Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นำเสนอวิจัย

นำเสนอวิจัย

Published by JIRAWAT CHUE-ON, 2021-08-04 07:46:17

Description: นำเสนอวิจัย

Search

Read the Text Version

สมาชิก นายวรี ะพล คามุงคล รหสั นิสิต62010514092 นายสาละวนิ กรวยสวสั ดิ์ รหสั นิสติ 62010514093 นางสาวชุตกิ าญจน์ นรศรี รหสั นิสิต 62010514096 นางสาวธัญญาทพิ ย์ ถนิ่ ขาม รหัสนิสติ 62010514066 นางสาวจริ าภา แคสันเทยี ะ รหสั นิสิต 62010514082 นายธนกร ฤทธิจ์ านงค์ รหสั นิสิต 62010514083

การสงั เกต เป็นเครอ่ื งมือท่ีใชใ้ นการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ตา่ งๆ ทเ่ี ก่ียวกบั พฤตกิ รรมของส่งิ ท่ีเรา ตอ้ งการศกึ ษาอาจเป็น บคุ คล สิ่งแวดลอ้ ม หรอื วตั ถตุ า่ งๆ โดยการใชป้ ระสาทสมั ผสั ทงั้ 5 ไดแ้ ก่ ตา หู จมกู ลนิ้ และสมั ผสั ในการตดิ ตาม เฝา้ ดอู ยา่ งใกลช้ ิด

1. ประเภทของการสงั เกต การสงั เกตแบ่งออกไดห้ ลายแบบดงั น้ี ก. แบ่งตามการเขา้ ร่วม สามารถแบ่งได้ 2 ประเภท ดงั น้ี 1)การสงั เกตแบบมีส่วนร่วม (Participant Observation) หมายถึง การสงั เกตท่ีผสู้ ังเกตเขา้ ไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ หรือคลุกคลีอยใู่ นหมู่ของผทู้ ี่เราตอ้ งการสงั เกต ซ่ึงลกั ษณะ เช่นน้ีจะ ทาใหไ้ ดร้ ายละเอียด หรือขอ้ มูลท่ีแน่นอน ถูกตอ้ ง ชดั เจน 2)การสงั เกตแบบไม่มีส่วนร่วม (Non-participant Observation) หมายถึง การสงั เกตที่ผู้ สงั เกตไม่ไดเ้ ขา้ ไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ แต่คอยเฝ้าดูอยหู่ ่างๆ การสงั เกตแบบน้ี อาจให้ ผถู้ ูกสงั เกตรู้ตวั หรือไม่ใหผ้ ถู้ ูกสงั เกตรู้ตวั กไ็ ด้

1. การสังเกตแบบไม่มโี ครงสร้าง (Unstructured Observation) เป็ นการสังเกตทไ่ี ม่มกี ารกาหนด เร่ืองราว หรือพฤตกิ รรมอะไรทต่ี อ้ งการสังเกตไว้ ล่วงหน้า เป็ นการสังเกตอสิ ระ ไม่มกี ารควบคุมเคร่ืองมอื ทใ่ี ช้อาจเป็ นเพยี งกระดาษ เปล่าๆ ทมี่ ไี ว้สาหรับจดบนั ทกึ หรือใช้อุปกรณช์ ่วย เช่น กล้องถา่ ยรูป เครื่องบนั ทกึ เสียง 2. การสังเกตแบบมโี ครงสร้าง (Structured Observation) เป็ นการสังเกตทกี่ าหนด เรื่องราวหรือ ขอบเขตของเนือ้ หาไว้ล่วงหน้าแน่นอนว่าจะ สังเกตพฤตกิ รรม หรือปรากฏการณอ์ ะไร มกี ารเตรียมเคร่ืองมอื ทจ่ี ะใช้ในการสงั เกต และจะสังเกตเฉพาะเร่ืองราวหรือข้อมลู ทไี่ ดก้ าหนดไว้เทา่ นั้น การสังเกตแบบนีจ้ ะ สะดวก รวดเร็ว ข้อมูลทไี่ ด้จากการสังเกตสามารถจดั แยกเป็ นหมวดหมู่ได้งา่ ย

1. กาหนดจดุ ม่งุ หมายใหแ้ น่นอนและชดั เจน วา่ จะสงั เกตพฤตกิ รรม หรอื ปรากฏการณใ์ ด 2. วางแผนการสงั เกตอยา่ งมขี ั้นตอนและเป็นระบบวา่ จะใช้การสังเกตแบบใดและมีเครื่องมอื ช่วยในการสงั เกตหรือไม่ 3. มีการบนั ทกึ รายละเอียดท่ีสงั เกตไดท้ นั ที การบนั ทกึ นนั้ ตอ้ งตรงกบั ขอ้ เท็จจริงท่ีสงั เกตได้ 4. มีทกั ษะในการใชเ้ ครอ่ื งมือหรอื อปุ กรณช์ ่วยในการสงั เกต บางครงั้ จาเป็นตอ้ งมีอุปกรณ์ เชน่ กลอ้ งถ่ายรูปวีดิโอ หรอื อ่ืนๆ 5. ผสู้ งั เกต ควรมีการรบั รูท้ ่ีถกู ตอ้ ง และรวดเรว็ จากพฤติกรรมท่ีผถู้ กู สงั เกตแสดงออกมา เพราะการแสดงออกของพฤติกรรมบางอย่างจะไม่เกิดขนึ้ บอ่ ย ๆ และอาจเกิดขนึ้ อยา่ งรวดเรว็ 6. ผสู้ งั เกต ตอ้ งขจดั อคตหิ รอื ความลาเอียงออกไปใหห้ มด น่นั คือ ตอ้ งบนั ทกึ ส่งิ ท่ีไดพ้ บเหน็ ไม่ตอ้ งใสค่ วามเหน็ สว่ นตวั เขา้ ไป 7. ควรสงั เกตหลายๆ ครงั้ หรอื ใชผ้ สู้ งั เกตหลายคนเพ่ือใหผ้ ลจากการสงั เกตเช่ือถือได้

1. อารมณข์ องผสู้ งั เกตควรอยใู่ นอารมณป์ กติ ไมห่ งดุ หงิดโกรธงา่ ย 2. ผสู้ งั เกตตอ้ งไมม่ ีความลาเอียงเขา้ ขา้ งตนเองหรอื ผถู้ กู สงั เกต 3. ความตงั้ ใจจรงิ ผสู้ งั เกตตอ้ งมีใจจดจ่อในส่งิ ท่ีจะสงั เกต ทาดว้ ยความตงั้ ใจ 4. สภาพทางกาย ผสู้ งั เกตตอ้ งเป็นผทู้ ่ีมีรา่ งกายปกติ เช่น ประสาทสมั ผสั ของผสู้ งั เกตตอ้ งไว 5. สภาพของสมองผสู้ งั เกตตอ้ งเป็นผทู้ ่ีมีความสามารถในการรบั รูพ้ ฤติกรรมท่ี ผถู้ ูกสงั เกต แสดงออกมา และแปลความหมายของพฤตกิ รรมท่ีผถู้ กู สงั เกตแสดงออกมาได้ ตวั อยา่ งเช่น พฤติกรรมท่ีแสดงออกถงึ ความเหน็ ไมต่ รงกนั ไดแ้ ก่ การสา่ ยหนา้ เป็นตน้



ขอ้ ดขี องการสงั เกต



ข้อจาํ กัดของการสงั เกต 1.ใช้เวลามากในการสังเกต ถ้ากลุ่มตัวอย่างมากจะทาใหเ้ สียเวลา หรือบางที พฤติกรรมท่ี ตอ้ งการสงั เกตยงั ไมเ่ กิดขนึ้ ตอ้ งเฝา้ รอทาใหเ้ สียเวลา 2.ขอ้ มลู บางอย่างไม่สามารถสงั เกตไดด้ ว้ ยตาเปล่า เช่น พฤติกรรมภายในต่างๆ หรอื ขอ้ มลู เป็นเร่อื งสว่ นตวั จะไมส่ ามารถเขา้ ไปสงั เกตได้ 3. ในการสงั เกตนกั เรยี นจะทาไมไ่ ดเ้ ลยถา้ นกั เรยี นออกนอกหอ้ งเรยี นไปแลว้ 4.ผสู้ งั เกตตอ้ งไดร้ บั การฝึกฝนอย่างดี มฉิ ะนนั้ ขอ้ มลู ท่ีไดจ้ ะขาดความเท่ียงตรง 5. การสงั เกตอาจเกิดความลาเอียงได้ ผสู้ งั เกตตอ้ งลดอคติความลาเอียงลง

ตัวอย่างแบบสงั เกต ตัวอย่างที่ 1 แบบสังเกตพธิ ีบูชามเหศกั ดิ์หลกั เมือง (กรรมการสงั เกต) วันศกุ ร์ ที่ 1 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 08.00 – 10.00 น. ณ ศาลหลักเมอื ง อ.เมอื ง จ.มหาสารคาม ก. จานวนผรู้ ่วมพิธี ประมาณ……………คน ข. ความเหมาะสมของกจิ กรรม (โปรดกาเครื่องหมาย ✓ ลงในชอ่ งว่างตามความคิดเห็นของท่าน) ระดบั ความเหมาะสม รายการคาถาม มากท่ีสดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย นอ้ ยท่ีสดุ 1. สถานท่ี 1.1 ความสวยงามของปะราพธิ ี 1.2 ความพร้อมของการจัดเตรียมสถานที่ เช่น เต้นท์ เก้าอี้ บริการนา้ ดม่ื เป็ นต้น 1.3 สถานทจี่ ัดงานมบี รเิ วณเพยี งพอสาหรับเข้าร่วมพธิ ีกรรม 1.4 ความสะอาดเรียร้อยของบรเิ วณประกอบพธิ ีกรรม 1.5 มีสถานทจ่ี อดรถสะดวกและเพียงพอ 2. ระบบเสยี ง 2.1 ระบบเสยี ง เสยี งดงั ชัดเจน มคี วามทนั สมัย 2.2 ระบบเสยี ง ตอ่ เน่ือง ไม่ขัดข้อง

เกณฑก์ ารประเมิน การออกเสยี ง ความถกู ต้องของ ท่าทาง ความ ชือ่ -สกุล (3) เนือ้ หา ประกอบ คล่องแคล่ว (3) (2) (2) รวม คะแนน (10) 321321121 2 เกณฑ์การให้คะแนนการออกเสียง (3 คะแนน) 3 คะแนน หมายถงึ ออกเสียงคาศพั ท์/ประโยคดว้ ยเสยี งหนกั แนน่ ได้ โดยไม่ผดิ เกิน 2 คา 2 คะแนน หมายถงึ ออกเสียงคาศพั ท์/ประโยคดว้ ยเสยี งหนักแนน่ ได้ โดยไมผ่ ิดเกนิ 4 คา 1 คะแนน หมายถงึ เสียงเนน้ หนักในคาศัพท์/ประโยค โดยผิดต้งั แต่ 5 คาขึ้นไป

Thank you


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook