Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 13.ประโยชน์ทางธุรกิจที่ได้รับจากการจัดการสิ่งแวดล้อม

13.ประโยชน์ทางธุรกิจที่ได้รับจากการจัดการสิ่งแวดล้อม

Published by นงเยาว์ บุญริน, 2022-02-27 01:34:26

Description: 13.ประโยชน์ทางธุรกิจที่ได้รับจากการจัดการสิ่งแวดล้อม

Search

Read the Text Version

ประโยชนท์ างธุรกจิ ที่ได้รับ ISO 14001 จากการจดั การสง่ิ แวดลอ้ ม ISO 50001 ISO 26000 ฉลากเขยี ว ฉลากคารบ์ อน

ISO 14001 ISO 14001 เปน็ มาตรฐานขององค์กรรปู แบบหนงึ่ แตเ่ ป็นมิตดิ า้ นสิง่ แวดล้อม ISO 14001 คอื มาตรฐานระบบการจัดการส่งิ แวดลอ้ ม (Environment management System) ที่ไดร้ บั การยอมรบั มากท่ีสุดจากหน่วยงานองค์กรทว่ั โลก มี วตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อให้องค์กรมีความตระหนักถึงความสาคัญของการจัดการส่ิงแวดลอ้ ม เพ่อื ให้เกดิ การพัฒนาส่งิ แวดลอ้ มควบค่กู บั การพฒั นาธุรกิจ โดยมุ่งเน้นในการปอ้ งกัน มลพิษและรกั ษาสิ่งแวดล้อมเปน็ หลกั เพื่อชว่ ยลดผลกระทบต่อสง่ิ แวดล้อม และลดตน้ ทนุ การผลติ ในธรุ กิจ ปัจจุบันจะเป็น ISO 14001 รุ่นปี 2015

ประโยชน์ของการนา ISO 14001 ไปใช้ในองค์กร องคก์ รสามารถลดตน้ ทนุ การผลติ ได้ เน่ืองจากจะทาให้องคก์ รสามารถวางแผนการใช้ทรพั ยากร และพลังงานใหน้ ้อยลง และลดค่าใช้จ่ายในการแกป้ ัญหาและการบาบัดของเสยี ได้ ช่วยเพมิ่ ศักยภาพในการแขง่ ขนั ทางการคา้ โดยเฉพาะคคู่ ้าหรือคแู่ ข่งทางการคา้ ทมี่ งุ่ ประเด็นเรื่อง ส่งิ แวดล้อมควบคกู่ บั ประเด็นคุณภาพอนื่ ๆ องคก์ รจะเป็นที่ยอมรับและได้รับความเชอ่ื ถอื ความไว้วางใจจากสังคม สถาบนั และหนว่ ยงานต่าง ๆ มากขน้ึ เชน่ เป็นทีเ่ ชื่อถอื ของสถาบนั การเงนิ และเพม่ิ ความเชอื่ มัน่ สาหรับผู้ลงทุนในตลาด หลกั ทรัพยห์ รอื ผู้ลงทุน เป็นต้น เกิดสมั พนั ธภาพอนั ดตี อ่ สังคมภายนอก เนือ่ งจากการผลิต การบรกิ ารขององคก์ รไม่มีผลกระทบ ต่อชุมชนหรอื สังคมภายนอกอนื่ ๆ องคก์ รสามารถสร้างชอ่ื เสยี งและภาพลักษณ์ท่ีดีได้

มาตรฐานระบบการจดั การพลังงาน ISO 50001 ISO 50001 คือ มาตรฐานใหม่ในดา้ นระบบการจัดการพลงั งานระดบั สากล (Environmental Management System: EnMS) ซ่งึ เปน็ EnMS ระบบแรกในโลกที่ พัฒนาข้ึน จากมาตรฐานระดบั ชาตแิ ละภูมภิ าคต่าง ๆ ระบบ EnMS ในมาตรฐาน ISO 50001 ตงั้ อยู่บนพืน้ ฐานของรูปแบบการจดั การท่ีเป็นท่เี ขา้ ใจอยกู่ ่อนแล้ว และไดร้ ับการ นาไปปฏบิ ตั ิโดยองค์กรตา่ งๆ ท่ัวโลก ISO 50001 ใชห้ ลักบรหิ ารงานคุณภาพ “Plan-Do-Check-Act” เป็นกรอบใน การบรหิ ารจัดการพลังงานสาหรบั โรงงานอุตสาหกรรม ธรุ กิจการค้าและองคก์ รต่างๆ โดย มจี ุดมุง่ หมายในการลดการใชพ้ ลงั งานของโลกลงให้ได้ประมาณรอ้ ยละ 60

ประโยชน์ท่อี งค์กรได้รับ ทาใหก้ ารจดั การด้านพลังงานขององค์กรอย่างมปี ระสิทธิภาพ ปรับปรุงสมรรถนะด้านพลังงานขององค์กร เพอ่ื ลดคา่ ใช้จ่าย และเพ่ิมประสิทธิภาพใน การใช้พลงั งาน สรา้ งความเช่ือม่ันในการปฏิบัตติ ามกฎหมาย สร้าง กระตนุ้ จิตสานึกดา้ นพลังงาน ชว่ ยสนับสนุนโครงการลดการปลดปลอ่ ยก๊าซเรอื นกระจก เป็นสว่ นหนงึ่ ของการสง่ เสริมการพัฒนาอย่างย่งั ยืน

ISO 26000 มาตรฐานความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม เปน็ แนวทางสาหรบั องค์กรตา่ ง ๆ ในการพฒั นาความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คมให้เกดิ ข้ึนกบั องค์กร มาตรฐานนี้จะมลี กั ษณะเป็นแนวปฏบิ ตั ใิ นการดาเนนิ งาน (Guidance) ไมใ่ ช่ ขอ้ กาหนด (Requirements) ดงั นั้น จงึ ไมส่ ามารถท่จี ะขอการรบั รองได้ ความรับผิดชอบต่อสังคม เปน็ ความรับผดิ ชอบขององค์กร ในผลกระทบท่เี กิดขึ้น จากการตดั สนิ ใจ และกิจกรรมต่าง ๆ ขององค์กร(รวมถงึ ผลติ ภณั ฑ์ บรกิ าร และ กระบวนการ) ทม่ี ีตอ่ สังคมและส่งิ แวดลอ้ ม ผ่านการแสดงออกอย่างโปรง่ ใสและมจี ริยธรรม ในการ

มีสว่ นร่วมในการพัฒนาอย่างยั่งยนื รวมถึงการสร้างสุขอนามัย และสวสั ดกิ ารทด่ี กี ับ สังคม คานึงถึงความคาดหวังของผมู้ ีส่วนไดเ้ สีย ปฏิบัติตามข้อกฎหมายตา่ ง ๆ ทเ่ี กี่ยวขอ้ ง รวมถึงสอดคล้องกับแนวปฏิบัติสากล บรู ณาการให้เกดิ ขน้ึ ท่วั ทงั้ องคก์ ร ภายใตข้ อบเขตของอิทธิพล และผลกระทบ ประโยชนข์ องความรบั ผดิ ชอบต่อสงั คมท่มี ตี ่อองค์กร ส่งเสริมให้เกิดการตดั สินใจบนพ้นื ฐานของความเขา้ ใจทดี่ ีขน้ึ เก่ียวกบั ความคาดหวังของ สงั คม เพม่ิ โอกาส และลดความเสีย่ งทีเ่ กีย่ วขอ้ งกบั ความรบั ผิดชอบต่อสงั คม ช่วยในการปรบั ปรุงการบรหิ ารความเสี่ยงขององคก์ ร

ปรับปรงุ ความสัมพันธ์ขององคก์ รกบั ผู้มีส่วนไดเ้ สีย ช่วยสรา้ งมุมมองใหม่ ๆ ใหก้ ับองคก์ ร และการ ตดิ ต่อกบั ผมู้ ีสว่ นไดเ้ สยี ทแี่ ตกตา่ งกันไป สร้างความภกั ดี การมีสว่ นรว่ ม และขวัญกาลังใจ รวมถึงการสร้างความปลอดภยั และสุขอนามยั ทีด่ ใี หก้ บั พนักงาน สง่ ผลในทางบวกใหก้ บั ขดี ความสามารถขององค์กร ในการสรรหา จูงใจและรักษาพนกั งานของ องคก์ ร ช่วยให้เกิดการประหยดั จากผลผลติ ทเี่ พิม่ ขนึ้ และความมีประสทิ ธภิ าพในการใช้ทรพั ยากร การใช้ พลังงาน และน้าท่ีลดลง รวมถงึ ปริมาณของของเสียทีล่ ดลง ปรบั ปรงุ ความนา่ เชือ่ ถอื และความเป็นธรรมของธุรกรรมต่าง ๆ ผ่านการมีส่วนรว่ มทางการเมอื ง อยา่ งรับผิดชอบ การแขง่ ขันอยา่ งเปน็ ธรรม และการปฏเิ สธการคอรปั ช่ัน ป้องกัน หรือลดความขัดแยง้ ทอ่ี าจจะเกิดข้นึ กบั ผู้บริโภคเก่ียวกับผลติ ภณั ฑ์ หรอื บรกิ าร

ฉลากเขียว ฉลากเขยี วของประเทศไทย ริเรมิ่ ขนึ้ โดยองคก์ รธุรกจิ เพื่อการพฒั นาอย่างยัง่ ยนื (Thailand Business Council for Sustainable Development, TBCSD) เมอื่ เดือนตลุ าคม พ.ศ. 2536 และ ไดร้ ับความเห็นชอบและความรว่ มมือจากกระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงวทิ ยาศาสตร์และ เทคโนโลยี กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ้ ม สานกั งานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรม และหน่วยงานอน่ื ๆ ที่เกยี่ วข้อง ใหป้ ฏิบัติออกมาเป็นรูปธรรม จึงนับวา่ เป็นฉลากสิ่งแวดลอ้ มของประเทศไทยที่เกดิ จากการรว่ มมือระหว่างสว่ นราชการ และองคก์ รกลางต่าง ๆ โดยมสี านกั งานมาตรฐานผลิตภณั ฑ์อตุ สาหกรรมและสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย ทาหนา้ ทเี่ ปน็ เลขานุการ

แนวคดิ ของฉลากเขยี ว 1.ฉลากเขยี ว เป็นฉลากทอ่ี อกใหก้ บั ผลิตภณั ฑ์ ซึง่ ไดผ้ า่ นการประเมนิ และตรวจสอบว่าไดม้ าตรฐาน ทางด้านส่ิงแวดล้อมตามขอ้ กาหนดท่ีทางคณะกรรมการนโยบายและบริหารงานฉลากเขียวประกาศใช้ 2.เป็นการสมัครใจของผผู้ ลิต ผูจ้ ดั จาหนา่ ย หรอื ผใู้ ห้บริการ ทต่ี ้องการแสดงความรบั ผิดชอบตอ่ ส่งิ แวดลอ้ ม 3.ปลูกฝงั จติ สานกึ ท่ีดที างด้านสง่ิ แวดลอ้ มให้แกผ่ ู้บริโภค โดยการแนะนาผลติ ภณั ฑท์ ม่ี ผี ลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมนอ้ ย และกระตุ้นให้มกี ารบริโภคผลิตภณั ฑ์ดังกลา่ วมากขน้ึ 4.กระตุน้ ใหก้ ล่มุ อุตสาหกรรมผู้ผลิต หันมาใช้เทคโนโลยสี ะอาดเพ่อื ผลิตผลิตภณั ฑ์ทม่ี ผี ลกระทบต่อ ส่ิงแวดลอ้ มนอ้ ย 5.กระตุ้นให้รัฐบาลและเอกชน ร่วมมอื กนั ฟ้ืนฟูและรกั ษาสิ่งแวดล้อม ลดปญั หามลภาวะด้วยการ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภค

ประโยชนท์ ธ่ี รุ กจิ ได้รับจากฉลากเขียว 1. เปน็ ฉลากทต่ี ิดบนผลติ ภัณฑ์ใหผ้ ูบ้ ริโภคทราบว่าผลิตภณั ฑน์ ัน้ เน้นคุณค่าทาง สิ่งแวดลอ้ ม ผ้บู ริโภคจะไดเ้ ลอื กซือ้ ถูกตอ้ งตามวัตถุประสงค์ 2. ในส่วนผู้ผลติ หรอื ผูจ้ ัดจาหนา่ ยจะได้รบั ผลประโยชน์ในแง่กาไร เนือ่ งจากมกี ารบรโิ ภค ผลิตภณั ฑ์เหลา่ นน้ั มากขึ้นผลักดันให้ผู้ผลิตรายอืน่ ๆ ตอ้ งแขง่ ขนั กันปรับปรงุ คุณภาพของ สนิ ค้าหรือบรกิ ารของตนในดา้ นเทคโนโลยโี ดยคานึงถงึ ผลกระทบตอ่ ส่ิงแวดลอ้ มเป็น สาคัญ ท้งั นี้เพื่อให้เกิดการยอมรับของประชาชนและส่งผลตอบแทนทางเศรษฐกจิ แก่ ผผู้ ลติ เองในระยะยาว

ฉลากคารบ์ อน ฉลากคารบ์ อน (Carbon label) เปน็ การแสดงขอ้ มูลการปล่อยกา๊ ซเรือนกระจก หรือคารบ์ อนฟุตพร้ินท์ (Carbon footprint) ตลอดวัฎจกั รชีวิตผลติ ภัณฑ์ โดยแสดงผลอยู่ใน รปู ของกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเทา่ (CO2 equivalent) ความเปน็ มาของฉลากคาร์บอน ในชว่ งปี 2543-2552 องค์กรอิสระคาร์บอนทรสั ต์ (Carbon Trust) เป็นหนว่ ยงานเอกชนทจ่ี ดั ตงั้ โดยรฐั บาลสหราชอาณาจกั รได้รเิ รม่ิ การติด ฉลากคารบ์ อน ของผลิตภัณฑ์หรือบริการ ใหผ้ ู้บรโิ ภคและหนว่ ยงานจดั หาภายในบริษทั ได้ รบั ทราบ

แบ่งออกเป็น 4 ประเภท คอื ประเภทที่ 1 ฉลากบ่งชี้การปลอ่ ยคารบ์ อนตา่ (Low- carbon seal) แสดงข้อมูลการปล่อยก๊าซเรือนกระจกใน ปรมิ าณที่ต่ากว่าผลิตภัณฑ์ในกลมุ่ เดยี วกนั ประเภทที่ 2 ฉลากบง่ ช้รี ะดบั การปลอ่ ยคาร์บอน (Carbon rating) แสดงระดบั การปลอ่ ยก๊าซเรือน กระจกของผลติ ภณั ฑ์ เชน่ ระดบั เหรยี ญทอง เงนิ และ ทองแดง หรือบ่งช้ีระดบั การลดลงของปริมาณการปล่อย กา๊ ซเรือนกระจก (Carbon reduction rating) แต่ไม่ได้ แสดงข้อมูลตัวเลขปริมาณการปล่อยกา๊ ซเรอื นกระจก

ประเภทที่ 3 ฉลากระบุขนาดคาร์บอน (Carbon score) แสดงปรมิ าณการปล่อย ก๊าซเรือนกระจกเปน็ ตวั เลขขนาดคาร์บอน ฟุตพร้นิ ท์ ประเภทที่ 4 ฉลากชดเชยคาร์บอน (Carbon offset/neutral) แสดงการ ชดเชยคารบ์ อน

ฉลากคารบ์ อนของประเทศไทย องค์การบรหิ ารจดั การก๊าซเรอื นกระจก หรือ อบก. ได้พฒั นา ฉลากคารบ์ อนขึ้น 3 แบบ ได้แก่ 1) เครอ่ื งหมายคารบ์ อนฟุตพรน้ิ ทข์ องผลิตภัณฑ์ (Carbon Footprint of Product) 2) ฉลากลดคารบ์ อนฟุตพร้ินท์ของผลติ ภณั ฑ์ หรอื เรียกสนั้ ๆว่า “ฉลากลดโลกร้อน” 3) ฉลากคูลโหมด (CoolMode)

1) เครอื่ งหมายคาร์บอนฟตุ พริน้ ทข์ องผลติ ภณั ฑ์ คอื ปริมาณก๊าซเรือนกระจกท่ปี ลอ่ ย ออกมาตลอดวฏั จักรชีวติ ของ ผลติ ภัณฑต์ ง้ั แต่การไดม้ าซ่งึ วัตถดุ ิบ การขนสง่ การผลิตหรอื การประกอบช้ินส่วน การใชง้ าน และการจัดการซากผลติ ภัณฑห์ ลังใชง้ าน คานวณออกมา ในรูปของ คารบ์ อนไดออกไซดเ์ ทยี บเทา่ (CO2 equivalent) ตอ่ หน่วยผลติ ภณั ฑ์

2. เคร่ืองหมายรบั รองการลดคารบ์ อนฟตุ พรนิ้ ทข์ องผลติ ภณั ฑ์ หรอื เรยี กสั้นๆ วา่ “ฉลากลดโลกรอ้ น” สาหรบั รบั รองว่าผลิตภณั ฑ์นัน้ ได้ผ่านกระบวนการทช่ี ่วยลดปรมิ าณ การปล่อยกา๊ ซเรือนกระจกตลอดวัฏจกั รชีวิตผลิตภณั ฑ์เรยี บร้อยแลว้

3. CoolMode หรือคูลโหมด เปน็ ฉลากทีม่ อบให้กบั เสื้อผา้ หรอื ผลติ ภัณฑท์ ่ีมีคณุ สมบัติ พเิ ศษในการซับเหงอื่ และระบายความรอ้ นได้ดี ทาให้สวมใสส่ บาย ไม่ร้อนอบอา้ ว

ประโยชน์ท่ีผู้ผลติ ได้รบั  เพ่ิมขดี ความสามารถของสนิ คา้ ของตนในตลาดโลก  ลดต้นทุนหรอื เพิม่ ประสทิ ธภิ าพการผลิต นาข้อมูลผลการคานวณคาร์บอนฟตุ พ รนิ้ ท์มาใช้ประกอบการวางแผน การดาเนินงานเพ่อื ปรบั ปรงุ กระบวนการผลิตให้ ลดการปล่อยก๊าลดซตน้เทรนุ ือหรนอื เพกม่ิ ปรระะสจทิ ธกภิ าซพก่งึ ารผมลิตีความเกยี่ วขอ้ งกับการใช้พลังงานและวตั ถุดบิ ในการผลติ  สรา้ งกระบวนการมีส่วนร่วมในการบรหิ ารจดั การกา๊ ซเรือนกระจก ตลอดโซ่ อุปทานการผลิต  ส่งเสรมิ การตลาดและเสรมิ สร้างภาพลกั ษณะท่ดี ใี ห้กบั องคก์ ร

ประโยชน์ท่ีผบู้ รโิ ภคได้รับ  มีสว่ นรว่ มในการลดการปลอ่ ยก๊าซเรือนกระจกผา่ นการเลอื กซื้อ สินคา้ ที่มีฉลาก คาร์บอนฟุตพรน้ิ ท์บนผลติ ภณั ฑ์