ๆ (ปุ๋ย) เพ่ือใช้ร่วมกับปัจจัยการผลิต คงท่ี (ที่ดนิ ) ผลท่ไี ดค้ ือ คา่ ผลผลติ หนว่ ยสุดทา้ ย (MP) จะเพิ่มข้ึนในตอนแรก แต่จะลดลง และในท่สี ดุ จะเป็น 0 และติดลบ นั่นคือ ข้าวจะเพมิ่ ข้ึนในตอนแรกและจะลดลงและตาย ในทีส่ ุด เพราะดนิ เค็มจากการใส่ปยุ๋ มากเกินไป

จดุ ออ่ นของทฤษฎีการผลติ แบบดัง้ เดิม ☺ตามความเปน็ จรงิ ไม่สามารถกาหนดให้ปจั จยั อืน่ คงทีไ่ ด้ ☺อธิบายได้เฉพาะการผลติ ในระยะสนั้ เท่านั้น ☺บอกให้ทราบแต่เพียงผลผลติ รวม ผลผลิตเพ่มิ และผลผลิตเฉลยี่ เปลยี่ นแปลงเทา่ นน้ั ☺ไม่ได้แสดงให้เห็นส่วนผสมของปจั จัยการผลติ ว่าควรมสี ัดสว่ นอยา่ งไร ผผู้ ลติ จงึ จะเสยี ตน้ ทนุ นอ้ ยทีส่ ดุ

2.ทฤษฎกี ารผลิตตามหลกั ผลผลิตและต้นทุนเทา่ กัน เปน็ การวเิ คราะห์ การผลิตในระยะยาว หมายถึง ระยะเวลาท่ียาวนานพอ จนปัจจยั การ ผลติ ทุกชนิดสามารถเปล่ียนแปลงได้หมด ทาให้ไมม่ ีปัจจยั ใดคงที่ การผลิตในระยะยาว จะมแี ต่ปจั จัยการผลติ ผนั แปรเทา่ นน้ั การวเิ คราะหด์ ว้ ยเสน้ ผลผลิตเทา่ กนั และเสน้ ตน้ ทุนเทา่ กัน เนอื่ งจากปัจจยั การ ผลติ ทกุ ชนิดผันแปร เพ่ือความงา่ ยในการวิเคราะหด์ ว้ ยรูปกราฟ จงึ สมมติใหม้ ีปจั จัยการ ผลติ เพียง 2 ชนดิ (ปจั จยั K และปจั จัย L)

เส้นผลผลติ เทา่ กนั (Isoquant : Iq) คอื เส้นทแ่ี สดงถึงส่วนผสมตา่ ง ๆ ของปจั จัย การผลติ 2 ชนิดทใ่ี ห้ผลผลติ เทา่ กัน (ปจั จยั K และปจั จยั L) ทุกจดุ บนเสน้ ผลผลติ เท่ากัน จะ แสดงสว่ นผสมของปจั จัยการผลติ ท่ีจะ ผลิตสินค้าได้จานวนเทา่ กนั พอดี ที่มา : http://e-book.ru.ac.th/ebook_files/EC103/mobile/index.html#p=130

ลักษณะของเส้นผลผลติ เท่ากนั 1. เป็นเสน้ ทอดลงจากซา้ ยไปขวา และโค้งเวา้ เข้าหาจุดกาเนดิ 2. มไี ดม้ ากมายหลายเสน้ แตล่ ะเส้นจะแสดงการผลิตท่เี ท่ากนั ระดบั หนึ่ง เสน้ ท่ีสงู กว่า แสดงระดับการผลิตทม่ี ากกว่าเสมอ 3. เส้นผลผลติ เท่ากันจะไม่ตัดกัน

เสน้ ตน้ ทุนเท่ากัน (Isocost Curve) คือ เสน้ ทแ่ี สดงถึงสว่ นผสมตา่ ง ๆ ของปัจจยั การผลติ 2 ชนิด ท่ีเสียตน้ ทนุ เท่ากนั (ปัจจัย K และปจั จยั L) ทกุ จดุ บนเสน้ ต้นทุนเท่ากัน จะ แสดงส่วนผสมของปจั จยั การผลิตที่ใช้ ตน้ ทุนเท่ากนั พอดี ท่มี า : http://e-book.ru.ac.th/ebook_files/EC103/mobile/index.html#p=132

การเปล่ยี นแปลงของเสน้ ตน้ ทนุ เทา่ กัน เปลย่ี นแปลงไดเ้ นอ่ื งจาก 3 สาเหตุ คอื 1. งบประมาณการลงทุนเปลยี่ นแปลง (ราคาปัจจัย K และปจั จยั L คงเดิม) ทาให้ซอ้ื ปัจจัยการผลิตไดม้ ากข้นึ เส้น ทาให้ซอ้ื ปจั จยั การผลิตไดน้ อ้ ยลง เสน้ จึงเคลอื่ นไปทางขวา จงึ เคลอ่ื นไปทางซ้าย ทมี่ า : http://e-book.ru.ac.th/ebook_files/EC103/mobile/index.html#p=132

2. ราคาปจั จยั K เปล่ียนแปลง (งบประมาณลงทุนและราคาปจั จัย L คงเดิม) ทาใหซ้ ้อื ปจั จัย K ได้มากข้ึน ซื้อปจั จัย L ได้เทา่ ทาให้ซอื้ ปัจจัย K ไดล้ ดลง ซื้อปจั จยั L ไดเ้ ท่า เดมิ จากงบประมาณลงทนุ ทม่ี เี ท่าเดิม เดมิ จากงบประมาณลงทุนท่มี ีเท่าเดิม ทีม่ า : http://e-book.ru.ac.th/ebook_files/EC103/mobile/index.html#p=132

3. ราคาปจั จยั L เปลีย่ นแปลง (งบประมาณลงทนุ และราคาปจั จยั K คงเดิม) ทาใหซ้ ้อื ปจั จยั L ไดม้ ากข้ึน ซื้อปจั จัย K ไดเ้ ท่า ทาใหซ้ อ้ื ปัจจยั L ไดล้ ดลง ซื้อปจั จยั K ไดเ้ ท่า เดมิ จากงบประมาณลงทุนท่มี เี ท่าเดมิ เดิม จากงบประมาณลงทุนท่มี ีเท่าเดิม ทีม่ า : http://e-book.ru.ac.th/ebook_files/EC103/mobile/index.html#p=132

ดลุ ยภาพในการผลติ คอื จุดท่ีส่วนผสมปัจจยั การผลิตเสียต้นทนุ ตา่ สุด นั่นคอื จุดทเี่ สน้ ผลผลติ เท่ากัน สมั ผสั กบั เสน้ ต้นทุนเท่ากัน แสดงระดเสบั ้นกผาลรผผลลติติ เททต่ี า่ า่กงันกันIQต1-ง้ั IแQต3่แ1ต0่ล0ะ-เ3ส0น้ 0 หน่วย จากภาพเสน้ ต้นทุนเทา่ กันสัมผัสกบั เหสนน้ ่วยIQโ2ดรยะใดชบั้สกว่ นารผผสลมติ ปทัจ่เี จหัยมาKะ=สKมEคใือช้ป20ัจ0จยั L=LE ทาให้เสียต้นทนุ ตา่ สุด ท่มี า : http://e-book.ru.ac.th/ebook_files/EC103/mobile/index.html#p=134


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook