Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Vernear

Vernear

Published by supaneeprachan, 2019-08-04 04:57:30

Description: Vernear

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการสอนวชิ าวดั ละเอยี ด เรือ่ ง เวอรเ์ นียรค์ ารล์ ิปเปอร์ ครูสุปาณี วงค์พระจนั ทร์ แผนกวชิ าช่างกลโรงงาน

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 4 เวอรเ์ นยี ร์ (Vernier) 4.1 ชนิดของเวอร์เนียร์ สามารถแบง่ ได้ดังนี้ 4.1.1 เวอรเ์ นียร์คาลปิ เปอร์ (Vernier Calipers) 4.1.2 เวอรเ์ นยี รไ์ ฮเกจ (Vernier Height Gauge) 4.1.3 เวอร์เนยี รว์ ดั ลกึ (Vernier Depth Gauge) 4.1.1 เวอรเ์ นียรค์ าลปิ เปอร์ (Vernier Calipers) เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ เป็นเคร่ืองวัดความยาวอย่างละเอียดที่ใช้หลักของเวอร์เนียร์สเกล โดยการแบ่ง สเกลตามแนวยาวคล้ายไมบ้ รรทัด แตม่ กี ารแบง่ สเกลรองโดยการใช้สเกลเลอื่ นเพื่อให้สามารถวัดได้ละเอียดมากขึ้น ซ่งึ เครอ่ื งมอื วัดนี้คิดข้ึนโดย ปแิ อร์ เวอร์เนยี ร์ (Pierre Vernier) ชาวฝร่ังเศส เม่อื ประมาณปี พ.ศ. 2174 หรอื ค.ศ. 1637 ซ่งึ เดมิ ท่ที าการคดิ เก่ียวกับการใชง้ านสเกลเลื่อน 2 ชิน้ มาทาใหเ้ กิดระยะการเลอื่ นขยาย เรียกวา่ เวอร์เนียร์ สเกล หลักจากนนั้ นายโจเซฟ อารบ์ ราวน์ ได้มาทาการประยุกตเ์ พม่ิ ปากวัดงาน (Caliper) เพ่ือให้สามารถใช้งานได้ ดีขึ้น จึงได้เปลี่ยนชื่อเรียกเป็น เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ (Vernier Caliper) ตามชื่อของนายเวอร์เนียร์ และช่ือเรียก ปากวดั งาน สาหรับเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ที่มีใช้กันในปัจจุบันมีหลายแบบหลายชนิด ซึ่งก็แล้วแต่ผู้ผลิตจะทา ออกจาหนา่ ย โดยบางชนิดอาจใชก้ ับงานวัดเฉพาะด้าน แตใ่ นเบื้องต้นชนดิ ทเี่ ราจะศกึ ษากนั เปน็ แบบท่ีใช้งานท่ัวไป (Universal Vernier Caliper) ซึ่งมีลกั ษณะดงั ภาพท่ี 4-1 ภาพท่ี 4-1 แสดงเวอรเ์ นียร์คาลปิ เปอรแ์ บบทัว่ ไป

4.1.2 เวอร์เนียรไ์ ฮเกจ (Vernier Height Gauge) เวอร์เนียร์วัดความสูงใช้เม่ือต้องการวัด ตรวจสอบความสงู ของงานและขีดขนาดความสงู ของ งานไดข้ นาดถกู ต้องแมน่ ยา ใช้ขดี ร่างแบบ (Lay out) ตามขนาดแบบงานเนื่องจากเวอรเ์ นียร์ ไฮเกจมหี ลกั การแบง่ สเกลเชน่ เดียวกับเวอรเ์ นียร์ คาลปิ เปอร์ ขนาดความยาวในระบบเมตริก 300, 500, 600 และ 1,000 มม. มคี ่าความละเอยี ด 0.02 มม. ขนาดความยาวในระบบอังกฤษ12 น้วิ 18 นวิ้ 24 นว้ิ และ 40 นวิ้ มีค่าความละเอียด 0.001 นวิ้ ภาพท่ี 4-2 เวอร์เนยี ร์ไฮเกจ 4.1.3 เวอร์เนียร์วดั ลกึ (Venier Depth Gauge) จดุ ประสงค์ของการใชเ้ วอรเ์ นยี รว์ ดั ลึก เพ่ือใช้วัดความลกึ ของรูเจาะ ความลกึ ของบา่ งาน ร่องลึกต่าง ระดับ การวัดสามารถอ่านค่าจากสเกลได้เช่นเดยี วกับการใช้เวอร์เนยี ร์คาลิปเปอร์ แตกต่างกันท่ีการวัดสเกลหลัก จะเปน็ ตัวเคลอ่ื นที่ สว่ นสเกลเลอ่ื นจะอยกู่ ับท่ีสามารถอา่ นคา่ ได้อยา่ งถูกต้องแมน่ ยา ภาพท่ี 4-3 เวอรเ์ นียร์วัดลึกลักษณะตา่ ง ๆ ภาพที่ 4-4 เวอรเ์ นียร์วัดลึก

4.2 ส่วนประกอบและหนา้ ที่ 4.2.1 เวอร์เนียรค์ าลิปเปอร์ (Vernier Caliper) ภาพที่ 4-5 แสดงส่วนประกอบของเวอรเ์ นียร์คาลิปเปอร์ ชอื่ สว่ นประกอบ หน้าที่ 1. ปากวัดนอก (Outside Caliper Jaws) วดั ขนาดภายนอกของช้นิ งาน 2. เขี้ยววัดใน (Inside Caliper Jaws) วัดขนาดภายในของชน้ิ งาน 3. ก้านวดั ลกึ (Depth Probe) วดั ขนาดความลึกของช้นิ งาน 4. สเกลหลกั (Main Scale) เปน็ คา่ สเกลหยาบทอี่ ยู่บนลาตัวเวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ 5. สเกลเลอื่ น (Vernier Scale) เปน็ ค่าสเกลขยายค่าความละเอยี ดอยบู่ นปากวดั เลอ่ื น 6. สกรูลอ็ ค หรอื ปุ่มล็อค (Locking Screw) ล็อคตาแหนง่ ของปากวัดใหค้ งท่ี

4.2.2 เวอร์เนียรไ์ ฮเกจ (Vernier Height Gauge) ภาพที่ 4-6 แสดงสว่ นประกอบของเวอร์เนียรไ์ ฮเกจ ช่ือสว่ นประกอบ หนา้ ท่ี 1. ฐาน เป็นฐานรองรบั น้าหนักและเคล่ือนทใ่ี นการร่างแบบบนโต๊ะระดับ 2. บรรทดั สเกลหลัก เปน็ คานที่กาหนดความสูงและการเคลอื่ นที่ของเวอร์เนยี ร์ไฮเกจ 3. สเกลหลัก เป็นค่าสเกลหยาบทีอ่ ยู่บนบรรทัดสเกลหลัก 4. ตัวเลอ่ื น เป็นตัวบังคับการเคลอ่ื นทข่ี องสเกลเลอื่ น 5. สเกลเล่ือน เปน็ ค่าสเกลหยาบคา่ ความละเอยี ดของสเกลหลัก 6. มีดทาเครอื่ งหมาย ใชข้ ีดทาเคร่ืองหมายบนช้นิ งาน 7. ตัวเลื่อนปรบั ละเอียด เป็นตัวเลื่อนประคองเกลียวปรับละเอียด 8. สกรลู ็อคปรับละเอียด ล็อคตวั เลอื่ นปรบั ละเอยี ด 9. เกลยี วปรบั ละเอียดและแปน้ ปรับความละเอียดของสเกลการวัด เกลยี ว 10. สกรูล็อคตาแหนง่ ลอ็ คตาแหน่งของปากวัดใหค้ งท่ี

4.2.3 เวอร์เนียร์วดั ลึก (Vernier Depth Gauge) ภาพที่ 4-7 ส่วนประกอบของเวอรเ์ นยี ร์วดั ลกึ ชอ่ื ส่วนประกอบ หน้าท่ี 1. แกนวดั ลกึ วดั ความลึกของชิน้ งานเพอ่ื ปอ้ งกันการหนนุ ของครบี บริเวณมุมงาน 2. ผวิ แนบงานของสะพานยัน หรือรัศมโี คง้ เพื่อบงั คบั ให้แนวแกนของบรรทดั วดั ลึกอยู่รว่ มกบั แนวแกนวดั ของ 3. สะพานยนั ช้นิ งาน 4. แป้นเกลยี ว เป็นฐานบงั คบั แนวแกนบรรทัดวัดลกึ เพื่อยึด หรอื ปรับแตง่ ความฝืดของการเลื่อนระหวา่ งบรรทดั แกนวดั 5. ขีดเวอร์เนียร์ ลึกกับสะพานยนั 6. ขีดมาตราหลกั เป็นค่าสเกลขยายค่าความละเอยี ดบนสะพานยัน 7. ตัวเลขบอกขนาดของเวอร์เนียร์วัดลกึ เป็นค่าสเกลขยายทอี่ ยบู่ นบรรทัดแกนวัดลกึ 8. บรรทัดแกนวดั ลึก เป็นตวั เลขหน่วยหลักของการวัด วัดความลกึ ของชน้ิ งาน

4.3 หลักการแบง่ สเกลและการอา่ นค่า 4.3.1 หลกั การแบง่ สเกลและการอา่ นค่าระบบอังกฤษ  หลกั การแบง่ สเกลและการอา่ นค่าระบบอังกฤษ 1/128 น้ิว ภาพที่ 4-8 การแบ่งคา่ ความละเอียด 1/128 นิ้ว จากภาพที่ 4-8 : 1 ช่องของสเกลหลกั มคี า่ = 1/16 นิว้ นา 7/16 นว้ิ มาแบง่ เป็น 8 ช่องเทา่ ๆ กนั = (7/16)/8 = 7/16 x 1/8 = 7/128 นวิ้ ดังน้ัน มีค่าความแตกตา่ ง = 1/16 – 7/128 = 8 – 7/128 = 1/128 น้วิ 1 ชอ่ ง ของสเกลเลอ่ื นมีค่าเทา่ กับ 1 /128 นิว้  วธิ ีอ่านเวอร์เนยี ร์คาลิปเปอร์วัดละเอยี ด 1/128 นิ้ว วิธีอา่ น จะอา่ นเป็นเศษสว่ น โดยอา่ นค่าวัดจากสเกลมาตราหลกั ก่อน แล้วนามาบวกกับค่าของเวอร์ เนยี ร์สเกล ดงั ตวั อยา่ งภาพท่ี 4-9 ตามลาดับ ดังนี้ ภาพที่ 4-9 คา่ วัดจากเวอรเ์ นียรค์ าลปิ เปอร์ ชนดิ 1/128 น้ิว

1. อ่านจากบรรทดั สเกลหรือสเกลมาตราหลักได้ = 1 (2/16) นิ้ว 2. อ่านจากเวอรเ์ นยี รส์ เกล = 3/128 นว้ิ 3. รวมคา่ วัดทอี่ า่ นได้ 1(2/16) + 3/128 = 1(19/128) นิว้  หลักการแบง่ สเกลและการอ่านคา่ ระบบองั กฤษ1/1000 นว้ิ ภาพที่ 4-10 การแบง่ ค่าความละเอียด 0.001 น้วิ จากภาพที่ 4-10 : 1 ช่องสเกลหลกั มคี ่า = 0.025 นิ้ว 4 ชอ่ งสเกลหลักมคี ่า = 4 x 0.025 น้วิ = 0.100 นวิ้ = 0.049 นว้ิ นา 1.225 นวิ้ มาแบ่งเปน็ 25 ชอ่ งเทา่ ๆ กนั = 1.225/25 = 0.001 น้วิ ดงั น้นั มีคา่ ความแตกตา่ ง = 0.05 – 0.149 1 ช่องของสเกลเลอ่ื นมีค่าเท่ากับ 0.001 นิว้

 วิธีอ่านเวอรเ์ นียร์คาลิปเปอร์วัดละเอยี ด 1/1000 นวิ้ เน่ืองจากสเกลมาตราหลกั ในระยะ 1 น้ิว แบง่ ออกเป็น 40 ช่อง ดังน้นั ในแต่ละช่องจะมี คา่ เท่ากบั 1/40 เท่ากบั 0.025 นิว้ (ดังภาพที่ 4-10) เวลาอ่านค่าวดั กอ็ า่ นค่าท่สี เกลมาตราหลกั ก่อน แล้วจงึ อา่ นคา่ จากเวอร์เนยี ร์สเกล และรวมค่าวดั เข้าด้วยกนั ดงั ภาพที่ 4-11 ภาพที่ 4-11 ค่าวดั เวอร์เนยี ร์คาลปิ เปอรช์ นดิ 1/1000 นวิ้ 1. อ่านจากบรรทัดสเกลหรือสเกลมาตราหลกั ได้ = 2.300 นิ้ว 2. อา่ นจากเวอรเ์ นยี รส์ เกล ตรงกับขีดที่ 16 = 16(0.001)= 0.016 นิ้ว 3. รวมคา่ วัดท่อี ่านได้ 2.650 + 0.016 = 2.316 นิ้ว 4.3.2 หลักการแบง่ สเกลและการอา่ นคา่ ระบบเมตรกิ  หลักการแบ่งสเกลและการอ่านค่าระบบเมตรกิ 1/20 มม. (0.05 มม.) อา่ นคา่ วัดไดล้ ะเอียด 0.5 เชน่ 20.15 มม. 30.05 มม. ฯลฯ ซ่ึงเกิดจากการแบ่งช่องมาตราเล่อื นออกเป็น 20 ชอ่ ง ใน ความยาว 19 มม. ของชอ่ งมาตราหลกั 20 ชอ่ งมาตราบนแผ่นมาตราเล่ือนมรี ะยะทาง = 19 มม. 1 ช่องมาตราบนแผ่นมาตราเลื่อนมรี ะยะทาง = 19 มม. = 0.95 มม. 20 เมอ่ื ขดี สเกลศนู ยท์ งั้ สองอยูต่ รงกนั ขดี ท่ี 1 ของขีดมาตราเลื่อนอยเู่ ยอ้ื งกับขดี 1 มม. = 1 – 1(0.95) = 0.05 มม. ขดี ท่ี 2 ของขดี มาตราเลอ่ื นอยู่เยื้องกบั ขีด 2 มม. = 2 – 2(0.95) = 0.1 มม. ขีดท่ี 3 ของขีดมาตราเลื่อนอยเู่ ยอ้ื งกับขดี 3 มม. = 3 -3(0.95) = 0.15 มม. ฯลฯ ขดี ท่ี 20 ของขีดมาตราเล่ือนอยู่เย้ืองกบั ขดี 20 มม. = 20 – 20(0.95) = 1 มม.

ภาพที่ 4-12 แสดงการแบง่ สากล 1/20 มม. เมื่อเลื่อนปากเวอรเ์ นยี รอ์ อกขีดสเกลศนู ยท์ ัง้ สองจะอยเู่ ย้ืองกนั = 0.05 มม. ถ้าขีดสเกลท่ี 1 อยตู่ รงกันขีดสเกลศนู ย์อยเู่ ยื้องกัน = 1 – 0.95 = 0.1 มม. ถ้าขดี สเกลท่ี 2 อยู่ตรงกันขีดสเกลศนู ย์อย่เู ยอ้ื งกัน = 2 – 1.9 = 0.15มม. ถา้ ขีดสเกลท่ี 3 อยูต่ รงกนั ขีดสเกลศูนยอ์ ยู่เยื้องกนั = 3 – 2.85 = 1 มม. ถา้ ขดี สเกลที่ 20 อยตู่ รงกันขดี สเกลศนู ย์อยเู่ ยอ้ื งกัน = 20 – 19.0 ภาพที่ 4-13 ขีดสเกลที่ 10 ตรงกันขีดสเกลศนู ย์เยื้องกัน 0.5 มม. ภาพที่ 4-14 ขีดสเกลท่ี 11 ตรงกนั ขีดสเกลศูนยเ์ ยอื้ งกนั 0.55 มม.

 วิธีอ่านค่าวดั จากเวอร์เนยี รค์ าลิปเปอรข์ นาด 1 มม. ใหก้ ระทา 4 ข้นั คือ 20 อ่านได้ รวม ขั้นท่ี 1 อ่านค่าวดั เป็น 10 ซ.ม. 100 มม. เซนติเมตรจากขดี มาตราหลัก ขั้นที่ 2 อ่านคา่ วัดเป็น 3 ซ.ม. 103 มม. มิลลเิ มตรจากขีดมาตราหลัก ขน้ั ที่ 3 อา่ นค่าวัดทลี่ ะเอยี ด 0.6 มม. 103.6 มม. 0.1 จากขดี มาตราเล่อื น ขน้ั ท่ี 4 อ่านคา่ วดั ท่ลี ะเอยี ด 0.05 มม. 103.65 มม. 0.05 จากขีดมาตราเลือ่ น ภาพที่ 4-15 ตัวอย่างการอ่านค่า จากรูปอ่านค่าวดั ไดเ้ ท่ากบั 57.25 มม.

 หลกั การแบง่ สเกลและอา่ นคา่ ระบบเมตริก 1/50 มม. (0.02 มม.) อา่ นคา่ วดั ได้ละเอยี ด 0.02 มม. เช่น 20.62 มม. 15.04 มม. ฯลฯ ซ่ึงเกดิ จากการแบง่ ช่องมาตรา เล่อื นออกเป็น 50 ชอ่ ง ในความยาว 49 มม. ของช่องมาตราหลกั 50 ชอ่ งมาตราบนแผ่นมาตราเลอ่ื นมรี ะยะทาง = 49 มม. 1 ช่องมาตราบนแผ่นมาตราเลอ่ื นมรี ะยะทาง = 49 มม. 50 = 0.98 มม. เมอ่ื ขดี สเกลศูนย์ท้งั สองอยู่ตรงกัน ขีดที่ 1 ของขดี มาตราเล่ือนอยู่เยือ้ งกับขดี 1 มม. = 1 – 1(0.98) = 0.02 มม. ขีดที่ 2 ของขดี มาตราเลอ่ื นอยูเ่ ยอ้ื งกับขดี 2 มม. = 2 – 2(0.98) = 0.04 มม. ขีดท่ี 3 ของขดี มาตราเลื่อนอยูเ่ ย้อื งกบั ขดี 3 มม. = 3 – 3(0.98) = 0.06 มม. ขดี ท่ี 50 ของขีดมาตราเล่อื นอยู่เยอื้ งกบั ขีด 50 มม. = 50 – 50(0.98) = 1 มม. ภาพท่ี 4-16 แสดงการแบ่งสเกล1/50 มม. มอ่ื เล่ือนปากวัดออกขดี สเกลศูนยท์ ง้ั สองจะอยเู่ ยอื้ งกนั ดังนี้ ถ้าขดี ท้ังสองของสเกลที่ 1 ตรงกับขดี สเกลศูนย์เยอ้ื งกนั = 1 – 1(0.98) = 0.02 มม. ถา้ ขดี ท้ังสองของสเกลท่ี 2 ตรงกับขีดสเกลศูนยเ์ ยื้องกนั = 2 – 2(0.98) = 0.04 มม. ถา้ ขดี ทัง้ สองของสเกลท่ี 3 ตรงกบั ขดี สเกลศูนย์เยื้องกัน = 3 – 3(0.98) = 0.06 มม. ถา้ ขดี ทั้งสองของสเกลที่ 50 ตรงกับขดี สเกลศูนย์เยือ้ งกัน = 50 – 50(0.98) = 1 มม. ภาพท่ี 4-17 เม่ือขีดสเกลที่ 26 ตรงกนั ขดี สเกลศูนยเ์ ยือ้ งกัน = 0.52 มม.

ภาพที่ 4-18 เมื่อขดี สเกลท่ี 35 ขีด สเกลศนู ยเ์ ยื้องกัน = 0.74 มม.  วธิ ีอ่านคา่ วัดของเวอรเ์ นียรค์ าลิปเปอรข์ นาด 1 มม. ให้กระทา 4 ขนั้ คือ 50 อ่านได้ รวม ขน้ั ท่ี 1 อ่านคา่ วดั เปน็ เซนติเมตร 8ซม.(80 มม.) จากขดี มาตราหลกั ข้ันที่ 2 อา่ นคา่ วัดเปน็ มิลลิเมตร 5 มม. 85 มม. จากขีดมาตราหลัก ขั้นท่ี 3 อา่ นคา่ วัดทลี่ ะเอยี ด 0.1 อ่านได้ รวม จากขดี มาตราเลือ่ น 0.5 มม. 85.50 มม. ขั้นท่ี 4 อา่ นคา่ วดั ทล่ี ะเอียด 0.02 0.06 มม. 85.56 มม. จากขดี มาตราเล่อื น

ภาพที่ 4-19 แสดงตวั อยา่ งการอา่ นค่า จากรูปอ่านคา่ วดั ได้เท่ากบั 68.32 มม. 4.4 การใชง้ านของเวอร์เนยี ร์ 4.4.1 การใชง้ านของเวอร์เนยี รค์ าลิปเปอร์ (Vernier Caliper) เวอรเ์ นียรค์ าลปิ เปอร์สามารถใช้วัดงานได้ 3 ลักษณะ คอื  ใชว้ ดั ขนาดภายนอก ก่อนวดั ให้กางปากวดั ทงั้ คกู่ ว้างกวา่ ความโตงานเลก็ น้อยแล้วค่อย ๆ บีบปาก วัดเลอ่ื นเข้าจนปากวดั ทั้งคู่สัมผสั กับผิวงาน ภาพที่ 4-20 วิธใี ชเ้ วอรเ์ นียร์คาลปิ เปอร์วัดขนาดงาน ภาพท่ี 4-21 วิธีใชป้ ลายปากวัดนอกวัดความโตนอกทมี่ ลี ักษณะตกรอ่ งแคบ ๆ

 ใช้วัดความโตในของงานโดยใชเ้ ขีย้ วไขว้สาหรบั วัดในหรอื ปากวดั ใน ก่อนวดั ให้ ปากวดั ทงั้ คู่ แคบกวา่ ความโตในงานเล็กน้อยแล้วเล่อื นเขี้ยวไขวอ้ อกจากสมั ผัสผวิ งาน ภาพที่ 4-22 วิธีใช้เขยี้ วไขวส้ าหรับวดั ในงานความโตในงาน  ใชว้ ัดความลึกงานโดยใช้กา้ นวดั ลึกก่อนวัดให้ปลายของก้านวดั ลกึ อยู่เหนือผวิ งานเลก็ นอ้ ย แล้วคอ่ ย ๆ เล่อื นก้านวดั ลึกลงจนสัมผสั ผิวงาน ดังภาพท่ี 4-23 ภาพท่ี 4-23 วธิ ใี ช้ก้านวดั ลึกวดั ความลกึ งาน

ขน้ั ตอนในการใชเ้ วอรเ์ นยี ร์คาลิปเปอร์ในการวัดขนาดงาน 1. ตรวจสอบเคร่ืองมอื วัด ดังน้ี 1.1 ใช้ผ้าเช็ดทาความสะอาด ทกุ ช้ินส่วนของเวอรเ์ นยี รก์ อ่ นใชง้ าน 1.2 คลายล็อคสกรู แล้วทดลองเลื่อนเวอร์เนียร์สเกลไป – มาเบา ๆ เพ่ือตรวจสอบดูว่า สามารถใชง้ านได้คล่องตัวหรือไม่ 1.3 ตรวจสอบปากวัดของเวอร์เนียรโ์ ดยเลื่อนเวอร์เนียรส์ เกลให้ปากเวอร์เนยี รว์ ัดนอกเลื่อน ชิดติดกันจากน้ันยกเวอรเ์ นียร์ขึ้นส่องดูว่า บริเวณปากเวอร์เนยี รม์ แี สงสว่างผ่านหรือไม่ ถ้าไม่มีแสดงวา่ สามารถใช้ งานไดด้ ี กรณีท่ีแสงสว่างสามารถลอดผ่านได้ แสดงวา่ ปากวัดชารุดไม่ควรนามาใชว้ ดั ขนาด 2. การวัดขนาดงาน ตามลาดับขน้ั ดงั น้ี 2.1 ทาความสะอาดบรเิ วณผิวงานที่ต้องการวัด 2.2 เลือกใช้ปากวัดงานให้เหมาะสมกับลักษณะงานที่ต้องการ เช่น ถ้าต้องการวัดขนาด ภายนอกเลอื กใช้ปากวัดนอกวัดขนาดด้านในชิ้นงานเลอื กใชป้ ากวัดใน ถา้ ต้องการวดั ขนาดงานท่ีเปน็ ชอ่ งเล็ก ๆ ใช้ บริเวณสว่ นปลายของปากวัดนอก ซึ่งมีลักษณะเหมือนคมมีดทงั้ 2 ด้าน 2.3 เลอื่ นเวอรเ์ นยี รส์ เกลให้ปากเวอรเ์ นยี ร์สัมผสั ชิน้ งาน ควรใช้แรงกดให้พอดี ถา้ ใชแ้ รงมาก เกินไป จะทาให้ขนาดงานทีอ่ ่านไมถ่ กู ต้องและปากเวอรเ์ นียรจ์ ะเสยี รูปทรง 2.4ขณะวัดงาน สายตาตอ้ งมองตงั้ ฉากกบั ตาแหนง่ ที่อา่ น แล้วจงึ อ่านคา่ 3. เมอ่ื เลิกปฏิบตั ิงาน ควรทาความสะอาด ชโลมดว้ ยน้ามนั และเก็บรกั ษาด้วยความระมัดระวัง ในกรณีที่ไมไ่ ดใ้ ช้งานนาน ๆ ควรใชว้ าสลีนทาสว่ นที่จะเป็นสนมิ ข้อควรระวังในการใชเ้ วอร์เนยี ร์คาลปิ เปอร์ 1. ตอ้ งทาความสะอาดและลบคมช้ินงานก่อนใชเ้ ครือ่ งมือวัดทุกครั้ง 2. ตรวจสอบความสมบูรณ์ของปากเวอรเ์ นยี ร์ก่อนวดั 3. อยา่ วดั ช้นิ งานในขณะทช่ี ิน้ งานกาลงั หมุนอยู่ 4. อยา่ วดั ช้ินงานขณะที่ช้ินงานยังรอ้ นอยู่ 5. อย่าเล่ือนหรอื ลากปากวัดไป – มาบนชนิ้ งาน จะทาใหป้ ากของเวอร์เนยี ร์สกึ ได้ 6. อย่าใช้ปากวดั นอกหรือปากวดั ในขดี ขนาดงาน เวลารา่ งแบบ หรือขณะวัดงาน

4.4.2 การใชง้ านของเวอรเ์ นียร์ไฮเกจ (Vernier Height Gauge) เวอร์เนียร์ไฮเกจ เป็นเครื่องมือวัดที่ใช้กับงานร่างแบบ (Lay – out) เป็นส่วนใหญ่ โดยจะขีดให้เป็น รอยท่มี รี ะยะหรือขนาดความสงู ตา่ ง ๆ บนผวิ งาน โดยใช้คกู่ บั โตะ๊ ระดับหรอื แทน่ ระดับ (Surface plate) ภาพท่ี 4-24 การใชเ้ วอรเ์ นียร์ไฮเกจขดี ความสูงของงาน ภาพท่ี 4-25 เวอรเ์ นยี ร์ไฮเกจมเี ลนส์ขยาย ภาพท่ี 4-26 การใช้เวอรเ์ นยี รไ์ ฮเกจ ทาใหอ้ ่านค่าไดง้ ่าย ส่วนปลายของสเกลหลัก วดั ความสูงของงาน สามารถปรับเล่ือนได้

ขอ้ ควรระวังการใช้เวอรเ์ นยี รไ์ ฮเกจ กอ่ นท่ีจะใชเ้ วอร์เนยี ร์ไฮเกจ ควรตรวจความเรียบร้อย และความสมบรู ณ์ใหด้ ีเสียก่อน คอื 1. ทาความสะอาดผิวโต๊ะระดับ หรือผิวแท่นระดับใหเ้ รียบร้อย 2. ทาความสะอาดฐานของเวอร์เนยี รไ์ ฮเกจ 3. ควรมีน้ามันหล่อลื่นระหว่างผิวโต๊ะระดับ และฐานของเวอร์เนียร์ไฮเกจขณะใชง้ านเพอ่ื ลดการ สึกหรอ 4. เลื่อนปากวัด หรือตัวขีดให้สัมผัสกับผิวโต๊ะระดับ ตรวจดูขีดศูนย์ของเวอร์เนียร์สเกล ปกติจะ ตรงกับขดี ศนู ย์ของสเกลมาตราหลกั ถ้าไม่ตรงกนั ปรับใหต้ รงกัน 4.4.3 การใช้งานของเวอรเ์ นยี รว์ ดั ลกึ (Vernier Depth Gauge) ลักษณะงานที่ใช้วัดด้วยเวอร์เนยี ร์วัดลกึ วีธีวัดงานที่มีลักษณะเป็นส่วนลดบ่า เช่น งานกลึงลดบ่าภายนอก งานกัด ฯลฯ และส่วนลึกของ รูเจาะ รคู ว้าน และรอ่ งลึกต่าง ๆ สามารถทาไดห้ ลายวธิ ี วธิ ีหนง่ึ ทส่ี ะดวกรวดเร็ว มคี า่ ผดิ พลาดนอ้ ย และได้ค่า วดั ทล่ี ะเอียดปานกลาง คอื ใช้ “เวอร์เนียร์วัดลึก” ตามลกั ษณะงานตัวอย่าง ภาพที่ 4-26 การวัดความลึกของเพลา ภาพท่ี 4-27 การวดั ความลึกของรใู น ภาพท่ี 4-28 การวัดความลกึ ของรูขนาดเล็ก ถงึ แม้วา่ ลกั ษณะสรา้ งของเวอรเ์ นยี รว์ ดั ลึกไดอ้ อกแบบมาอยา่ งเหมาะสม เพอื่ ลดค่าผิดพลาดตา่ ง ๆ ได้ แตข่ ้อผดิ พลาดก็อาจมาจากสาเหตอุ ่ืน ๆ ซงึ่ ผู้วัดจะต้องระมดั ระวงั คอื

 ลกั ษณะงานทไ่ี ม่ไดล้ บรอยเยนิ ต่าง ๆ ให้เรยี บร้อย กอ่ นวดั จะต้องลบรอยเยนิ ตา่ ง ๆ ด้วยตะไบหรอื กระดาษทราย มฉิ ะนน้ั แลว้ รอยเยนิ จะหมนุ ผิว แนบงานทาให้คา่ วดั ทีอ่ า่ นได้มากกว่าความลึกจรงิ ภาพที่ 4-29 แสดงลักษณะงานท่ไี มไ่ ด้ลบรอยเยิน  แรงกดที่มากเกินไป ผู้วัดจะตอ้ งอาศัยความรู้สกึ สัมผัสว่า เมอื่ ใดปลายวัดงานสมั ผัสกบั ผวิ งานแลว้ และแรงกด ระหว่างปลายวดั งานกับผวิ งานจะตอ้ งพอดี ซงึ่ ถ้ามากเกินไปจะทาให้ผิวแนบงานของสะพานยนั ลอยตวั สงู ขึ้น วธิ ฝี กึ ให้เกิดแรงกดที่พอเหมาะ ใช้ฝกึ วดั กับงานที่ทราบค่าความลกึ จนวดั ไดค้ า่ ความลกึ ท่ีถูกตอ้ ง ภาพที่ 4-30 แสดงแรงกดทม่ี ากเกินไป

 ผวิ แนบงานของสะพานยันไมแ่ นบกบั ผิวงาน ผู้วัดจะตอ้ งออกแรงกดสะพานยนั ใหแ้ นบสนิทกับผิวงานจรงิ ๆ ดังรปู ผวิ แนบงานของสะพานด้านซ้ายมือไม่ แนบสนิทกับผวิ งานทาให้คา่ วัดท่ีได้ผิดไป ภาพที่ 4-31 แสดงผิวของสะพานยนั ไม่แนบกบั ผวิ งาน  เกดิ จากลักษณะของขอบงานทีไ่ มถ่ ูกตอ้ ง ก่อนวัดผู้วัดจะต้องตรวจดูว่าลักษณะของงานสมบูรณ์ และถกู ต้องหรือไม่ ดังภาพขอบของงานสูงไม่เทา่ กันทาให้วัด ความลกึ ไม่ได้ ภาพที่ 4-32 แสดงลักษณะของขอบงานไมถ่ ูกต้อง

 ลักษณะการวางปลายวัดลึก ในกรณที จี่ าเป็นจะต้องให้ปลายวดั ลึกชดิ กับขอบงานดา้ นใดด้านหน่ึง ใหป้ ลายวดั ลกึ วางดงั ภาพ ท่ี 4-33 เพ่อื หลบรอยเยินที่มมุ ภาพที่ 4-33 แสดงลกั ษณะการวางปลายวดั ลึก

 เกิดจากแนวแกนก้านวัดลกึ ไม่อยู่ในแนวแกนงาน ทาให้ค่าวัดที่ได้มากกว่าความลึกจริง ผู้วัดจะต้องกดผิว แนบงานของสะพานยันให้แนบสนทิ กับผิวงานจริง ๆ และวัด หลาย ๆ คร้งั เพือ่ เปรียบเทียบคา่ วดั ท่ีได้ ภาพท่ี 4-34 แสดงแกนก้านวัดลึกไมอ่ ย่ใู นแนวแกนงาน  เกิดจากปลายวดั งานสกึ เม่ือใชเ้ วอร์เนียรว์ ดั ลึกวดั งานท่ีผวิ ไมเ่ รยี บบอ่ ย ๆ ปลายวดั ลึกอาจจะลกึ ดังนัน้ กอ่ นวดั งานทุกคร้ัง ผู้วัดจะต้องตรวจดูความถูกต้อง โดยกดสะพานยันกับผิวโต๊ะระดับ เล่ือนปลายวัดลึกลงจนสัมผัสผิวโต๊ะระดับ สังเกตขีดสเกลศนู ย์ทั้งสอง ถา้ ปลายวัดไม่สกึ ขดี สเกลศนู ย์จะอยูต่ รงกนั ดังภาพบน แตถ่ ้าปลายวัดลกึ สึกไปขีดสเกล ศูนยจ์ ะอยู่เยือ้ งกนั ดงั ภาพลา่ ง การวดั ลึกคร้งั ต่อไปจะตอ้ งลบดว้ ยคา่ ทป่ี ลายวดั ลึกไป จึงจะเป็นคา่ ความลกึ ทแ่ี ทจ้ รงิ ภาพท่ี 4-35 แสดงภาพปลายวดั งานสึกหรอ

 มาจากสาเหตอุ นื่ ๆ เชน่ ความสะอาดของงาน กอ่ นวดั จะตอ้ งเชด็ และทาความสะอาดผิวงานให้ สะอาดปราศจากฝนุ่ ผง และคราบนา้ มนั เสียก่อน ความชดั เจนของขดี สเกลหลักและขีดเวอร์เนยี ร์ ความแม่นยา จากการอ่านขีดสเกล อุณหภูมิ แสงสว่าง เสียงรบกวนและการวัดในท่าท่ีไม่ถนัด ทาให้ไม่สามารถอ่านค่าวัดได้ ถกู ตอ้ ง ฯลฯ 4.5 การบารุงรักษา 1. ควรเกบ็ เวอร์เนียรไ์ วบ้ นผา้ ฟองน้า หรอื กล่องเฉพาะ 2. อยา่ เก็บเวอรเ์ นยี ร์ในทีร่ ้อน หรอื เย็นจดั เกินไป 3. ถ้าปากวัดนอก หรอื เขย้ี ววัดในเยินให้ขัดดว้ ยหนิ น้ามัน 4. ไมค่ วรนาเวอร์เนยี ร์ใส่กระเปา๋ หลงั ของกางเกง อาจทาให้คดงอได้ 5. ตอ้ งทาความสะอาด และชโลมนา้ มนั กนั สนิมทุกครัง้ หลงั การใชง้ าน 6. กอ่ นเกบ็ เวอร์เนียรค์ าลปิ เปอร์ ควรหมุนล็อคต้ังระยะห่างของปากวัดประมาณ 2–3 มม. ทุกครัง้ 7. ในการเกบ็ ควรแยกเกบ็ เวอรเ์ นียรไ์ วต้ า่ งหาก หา้ มวางปนกับเครอื่ งมือมคี ม 8. ควรลอ็ คแป้นเกลียวยึดแกนวดั ลึกตลอดเวลาเพือ่ ป้องกนั การหลดุ ร่องของแกนวัดลกึ 9. ก่อนเกบ็ เวอรเ์ นยี ร์ไฮเกจควรถอดเหล็กขีดออกจากตัวเวอร์เนียรก์ อ่ น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook