Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นายพุฒิเมธ เทพชัยน่าน_2

นายพุฒิเมธ เทพชัยน่าน_2

Published by tak.l2540, 2017-07-31 03:56:10

Description: นายพุฒิเมธ เทพชัยน่าน_2

Search

Read the Text Version

เครอื ขา่ ยคอมพวิ เตอร์และการส่อื สาร เรยี บเรียงโดย นายพฒุ ิเมธ เทพชัยนา่ น สาขาวชิ าเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ วทิ ยาลัยเทคนคิ สโุ ขทัย

1 เครือข่ายคอมพวิ เตอร์และการส่ือสาร1 ระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ระบบเครือขา่ ยคอมพิวเตอร์ หรอื ระบบเนต็ เวริ ์ก คอื กลุ่มของคอมพิวเตอร์และอปุ กรณ์ตา่ งๆ ทถี่ ูกนามาเช่ือมต่อกันเพ่ือใหผ้ ใู้ ช้ในเครอื ข่ายสามารถติดตอ่ สื่อสาร แลกเปล่ียนข้อมูล และใช้อุปกรณ์ต่างๆในเครอื ขา่ ยร่วมกันได้\"เครือข่ายนั้นมหี ลายขนาด ตั้งแต่ขนาดเล็กที่เชอ่ื มตอ่ กันดว้ ยคอมพิวเตอรเ์ พียงสองสามเคร่ือง เพื่อใชง้ านในบา้ นหรือในบรษิ ัทเลก็ ๆ ไปจนถงึ เครือข่ายขนาดใหญ่ที่เชือ่ มตอ่ กนั ท่วั โลกส่วน Home Network หรอื เครอื ขา่ ยภายในบ้าน ซง่ึ เปน็ ระบบ LAN ( Local Area Network) เป็นระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กๆ หมายถึง การนาเคร่ืองคอมพิวเตอร์และอปุ กรณ์ มาเชอ่ื มต่อกนั ในบา้ น สง่ิ ทีเ่ กดิ ตามมาก็คือประโยชน์ในการใช้คอมพิวเตอรด์ า้ นต่างๆ เช่น 1. การใชท้ รพั ยากรรว่ มกัน หมายถึง การใชอ้ ุปกรณ์ตา่ งๆ เช่น เครอ่ื งพมิ พ์ร่วมกัน กลา่ วคือ มี เครอ่ื งพมิ พเ์ พยี งเครื่องเดยี ว ทุกคนในเครอื ข่ายสามารถใช้เคร่ืองพมิ พ์นี้ได้ ทาใหส้ ะดวกและ ประหยัดคา่ ใชจ้ ่าย เพราะไมต่ ้องลงทุนซื้อเครื่องพิมพ์หลายเครือ่ ง (นอกจากจะเป็น เครอ่ื งพิมพ์คนละประเภท) 2. การแชร์ไฟล์ เมอ่ื คอมพิวเตอร์ถกู ตดิ ตั้งเปน็ ระบบเน็ตเวิร์กแลว้ การใชไ้ ฟล์ข้อมลู ร่วมกนั หรอื การแลกเปลี่ยนไฟลท์ าได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ไมต่ ้องอปุ กรณเ์ ก็บข้อมูลใดๆ ทง้ั ส้นิ ในการ โอนย้ายขอ้ มูลตดั ปญั หาเรื่องความจุของสื่อบันทกึ ยกเว้นอุปกรณ์ในการจดั เกบ็ ข้อมลู หลกั อยา่ งฮารด์ ดิสก์ หากพื้นท่ีเตม็ กค็ งต้องหามาเพ่ิม 3. การติดต่อส่อื สาร โดยคอมพวิ เตอร์ที่เช่ือมต่อเปน็ ระบบเน็ตเวิรก์ สามารถติดต่อพูดคุยกับ เครื่องคอมพิวเตอรอ์ นื่ โดยอาศัยโปรแกรมสอื่ สารท่ีมีความสามารถใช้เป็นเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ ได้เชน่ เดียวกนั หรือการใชอ้ ีเมล์ภายในก่อใหเ้ ครือขา่ ย Home Network หรอื Home Office จะเกิดประโยชน์น้ีอีกมากมาย 4. การใช้อินเทอรเ์ นต็ รว่ มกนั คอมพวิ เตอร์ทุกเครอื่ งทเี่ ชือ่ มต่อในระบบเนต็ เวิรก์ สามารถใช้งาน อินเทอร์เนต็ ได้ทุกเครือ่ ง โดยมโี มเด็มตวั เดียว ไม่ว่าจะเป็นแบบอนาล็อกหรือแบบดิจติ อล อยา่ ง ADSL ยอดฮิตในปัจจุบันระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ไดก้ ลายเปน็ สว่ นหนง่ึ ขององค์กร สถาบนั การศกึ ษาและบ้านไปแล้วการใช้ทรัพยากรรว่ มกันไดท้ ั้งไฟล์ เคร่ืองพิมพ์ ต้องใช้ระบบเครือขา่ ยเปน็ พื้นฐาน ระบบเครือข่ายจะหมายถึงการนาคอมพวิ เตอร์ตง้ั แต่ 2 เครื่องขนึ้ ไปมาเชอ่ื มต่อกันเพื่อจะทาการแชร์ข้อมูล และทรัพยากรรว่ มกัน เช่น ไฟลข์ ้อมลู และเครื่องพิมพ์ ระบบเครือขา่ ยสามารถแบ่งออกเปน็ 3 ประเภท ด้วยกันคอื

21. LAN (Local Area Network) ระบบเครอ่ื งขา่ ยท้องถิน่ เปน็ เน็ตเวริ ์กในระยะทางไม่เกิน 10 กโิ ลเมตร ไม่ต้องใช้โครงข่ายการสอ่ื สารขององคก์ ารโทรศพั ท์ คอื จะเป็นระบบเครือข่ายท่ีอยู่ภายในอาคารเดียวกันหรอื ตา่ งอาคาร ในระยะใกลๆ้ พฒั นาการของระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์เกดิ จากการเชอ่ื มตอ่ เทอรม์ ินอล(Terminal)เขา้ กับเคร่ืองคอมพวิ เตอร์เมนเฟรม (Mainfram Computer) หรอื เชอื่ มต่อกบัมนิ คิ อมพวิ เตอร์ (Mini Computer) ซงึ่ การควบคุมการสือ่ สารและการประมวลผลตา่ งๆจะถูกควบคมุและดาเนินการโดยเครือ่ งเมนเฟรมหรือมินคิ อมพวิ เตอรซ์ ่ึงอาจเรยี กอีกอยา่ งวา่ โฮสต์ (Host) โดยมีการเชอ่ื มโยงระหวา่ งโฮสต์กบั เทอร์มินอล ส่วนเทอร์มินอลทาหน้าที่เปน็ เพียงจุดรับข้อมลู และ แสดงข้อมูลเท่านน้ัสาหรบั เครอื ข่ายในปจั จบุ ันมีการทางานที่มปี ระสทิ ธิภาพและคลอ่ งตัวมากยิ่งขึ้น ทง้ั การเขา้ ถงึ และการใช้งานทรัพยากรท่มี ีอยู่บนเครือข่าย เช่น เครอ่ื งพิมพ์ ดิสก์ หรืออุปกรณ์อนื่ ๆ ซง่ึ ปจั จุบันเรียกเทอรม์ นิ อลทีม่ ีความสามารถเล่าน้ีวา่ โหนด(Node)ลกั ษณะการกระจายการทางานแบบการกระจายศนู ย์ (Distributed System) ซึ่งเป็นการกระจายภาระ และหนา้ ทกี่ ารทางานไปโหนดบนเครอื ขา่ ยท้งัภายใน และภายนอกหน่วยงาน ซง่ึ จะชว่ ยลดภาระการทางาน ของโฮสตล์ งได้เปน็ อย่างมากปจั จุบันมีการใช้งานเครือขา่ ยระยะใกล้ หรอื เรียกอีกอยา่ งว่าเครอื ข่ายท้องถิ่น (LAN หรือ Local AreaNetwork) อยา่ งแพร่หลายในเกอื บทกุ หน่วยงาน จนเปรียบเสมอื นปัจจยั ในการทางานของสานักงานทวั่ ๆ ไป เช่นเดยี วกบั เครอื่ งพิมพ์ดีด หรือเครอื่ งถ่ายเอกสารบคุ คลากรเกือบทุกคนในหนว่ ยงานจะมีเครือ่ งคอมพิวเตอรอ์ ยา่ งนอ้ ย 1 เคร่อื ง เพอื่ ใชง้ านในดา้ นตา่ งๆ นอกจากน้ีอาจจะมีการเช่ือมโยงกบัเคร่อื งคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณท์ างคอมพวิ เตอร์กับระบบงานอน่ื ภายในหนว่ ยงานเดยี วกันภายในตึกเดียวกัน หรือภายในองคก์ รเดยี วกัน การเชอ่ื มโยงในลักษณะนเ้ี ปรียบเสมอื นการเชอ่ื มโยงประสานการทางานของหน่วยงานหรือ องคก์ รเขา้ ดว้ ยกนั ซ่ึงเรียกการเช่อื มโยงลกั ษณะนี้วา่ เครือข่ายท้องถ่ิน สรปุ แล้วเครอื ข่ายระยะใกล้ หรอื เครือขา่ ยท้องถิ่น (LAN)เป็นรปู แบบการทางานของระบบเครือข่ายแบบหนึง่ ที่ช่วยใหเ้ ครือ่ งคอมพวิ เตอร์ (Computer) เครอ่ื งพิมพ์ (Printer) และอุปกรณ์ใช้งานทางคอมพวิ เตอร์ตา่ ง ๆ สามารถเช่อื มโยงเอกสาร ส่งขอ้ มลู ติดตอ่ ใชง้ านรว่ มกนั ได้ การติดต่อสือ่ สารของอุปกรณ์ จะอย่ใู นบริเวณแคบ โดยทั่วไปมีระยะทางไม่เกนิ 10 กิโลเมตร เชน่ ภายในอาคารสานักงานภายในคลงั สินคา้ โรงงาน หรือระหวา่ งตึกใกล้ ๆ เช่ือมโยงด้วย สายส่ือสารจงึ ทาให้มีความเร็วในการสือ่ สารขอ้ มลู ดว้ ยความเร็วสงู มาก และมคี วามผิดพลาดของขอ้ มูลต่า2. MAN (Metropolitan Area Network) ระบบเครอื ข่ายเมือง เป็นเน็ตเวิรก์ ท่ีจะต้องใชโ้ ครงขา่ ยการส่ือสารขององค์การโทรศัพท์ หรือการส่ือสารแหง่ ประเทศไทย เปน็ การตดิ ต่อกันในเมอื ง เชน่ เคร่อื งเวิร์กสเตชัน่ อยู่ท่สี ขุ ุมวิท มีการติดต่อสอื่ สารกับเครื่องเวริ ก์ สเตชัน่ ทีบ่ างรัก3. WAN (Wide Area Network) ระบบเครือขา่ ยกว้างไกล หรอื เรียกได้วา่ เป็น World Wide ของระบบเน็ตเวริ ์ก โดยจะเป็นการสื่อสารในระดบั ประเทศ ข้ามทวีปหรือทัว่ โลก จะต้องใช้มีเดยี (Media) ในการสือ่ สารขององค์การโทรศัพท์ หรอื การสอื่ สารแหง่ ประเทศไทย (ค่สู ายโทรศัพท์ dial-up / คูส่ ายเชา่ Leasedline / ISDN) (lntegrated Service Digital Network สามารถสง่ ได้ทั้งข้อมูล เสียง และภาพในเวลา

3เดยี วกัน)ระบบเครอื ข่ายระยะไกล หรอื Wide Area Network เป็นระบบเครือข่ายที่ตดิ ตงั้ ใช้งานอยู่ในบริเวณกว้าง โดยมีการสง่ ข้อมูลในลกั ษณะเปน็ แพ็คเก็ต (Packet) ซ่งึ ตอ้ งเดินทางจากเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ตน้ ทางไปสู่เครื่องคอมพวิ เตอร์ปลายทาง แพก็ เกต็ น้ีถูกสง่ จากเครื่องคอมพวิ เตอร์หนึ่งไปยังเคร่ืองคอมพวิ เตอรอ์ ีกเครื่องหนงึ่ โดยมีสายส่อื สารหรืออุปกรณส์ ื่อสารอน่ื ในการเช่ือมต่อถงึ กนั ในลกั ษณะเปน็ ลกู โซ่ หรอื เป็นทอดๆอาศยั เคร่ืองคอมพิวเตอร์ทอี่ ยู่ระหวา่ งทางแตล่ ะตัวจะรับขอ้ ความน้นัเก็บจาเอาไว้ และสง่ ต่อให้เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ถัดไปในเสน้ ทางท่สี ะดวก รปู แบบของเครือขา่ ยที่แตกต่างกนั ไปตามลกั ษณะของอัลกอริทมึ สาหรบั การคานวณในการส่งแพค็ เกต็ โดยแบ่งออกไดเ้ ปน็สองประเภทใหญ่ๆคือ แบบดาตาแกรม (Datagram) และแบบเวอร์ชวลเซอรก์ ิต (Virtual Circuit)หรือแบบวงจรเสมือน ระบบดาตาแกรมพจิ ารณาแตล่ ะแพ็คเกต็ แยกออกจากกนั แพค็ เกต็ ต่างๆของขอ้ ความเดยี วกนั อาจถูกส่งไปในเสน้ ทางท่ีต่างกันไดข้ ึน้ อยู่กับปริมาณข่าวสารในเครอื ข่ายในแตล่ ะขณะเวลาทผี่ ่านไป และรวมถึงการเปล่ียนแปลงลักษณะของเครอื ข่ายเน่ืองจากเครอื่ งคอมพวิ เตอร์บางตัว\"เสีย\"(คอื ไม่อาจรว่ มในการสง่ ผ่านข่าวสารในเครอื ข่ายได้) ดงั นัน้ การจดั เส้นทางจึงทาอยตู่ ลอดเวลาเพื่อปรับใหเ้ ขา้ กับสภาวะเครือข่าย ข้อเสยี ของระบบเช่นนค้ี อื แพ็คเก็ตอาจไปถึงจุดหมายโดยไม่ได้เรียงลาดบั (Out of Order) จงึ ต้องถูกจดั เรียงใหมก่ ่อนท่ีจะส่งตอ่ ใหผ้ รู้ บั ปลายทาง เครอื ข่ายทใ่ี ช้ระบบน้รี จู้ กั กันดีคือ อาร์พาเน็ต(ARPARNET)ย่อมาจาก (Advanced Research Projects AgencyNetwork) ของสหรัฐอเมรกิ า ซงึ่ เป็นจดุ กาเนดิ แม่แบบเครอื ขา่ ยสากล หรืออินเตอรเ์ น็ตด้วย(Internet) ดว้ ยส่วนระบบเครือขา่ ยเวอร์ชวลเซอร์กิตใช้รหัสของตน้ ทางและปลายทางในแพค็ เกต็ แรกเพื่อจดั เสน้ ทางผ่านระบบเครือข่ายสาหรับข้อความท่ตี ้องการส่งในชดุ น้ันท้ังหมด ข้อดขี องวธิ นี ี้คือส่วนหวั สาหรับแพ็คเกต็ ถัดๆไปมีขนาดลดลงได้เพราะแพ็คเกต็ หลงั ๆเพยี งแต่ตามหลงั แพ็คเกต็ หนา้ ไปจึงไม่จาเป็นต้องมรี หสั ต้นทางปลายทางอีก และอัลกอรทิ มึ สาหรบั จัดเสน้ ทางน้ันจะทากันเพยี งคร้ังเดยี วต่อข้อความทั้งข้อความ แทนทจี่ ะต้องคานวณใหมส่ าหรบั ทกุ ๆแพ็คเก็ต ข้อเสียสาหรับวธิ กี ารนี้คอื คอมพิวเตอรต์ ามท่ีกาหนดเสน้ ทางข้ึนน้ันต้องเก็บข้อมูลเกยี่ วกับเส้นทางนี้ไว้จนกวา่ แพค็ เกต็สดุ ทา้ ยจะผา่ นไปแลว้ ในกรณีน้ีตอ้ งใช้ทีเ่ กบ็ ข้อมูลมากสาหรับทงั้ เครือข่าย และก่อให้เกิดปัญหาใหญ่หากคอมพิวเตอรเ์ คร่ืองใดในเสน้ ทางเกดิ เสยี และข้อเสียอีกประการ คือสมรรถนะของเครือข่ายไม่อาจเปล่ียนแปลงตามสภาพการใช้งานไดง้ ่าย เพราะเสน้ ทางถูกกาหนดตายตัวตั้งแตแ่ พ็คเก็ตแรกหากสภาวะของเครือข่ายระหวา่ งท่ีมีการส่ือสารข้อมูลกันอยู่มีการเปลี่ยนแปลงไป แพก็ เกต็ หลงั ๆก็ไมอ่ าจเปลี่ยนแปลงหรือปรับเส้นทางในการส่ือสารท่ีเหมาะสมได้ ตัวอย่างของเครือข่ายแบบนคี้ ือTRANSPAC ในฝรง่ั เศสและ TYMNET ในสหรัฐอเมริกาหลงั จากนัน้ ก็มีการพฒั นาระบบเครอื ข่ายขน้ึเรือ่ ยๆ จนในปัจจุบันประมาณการวา่ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ที่เชอื่ มตอ่ กันในโลกของอนิ เตอร์เนต็ มีมากกว่า 30 ล้านเคร่อื งเลยทเี ดยี ว โดยมีขอ้ กาหนดว่าทุกเครอื ข่ายที่เชื่อมต่อถึงกนั จะต้องอยู่ภายใต้มาตรฐานของการเช่ือมต่อหรอื โปรโตคอล ที่ถูกสร้างขน้ึ มาเพ่อื ใชง้ านบนเครือข่ายแบบนโ้ี ดยเฉพาะซงึ่เรียกว่า TCP/IP เหมือนกนั หมดทุกเครือ่ งจากมาตรฐานการเชอ่ื มต่อแบบเดียวกนั น้ีจะมีผลทาให้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ สามารถตดิ ต่อสื่อสารกนั ได้ปจั จุบนั มีจานวนเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ทเ่ี ช่อื มต่อเขา้ กบั อินเตอร์เนต็ มากกว่า 5 หมน่ื เครือข่าย และนบั วันจะเพมิ่ มากข้ึนเร่ือยๆ โดยเฉพาะที่เครื่องคอมพวิ เตอร์กลางที่คอยใหบ้ ริการข้อมลู หรือเซริ ์ฟเวอร์ที่ตอ่ เขา้ กบั อินเตอร์เน็ต 5 ลา้ นเคร่อื ง และยงัประมาณกนั วา่ จะมีผู้ขอใช้อินเตอรเ์ นต็ ต (ไคลเอนต์) ในเวลานมี้ ากกว่า 30 ล้านคน กระจายการใช้งานมากกวา่ 84 ประเทศในทั่วทุกมุมโลก ด้วยการออกแบบท่ชี าญฉลาดของผู้พัฒนาเครือข่าย โดยไม่

4มขี อ้ จากัดทางฮาร์ดแวร์ เพียงแต่ใชม้ าตรฐานการเชื่อมต่อแบบ TCP/IP เทา่ น้ัน ทาใหอ้ ินเตอรเ์ น็ตสามารถเตบิ โตไปอยา่ งไม่มขี อบเขตและขดี จากัดโดยไม่มีใครสามารถเข้ามาควบคุมการผูกขาดทางเทคโนโลยีซ่งึ เป็นเอกลกั ษณ์เฉพาะตวั ของเครือข่ายอินเตอรเ์ นต็ อนิ เตอร์เน็ตเปิดใหบ้ ริการเครือข่ายท่ีสามารถให้ผใู้ ช้เขา้ ถึงข้อมลู ด้วยรปู แบบการนาเสนอข้อมูลท่เี ปน็ แบบมลั ติมเี ดยี ซง่ึ ประกอบไปดว้ ยภาพกราฟิก เสียง ข้อมลู และสัญญาณวิดีโอทช่ี ือ่ ว่า World Wide Web ทีท่ าใหก้ ารค้นหาขอ้ มูลบนอินเตอร์เน็ตมีความง่ายและสะดวกต่อการใชง้ านมากนอกนั้นอนิ เตอร์เน็ตยงั กลายเป็นเครือขา่ ยที่เปดิกวา้ งสาหรบั ทุกๆเร่ือง ตงั้ แต่การแสดงออกทางความคิดเห็นจนถึงการสร้างโอกาสทางธรุ กิจสาหรบัผลติ ภณั ฑแ์ ละบรกิ ารใหม่ๆอยา่ งไร้ข้อจากดั โดยไมม่ ีใครได้เปรยี บเสยี เปรียบใครในโลกอภิมหาเครือข่าย2 ประเภทของระบบเครอื ขา่ ย 1. Peer To Peer เปน็ ระบบท่ีเครื่องคอมพิวเตอรท์ กุ เคร่ืองบนระบบเครือขา่ ยมฐี านเทา่ เทียมกนั คือทุกเคร่ืองสามารถจะใชไ้ ฟล์ในเครอื่ งอืน่ ได้ และสามารถให้เคร่อื งอ่นื มาใชไ้ ฟลข์ องตนเองไดเ้ ช่นกัน ระบบ PeerTo Peerมกี ารทางานแบบดิสทริบิวท์(Distributed System) โดยจะกระจายทรัพยากรตา่ งๆ ไปสู่เวริ ก์ สเตชั่นอ่ืนๆ แตจ่ ะมปี ญั หาเรอื่ งการรักษาความปลอดภยั เน่อื งจากข้อมลู ทเ่ี ป้นความลบั จะถูกสง่ ออกไปสู่คอมพิวเตอร์อ่ืนเชน่ กนั โปรแกรมท่ีทางานแบบ Peer To Peer คอื Windows forWorkgroup และ Personal Netware

52. Client / Server เป็นระบบการทางานแบบ Distributed Processing หรอื การประมวลผลแบบกระจาย โดยจะแบ่งการประมวลผลระหว่างเครื่องเซริ ฟ์ เวอรก์ บั เครือ่ งไคลเอ็นต์ แทนท่ีแอพพลเิ คชั่นจะทางานอยเู่ ฉพาะบนเคร่อื งเซริ ์ฟเวอร์ ก็แบง่ การคานวณของโปรแกรมแอพพลิเคช่ัน มาทางานบนเครื่องไคลเอ็นต์ด้วย และเมื่อใดทเ่ี คร่ืองไคลเอน็ ตต์ ้องการผลลัพธ์ของข้อมลู บางสว่ น จะมีการเรยี กใชไ้ ปยงั เครือ่ งเซริ ์ฟเวอร์ให้นาเฉพาะขอ้ มูลบางส่วนเทา่ น้นั สง่ กลบั มาให้เครือ่ งไคลเอน็ ต์เพือ่ ทาการคานวณข้อมลู น้นั ตอ่ ไป3 รูปแบบการเชอ่ื มต่อของระบบเครือขา่ ย LAN Topology 1. แบบBus การเชือ่ มต่อแบบบัสจะมีสายหลกั 1 เส้น เครือ่ งคอมพิวเตอรท์ ัง้ เซริ ์ฟเวอร์ และไคลเอ็นตท์ ุกเครื่องจะตอ้ งเชอ่ื มต่อสายเคเบิ้ลหลักเส้นน้ี โดยเครื่องคอมพวิ เตอร์จะถูกมองเป็น Node เมื่อเคร่ืองไคลเอ็นตเ์ ครื่องท่ีหนึง่ (Node A) ต้องการส่งข้อมูลให้กับเครื่องที่สอง (Node C) จะตอ้ งส่งข้อมลู และแอดเดรสของ Node C ลงไปบนบสั สายเคเบล้ิ นี้ เมอื่ เครอ่ื งที่ Node C ได้รบั ข้อมลู แลว้ จะนาข้อมูลไปทางานต่อทนั ที

62. แบบ Ring การเชื่อมต่อแบบวงแหวน เป็นการเชอ่ื มต่อจากเครื่องหนงึ่ ไปยังอีกเครื่องหน่งึ จนครบวงจร ในการส่งข้อมูลจะสง่ ออกที่สายสญั ญาณวงแหวน โดยจะเป็นการสง่ ผา่ นจากเคร่ืองหนึง่ ไปสูเ่ คร่อื งหนง่ึจนกว่าจะถงึ เครือ่ งปลายทาง ปญั หาของโครงสรา้ งแบบน้ีคือ ถ้าหากมีสายขาดในสว่ นใดจะทา ให้ไม่สามารถสง่ ข้อมูลได้ ระบบ Ring มีการใช้งานบนเคร่ืองตระกูล IBM กนั มาก เป็นเคร่ืองข่าย TokenRing ซง่ึ จะใชร้ ับสง่ ข้อมูลระหวา่ งเครอ่ื งมนิ ิหรือเมนเฟรมของ IBM กบั เครอื่ งลูกขา่ ยบนระบบ3. แบบ Star การเชื่อมต่อแบบสตาร์น้ีจะใชอ้ ุปกรณ์ Hub เปน็ ศนู ยก์ ลางในการเช่ือมต่อ โดยท่ที ุกเครอื่ งจะต้องผา่ น Hub สายเคเบลิ้ ที่ใชส้ ่วนมากจะเป็น UTP และ Fiber Optic ในการส่งข้อมูล Hub จะเป็นเสมอื นตัวทวนสญั ญาณ (Repeater) ปัจจบุ นั มกี ารใช้ Switch เป็นอุปกรณใ์ นการเชื่อมต่อซ่งึ มีประสทิ ธภิ าพการทางานสงู กวา่

74. แบบ Hybrid เป็นการเชือ่ มต่อที่ผสมผสานเครอื ขา่ ยย่อยๆ หลายส่วนมารวมเขา้ ด้วยกัน เช่น นาเอาเครือขา่ ยระบบ Bus, ระบบ Ring และ ระบบ Star มาเชือ่ มตอ่ เข้าด้วยกนั เหมาะสาหรบั บางหน่วยงานทมี่ ีเครือข่ายเกา่ และใหม่ใหส้ ามารถทางานร่วมกนั ได้ ซงึ่ ระบบ Hybrid Network นี้จะมีโครงสร้างแบบHierarchical หรอื Tre ทม่ี ลี าดบั ชน้ั ในการทางาน4 อปุ กรณ์ทใ่ี ชใ้ นการส่อื สารข้อมูลคอมพวิ เตอร์ 1. โมเดม็ (Modem)ท่ีมารูปภาพ: http://www.buycoms.com/buyers-guide/modem/index.asp

8 โมเด็มเปน็ ฮารด์ แวร์ที่ทาหนา้ ทแ่ี ปลงสญั ญาณแอนะล็อกให้เป็นสญั ญาณดจิ ติ ลั เม่ือข้อมูลถูกส่งมายงั ผ้รู ับละแปลงสัญญาณดิจติ ัลให้เป็นแอนะล็อก เมอ่ื ต้องการส่งข้อมูลไปบนช่องส่ือสาร กระบวนการทโ่ี มเด็มแปลงสญั ญาณดิจติ ลั ให้เป็นสัญญาณแอนะล็อก เรยี กว่า มอดูเลชนั(Modulation) โมเด็มทาหน้าที่ มอดูเลเตอร์ (Modulator) กระบวนการที่โมเด็มแปลงสัญญาณแอนะล็อก ให้เป็นสญั ญาณแอนะล็อก ให้เปน็ สัญญาณดจิ ติ ัล เรยี กวา่ ดีมอดูเลชัน (Demodulation)โมเด็มหน้าท่ี ดีมอดเู ลเตอร์ (Demodulator)โมเดม็ ทใ่ี ช้กนั อยา่ งแพร่หลายในปจั จุบนั มี 2 ประเภทโมเดก็ ในปจั จบุ นั ทางานเปน็ ทงั้ โมเดม็ และ เครอ่ื งโทรสาร เราเรียกว่า Faxmodem2.การด์ เครือข่าย (Network Adapter) หรือ การ์ด LANทีม่ ารูปภาพ: http://www.itdestination.com/articles/lancard1000base/ เป็นอุปกรณ์ทาหน้าท่สี ่ือสารระหวา่ งเครื่องตา่ งกนั ได้ไมจ่ าเปน็ ต้องเป็นร่นุ หรือยหี่ อ้ เดยี วกันแต่หากซอ้ื พรอ้ มๆกันก็แนะนาให้ซ้อื รุ่นและยีห้อเดยี วกนั จะดกี ว่าและควรเป็น การ์ดแบบ PCI เพราะสามารถส่งข้อมูลได้เร็วกวา่ แบบ ISAและเมนบอรด์ รุน่ ใหม่ๆมักจะไม่มี Slot ISA ควรเป็นการด์ ทีม่ คี วามเรว็ เปน็ 100 Mbpsซง่ึ จะมรี าคามากกวา่ การด์ แบบ 10 Mbpsไมม่ ากนัก แต่สง่ ขอมูลได้เร็วกวา่ นอกจากน้ีคุณควรคาหนึงถึงขวั้ ต่อหรือคอนเน็กเตอร์ของการด์ ด้วยโดยท่ัวไปคอนเน็กเตอร์ ของการด์ LAN จะมีหลายแบบ เช่น BNC , RJ-45 เปน็ ต้น ซึ่งคอนเนก็ เตอร์แตล่ ะแบบกจ็ ะใชส้ ายที่แตกต่างกนั3. เกตเวย์ (Gateway)ทมี่ ารปู ภาพ: http://www3.ipst.ac.th/research/assets/web/mahidol/computer(10)/network/net_wan9.htm

9 เกตเวย์ เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกสอ์ ีกอย่างหน่งึ ท่ชี ่วยในการส่อื สารข้อมูลคอมพิวเตอร์หนา้ ที่หลกั คอื ชว่ ยใหเ้ ครือข่ายคอมพวิ เตอร์ 2 เครือข่ายหรือมากกวา่ ซง่ึ มลี ักษณะไมเ่ หมือนกนั สามารถตดิ ตอ่ สื่อสารกนั ได้เหมือนเป็นเครือข่ายเดยี วกัน4. เราเตอร์ (Router)ทีม่ ารูปภาพ: http://forums.overclockzone.com/forums/showthread.php?t=417552 เราเตอร์เป็นอปุ กรณ์ในระบบเครือขา่ ยทที่ าหน้าท่ีเป็นตวั เช่อื มโยงให้เครือข่ายท่ีมีขนาดหรือมาตรฐานในการส่งขอ้ มลู ต่างกัน สามารถติดต่อแลกเปลี่ยนข้อมลู ระหวา่ งกนั ได้ เราเตอรจ์ ะทางานอยู่ชั้น Network หน้าที่ของเราเตอรก์ ็คอื ปรับโปรโตคอล (Protocol) (โปรโตคอลเปน็ มาตรฐานในการสอ่ื สารข้อมูลบนเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์) ที่ตา่ งกนั ใหส้ ามารถสอื่ สารกนั ได้5. บริดจ์ (Bridge) บรดิ จ์มีลักษณะคล้ายเคร่ืองขยายสัญญาณ บรดิ จ์จะทางานอยใู่ นชัน้ Data Link บรดิ จท์ างาน

10คล้ายเคร่อื งตรวจตาแหนง่ ของขอ้ มลู โดยบริดจจ์ ะรับข้อมูล จากต้นทางและสง่ ให้กับปลายทาง โดยท่ีบริดจจ์ ะไม่มีการแก้ไขหรือเปล่ียนแปลงใดๆแก่ข้อมูลบรดิ จ์ทาใหก้ ารเช่ือมต่อระหวา่ งเครือข่ายมีประสิทธิภาพลดการชนกัน ของข้อมูลลง บรดิ จ์จึงเป็นสะพานสาหรบั ข้อมูลสองเครือข่าย6. รพี ีตเตอร์ (Repeater) รพี ีตเตอร์ เป็นเครอ่ื งทบทวนสัญญาณข้อมลู ในการส่งสัญญาณข้อมูลในระยะทางไกลๆสาหรับสญั ญาณแอนะล็อกจะตอ้ งมกี ารขยายสญั ญาณข้อมลู ทเ่ี ร่มิ เบาบางลงเน่ืองจากระยะทาง และสาหรบัสญั ญาณดจิ ิตัลกจ็ ะต้องมีการทบทวนสัญญาณเพอ่ื ป้องกนั การขาดหายของสัญญาณเนอ่ื งจากการสง่ระยะทางไกลๆเช่นกนั รีพีตเตอรจ์ ะทางานอยู่ในชั้น Physical7.สายสัญญาณเป็นสายสาหรับเช่ือมต่อเครอื่ งคอมพิวเตอร์ตา่ งๆในระบบเขา้ ดว้ ยกนั หากเป็นระบบที่มีจานวนเครอื่ งมากกว่า 2 เครอื่ งกจ็ ะต้องต่อผ่านฮบั อีกทหี นึ่ง โดยสายสญั ญาณสาหรับเชือ่ มต่อเคร่ืองในระบบเครือข่าย จะมีอยู่ 2 ประเภท คือ

11สาย Coaxทีม่ ารปู ภาพ: http://en.wikipedia.org/wiki/Coaxial_cableสาย Coax มีลักษณะเปน็ สายกลม คล้ายสายโทรทัศน์ สว่ นมากจะเป็นสีดาสายชนิดนี้จะใช้กับการ์ด LAN ท่ีใช้คอนเนก็ เตอร์แบบ BNC สามารถสง่ สญั ญาณได้ไกลประมาณ 200 เมตร สายประเภทน้ีจะต้องใชต้ วั T Connector สาหรบั เชื่อมตอ่ สายสญั ญาณกบั การด์ LAN ต่างๆในระบบและต้องใชต้ วั Terminator ขนาด 50 โอหม์ สาหรับปดิ หัวและทา้ ยของสายสาย UTP (Unshied Twisted Pair)เปน็ สายสาหรบั การ์ด LAN ที่ใชค้ อนเน็กเตอรแ์ บบ RJ-45 สามารถส่งสัญญาณได้ไกลประมาณ 100 เมตร หากคุณใข้สายแบบนี้จะต้องเลือกประเภทของสายอีก โดยทัว่ ไปนยิ มใช้กนั 2รุ่น คอื CAT 3 กบั CAT5 ซึ่งแบบ CAT3 จะมีความเร็วในการส่งสัญญาณ10 Mbps และแบบ CAT5 จะมีความเรว็ ในการสง่ ข้อมูลที่ 100 Mbps แนะนาว่าควรเลือกแบบ CAT 5 เพ่อื การอัพเกรดในภายหลงั จะไดไ้ ม่ต้องเดนิ สายใหม่ ในการใช้งานสายนี้ สาย 1 เส้นจะตอ้ งใชต้ ัว RJ - 45 Connectorจานวน 2 ตวั เพื่อเป็นตัวเชอื่ มตอ่ ระหว่างสายสัญญาณจากการด์ LAN ไปยงั ฮับหรอื เครื่องอ่ืนเชน่ เดียวกบั สายโทรศพั ท์ ในกรณเี ปน็ การเชือ่ มต่อเคร่ือง 2 เครือ่ งสามารถใชต้ อ่ ผา่ นสายเพียงเส้นเดียได้แตถ่ ้ามากกวา่ 2 เคร่ือง กจ็ าเป็นต้องต่อผา่ นฮับท่ีมารูปภาพ: http://www.digitalfocus.co.th/network.php

128. ฮับ (HUB)ที่มารปู ภาพ: http://it.stoulaws.com/2008/12/hub/ เป็นอุปกรณช์ ่วยกระจ่ายสญั ญาณไปยังเครื่องตา่ งๆทอ่ี ย่ใู นระบบ หากเปน็ ระบบเครอื ข่ายทีม่ ี2 เครื่องกไ็ มจ่ าเปน็ ต้องใช้ฮบั สามารถใช้สายสญั ญาณเช่ือมตอ่ ถงึ กนั ได้โดยตรง แต่หากเปน็ ระบบท่ีมีมากกว่า 2 เครือ่ งจาเปน็ ต้องมฮี ับเพอื่ ทาหนา้ ที่เป็นตัวกลาง ในการเลอื กซ้ือฮับควรเลือกฮบั ทีม่ ีความเรว็ เทา่ กับความเร็ว ของการ์ด เช่น การ์ดมีความเร็ว 100 Mbps กค็ วรเลือกใช้ฮบั ที่มคี วามเรว็เปน็ 100 Mbps ดว้ ย ควรเปน็ ฮับท่ีมีจานวนพอร์ตสาหรบั ต่อสายท่เี พยี งพอกบั เครอื่ งใชใ้ นระบบ หากจานวนพอรต์ ต่อสายไมเ่ พยี งพอกส็ ามารถต่อพ่วงได้ แนะนาวา่ ควรเลอื กซื้อฮับท่ีสามารถตอ่ พว่ งได้ เพื่อรองรับการขยายตวั ในอนาคต5 ระบบเครือข่ายไร้สายระบบเครือขา่ ยไรส้ าย หรอื ระบบเครือข่ายแบบ Wireless LAN หรอื WLAN เปน็ การเชอ่ื มตอ่คอมพวิ เตอรเ์ ปน็ เครือข่ายแบบไร้สาย (ไมจ่ าเปน็ ต้องเดินสายเคเบิ้ล) เหมาะสาหรับการติดตง้ั ในสถานท่ีที่ไมส่ ะดวกในการเดนิ สาย หรอื ในสถานที่ท่ตี อ้ งการความสวยงาม เรียบรอ้ ย และเป็นระเบียบเช่น สนามบิน โรงแรม ร้านอาหาร เปน็ ตน้ หลกั การทางานของระบบ Wireless LAN การทางานจะมีอุปกรณ์ในการส่งสัญญาณ และกระจายสญั ญาณ หรือที่เราเรียกวา่ Access Point และมี PC Card ท่ีเปน็ LAN card สาหรบั ในการเชอ่ื มกบั access point โดยเฉพาะ การทางานจะใชค้ ลน่ื วทิ ยเุ ปน็ การรบั ส่งสัญญาณ โดยมใี หเ้ ลอื กใช้ต้งั แต่ 2.4 to 2.4897 Ghzและสามารถเลือก configใน WirelessLan (ภายในระบบเครือข่าย Wireless Lanควรเลอื กชอ่ งสัญญาณเดยี วกัน)ระยะทางการเชอ่ื มต่อของระบบ Wireless LANภายในอาคาร 1. ระยะ 50 เมตร ได้ความเรว็ ประมาณ 11 Mbps 2. ระยะ 80 เมตร ได้ความเรว็ ประมาณ 5.5 Mbps

133. ระยะ 120 เมตร ไดค้ วามเรว็ ประมาณ 2 Mbps4. ระยะ150 เมตร ไดค้ วามเร็วประมาณ 1 Mbpsภายนอกอาคาร1. ระยะ 250 เมตร ไดค้ วามเร็วประมาณ 11 Mbps2. ระยะ 350 เมตร ไดค้ วามเรว็ ประมาณ 5.5 Mbps3. ระยะ 400 เมตร ได้ความเร็วประมาณ 2 Mbps4. ระยะ 500 เมตร ไดค้ วามเรว็ ประมาณ 1 Mbpsการเชอ่ื มต่อของระบบเครอื ข่าย Wireless LAN มี 2 ลักษณะ ดงั นี้1. การเชอื่ มโยงระบบแบบ Ad-hoc (Peer to Peer)โครงสรา้ งการเช่อื มโยงระบบแบบ Ad-hoc หรือ Peer to Peer เปน็ การส่อื สารข้อมลู ระหวา่ งเครื่องคอมพวิ เตอร์ไร้สายและอปุ กรณต์ า่ ง ๆ ตั้งแต่สองเครื่องขนึ้ ไป โดยที่ไม่มีศูนยก์ ลางควบคมุ อปุ กรณ์ทุกเคร่ืองสามารถสื่อสารขอ้ มลู ถึงกนั ไดเ้ อง ตวั สง่ จะใช้วธิ กี ารแพรก่ ระจายคล่ืนออกไปในทุกทศิ ทุกทางโดยไมท่ ราบจดุ หมายปลายทางของตัวรบั วา่ อยู่ท่ีใด ซึ่งตวั รบั จะต้องอยูใ่ นขอบเขตพ้นื ที่ให้บรกิ ารท่ีคล่ืนสามารถเดนิ ทางมาถึงแล้วคอยเชค็ ข้อมูลวา่ ใชข่ องตน หรือไม่ ด้วยการตรวจสอบคา่ MacAddress ผ้รู ับปลายทางในเฟรมขอ้ มลู ท่แี พร่กระจายออกมา ถ้าใชข่ ้อมลู ของตนก็จะนาข้อมูลเหลา่ น้ันไปประมวลผลต่อไปการเชือ่ มโยงเครือขา่ ยไวร์เลสแลนท่ีใชโ้ ครงสร้างการเชอ่ื มโยงแบบ Ad-hoc ไม่สามารถเชอื่ มโยงเขา้ สู่ระบบเครือข่ายอเี ธอร์เน็ตได้ เนื่องจากบนระบบไมม่ ีการใช้สัญญาณเลย2. การเช่อื มโยงระบบแบบ Infrastructure (Client/Server)โครงสร้างการเชือ่ มโยงระบบแบบ Infrastructure หรือ Client / Server มีขอ้ พิเศษกว่าระบบแบบAd-hoc ตรงทมี่ ีแอ็กเซสพอยนเ์ ปน็ ศนู ยก์ ลางการเชือ่ มโยง (ทาหนา้ ท่ีคล้ายฮบั ) และเปน็ สะพานเชื่อมเคร่ืองคอมพิวเตอรไ์ รส้ ายอปุ กรณ์ไวรเ์ ลสแลนเข้าสเู่ คลอื ข่ายอีเธอร์เน็ตแลนหลัก (EthernetBackbone) รวมถึงการควบคุมการสอ่ื สารขอ้ มูลอุปกรณไ์ วรเ์ ลสแลน

146 ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต ปจั จบุ ันอนิ เทอร์เนต็ มคี วามสาคญั ตอ่ ชีวิตประจาวันของคนเรา หลายๆ ด้าน ทง้ั การศกึ ษาพาณิชย์ ธุรกรรม วรรณกรรม และอ่ืนๆ ดงั น้ีด้านธรุ กจิ และการพาณิชย์  คน้ หาขอ้ มลู ต่าง ๆ เพื่อชว่ ยในการตดั สนิ ใจทางธรุ กิจ  สามารถซื้อขายสนิ ค้า ผา่ นระบบเครือขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ต  ผู้ใชท้ ีเ่ ป็นบริษทั หรือองค์กรต่าง ๆ ก็สามารถเปิดให้บริการ และสนบั สนนุ ลกู ค้าของตน ผา่ น ระบบเครือขา่ ยอินเทอรเ์ น็ตได้ เช่น การให้คาแนะนา สอบถามปญั หาต่าง ๆ ใหแ้ กล่ ูกคา้ แจกจา่ ยตวั โปรแกรมทดลองใช้ (Shareware) หรอื โปรแกรมแจกฟรี (Freeware) เป็นต้นด้านการบนั เทิง  การพักผอ่ นหย่อนใจ สันทนาการ เชน่ การคน้ หาวารสารต่าง ๆ ผ่านระบบเครือขา่ ย อินเทอรเ์ น็ต ทเี่ รียกวา่ Magazine online รวมท้ังหนงั สอื พิมพ์และขา่ วสารอน่ื ๆ โดยมี ภาพประกอบ ทจี่ อคอมพิวเตอร์เหมอื นกับวารสาร ตามรา้ นหนังสอื ทัว่ ๆ ไป  สามารถฟังวิทยผุ ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เนต็ ได้  สามารถดึงข้อมลู (Download) ภาพยนตร์ตัวอย่างทั้งภาพยนตรใ์ หม่ และเก่า มาดูได้ด้านสนับสนุนการศึกษา การใช้อนิ เตอร์เนต็ เพื่อการตดิ ต่อส่อื สาร เป็นการใช้อินเตอร์เนต็ ในการติดต่อสอื่ สาร ระหว่างคณาจารย์และนักศึกษาสถาบันการศึกษาระดับอดุ มศึกษา ไมว่ ่าจะเป็นการส่งการบ้าน นัดหมายอภปิ ราย แลกเปลีย่ นความคิดเห็นต่างๆ รวมท้งั การแจกจ่ายทีอ่ ยู่ทางไปรษณยี ์อิเลคทรอนิคส์ หรือที่

15อยูบ่ นเวิลดไ์ วดเ์ ว็บ เนือ่ งจากมคี วามสะดวก คือใชเ้ วลาเพียงไม่กน่ี าทเี ท่านัน้ ผ้รู ับไม่จาเป็นต้องรอรับข้อมูลอยู่เหมือนการใชโ้ ทรศัพท์ นอกจากนี้ ยงั มีบรกิ ารทางอนิ เตอรเ์ น็ต ซ่งึ เป็นที่นิยมในหมนู่ ักการศึกษาอกี ประเภทคอื LISTSERV ซึ่งเป็นบรกิ ารที่อนญุ าตให้นักการศึกษาสามารถสมัครเป็นสมาชิก ของกลุ่มสนทนา(Discussion Group) ที่มีความสนใจในเร่ืองเดยี วกนั โดยผู้สนใจจะต้องสง่ อเี มล์ไปยงั ท่ีอยขู่ องกล่มุสนทนา ซ่งึ จะนาทีอ่ ยู่อีเมลข์ องผู้สนใจไปใสไ่ วใ้ น ลิสต์รายชอ่ื สมาชกิ (Mailing list) เมอ่ื มีผสู้ ่งขอ้ ความมายงั กลุ่ม เคร่ืองคอมพิวเตอร์ ก็จะทาการคัดลอกและจัดส่งขอ้ มลู นี้ไปตามลสิ ตร์ ายชอ่ื สมาชกิ ที่มีอยู่จะทาใหเ้ รารบั ทราบข้อมูลท่ีทันสมยั ตลอดเวลาการเรียนการสอนเกย่ี วกับอินเตอรเ์ นต็ ในประเทศไทยการเรยี นการสอนเกีย่ วกับอินเตอร์เน็ต สว่ นใหญ่เปน็ ในลกั ษณะของการเปิดอบรมหลกั สูตรระยะสั้น ใหแ้ ก่สมาชกิ เครือข่าย หรือประชาชนผู้สนใจทวั่ ไป แตอ่ ย่างไรก็ตามมีสถาบนั การศึกษาหลายแห่งได้จดั ให้มกี ารเรยี นการสอนเกี่ยว กับอินเตอรเ์ น็ต โดยจัดให้เป็นส่วนหนง่ึของการศึกษารายวิชาต่างๆ ให้แกน่ กั ศกึ ษา ทงั้ นกี้ ็เพื่อเป็นการเตรียมให้มคี วามพร้อมในการท่จี ะนาความรไู้ ปประยกุ ต์ใน การค้นควา้ วจิ ยั หรอื ทารายงาน ในรายวชิ าตา่ ง ๆและที่สาคัญ เป็นการเรยี นรู้ดว้ ยตนเองนอกจากน้ี การจดั การเรยี นการสอนเกีย่ วกบั อินเตอร์เน็ตยังเป็นการสง่ เสริมใหน้ ักศึกษา ไดม้ ีโอกาสแสดงความคิดเห็นผา่ นสือ่ ในลักษณะทแี่ ตกตา่ งไปจากเดมิ เชน่ จากการอภิปรายผ่านอเี มล์ การเสนอความคดิ เหน็ ในกลมุ่ สนทนา หรือการนาเสนอข้อมูลบนเวบ็ เปน็ ตน้ประโยชนข์ องการใช้อนิ เตอร์เน็ตกบั การศึกษา1. การใชเ้ ป็นระบบส่อื สารส่วนบุคคล บนอินเตอรเ์ นต็ มีอิเล็กทรอนิกส์เมล์หรือเรียกยอ่ ๆ ว่า อเี มล์ (E-mail) เป็นระบบทที่ าใหก้ ารส่ือสารระหว่างกันเกดิ ขน้ึ ได้ง่าย แตล่ ะบคุ คลจะมีตู้จดหมายเปน็ ของตวั เองสามารถส่งขอ้ ความถึงกันผา่ นในระบบน้ีโดยส่งไปยังตู้จดหมายของกนั และกนั นอกจากนยี้ ังสามารถประยุกต์ไปใชท้ างการศกึ ษาได้2. ระบบข่าวสารบนอนิ เตอรเ์ น็ต มีลักษณะเหมือนกระดานข่าวที่เชอ่ื มโยงถึงกนั ทัว่ โลก ทกุ คนสามารถเปดิ กระดานขา่ วท่ตี นเองสนใจหรอื สามารถส่งข่าวสารผ่านกลุ่มขา่ วบนกระดานนเ้ี พ่อื โตต้ อบข่าวสารกนั ได้ ้3. การใชเ้ พอ่ื สืบคน้ ข้อมูลขา่ วสารตา่ งๆ บนอนิ เตอรเ์ น็ตมีแหล่งข้อมูลขนาดใหญ่ท่เี ชื่อมโยงกัน และติดต่อกับห้องสมุดท่วั โลกทาใหก้ ารค้นหาข้อมลู ข่าวสารต่างๆ ทาได้อย่างรวดเร็วและมีประสทิ ธิภาพหมายถึงสามารถค้นหาและได้มาซงึ่ ข้อมลู โดยใช้เวลาอันสน้ั โดยเฉพาะบนอินเตอร์เนต็ จะมีคาหลกั(Index) ไว้ให้สาหรับการสืบค้นทร่ี วดเรว็4. ฐานข้อมูลเครือข่ายใยแมงมุม (World Wide Web) เป็นฐานข้อมลู แบบเอกสาร (Hypertext) และแบบมรี ปู ภาพ (Hypermedia) จนมาปัจจบุ ัน ฐานข้อมลู เหลา่ น้ีได้พฒั นาขน้ึ จนเป็นแบบมลั ติมีเดยี(Multimedia) ซึ่งมีท้ังข้อความ รปู ภาพวีดโิ อทัศน์ และเสียงผูใ้ ช้เครือข่ายนี้สามารถสบื ค้นกันไดจ้ ากท่ีตา่ งๆ ทัว่ โลก5. การพูดคยุ แบบโตต้ อบหรือคยุ เป็นกลมุ่ บนเครือข่ายอินเตอร์เนต็ สามารถเช่อื มต่อกนั และพูดคุยกนัได้ด้วยเวลาจริง ผพู้ ูดสามารถพิมพข์ ้อความโตต้ อบกันไดไ้ ม่วา่ จะอยทู่ ี่ใดบนเครือขา่ ย

166. การสง่ ถ่ายข้อมลู ระหวา่ งกันแบบ FTP (Files Transfer Protocol) คอื สามารถทจี่ ะโอนย้ายถา่ ยเทขอ้ มูลระหว่างกันเป็นจานวนมากๆ ได้ โดยสง่ ผา่ นระบบเครอื ข่ายอนิ เตอร์เนต็ ซึ่งทาให้สะดวกต่อการรบั -ส่งขอ้ มลู ข่าวสารซงึ่ กันและกนั โดยไม่ต้องเดนิ ทางและข่าวสารถึงผรู้ ับได้อย่างรวดเร็วยิง่ ข้ึน7. การใช้ทรพั ยากรที่หา่ งไกลกัน ผเู้ รียนอาจเรียนอยู่ท่ีบา้ นและเรียกใชข้ ้อมลู ท่เี ปน็ ทรัพยากรการเรียนรู้ของมหาวทิ ยาลัยได้ และยังสามารถขอใช้ทรพั ยากรคอมพิวเตอร์ในตา่ งมาวทิ ยาลัยได้ขอ้ พึงระวังในการใช้อินเตอร์เน็ตเพอ่ื การศึกษา1. การสืบคน้ ขอ้ มลู เนือ่ งจากข้อมูลบนเครือขา่ ยอนิ เตอรเ์ นต็ เปน็ ขอ้ มูลทไ่ี ม่ไดม้ ีการรับรองจากผเู้ ชี่ยวชาญ องคก์ ร หรอื สถาบนั ใด และเป็นข้อมลู ท่ผี ู้ใช้เครอื ขา่ ยทุกคนมสี ิทธทิ ่นี าเสนอความคิดเห็นเผยแพรข่ า่ วสารอย่างเปน็ อิสระ ดังนัน้ ผูใ้ ชจ้ ึงจาเป็นตอ้ งตรวจสอบขอ้ มูลและใชว้ จิ ารณญาณในการเลอื กสรรเอาเอง2. การติดต่อส่ือสาร แม้วา่ การสง่ อเี มลจ์ ะเป็นวิธีการติดต่อสอ่ื สารที่แสนสะดวกสบาย แต่กม็ ีข้อจากัดบางอยา่ ง คอื ผู้รบั ไมส่ ามารถสงั เกตการแสดงออกทางสหี น้า ท่าทาง หรือน้าเสียง ประกอบของผู้ส่งได้เลย ดงั น้ัน การเขียน หรอื พมิ พ์ข้อความใด ๆ ในอีเมลจ์ งึ จาเปน็ ต้องเขียนให้ชัดเจน กระชบั และถูกกาลเทศะ เพ่ือปอ้ งกันความเข้าใจผิดที่อาจเกดิ ข้ึนได้3. การเผยแพร่ขอ้ มูล เนือ่ งจากอนิ เตอรเ์ น็ตเปน็ เครอื ข่ายไร้พรหมแดน ท่ีไม่มีเจ้าของ และไม่ข้ึนกบักฎระเบยี บขององค์กรใดองค์กรหนึง่ ดงั นั้น ผูใ้ ชเ้ ครอื ข่ายที่ตอ้ งการเผยแพร่ขอ้ มูลข่าวสาร หรือนาเสนอข้อคิดเหน็ ใด ๆ บนเครอื ขา่ ยจึงจาเป็นจะต้องมจี รรยาบรรณในการใช้อนิ เตอร์เน็ต โดยตระหนกั ถึงความรบั ผดิ ชอบต่อผู้อืน่ และหลีกเลี่ยงการนาเสนอขอ้ มลู ทีไ่ ม่เหมาะสม คลาดเคลอ่ื นหรือท่ีอาจกระทบกระเทือน หรือสร้างความเสียหายต่อผ้อู ่ืนได้ทมี่ า :https://sites.google.com/site/chalumpol4102/1-1http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type2/tech04/24/n2.htmlhttp://cptd.chandra.ac.th/selfstud/it4learn/p41.htmlhttp://blog.eduzones.com/banny/3481http://blog.eduzones.com/banny/3734http://www.gotoknow.org/posts/283076อ้างอิงhttp://csmju.jowave.com/cs100_v2/lesson4-6.html


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook