แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ 256๖ กศน.อำเภอวาริชภมู ิ สำนักงาน กศน.จงั หวัดสกลนคร สำนกั งาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
การอนุมตั ิแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปีงบประมาณ พ. ศ 256๖ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอวาริชภูมิ เพ่อื ใหก้ ารบริหารจัดการศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอวาริชภูมิบรรลุ เป้าประสงค์ทีส่ ำนักงาน กศน.จงั หวัดสกลนครกำหนดให้ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย อำเภอวาริชภูมิ จงึ ได้ดำเนนิ การจดั ทำแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ 256๖ ซง่ึ ประกอบด้วยข้อมูล พ้นื ฐาน ทิศทางการดำเนินงาน และแผนงานโครงการ โดยจัดการศกึ ษาตามยทุ ธศาสตร์และจุดเน้นการ ดำเนินงานของสำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ 256๖ ได้บรรลุตามวตั ถุประสงคด์ ำเนนิ การจัด กิจกรรมต่อไป ลงชอื่ ……………………………………………………….ผู้เหน็ ชอบแผน ( นายวรี พงษ์ เจริญไชย ) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา ลงช่อื …………………………………………………………ผู้อนุมัตแิ ผน ( นางจรี ะนนั ต์ เสนเผือก ) ผู้อำนวยการ กศน. อำเภอวาริชภูมิ ลงชือ่ ……………………………………………………………ผู้เห็นชอบแผน ( นายชาญชัย โพนกองเส็ง ) ผอู้ ำนวยการสำนกั งาน กศน .จงั หวดั สกลนคร
ก คำนำ แผนปฏิบตั ิการประจำปงี บประมาณ พ.ศ 256๖ ของ กศน. อำเภอวาริชภมู ิ ฉบบั นี้ เปน็ แผนท่ี แสดงให้เห็นภาพรวมใหด้ ำเนินการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ประจำปีงบประมาณ 256๖ ของ กศน. อำเภอวารชิ ภมู ิ ท่ีสนองตอบตอ่ เจตนารมณ์ของพระราชบัญญตั สิ ่งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศยั พ.ศ 256๖ ทิศทางการพัฒนาประเทศตามนโยบายของรฐั บาล นโยบาย กระทรวงศึกษาธกิ าร มติคณะรฐั มนตรเี ก่ียวกับสง่ เสรมิ การอ่านใหเ้ ปน็ วาระแห่งชาตเิ พื่อสร้างสงั คมแหง่ การ เรียนรตู้ ลอดชวี ติ แผนปฏบิ ตั ริ าชการ ประจำปงี บประมาณ 256๖ ของสำนักงาน ปลดั กระทรวง ศึกษาธิการ รวมท้ังนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงาน สำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ 256๖ สาระแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีงบประมาณ 256๖ ของ กศน. อำเภอวาริชภูมิ ประกอบด้วย ภาพรวมงาน โครงการและงบประมาณ รวมทง้ั รายละเอียดงาน โครงการและงบประมาณที่ดำเนนิ การใน ปงี บประมาณ พ.ศ 256๖ ของ กศน.ตำบลในสังกัด กศน. .อำเภอวาริชภูมิ ขอขอบคุณทุกทา่ นที่ให้ความ รว่ มมือในการจัดทำแผนปฏิบตั ิการ ของกศน.อำเภอวาริชภมู ิ จะเป็นแนวทางในการบรหิ ารโครงการ และ งบประมาณของหนว่ ยงานและสถานศึกษาในสังกดั สำนักงาน กศน. จงั หวัดสกลนคร ประจำปีงบประมาณ 256๖ ตลอดจนเป็นเครอื่ งมือในการกำกับติดตามผลการดำเนินงานผบู้ ริหาร รวมท้งั เป็นข้อมลู สำหรับ หนว่ ยงาน ผู้สนใจกิจกรรมงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยต่อไป กศน.อำเภอวารชิ ภมู ิ
สารบญั ข คำนำ ก สารบัญ ข บทท่ี 1 ข้อมูลพ้ืนฐาน 1 ประวัตสิ ถานศึกษา 1 โครงสร้างการบรหิ าร 1 แผนผังการบรหิ ารงาน 2 แผนผงั บคุ ลากรผู้รบั ผิดชอบงาน 3 ข้อมูลบุคลากร 4 ข้อมูล กศน.ตำบล แหล่งเรียนรู้ ภูมปิ ญั ญา 5 ภาคเี ครอื ข่าย 7 ศกั ยภาพชมุ ชน 8 ประวัติอำเภอวาริชภูมิ 8 การศกึ ษา 9 ประชากร 10 ทต่ี ั้งอาณาเขต 11 ลกั ษณะภูมิประเทศ 1๑ แนวทางการพัฒนาสถานศึกษา 13 บทที่ 2 สาระสำคญั ของแผนปฏิบตั กิ าร 1๔ ปรัชญา วิสัยทัศน์ พันธกจิ เปา้ ประสงค์ ตัวช้ีวัด 1๔ นโยบายและจุดเนน้ 1๗ เปา้ หมายการบริการ ๑๙ บทที่ 3 ๒๑ กศน-กผ-123 บทที่ 4 2๓ กศน-กผ-๐๒ ภาคผนวก 79
๑ บทที่ 1 ขอ้ มูลพืน้ ฐาน 1.1. ประวตั สิ ถานศกึ ษา ประวัติศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวาริชภูมิ จัดตั้งขึ้นตาม ประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรอ่ื ง จดั ตง้ั ศนู ย์บริการการศกึ ษานอกโรงเรยี นอำเภอวารชิ ภมู ิ / ก่ิงอำเภอ อาศัย อำนาจตามความในมาตรา 25 แห่งพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2534 ประกอบกับ ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการจัดการศึกษาในสถานศึกษา สังกัดกรมการศึกษานอกโรงเรียน พ.ศ. 2531 ขอ้ 6 กระทรวงศกึ ษาธิการ จึงใหด้ ำเนนิ การดังน้ี ศูนยบ์ รกิ ารการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอวาริช ภูมิ เปน็ ลำดบั ท่ี 55 ของจังหวัดสกลนคร และลำดับท่ี 11 ตามประกาศ ณ วันท่ี 27 สงิ หาคม 2536 ลงนามโดย นายปราโมทย์ สุขุม รัฐมนตรีชว่ ยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รักษาราชการแทนรัฐมนตรีวา่ การ กระทรวงศึกษาธิการ โดยรวมงานห้องสมุดประชาชนอำเภอวาริชภูมิ งานการศึกษาสายสามัญ ที่ดำเนินการ กิจกรรมการเรียนการสอนในท้องที่อำเภอวาริชภูมิเข้าด้วยกันและจัดตั้งสำนักงานขึ้นที่ “ อาคารห้องสมุด ประชาชนอำเภอวาริชภูมิ” บริเวณศูนย์ราชการอำเภอวาริชภูมิ ถนนผดุงวารี ตำบลวาริชภูมิ ตั้งอยู่บน ที่ดนิ ที่ราชพัสดุ ใชอ้ กั ษรยอ่ ว่า “ศบอ.” เปน็ การจดั ต้ัง ในปงี บประมาณ 2537 และกระทรวงศึกษาธกิ าร ได้ปรับเปลี่ยนโครงสร้างใหม่เมื่อ วันที่ 7 กรกฎาคม 2546 และสืบเนื่องจากพระราชบัญญัติส่งเสริม การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 มีผลบังคับใช้เมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2551 ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอวาริชภูมิ (ชื่อเดิม) จึงได้ปรับเปลี่ยนภารกิจตามพระราชบัญญัติ ดังกล่าว และใช้ชื่อใหม่เป็น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย อำเภอวาริชภูมิ มาจนถึง ปัจจุบนั 1.2 โครงสรา้ งการบรหิ าร ❖ ทำเนยี บผูบ้ รหิ าร ลำดับ ช่อื -สกุล ตำแหน่ง ระยะเวลาทีด่ ำรงตำแหนง่ 1 นายพทิ ักษ์ สวสั ด์ิ หัวหนา้ ศูนย์ 1 1 ก.พ. 2537 - 30 ม.ิ ย 2540 2 นายศานติ ศิริขนั ธ์ ผอู้ ำนวยการศูนย์ 1 ก.ค. 2540 - 7 มิ.ย. 2545 3 นางวรมน รัตนจีน ผอู้ ำนวยการศูนย์ 8 มิ.ย. 2545 - 30 ก.ค. 2546 4 นายทรงเดช แกว้ ดี (รกั ษาการ) ผ้อู ำนวยการศนู ย์ 1 ส.ค. 2546 - 16 ก.พ. 2547 5 นายอเนก กลยนี ผ้อู ำนวยการศนู ย์ 17 ก.พ. 2547 - 30 ก.ย 2553 6 นายจตพุ ร วนั ชยู ศ ผูอ้ ำนวยการศูนย์ 8 ต.ค. 2553 - 30 ก.ย 2554 7 นายรังสี ทองพนั ธุ์ ผอู้ ำนวยการศูนย์ 1 ธ.ค.2555 - 30 พ.ย.2556 8 นางจีระนันต์ เสนเผอื ก ผ้อู ำนวยการศูนย์ 1พ.ย. 2556 - ปัจจุบนั
๒ แผนผงั โครงสร้างการบริหารงาน ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวารชิ ภูมิ ผอู้ ำนวยการ กศน...อ..ำเภอ .................. คณะกรรมการสถานศกึ ษา กลุม่ งานอำนวยการ กลุ่มงานจัดการศึกษานอกระบบ กล่มุ งานภาคีเครอื ขา่ ยและ และการศึกษาตามอธั ยาศยั กจิ กรรมพิเศษ - งานธรุ การและงานสารบรรณ - งานสง่ เสริมการรู้หนังสอื และกจิ การพเิ ศษ - งานการเงินและบัญชี - งานการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน - งานงบประมาณและระดมทรพั ยากร - งานการศึกษาต่อเนอ่ื ง - งานส่งเสริม สนบั สนนุ ภาคีเครอื ขา่ ย - งานพสั ดุ - งานการศึกษาเพอ่ื พัฒนาอาชีพ - งานกิจการพิเศษ - งานบคุ ลากร - งานการศึกษาเพอ่ื พฒั นาทักษะชีวติ - งานโครงการอนั เนอ่ื งมาจาก - งานอาคารสถานท่ีและยานพาหนะ - งานการศกึ ษาเพือ่ พฒั นาสงั คมและ - งานแผนงานและโครงการ ชุมชน พระราชดำริ - งานประชาสัมพันธ์ - งานการศึกษาตามอัธยาศยั - งานปอ้ งกนั แก้ไขปญั หายาเสพตดิ / - งานสวสั ดิการ - งานจัด พัฒนาแหล่งเรยี นรู้และภูมิ โรคเอดส์ - งานข้อมลู สารสนเทศและการ ปญั ญา ทอ้ งถิน่ - งานส่งเสริมกจิ กรรมประชาธิปไตย รายงาน - งานหอ้ งสมดุ - งานสนับสนนุ ส่งเสริมนโยบาย - ศนู ยร์ าชการใสสะอาด - งาน ศรช. - งานควบคมุ ภายใน - งานทะเบยี นและวัดผล จังหวดั /อำเภอฯลฯ - งานนเิ ทศ ตดิ ตามประเมนิ ผล - งานศูนยใ์ ห้คำปรกึ ษาแนะแนว - กจิ กรรมงานลกู เสือ/ยวุ กาชาด - งานประกนั คณุ ภาพ - งานกองทนุ ก็ยมื เงนิ เพ่อื การศึกษา - งานเลขาคณะกรรมการสถานศกึ ษา แผนผงั บุคลากรผ้รู ับผิดชอบงาน
๓ ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอวารชิ ภมู ิ ผ้อู ำนวยการ คณะกรรมการสถานศกึ ษา นางจีระนนั ต์ เสนเผือก กลุ่มงานอำนวยการ กลุ่มงานจัดการศกึ ษานอกระบบ กลุ่มงานภาคีเครอื ข่ายและกจิ กรรม และการศกึ ษาตามอัธยาศัย พิเศษ 1) นางรุ้งฤดี ผิวยะเมือง 1) นางสาวกฤตยาพร วรเชษฐ์ 1) นายเจริญศลิ ป์ ทองธิราช หวั หนา้ กลุ่มงานอำนวยการ หวั หนา้ งานจดั การศกึ ษานอกระบบและ หวั หน้ากลุ่มงานภาคเี ครอื ขา่ ยและ การศกึ ษาตามอธั ยาศยั กจิ กรรมพเิ ศษ - งานการเงนิ บญั ชี - งานงบประมาณและระดม - งานการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐานนอกระบบ - งานสง่ เสริมภาคเี ครอื ข่าย ทรัพยากร - นายทะเบียน ๒) น.ส.อมร ศรีระวรรณ - งานบุคลากร - งานนเิ ทศประเมินผล - งานควบคมุ ภายใน 2) นายเจรญิ ศิลป์ ทองธิราช - งานสนบั สนนุ ส่งเสริมนโยบาย ๒) นายเจรญิ ศลิ ป์ ทองธริ าช - งานการศึกษาตอ่ เนือ่ ง จังหวดั /อำเภอฯลฯ -งานแผน/โครงการ 3) นางสาวณัชวดี ศรีกลู กจิ 3) นายอคั รเดช อินธิดา ๓) นางนทั ริยา วเิ ศษลา - งานการศึกษาตามอัธยาศัย - งานปอ้ งกนั แกไ้ ขปญั หา - งานพสั ดุ - งานจดั พฒั นาแหล่งเรียนรแู้ ละ ยาเสพตดิ /โรคเอดส์ ๔) นางสาวฉัตราภรณ์ ธรรมสมบตั ิ ภมู ิปัญญาท้องถนิ่ 4) นายอคั รเดช อนิ ธิดา - งานธรุ การและงานสารบรรณ 4) นางสาวฉัตราภรณ์ ธรรมสมบตั ิ - งานกจิ กรรมพิเศษ/ลกู เสอื ยุว- ๕) นายอคั รเดช อินธดิ า - งานการศกึ ษาตามอัธยาศัย กาชาด - งานอาคารสถานทีแ่ ละ - งานจัด พัฒนาแหลง่ เรียนรแู้ ละ ๕) นางนชุ นาถ พรหมจำปา ยานพาหนะ ภูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ -ประชาธปิ ไตย ๖) นางสาวปณุ ยนุช อปุ ระ 5) นางณัฐฐา ฟา้ กระจ่าง - งานสนับสนนุ ส่งเสริมนโยบาย - งานประชาสัมพนั ธ์ - งานการศึกษาขั้นพ้นื ฐานนอกระบบ จังหวดั /อำเภอฯลฯ -งานประกันคณุ ภาพ - งานสนับสนุน สง่ เสริมนโยบาย จงั หวดั /อำเภอฯลฯ หนา้
๔ 1.3. ข้อมูลบุคลากร ❖ ทำเนียบผ้บู ริหาร ลำดบั ชอ่ื -สกุล ตำแหน่ง ระยะเวลาท่ดี ำรงตำแหนง่ 1 นายพทิ ักษ์ สวสั ดิ์ หวั หน้าศูนย์ 1 1 ก.พ. 2537 – 30 มิ.ย 2540 2 นายศานิต ศริ ขิ ันธ์ ผู้อำนวยการศนู ย์ 1 ก.ค. 2540 - 7 มิ.ย. 2545 3 นางวรมน รตั นจีน ผอู้ ำนวยการศนู ย์ 8 ม.ิ ย. 2545 - 30 ก.ค. 2546 4 นายทรงเดช แกว้ ดี (รักษาการ) ผู้อำนวยการศูนย์ 1 ส.ค. 2546 – 16 ก.พ. 2547 5 นายอเนก กลยนี ผู้อำนวยการศนู ย์ 17 ก.พ. 2547 - 30 ก.ย. 2553 6 นายจตพุ ร วันชูยศ ผ้อู ำนวยการศูนย์ 8 ต.ค. 2553 - 30 ก.ย. 2554 7 นายรงั สี ทองพันธุ์ ผู้อำนวยการศูนย์ 1 ธ.ค. 2555 -30 พ.ย.2556 8 นางจรี ะนนั ต์ เสนเผือก ผูอ้ ำนวยการศูนย์ 1พ.ย. 2556-ปัจจบุ นั บคุ ลากร จำนวน 14 คน รายละเอียดดังนี้ ที่ ช่ือ-สกลุ วุฒิการศึกษา ตำแหน่ง 1 นางจีระนันต์ เสนเผอื ก ปรญิ ญาโท ผอู้ ำนวยการ กศน. 2 นางร้งุ ฤดี ผิวยะเมือง ปริญญาโท ครชู ำนาญการพเิ ศษ 3 นางเรืองอุไร พิบูลย์ ปรญิ ญาตรี ครูชำนาญการพเิ ศษ 4 นางสาวกฤตยาพร วรเชษฐ์ ปรญิ ญาตรี ครูผ้ชู ว่ ย 5 นายเจรญิ ศลิ ป์ ทองธริ าช ปริญญาตรี ครูอาสาสมัคร 6 นางสาวปุณยะนุช อปุ ระ ปริญญาตรี ครอู าสาสมัคร 7 นายอคั รเดช อินธดิ า ปรญิ ญาตรี ครูกศน.ตำบล 8 นางนุชนาถ พรหมจำปา ปริญญาตรี ครูกศน.ตำบล 9 นางณัฐฐา ฟา้ กระจา่ ง ปรญิ ญาตรี ครูกศน.ตำบล 10 นางสาวอมร ศรรี ะวรรณ ปรญิ ญาตรี ครกู ศน.ตำบล 11 นางสาวนทั รียา วเิ ศษลา ปริญญาตรี ครูกศน.ตำบล 12 นางสาวณชั วดี ศรีกลู กิจ ปริญญาตรี บรรณารกั ษ์ 13 นางสาวฉตั ราภรณ์ มีพรหม ปรญิ ญาตรี บรรณารกั ษ์ 14 นายวรี ะศักดิ์ ชมดวง ปรญิ ญาตรี นกั การภารโรง
๕ 1.4. ขอ้ มูลกศน.ตำบล/แหลง่ เรยี นรู้/ภมู ิปัญญาท้องถิน่ ❖ ขอ้ มูล กศน.ตำบล กศน.ตำบล ที่ตงั้ ผู้รับผดิ ชอบ สถานท่ี บา้ น หมทู่ ี่ ตำบล น.ส.นทั รียา วิเศษลา น.ส อมร ศรีระวรรณ กศน.ตำบลคำบ่อ วดั ประสทิ ธิสังวรณ์ หนองกุง 4 คำบอ่ นายอัครเดช อนิ ธิดา 1 ค้อเขยี ว นางนุชนาถ พรหมจำปา กศน.ตำบลค้อเขียว ศาลาอเนกประสงค์ คอ้ เขียว 12 ปลาโหล น.ส ณฐั ฐา ฟ้ากระจ่าง 7 วาริชภูมิ กศน.ตำบลปลาโหล ศาลาบ้านหนองทม่ หนองทม่ 10 หนองลาด กศน.ตำบลวารชิ ภมู ิ บริเวณห้องสมุด เฉลิมราช”ฯ กดุ พรา้ ว กศน.ตำบลหนองลาด วดั ราษฎรประดิษฐ์ จำปา ❖ ขอ้ มูลภูมปิ ัญญาท้องถิ่น ที่ ชื่อภมู ปิ ัญญาท้องถิน่ ความสามารถประสบการณ์ บ้านเลขท่ี ทต่ี ั้ง ตำบล 14 หมูท่ ่ี วารชิ ภมู ิ 1 นางปราสัย พรหมเสนา ศลิ ปะประดิษฐ์ 11 4 ปลาโหล 2 นายไสย พรหมจักร เคร่อื งจักสานจากไม้ไผ่ 23 6 วารชิ ภมู ิ 3 นางสาวบัวพิศ เหมะธลุ นิ แปรรูปจากกก 12 7 วาริชภมู ิ 4 นางประนอม พิมมา ทอเสือ่ กกมดั ยอ้ ม 245 1 หนองลาด 5 นางวไิ ลวรรณ ไชยบุบผา ทอเสอื่ กกมัดยอ้ ม 15 2 ปลาโหล 6 นางศศิธร เผ่าผม นวดแผนไทย 25 3 หนองลาด 7 นางประนอม พิมมา ศลิ ปะประดิษฐ์ 54 4 วาริชภมู ิ 8 นางสาววิมลศริ ิ ฝ่ายซ้ายคราม คอมพิวเตอร์ 41 1 หนองลาด 9 นายรักษ์ คำพวงชัย กะลามะพรา้ ว 17 7 วารชิ ภมู ิ 10 นางสดุ ารตั น์ นาถาดทอง คอมพวิ เตอร์ 4 3 หนองลาด 11 นายดุสติ วงศ์ชู เพาะเห็ดในโรงเรือน 5 4 หนองลาด 12 นางนติ ยา พวงประดิษฐ์ ให้ความรกู้ ารทำขา้ วฮาง 11 5 ปลาโหล 13 นางสาวฉววี รรณ พาเสน่ห์ วทิ ยากรศิลปะประดิษฐ์ 17 16 ปลาโหล 14 นายชัยณรงค์ ศรีโคตร วิทยากรปลูกพุทรา 14
15 นายวงศ์สุกัน เจรญิ ไชย วิทยากรทำอาหารตกเบด็ ปลากด 9 9 ปลาโหล 16 นายถวลิ ใครอามาตย์ วทิ ยากรโคขุน 34 1 ปลาโหล 17 นางพรรณี ร่มเกษ วิทยากรทำข้าวฮาง 65 6 ปลาโหล 18 นางบุญศรี ฝ่ายขันธ์ วทิ ยากรทำข้าวฮาง 9 6 ปลาโหล 19 นางประวัติ ส่ิวละคร วทิ ยากรทำทน่ี อน 74 10 หนองลาด 20 นางมะลวิ ัลย์ สารพัฒน์ วิทยากรทำข้าวหอมทอง 45 5 หนองลาด 21 นางสวาท วงศ์ภาคำ วิทยากรทอผา้ มดั หม่ี 78 1 ค้อเขียว 22 นายครอง ราชคำ วิทยากรจกั สาน 101 4 คำบอ่ 23 นางบัวจันทร์ ภาวงศ์ วทิ ยากรผ้าย้อมคราม 75 8 คำบอ่ 24 นางสาวบวั พษิ เหมะธลุ ิน วทิ ยากรจักสาน หนามเตย 41 1 วาริชภูมิ ❖ ขอ้ มูลแหล่งเรียนรู้อ่นื ที่ ชื่อแหล่งเรยี นรู้อ่นื ประเภทแหล่งเรียนรู้ ทีอ่ ยู่ ตำบล บา้ น หมทู่ ี่ วาริชภูมิ 1 ห้องสมุดประชาชน คน้ ควา้ หาความรู้ วารชิ ภมู ิ 1 วารชิ ภูมิ 2 ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” ค้นคว้าหาความรู้ ธาตุ 3 ปลาโหล 3 การทำข้าวหอมทอง สถานที่ นาบ่อ 6 วารชิ ภมู ิ 4 วัดพระธาตศุ รีมงคล สถานที่ ธาตุ 3 ค้อเขียว 5 วัดพระพุทธไสยาสน์ สถานที่ โคกตาดทอง 5 วาริชภมู ิ 6 ศนู ยว์ ฒั นธรรมภูไท สถานท่ี วาริชภมู ิ 1 วาริชภมู ิ 7 ศาลเจ้าปู่มเหศักด์ิ สถานท่ี วารชิ ภูมิ 1 คำบ่อ 8 อนสุ รณ์จิต ภมู ิศักดิ์ สถานที่ หนองกงุ 4 คอ้ เขยี ว 9 สหกรณโ์ คนมวาริชภมู ิ แหล่งผลติ ปา่ โจด 4 หนองลาด 10 การจักสาน แหล่งผลิต จำปา 11 วารชิ ภูมิ 11 การปลูกผลไม้ แหลง่ ผลิต กดุ พร้าว 7 ปลาโหล 12 แหล่งเรยี นรไู้ รช่ ยั ณรงค์ แหลง่ ผลิต ดงเชียงเครอื 9 หนองลาด 13 กล่มุ ทอผา้ ลายขิด แหลง่ ผลติ จำปาทอง 5 คำบ่อ 14 น้ำตกแม่คำดี สถานที่ หนองกุง 7 ค้อเขยี ว 15 น้ำตกแก่งกลุ า สถานที่ ดอนส้มโฮง 6
๗ ❖ ภาคเี ครือขา่ ย ท่ี ช่อื ภาคีเครอื ขา่ ย ที่ต้งั สถานท่ี หมทู่ ่ี ตำบล 1 ทอ้ งถนิ่ อำเภอวาริชภูมิ บริเวณศูนย์ราชการอำเภอวาริชภมู ิ 1 วาริชภมู ิ 2 สำนักงานปกครองอำเภอวาริชภูมิ บริเวณศูนย์ราชการอำเภอวารชิ ภูมิ 1 วารชิ ภมู ิ 3 สำนกั งานปศุสตั วอ์ ำเภอวาริชภูมิ บรเิ วณศูนยร์ าชการอำเภอวาริชภูมิ 1 วาริชภูมิ 4 สำนักงานเกษตรอำเภอวาริชภูมิ บ้านดงเชียงเครือ 9 ปลาโหล 5 สำนกั งานพฒั นาชุมชนอำเภอวารชิ ภมู ิ บริเวณศนู ย์ราชการอำเภอวารชิ ภูมิ 1 วาริชภูมิ 6 สำนักงานทดี่ นิ อำเภอวาริชภมู ิ บรเิ วณศูนย์ราชการอำเภอวาริชภูมิ 1 วาริชภูมิ 7 สถานตี ำรวจภธู รอำเภอวาริชภมู ิ บรเิ วณศูนย์ราชการอำเภอวารชิ ภูมิ 1 วารชิ ภมู ิ 8 สถานีตำรวจภูธรคำบ่อ บา้ นคำบ่อ 1 คำบ่อ 9 สำนักงานสาธารณสุขอำเภอวาริชภมู ิ บา้ นน้อยจอมศรี 16 วารชิ ภูมิ 10 วฒั นธรรมอำเภอวาริชภมู ิ บรเิ วณศูนย์ราชการอำเภอวารชิ ภูมิ 1 วารชิ ภูมิ 11 สำนกั งานเทศบาลตำบลวาริชภมู ิ บ้านธาตุ 1 วารชิ ภูมิ 12 โรงพยาบาลอำเภอวารชิ ภมู ิ บา้ นดงสชี มพู 13 วาริชภมู ิ 13 โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตำบลวาริชภมู ิ บา้ นโพนไผ่ 18 วาริชภมู ิ 14 โรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพบ้านหนองท่ม หนองท่ม 12 ปลาโหล 15 โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพบ้านปลาโหล ปลาโหล 4 ปลาโหล 16 โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพบ้านดงคำโพธิ์ ดงคำโพธิ์ 11 ปลาโหล 17 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านจำปาทอง จำปาทอง 10 หนองลาด 18 โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพบ้านดอนยาวใหญ่ ดอนยาวใหญ่ 3 หนองลาด 19 โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพบ้านดอนส้มโฮง ดอนส้มโฮง 6 คอ้ เขยี ว 20 โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพบ้านคำบิด คำบิด 6 คำบอ่ 21 โรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพบ้านภวู งนอ้ ย ภวู งน้อย 10 คำบอ่ 22 องค์การบริหารส่วนตำบลวาริชภูมิ ดงสชี มพู 13 วารชิ ภมู ิ 23 สำนักงานเทศบาลตำบลปลาโหล ปลาโหล 4 ปลาโหล 24 สำนักงานเทศบาลตำบลคำบ่อ บ่อใต้ 11 คำบอ่ 25 องค์การบรหิ ารสว่ นตำบลค้อเขยี ว คอ้ เขยี ว 1 ค้อเขยี ว 26 สำนักงานเทศบาลตำบลหนองลาด หนองลาด 1 หนองลาด 27 โรงเรยี นวาริชวทิ ยา ภูแฉะ 11 วารชิ ภูมิ
28 โรงเรียนวาริชพิทยาคาร วารชิ ภูมิ 1 วาริชภูมิ 29 โรงเรยี นมัธยมวาริชภูมิ ดงเชียงเครอื 9 ปลาโหล 30 โรงเรยี นอนุบาลวาริชภมู ิ วารชิ ภูมิ 1 วาริชภมู ิ 31 โรงเรียนธรรมบวรวทิ ยา คำบิด 1 คำบ่อ 1.6 ศกั ยภาพชุมชนโดยรวม (ข้อดี/ข้อจำกดั ) ขอ้ ดี 1. ประชาชนมีชวี ิตเป็นอย่ทู ีเ่ รยี บงา่ ยมีความรักใคร่และปรองดองกนั ดีในชุมชน 2 . อำเภอวาริชภมู เิ ปน็ ทีร่ าบเชงิ เขา ตดิ กบั เทอื กเขาภูพาน ประชาชนสว่ นใหญ่ประกอบอาชีพทำ สวน ทำไร่ ทำนา และทำสวนยางพารา 3. ประชาชนในชมุ ชนมีความยึดมน่ั ในการสืบทอดประเพณีโบราณด่งั เดิมอยา่ งเคร่งครัด ข้อจำกัด 1. อำเภอวาริชภูมิมีข้อจำกัดในเรื่องของการคมนาคมในเส้นทางหลักในการเดินทางสู่ตัวเมือง เนื่องจากมีรถโดยสารประจำทางจำนวนจำกัด และมีรถเฉพาะเช้าและเย็นเท่านั้น ทำให้ประชาชนส่วนใหญ่ใช้ รถยนตส์ ่วนตัว เปน็ หลกั 2. ประชาชนส่วนใหญ่ของอำเภอวาริชภมู ิจะนยิ มประกอบอาชีพปลูกยางพารา ควบคู่กบั การทำ สวนเนื่องจากพ้ืนท่เี หมาสำหรับปลูกพชื สวน • ประวัติอำเภอวาริชภูมิ เม่อื ประมาณพ.ศ. 2387 ทา้ วราชนกิ ูล ไดอ้ พยพครอบครวั ชนเผา่ ผไู้ ท (ภูไท) ประมาณ100 ครอบครัว จากเมอื งกระป๋องตอนเหนอื ของประเทศจนี ผา่ นเมืองมหาชัยกองแกว้ ของประเทศสาธารณรัฐ ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว ข้ามลำน้ำโขงสปู่ ระเทศไทยทีจ่ ังหวัดนครพนม และไดอ้ ัญเชญิ เจ้าปมู่ เหศักดิ์ เทพเจ้าคู่บ้านคู่เมืองมาด้วย จนถึงจังหวัดสกลนคร ในสมัยพระยาประจันคามประเทศธานี (โง่นคำ) เป็น เจา้ เมอื งและได้พกั อาศัยอยู่ทีเ่ มืองสกลนคร เป็นเวลา 3 ปี ปี พ.ศ. 2390 ทา้ วราชนิกลู ได้อพยพ “ชาวภูไทกระปอ๋ ง” ทีม่ คี วามสมัครใจมุง่ สู่ทางทิศตะวันตก จนในที่สุด ได้พบทำเลที่เหมาะสมอุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่การเพาะปลูก จึงได้พร้อมใจกันตั้งบ้านเรือนที่อยู่ อาศัยให้ชื่อว่า“บ้านหนองหอย”ต่อมาได้ขอตั้งเป็น “เมืองวาริชภูมิ” และยกฐานะเป็นอำเภอเมืองประมาณ ปีพ.ศ. 2440 ในสมยั ของพระสุรนิ ทรบ์ ริรักษ์ ซงึ่ เป็นราชบตุ รของทา้ วราชนิกูล ในปี พ.ศ. 2457 อำเภอวาริช ภมู ิ ไดถ้ กู ยบุ เป็นตำบล ขึน้ กบั อำเภอพรรณนานคิ ม และเม่ือ พ.ศ. 2469 ได้รบั ยกฐานะขนึ้ เปน็ กงิ่ อำเภอมี พื้นที่การปกครอง 4 ตำบล คือ ตำบลวาริชภูมิ ตำบลปลาโหล ตำบลคำบ่อ ตำบลหนองลาด โดยมีรอง อำมาตย์ ก่งิ เหมะธลุ ิน เป็นปลัดกิง่ อำเภอคนแรก (ปลัดอำเภอผูเ้ ปน็ หัวหนา้ ประจำก่งิ อำเภอ) ซงึ่ มีราษฎร ชาวอำเภอวาริชภูมิ ส่วนใหญ่เป็นชาว ภูไทกระป๋อง มีพื้นเพดั่งเดิมมาจากเมืองน้ำน้อยอ้อยหนูในเขต ดินแดน สิบสองจุไท (เมืองแถง) บริเวณแม่น้ำหวง (ชงกอย) หรือแม่น้ำแดง ในปัจจุบัน ต่อมาได้อพยพเผ่า ไปตงั้ หลักแหล่งอยูท่ เ่ี มอื งกระป๋อง ใกล้แดนญวนโดยการนำของ“ขนุ เพายาว” ปี พ.ศ. 2496 กง่ิ อำเภอ
๙ วารชิ ภูมิ ได้รบั การยกฐานะข้ึนเป็นอำเภอ โดยมีนายเออื้ น จติ รกุล เปน็ นายอำเภอคนแรก และ ปัจจุบนั พันจ่าอากาศพนู สขุ ทะแพงพนั ธ์ เป็นนายอำเภอคนท่ี 28 ของอำเภอวารชิ ภมู ิ • การศึกษา การศึกษาในเขตอำเภอวาริชภูมิ แบ่งออกเป็น 2 ระบบ คือ การศึกษาในระบบโรงเรียน และ การศกึ ษานอกระบบโรงเรยี น ดังนี้ 1. การศกึ ษาในระบบโรงเรียน แบ่งเปน็ 3 ระดบั คือ 1.1 โรงเรียนระดับประถมศึกษา จำนวน 22 แหง่ 1.2 โรงเรยี นขยายโอกาส จำนวน 5 แห่ง 1.3 โรงเรยี นมธั ยมศกึ ษา จำนวน 3 แห่ง รวม 30 แห่ง 2. การศึกษานอกระบบโรงเรียน 2.1 ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอ จำนวน 1 แหง่ 2.2 กศน. ตำบล จำนวน 5 แห่ง 2.3 ห้องสมดุ ประชาชนอำเภอ จำนวน 1 แห่ง 2.4 ห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อำเภอวารชิ ภูมิ จำนวน 1 แห่ง รวม 8 แหง่ • การปกครอง การปกครองอำเภอวาริชภมู ิ แบ่งออกเปน็ 5 ตำบล 71 หมู่บ้านดังนี้ ตำบลวารชิ ภมู ิ ประกอบด้วย 20 หมู่บา้ น ตำบลหนองลาด ประกอบด้วย 11 หมู่บ้าน ตำบลคำบอ่ ประกอบดว้ ย 18 หมบู่ า้ น ตำบลค้อเขียว ประกอบด้วย 6 หม่บู า้ น ตำบลปลาโหล ประกอบดว้ ย 16 หมบู่ ้าน รวมทั้งหมด 71 หม่บู า้ น อำเภอวาริชภูมิ แบง่ การปกครองส่วนท้องถน่ิ ออกเปน็ 6 แหง่ โดยแบง่ เป็น รูปแบบองคก์ ารบริหาร สว่ นตำบล จำนวน 2 แหง่ และเทศบาลตำบล จำนวน 4 แหง่ ดงั น้ี 1. องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบล จำนวน 2 แห่ง 1.1) องคก์ ารบรหิ ารสว่ นตำบลวารชิ ภูมิ 1.2) องคก์ ารบริหารส่วนตำบลคอ้ เขยี ว 2. เทศบาลตำบล จำนวน 4 แหง่ 2.1) เทศบาลตำบลวารชิ ภูมิ 2.2) เทศบาลตำบลปลาโหล 2.3) เทศบาลตำบลหนองลาด 2.4) เทศบาลตำบลคำบ่อ
๑๐ • ประชากร ประชากรของอำเภอวารชิ ภมู ิ สว่ นใหญม่ สี ญั ชาตไิ ทย นบั ถือศาสนาพทุ ธ มีประชากรอาศยั อยู่ จำนวน14,529 ครวั เรือน และมปี ระชากรทัง้ ส้ิน 52,000 คน เป็นชาย 26,179 คน หญิง 25,821 คน โดยแยกเป็นรายตำบล ดังน้ี ท่ี ตำบล จำนวนประชากร จำนวน รวมจำนวน จำนวน (หญิง) ประชากร ประชากร ครัวเรอื น (ชาย) 1 วาริชภูมิ 7,128 7,154 14,282 4,576 2 ปลาโหล 5,959 6,114 12,073 3,365 3 คำบอ่ 6,809 6,773 13,582 3,578 4 ค้อเขียว 2,198 2,305 4,503 1,194 5 หนองลาด 3,727 3,833 7,560 1,816 รวมทั้งหมด 25,821 26,179 52,000 14,529 ทม่ี า สำนักบรหิ ารการทะเบยี น กรมการปกครอง (ตรวจสอบประชากรจากทะเบยี นบา้ น แยกเปน็ พน้ื ที่ ณ เดอื น กนั ยายน พ.ศ. 2555) • อาชีพ ประชากร รอ้ ยละ 90 ของอำเภอวาริชภมู ิ ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ได้แก่ ทำนา ทำไร่ ทำ สวน และร้อยละ 10 ประกอบอาชีพ เลย้ี งสตั ว์ • ศาสนา ประชาชนในอำเภอวาริชภูมิ ร้อยละ 90 นับถือศาสนาพุทธ และรอ้ ยละ 10 นับถือศาสนาอื่น เช่น อิสลาม และครสิ ต์ ศาสนาสถานรวมกนั ดังน้ี 1. วัด จำนวน 55 แหง่ 2. สำนกั สงฆ์ จำนวน 7 แหง่ 3. โบถสค์ ริสต์ จำนวน 1 แหง่ • วฒั นธรรม ประชาชนในเขตอำเภอวาริชภมู ิ เกอื บทง้ั หมด นับถอื พุทธศาสนา มหี ลักในการดำเนนิ ชวี ิตที่เรียบ ง่าย รักความสงบ มคี วามสามคั คีปรองดองกัน ยึดมัน่ และสบื ทอดวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามมาต้ังแต่ตั้งเดิม คืองานบุญสักการะเจา้ ปมู่ เหสักข์ เปน็ ที่นบั ถือของชาวอำเภอวาริชภูมิ ทกุ วันที่ 6 เมษายนของทกุ ปี ลูกหลาน ชาวอำเภอวารชิ ภูมิ ท่ไี ปอยู่ต่างแดนจะกลับมารวมญาติกันในวันนี้ โดยประชาชนอำเภอวาริชภูมิส่วนใหญ่ใช้ ภาษาภูไทหรอื ที่เรยี กวา่ “ภไู ทกระป๋อง” เป็นภาษาถิ่นทใ่ี ชใ้ นการสือ่ สารเป็นสว่ นใหญ่
๑๑ • ทต่ี ้ังและอาณาเขต อำเภอวาริชภมู ิ ตั้งอยหู่ า่ งจากจงั หวดั สกลนครไปทางทิศตะวันตก ระยะทางประมาณ 70 กิโลเมตร และห่างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ 600 กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อ ดังน้ี ทิศเหนือ ติดตอ่ กับ อำเภอพงั โคน อำเภอสวา่ งแดนดนิ จังหวดั สกลนคร ทิศใต้ ตดิ ต่อกับ อำเภอวังสามหมอ จงั หวัดอุดรธานี ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ต่อกับ อำเภอนคิ มน้ำอูน จงั หวัดสกลนคร ทศิ ตะวันตก ติดตอ่ กับ อำเภอส่องดาว จงั หวดั สกลนคร แผนที่อำเภอวาริชภมู ิ • ลักษณะภูมิประเทศ อำเภอวาริชภูมิมีพื้นที่ทั้งหมด 476.125 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 297,578 ไร่ สภาพพื้นที่ร้อยละ 44.99 เป็นที่ราบลูกฟูก รองลงมาร้อยละ 31.42 เป็นที่ราบ และบางส่วนเป็นภูเขา ซึ่งอยู่ในเขตเทือกเขาภูพาน ได้แก่ พื้นที่บางส่วนของตำบลวาริชภูมิ ตำบลคำบ่อและตำบลค้อเขียวมีความสงู จากระดับนำ้ ทะเล 200 เมตร • การคมนาคม อำเภอวารชิ ภมู ิ อาศยั การคมนาคมทางบกเป็นหลัก โดยเฉพาะทางรถยนตท์ ่ีมีโครงข่ายระบบการ คมนาคมครอบคลุมทั่วทุกพื้นที่ ประกอบด้วยทางหลวงแผ่นดินเชื่อมระหว่างอำเภอและทางหลวงชนบท เชอ่ื มตอ่ ระหวา่ งหม่บู า้ น ที่สำคัญ ไดแ้ ก่ 1. ทางหลวงแผน่ ดินสายพังโคน - วงั สามหมอ เชื่อมระหวา่ งอำเภอพงั โคน - อำเภอวารชิ ภมู ิ และอำเภอวังสามหมอ จังหวัดอดุ รธานี รวมระยะทางประมาณ 75 กโิ ลเมตร
๑๒ 2. ทางหลวงแผน่ ดินสายวารชิ ภูมิ – คำเพมิ่ เช่ือมระหวา่ งอำเภอวาริชภูมิ อำเภอนิคมน้ำอนู อำเภอกุดบากและอำเภอภูพาน รวมระยะทางประมาณ 60 กโิ ลเมตร 3. ทางหลวงชนบทสายวารชิ ภูมิ - ม่วงไข่ ระยะทางประมาณ 15 กิโลเมตร 4. ทางหลวงชนบทสายคำบดิ - บา้ นต้ายเขตอำเภอวารชิ ภมู ิ ระยะทางประมาณ 15 กโิ ลเมตร 5. ทางหลวงชนบทสายวารชิ ภมู ิ - ดอนยาวใหญ่ ระยะทางประมาณ 15 กโิ ลเมตร 6. ทางหลวงชนบทสายบา้ นดอนยาวน้อย – ค้อเขียว ระยะทางประมาณ 6 กโิ ลเมตร 1.7 ขอ้ เสนอแนะจากการประเมินตนเอง/ภายนอก/ภายใน โดยตน้ สังกัด • ข้อเสนอแนะจากการประเมินตนเอง 1. กำหนดใหผ้ ู้จดั กระบวนการเรียนรจู้ ัดทำแผนการสอนทสี่ อดแทรกให้ผเู้ รยี น/ผรู้ ับบริการ ร้จู ักวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ 2. ใหม้ ีการพฒั นาหลักสูตรสถานศกึ ษาอย่างต่อเน่ืองและทันสมยั อยเู่ สมอ 3. ให้จดั กิจกรรมอาสาสมัครให้บริการดา้ นการศึกษา ตามอัธยาศยั ในชุมชน 4. ให้จดั การอบรมให้ความรูใ้ นการใช้ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศแก่บุคลากร • ขอ้ เสนอแนะจากการประเมินภายในโดยตน้ สังกดั 1. สถานศึกษาควรใหผ้ ู้มีสว่ นเกีย่ วข้องในการจดั การศึกษามสี ่วนร่วมในการผดุงระบบประกนั คณุ ภาพตั้งแต่การจัดทำแผนพฒั นาการศึกษาแผนปฏิบัตกิ ารและสรปุ ผล 2. ควรมกี ารประชมุ ชแ้ี จงแก่บุคลากรให้ดำเนนิ งานเก่ียวกับการดำเนนิ งานผดุงระบบประกนั คุณภาพอย่างต่อเน่ือง 3. สถานศึกษาควรมีการประเมินหลกั สูตรอย่างตอ่ เน่ือง มีการรายงานผลการประเมนิ การใช้ หลักสูตร 4. สถานศกึ ษาควรนำผลการสำรวจความพงึ พอใจมาปรับปรงุ และพัฒนาสื่อการเรยี นรู้ 5. สถานศกึ ษาควรสง่ เสริมให้ครทู ำวิจัยในช้นั เรียนและนำผลวิจัยมาพัฒนาการเรียนการสอน • ขอ้ เสนอแนะจากการประเมินภายนอกโดย สมศ. 1. คุณภาพของผู้สำเรจ็ การศึกษาตามเกณฑม์ ีคณุ ภาพระดับปรับปรงุ เน่ืองจากผู้เรยี นอยู่ในวยั แรงงาน ทมี่ ีอายุมากและขาดการศกึ ษาอย่างต่อเนอ่ื งทำให้เกดิ การเรียนรชู้ ้าและมเี วลาพบกลุม่ น้อย จงึ ควรปรบั เปลย่ี น วิธกี ารสอนดว้ ยการจัดหาส่ือเทคโนโลยเี พอื่ การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนจากรูปธรรมไปสู่นามธรรม 2. ควรจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนทฝี่ ึกทักษะการคิดให้ลึกเชงิ วิเคราะห์ สังเคราะห์ เชน่ การให้ข้อมูล การส่ือสาร การใชค้ ำถามกระต้นุ ให้ผู้เรียนรู้จักตอบคำถามอย่างมเี หตผุ ล การจัดกจิ กรรมการ เรยี นการสอนดว้ ยการบรู ณาการหลักสูตร มอบหมายงานแก่ผเู้ รยี นให้ตรงความสามารถและความต้องการการ บนั ทึกการสอนอย่างเป็นปจั จุบนั เพ่ือนำไปทบทวนผลการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนเพอ่ื การพัฒนาอย่าง ต่อเน่ือง 3. ผู้บรกิ ารมกี ารนิเทศและนำผลการประเมินมาปรับปรุงทุกโครงการ/กจิ กรรมควรมีการนำผล การประเมินแผนพัฒนาบุคลากรเพ่ือส่งเสรมิ ให้บุคลากรได้รบั การอบรมพฒั นาสมรรถนะบคุ ลากรใหม้ ีความรู้ ความเข้าใจระบบการประกันคุณภาพภายใน
๑๓ 1.8. แนวทางการพัฒนาของสถานศกึ ษา 1) กรรมการสถานศกึ ษาเขา้ มาร่วมประเมินผลและพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษาอยา่ งต่อเนื่อง 2) มกี ารนิเทศการจดั กิจกรรมและการเรยี นการสอนของ กศน.ตำบล อยา่ งตอ่ เน่ือง 3) มีการรายงานผลการพบกล่มุ ผลการนิเทศ การสำรวจความพึงพอใจใหผ้ ู้บริหารรบั ทราบและ พจิ ารณา สง่ั การเพ่ือนำผลมาพัฒนางาน 4) มีการตดิ ตามผลการจัดกิจกรรมทุกกิจกรรม เพื่อนำไปพฒั นาปรบั ปรุงใหเ้ กิดประโยชน์กับ กลุ่มเป้าหมายมากที่สุด 5) ให้ชมุ ชนและเครอื ข่ายเข้ารว่ มประเมนิ ผลและพฒั นาหลักสูตร มีหลกั สตู รและแผนการสอนด้าน คณุ ธรรม จริยธรรม 6) สถานศกึ ษามีระบบนิเทศ ตดิ ตามการจัดกิจกรรมการเรยี นรขู้ องครูอยา่ งต่อเน่ือง ครอบคลุมจัด ใหม้ รี ะบบการวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้ ตามครอบคลุมเนอื้ หาตามทีห่ ลกั สูตรกำหนด 7) ใหภ้ าคเี ครือข่ายในตำบลทกุ ตำบลใหร้ ับทราบและร่วมกิจกรรมและการนเิ ทศติดตามผล ใหม้ ีส่วน ร่วมมากยง่ิ ขึน้ เพื่อนำไปสู่การพฒั นา 8) พฒั นาบคุ ลากรในเรอ่ื งการจดั กระบวนการเรยี นรู้ใหห้ ลากหลาย และมีคุณภาพให้ทุกปี มีการ ประเมินผลการปฏิบัตงิ านของบุคลากรอย่างต่อเน่ือง เพื่อกระตนุ้ ใหเ้ กิดการพฒั นาตนเองและพฒั นางานให้เกิด ประสทิ ธิภาพสูงสดุ ต่อผู้เรียน/ผูร้ ับบริการ 9) พัฒนาบุคลากรใหม้ คี วามรู้ความสามารถในการจดั ทำสอื่ อเิ ลค็ ทรอนิคส์ตา่ งๆเพื่อใช้นำเสนอผล การปฏิบัติงานและกิจกรรมต่างๆที่หลากหลาย บุคลากรมีความรูค้ วามสามารถในการจัดกระบวนการเรยี นรู้ ทุกปี 10) สง่ เสริมใหม้ แี หล่งการเรียนรู้ทม่ี ีคุณภาพท่วั ถึงทุกตำบล เพ่ิมการมีสว่ นรว่ มของบุคลากรและภาคี เครือข่ายให้มากทีส่ ุด 11) จัดการศึกษาโดยเนน้ ผูเ้ รียนเปน็ สำคญั จดั การศึกษาเพ่ือพัฒนาผูเ้ รียนให้มีคุณภาพตามสภาพ ปัญหาและความตอ้ งการ มีการส่งเสรมิ ให้ครูทำวิจยั ในช้นั เรียนทกุ ภาคเรยี น เพื่อนำผลและแนวทางมาใช้ใน การปรบั ปรุงพัฒนา ใหม้ ีประสิทธิภาพต่อไป
๑๔ สว่ นท่ี 2 สาระสำคญั ของแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 256๖ กศน.อำเภอวารชิ ภูมิ แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณพ.ศ.256๖ ของกศน.อำเภอวาริชภูมิ ประกอบด้วยสาระสำคัญ ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. อำนาจหนา้ ทข่ี องกศน.อำเภออำเภอวาริชภูมิ ตามพระราชบัญญตั สิ ่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยพ.ศ. 2551 มาตรา 18 ให้สถานศกึ ษาทําหน้าทสี่ งเสรมิ สนับสนนุ ประสานงาน และจัดการศึกษานอกระบบและ การศกึ ษาตามอธั ยาศัยรวมกับภาคเี ครือขาย การดําเนินงานของสถานศึกษาตามวรรคหน่ึง อาจจัดใหมศี ูนยการเรยี นชุมชนเปนหนวยจัด กิจกรรมและสรางกระบวนการเรยี นรูของชุมชนก็ไดการจัดต้ัง ยุบ เลกิ รวม การกําหนดบทบาท อํานาจและ หนา้ ที่ของสถานศึกษาตามวรรคหนึ่งใหเปนไปตามทรี่ ัฐมนตรีประกาศกาํ หนด มาตรา ๑๙ ใหสถานศึกษาแตละแหงมีคณะกรรมการสถานศึกษาจาํ นวนกรรมการ คณุ สมบัติ หลกั เกณฑ วิธกี ารไดมาของประธานและกรรมการวาระการดํารงตําแหนงและการพ้นจากตาํ แหนง รวมทั้ง อํานาจหน้าท่ีของคณะกรรมการสถานศึกษาใหเปนไปตามท่ีคณะกรรมการประกาศกําหนด มาตรา ๒๐ ใหสํานกั งานจดั ใหมรี ะบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษานอกระบบซงึ่ เปนระบบ การประกันคุณภาพภายในสําหรับสถานศึกษาท่ีมีคณุ ภาพและมาตรฐานสอดคลองกบั กฎหมายวาดว้ ย การศกึ ษาแหงชาติใหสถานศึกษาดาํ เนินการประกนั คุณภาพภายในใหสอดคลองกับระบบ หลักเกณฑ และ วิธกี ารประกันคุณภาพภายใน โดยไดรบั ความรวมมือ สงเสริม และสนบั สนุนจากภาคีเครือขายและสาํ นกั งาน ระบบ หลักเกณฑ และวธิ กี ารประกันคุณภาพภายใน ใหเปนไปตามท่ีกาํ หนดในกฎกระทรวง ปรัชญา ส่งเสรมิ การเรียนรู้ มุ่งส่กู ารพัฒนา ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง วสิ ยั ทัศน์ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอวาริชภูมเิ ป็นสถานศึกษาในการจัดส่งเสริม สนับสนุนให้ประชาชนได้รับการศึกษาตลอดชีวิตและการศึกษาอาชีพเพื่อมีงานทำให้มีคุณภาพได้ทุกที่ ทุก เวลา อย่างทว่ั ถึง เทา่ เทยี มกนั เพ่ือให้มอี าชีพและความสามารถ เชิงแข่งขันในประชาคมอาเวยี นอย่างย่ังยืนตาม หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง พนั ธกิจ 1. จัดและส่งเสริมการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพเพื่อยกระดับ การศึกษา สมรรถนะในการเรียนรู้และการแก้ปัญหา พัฒนาอาชีพ คุณภาพชีวิตและสังคม และ เตรียมความพรอ้ มในการเขา้ สู่ประชาคมอาเซียน ของประชาชนอยา่ งท่วั ถึงและเท่าเทียม
๑๕ 2. ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัยของภาคีเครือข่ายทั้งในและต่างประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มประเทศอาเซียนเพื่อผนึกกำลังใน การพัฒนาคุณภาพของประชากร 3. พัฒนาสอ่ื และเทคโนโลยที างการศึกษา และสง่ เสริมการนำเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารมา ใช้ให้เกิดประสิทธิภาพในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการพัฒนาทักษะการ เรยี นรูเ้ พอื่ ให้รู้เทา่ ทนั ส่ือและเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร 4. ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิตของชุมชน โดยการพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้ของคนใน ชุมชนสง่ เสริมบทบาทของภมู ิปัญญาทอ้ งถนิ่ ในการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้และศูนย์การเรยี นในรูปแบบต่างๆ 5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการให้สามารถดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศยั เพ่ือส่งเสริมการศึกษาตลอดชีวิตได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ เป้าประสงค์ 1. คนไทยได้รับโอกาสทางการศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มี คุณภาพ อย่างทัว่ ถึงและเทา่ เทียม 2. ประชากรวัยแรงงานมีระดับการศึกษาและคุณภาพชีวติ ที่สูงข้ึน และมีอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ ให้กับตนเองและครอบครวั อย่างย่ังยืน บนหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งและเศรษฐกจิ เชงิ สร้างสรรค์ 3. ชุมชนมีฐานอาชีพที่กว้างและหลากหลาย สามารถพัฒนาไปสู่ระดับวิสาหกิจชุมชนที่มี ความสามารถเชิงการแข่งขัน มีความเชื่อมโยงอย่างเป็นระบบ และสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจและความ เข้มแข็งของชุมชน (OTOP Mini MBA) 4. ประชาชนมีเจตคติเชิงวิทยาศาสตร์ และสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมในการเรียนรู้ แก้ปญั หา และพฒั นาคุณภาพชวี ติ และสังคมอยา่ งสรา้ งสรรค์ 5. ประชาชนมีความรู้และทักษะด้านภาษาอังกฤษ ภาษาจีน และภาษากลุ่มประเทศอาเซียน รวมท้ัง ความรู้ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั ภมู ิภาคและความเปน็ ประชาคมอาเซียน 6. องค์กรภาคส่วนต่างๆ ทั้งในและต่างประเทศโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มประเทศอาเซียนร่วมเป็น ภาคเี ครือข่ายในการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างกวา้ งขวางและต่อเน่ือง 7. หน่วยงานและสถานศึกษาพัฒนาสื่อและเทคโนโลยีทางการศึกษาที่มีคุณภาพมาใช้ในการจัด กิจกรรมส่งเสรมิ การเรียนรูใ้ หแ้ กก่ ลมุ่ เปา้ หมายและประชาชนท่วั ไปอยา่ งท่ัวถึง 8. หน่วยงานและสถานศึกษานำเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีคุณภาพมาใช้ในการเพ่ิม ประสทิ ธิภาพการจดั การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ได้อยา่ งมีประสิทธผิ ล 9. ชุมชนได้รบั การส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ มีกิจกรรมเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาชมุ ชนโดยใชร้ ปู แบ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยมี กศน.ตำบลและศูนย์การเรียนชุมชนต่างๆ เป็นกลไก สง่ เสรมิ การเรยี นรู้ ๑๐. หน่วยงานและสถานศึกษามีระบบการบริหารจัดการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศัยทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ
๑๖ ตัวชว้ี ดั 1. ร้อยละของคนไทยกลุ่มเป้าหมายกลุ่มต่างๆ (เช่น กลุ่มเด็ก กลุ่มเยาวชน กลุ่มวัยแรงงาน กลุ่ม ผสู้ ูงอายุ กลุม่ คนพิการ กลุ่มผ้ดู อ้ ยโอกาส กลุม่ ชาติพนั ธ์ชุ นกลุ่มนอ้ ย กลุ่มคนไทยในตา่ งประเทศ กลุ่มคนไทย ทั่วไป เป็นต้น) ที่เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้/ได้รับบริการการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยท่ี สอดคลอ้ งกบั สภาพปญั หาและความต้องการ 2. จำนวนประชากรวัยแรงงาน (อายุ 15 – 59 ปี) กลุ่มเป้าหมายที่เรียนในระดับการศึกษาขั้น พนื้ ฐานการศึกษานอกระบบ 3. จำนวนประชากรวยั แรงงาน (อายุ 15 – 59 ปี) กลมุ่ เป้าหมายทีไ่ ด้รับบริการการศึกษาเพื่อพัฒนา ทักษะชวี ติ และการศึกษาเพือ่ พัฒนาอาชพี ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง และเศรษฐกจิ เชงิ สรา้ งสรรค์ 4. รอ้ ยละของชมุ ชน (ตำบล/หมบู่ า้ น) เปา้ หมายทป่ี ระชาชนในพื้นที่ท่ไี ด้รบั การอบรมหลกั สูตร OTOP Mini MBA ตามโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนเพื่อการมีงานทำแล้ว สามารถจัดตั้งกลุ่มวิสาหกิจชุมชน ระดับ ตำบล/หมู่บา้ นได้ 5. จำนวนประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับบริการการเรียนรู้/รว่ มกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ ของศนู ยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พื่อการศึกษา 6. ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับบริการการเรียนรู้/ร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ทาง วิทยาศาสตร์ของศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษาแล้วมีการพัฒนาเจตคติทางวิทยาศาสตร์และมองเห็นแนว ทางการนำไปใชใ้ นการดำรงชวี ติ ได้ 7. จำนวนประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการศึกษาอบรมในหลักสูตรภาษาอังกฤษภาษาจีน ภาษา กลมุ่ ประเทศอาเซยี น และอาเซยี นศึกษา 8. จำนวนองค์กรภาคส่วนต่างๆ ในกลุ่มประเทศอาเซียนที่ร่วมลงนามในบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ในการดำเนนิ งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั กับประเทศไทย 9. ร้อยละของหน่วยงานและสถานศึกษา กศน. ที่มีการพัฒนา/วิจัยและพัฒนาสื่อและเทคโนโลยี ทางการศกึ ษาเพ่ือสง่ เสรมิ การเรียนร้ขู องผเู้ รียน/ผู้รบั บริการการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย 10. ร้อยละของผู้เรียน/ผู้เข้ารับบริการการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีความพึง พอใจในคุณภาพและปรมิ าณ/ความหลากหลายของส่ือการเรยี นรทู้ ่หี นว่ ยงานและสถานศึกษา กศน. จดั บริการ 11. ร้อยละของหน่วยงาน และสถานศึกษา กศน. ที่มีการบริหารจัดการ และพัฒนาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของ องคก์ ร 12. ร้อยละของ กศน. ตำบล และศูนย์การเรียนรู้ชุมชน (ศรช.) ที่จัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อการ พฒั นาชุมชน โดยใชป้ ัญหาของชุมชนเป็นศูนยก์ ลาง 13. ร้อยละของหน่วยงาน และสถานศึกษา กศน. ที่สามารถดำเนินงานโครงการ/กิจกรรมตาม บทบาทภารกิจท่ีรับผิดชอบได้สำเร็จตามเป้าหมายที่กำหนดไว้โดยใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด /ตามแผนที่ กำหนดไว้
๑๗ 2. นโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยประจำปี งบประมาณพ.ศ.256๖ กศน.อำเภอวาริชภูมิ นโยบาย/จดุ เน้น/ยทุ ธศาสตร์/กลยทุ ธ์ 1 จุดเนน้ . 1.1 จดั กระบวนการเรยี นรทู้ ต่ี อบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงและความต้องการของประชาชน 1.2 จดั การศึกษาเพอ่ื เพมิ่ อัตราการรู้หนงั สอื ให้คนไทยอา่ นออกเขยี นได้ ภารกจิ ตอ่ เนอ่ื ง 1.ดา้ นการจดั การศึกษาและการเรยี นรู้ 1.1การศึกษานอกระบบตั้งแต่ปฐมวัยจนจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน โดยดำเนินการให้ผู้เรยี น ได้รับการสนับสนุนค่าตำราเรียน ค่าจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนและค่าเล่าเรียน อยา่ งทั่วถึง 1.2จดั การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานให้กับกลุ่มเป้าหมายผู้ด้อยโอกาสทาง การศกึ ษา ทงั้ ในระบบและนอกระบบ 1.3จัดให้มีการประเมินเพอ่ื เทียบระดับการศกึ ษาและเทียบโอนความรู้ การศึกษาตอ่ เน่อื ง 1. ดา้ นการจัดการศึกษาและการเรียนรู้ 1.1 สนับสนนุ การจัดการศึกษานอกระบบตั้งแต่ปฐมวัยจนจบการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน โดยดำเนินการให้ ผูเ้ รียนไดร้ บั การสนับสนุนค่าตำราเรยี น ค่าจดั กจิ กรรมพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี นและคา่ เล่าเรียนอยา่ งทวั่ ถงึ 1.2 จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตให้กับกลุม่ เป้าหมาย โดยจัดในรูปแบบคา่ ยพัฒนาทักษะชวี ติ การจัดตั้งชมรม/ชุมนุม การส่งเสริมความสามารถพิเศษมุ่งเน้นให้ทกุ กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความสามารถ ในการบริหารจัดการชีวิตของตนเองให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข มีคุณธรรม จริยธรรมทั้งสามารถใช้ เวลาวา่ งให้เกดิ ประโยชน์ตอ่ ตนเอง 1.3 จัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน โดยใช้หลักสูตรและการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบ บูรณาการในรปู แบบการกฏอบรม การเรยี นทางไกล การประชมุ สัมมนา การจัดเวทีแลกเปลีย่ นเรียนรู้ การ จัดการเรยี นรเู้ พ่อื สรา้ งจติ สำนึกและวนิ ัยในชมุ ชน จัดกจิ กรรมจิตอาสา การจัดการศึกษาตามอธั ยาศยั 1.สง่ เสริมให้มกี ารขยายและพัฒนาแหล่งเรยี นรูใ้ นระดับตำบล เพอ่ื ถ่ายทอดความรู้ 2.จดั กิจกรรมส่งเสรมิ การเรียนรู้เพื่อปลูกฝงั นสิ ยั รักการอ่าน และพัฒนาความสามารถในการอ่านและ ศกั ยภาพการเรยี นรู้ของประชาชนทุกกล่มุ เป้าหมาย 3.ส่งเสริมให้มีการสร้างบรรยากาศและส่ิงแวดล้อมที่เอื้อต่อการอ่านให้เกดิ ขึ้นในสงั คมโดยสนับสนนุ การพัฒนาแหล่งเรยี นรู้ให้เกดิ ข้ึนอย่างกวา้ งขวาง 4.จัดสร้างและพัฒนาศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษา ให้เป็นแหล่งเรียนรู้เชิงวิชาการและแหล่งรู้เชิง วิชาการและแหลง่ ทอ่ งเที่ยวประจำท้องถน่ิ โดยพัฒนาและจดั ทำนทิ รรศการ
๑๘ นโยบายและจดุ เน้นการดำเนินงาน สำนกั งาน กศน. ประจำปงี บประมาณ พ.ศ 256๖ หลักการ กศน.เพือ่ ประชาชน ก้าวใหม่ ก้าวแห่งคุณภาพ จุดเนน้ การดำเนินงาน สำนกั งาน กศน.ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖ ๑.การจัดการศึกษาเพอื่ ความปลอดภยั ๑.๑ สรา้ งความปลอดภัยในหนว่ ยงาน/สถานศกึ ษา และปอ้ งกันจากภยั คุกคามในชีวติ รปู แบบตา่ งๆ ผา่ น กิจกรรม White Zone กศน. ปลอดภัยไร้สารเสพติด เน้นการปฏิบัติภายใต้หลักการ ๓ ป ได้แก่ ป้องกัน ปลูกฝัง และปราบปราม โดยวางแผนและมาตรฐานด้านความปลอดภัยจากสถานการณ์ต่างๆอย่างเข้มข้น รวมทั้งการดำเนินการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ติดตามประเมินผลการดำเนินการศึกษา วิเคราะห์ วิจัย ติดตาม ประเมนิ ผลการดำเนนิ การ เพ่อื ปรบั ปรงุ พฒั นา และขยายผลตอ่ ไป ๑.๒ ปลูกฝังทัศนคติ พฤติกรรม และองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง โดยบูรณาการกระบวนการจัดการเรียนรู้ เพื่อสร้างโอกาสในการเรียนรู้ และสร้างภูมิคุ้มกันควบคู่กับการใช้สื่อสังคมออนไลน์ในเชิงบวกและสร้างสรรค์ พร้อมทง้ั หาแนวทางวธิ ีการปกป้องคุม้ ครองตอ่ สถานการณ์ทีเ่ กดิ ขึ้นกับผเู้ รียน ครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ๑.๓เสริมสร้างการรับรู้ ความเข้าใจ ความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อมให้กับประชาชนและวางแผนการ เตรียมความพร้อมในการป้องกัน รับมือ และเยียวยา เหตุการณ์ภัยพิบัติจากธรรมชาติรวมทั้งการปรับตัว รองรบั การเปลยี่ นแปลงภมู ิอากาศในอนาคต ๒.การยกระดบั คุณภาพการศกึ ษา ๓.การสรา้ งโอกาส ความเสมอภาค และความเทา่ เทยี มทางการศึกษาทุกชว่ งวัย ๔ การศกึ ษาเพื่อพัฒนาอาชพี และเพิ่มขดี ความสามารถในการแขง่ ขัน ๕ พฒั นาบคุ ลากร ๖ การพฒั นาระบบราชการ การบริหารจัดการ และการบรหิ ารภาครัฐ
๑๙ เป้าหมายการใหบ้ รกิ ารหน่วยงาน/ตวั ชว้ี ดั ของกศน.อำเภอวาริชภมู ิ เปา้ หมายการใหบ้ รกิ าร คา่ เป้าหมาย หน่วยงาน/ตวั ชวี้ ัด หน่วยนับ 256๓ 256๔ 256๕ 256๖ รวม 4 ปี 1 จำนวนผ้ผู ่านการอบรมการศกึ ษา คน 6000 6500 7000 7500 27,000 ตอ่ เน่อื ง 2 รอ้ ยละของผผู้ า่ นการอบรมมคี วามพึง รอ้ ยละ 80 80 80 80 80 พอใจต่อกิจกรรมด้านการศึกษาตอ่ เนื่อง 3จำนวนกล่มุ เปา้ หมายทีได้รับบรกิ าร/ คน 200 220 240 250 910 เขา้ ร่วมกิจกรรมการเรียนร้ภู าษาอังกฤษ และภาษาอาเซียน 4 รอ้ ยละของประชาชนกลุ่มเปา้ หมายมี รอ้ ยละ 80 80 80 80 80 ความพงึ พอใจต่อการเขา้ ร่วม กจิ กรรมเรยี รูภ้ าษาอังกฤษและภาษา อาเซยี น 5 จำนวนผรู้ บั บริการการศกึ ษานอก คน 1200 1300 1400 1500 5400 ระบบระดบั การศึกษาขน้ั พื้นฐานท่ีไดร้ บั การสนบั สนนุ คา่ ใช้จา่ ยตามสิทธิท่ี กำหนดไว้ ร้อยละ 80 80 80 80 80 6 ร้อยละของผูเ้ รยี นการศกึ ษานอก ระบบระดบั การศึกษาขนั้ พ้นื ฐานท่มี ี ความพงึ พอใจตอ่ การไดร้ ับการ สนบั สนุนคา่ ใชจ้ า่ ยตามสทิ ธทิ ี่กำหนดไว้ 7 จำนวนประชากรกลุ่มเปา้ หมายที่ คน 2000 2500 2600 2700 9800 ลงทะเบียนเรียนในหลักสตู ร/กิจกรรม การศึกษาต่อเน่ือง 8 รอ้ ยละผู้ลงทะเบียนมคี วามพึงพอใจ ร้อยละ 80 80 80 80 80 ตอ่ หลกั สตู ร/กจิ กรรมการศกึ ษาตอ่ เน่ือง
9 จำนวนผรู้ บั การประเมนิ เทียบระดบั คน 10 15 17 18 60 การศึกษาและการเทียบโอนความรู้และ ประสบการณ์ตามหลกั สตู รการศึกษา รอ้ ยละ 80 80 80 80 80 นอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน 10 ร้อยละของผรู้ บั การประเมนิ เทียบ คน 75 80 85 90 330 ระดบั การศึกษาและการเทียบโอน ร้อยละ 80 80 80 80 80 ความรแู้ ละประสบการณ์ตามหลักสตู ร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั คน 24000 24400 24500 24600 97500 พืน้ ฐาน รอ้ ยละ 80 80 80 80 80 11 จำนวนผู้รับบรกิ ารในพ้นื ที่ เปา้ หมายได้รบั การส่งเสริมการรูห้ นังสือ แห่ง 30 40 45 50 165 และการพฒั นาทักษะชวี ิต ร้อยละ 80 80 80 80 80 12 ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมาย รอ้ ยละ 80 80 80 80 80 ท่ีไดร้ บั การบริการส่งเสรมิ การรู้หนังสือ 4800 5000 5100 5200 20100 และพฒั นาทกั ษะชีวติ มีความพงึ พอใจ คน ตอ่ การบริการ 13 จำนวนประชากรกล่มุ เป้าหมายที่ ได้รบั บริการ/เขา้ รว่ มกิจกรรมการเรียนรู้ ตามอธั ยาศยั 14 รอ้ ยละของผรู้ บั บรกิ าร/เข้ารว่ ม กจิ กรรมการเรยี นรู้ตามอธั ยาศัยท่มี ี ความพึงพอใจตอ่ บริการ/กจิ กรรมการ เรยี นร้กู ารศกึ ษาตามอัธยาศยั 15 จำนวนแหล่งการเรียนรู้ 16 ร้อยละของผู้รบั บรกิ ารการเรยี นรใู้ น ระดบั ตำบลที่มคี วามพงึ พอใจในการรบั บริการ 17 รอ้ ยละของผู้รบั บริการบา้ นหนงั สอื อัจฉรยิ ะมีความพึงพอใจตอ่ การใช้ บริการ 18 จำนวนผรู้ บั บรกิ ารบ้านหนังสือ อัจฉรยิ ะ
๒๑ บทท่ี 3 กศน.-กผ-1
ท่ี ชื่อ/โครงการ วัตถปุ ระสงค์ แผนปฏบิ ตั ิการปร สำนกั งานส่งเสรมิ การศึกษ งานการศึกษาตอ่ เน่ือง กจิ กรรมหลัก ตวั ช้ีวัดความสำเ เชงิ ปริมาณ เชงิ 1 โครงการจัด เพือ่ จัด การขบั ขป่ี ลอดภยั รอ้ ยละ ผ้เู รีย การศึกษาเพอ่ื การศึกษานอก สวมหมวกกันน็อก 100 นำค พัฒนาทักษะ ระบบ ร้อยเปอร์เซ็นต์ ของผู้เรียน ชวี ติ ชวี ิต จบหลกั สตู ร เกิดอ เรือ่ ง การขับขี่ ถนน ปลอดภัย สวม หมวกกนั นอ็ ก รอ้ ย เปอรเ์ ซน็ ต์ รวม สามพนั สามร้อยสามสิบห้าบาทถ้วน
ระจำปงี บประมาณ พ.ศ 256๖ ๒๒ ษานนอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย รายจา่ ยอน่ื - งโครงการพัฒนาทักษะชีวิต ( ไตรมาส 1-2 ) เร็จ เป้าหมาย งบประมาณ งบ งคณุ ภาพ ประเภท จำนวน งบอุดหนุน ดำเนนิ งาน กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเปา้ หมาย ๑,๒๖5 ยนสามารถ ประชาชน ประชาชน - ความรไู้ ปใชใ้ น ตประจำวันให้ อบุ ัติเหตทุ ้อง น ๑๕ คน ๑,๒๖5
ที่ ชอ่ื /โครงการ วตั ถุประสงค์ แผนปฏบิ ัตกิ ารประจำ สำนกั งานส่งเสริมการศกึ ษ งานการศึกษาต่อเนื่อง กจิ กรรมหลัก ตวั ชี้วัดความสำเ เชิงปริมาณ เชิง 1 โครงการจัด เพือ่ ให้ -โครงการส่งเสริม ร้อยละ100 ผูเ้ รยี การศึกษาเพอื่ ประชาชนมี สุขภาพอนามยั ใน ของผูเ้ รยี น นำค พัฒนาทักษะ ความร้คู วาม ชุมชน จบหลกั สตู ร ชีวิต ชวี ติ เข้าใจในการ เกดิ ป พฒั นาทกั ษะ ตนเอ ชีวติ สำหรบั การ ประ ปรบั ตวั ใหท้ นั ต่อไป ต่อโลก รวม หนึง่ พันสองร้อยหกสิบหา้ บาทถ้วน
ำปีงบประมาณ พ.ศ ๒๕๖๖ ๒๓ ษานนอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย รายจ่ายอ่นื - งโครงการพฒั นาทกั ษะชีวิต ( ไตรมาส ๓-๔ ) เรจ็ เปา้ หมาย งบประมาณ งบ งคุณภาพ ประเภท จำนวน งบอุดหนุน ดำเนนิ งาน กล่มุ เป้าหมาย กลมุ่ เป้าหมาย ๑,๒๖๕ ยนสามารถ ประชาชน ๑๕ คน - ความรู้ไปใช้ใน ตประจำวันให้ ประโยชน์ตอิ องครอบครวั ะเทศชาติ ป ๑๕ คน ๑,๒๖๕
ท่ี ชือ่ /โครงการ วตั ถปุ ระสงค์ แผนปฏิบัติการ สำนักงานส่งเสรมิ การศึกษ งานการศกึ ษาตอ่ เนอ่ื งโครงกา กจิ กรรมหลัก ตวั ชี้วัดความสำเรจ็ เชงิ ปรมิ าณ เชิงคุณ 1 โครงการ เพ่อื ให้ การเล้ยี งหอยเชอรี่ ร้อยละ ผู้เรยี น เรยี นร้ตู าม ประชาชนมี สีทอง 100 นำควา หลกั ปรชั ญา ความรู้ในการ ของผ้เู รียน เลยี้ งห ของเศรษฐกิจ เลี้ยงหอยเชอรี่ จบ พอเพยี ง -เพื่อเพ่มิ รายได้ หลักสูตร ให้แกส่ มาชกิ กลมุ่ รวม สองพันบาทถ้วน
รประจำปงี บประมาณ พ.ศ 256๖ ๒๔ ษานนอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ารเรยี นรตู้ ามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง( ไตรมาส 1-2 ) รายจา่ ยอน่ื - จ เป้าหมาย งบประมาณ ณภาพ ประเภท จำนวน งบอุดหนุน งบ กลมุ่ เป้าหมาย กล่มุ เป้าหมาย ดำเนนิ งาน นสามารถ ประชาชน ๑5 คน - ๒,๐00 ามรู้ในการ หอยเชอร่ี 15 คน ๒,000
ที่ ชอ่ื /โครงการ วัตถุประสงค์ แผนปฏบิ ตั กิ ารปร สำนกั งานสง่ เสรมิ การศึกษ งานการศกึ ษาตอ่ เนอ่ื งโครงกา กิจกรรมหลัก ตวั ชี้วัดความสำเ เชิงปริมาณ เชิง 1 โครงการ เพือ่ ให้ -โครงการโคก ร้อยละ ผู้เรยี ๑๐๐ นำค เรียนรู้ตาม ประชาชนมี หนองนาโมเดล ของผ้เู รยี น หนอ จบหลกั สตู ร ไปใช หลกั ปรชั ญา ความรูค้ วาม ชีวติ ของเศรษฐกจิ เขา้ ใจในเร่ือง เกิดป ตนเอ พอเพียง โคกหนองนา ประ ตอ่ ไป โมเดล รวม สองพันบาทถ้วน
ระจำปีงบประมาณ พ.ศ 256๖ ๒๕ ษานนอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รายจ่ายอ่นื - ารเรียนรตู้ ามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง( ไตรมาส ๓-๔ ) - - เร็จ เปา้ หมาย งบประมาณ - งคณุ ภาพ ประเภท จำนวน งบอดุ หนุน งบ กล่มุ เป้าหมาย กลุม่ เป้าหมาย ดำเนนิ งาน ยนสามารถ ประชาชน ๑๕ คน - ๒,๐๐๐ ความรู้โคก องนาโมเดล ชใ้ น ตประจำวนั ให้ ประโยชน์ติอ องครอบครวั ะเทศชาติ ป ๑๕ คน - ๒,๐๐๐
ท่ี ชอื่ /โครงการ วัตถุประสงค์ แผนปฏิบตั ิการปร สำนักงานสง่ เสริมการศกึ ษ งานการศึกษาต่อเนือ่ งโครงการจดั กจิ กรรมหลัก ตัวชี้วดั ความสำเ เชงิ ปริมาณ เชงิ 1 โครงการจัด เพือ่ ให้ -โครงการศกึ ษาดงู าน ร้อยละ100 ผู้เรยี การศึกษาเพือ่ ประชาชนมี เร่อื งการอนรุ ักษ์ปา่ ไม้ ของผู้เรียน ความ จบหลักสูตร อนุร พฒั นาสงั คม ความรูค้ วาม และชมุ ชน เขา้ ใจในเรื่อง การศกึ ษาเพอื่ พฒั นาสังคม และชมุ ชน รวม สองพนั แปดรอ้ ยบาทถว้ น
ระจำปีงบประมาณ พ.ศ 256๖ งบประมาณ ๒๖ ษานนอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั รายจา่ ยอ่นื ดการศกึ ษาเพ่อื พฒั นาสงั คมและชุมชน( ไตรมาส ๑-๒ ) งบ ดำเนนิ งาน เร็จ เป้าหมาย งคุณภาพ ประเภท จำนวน งบอดุ หนุน กลมุ่ เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ยนสามารถนำ ประชาชน 15 คน - 2,800 - มร้ดู งู านการ รักษป์ ่าไม้ 15คน 2,800
ที่ ชอื่ /โครงการ วตั ถปุ ระสงค์ แผนปฏิบตั กิ ารปร สำนกั งานส่งเสรมิ การศึกษ งานการศกึ ษาตอ่ เนื่องโครงการจดั กิจกรรมหลัก ตวั ช้ีวดั ความสำเ เชิงปรมิ าณ เชงิ ๑ โครงการจดั เพือ่ ให้ -โครงการศกึ ษาดู รอ้ ยละ ผ้เู รยี การศึกษาเพ่อื ประชาชนมี งานการพัฒนา ๑๐๐ นำค พฒั นาสังคม ความรู้ความ สังคมและชมุ ชน ของผเู้ รียน การพ และชมุ ชน เขา้ ใจในเรื่อง เพ่มิ ความรู้สู่ จบหลักสูตร และ การศกึ ษาเพ่ือ ประชาชนตาม ความ พฒั นาสังคม แนวทาง ประ และชุมชน พระราชดำริ แนว รชั กาลที่๙ พระ รัชกา รวม สองพันแปดรอ้ ยบาทถ้วน
ระจำปีงบประมาณ พ.ศ 256๖ ๒๗ ษานนอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั รายจา่ ยอ่นื - ดการศึกษาเพอ่ื พัฒนาสงั คมและชมุ ชน( ไตรมาส ๓-๔ ) เรจ็ เปา้ หมาย งบประมาณ งคุณภาพ ประเภท จำนวน งบอุดหนนุ งบ ดำเนินงาน กลุ่มเปา้ หมาย กลมุ่ เป้าหมาย ๒,๘๐๐ ยนสามารถ ประชาชน ๑๕ คน - ความรู้ดงู าน พัฒนาสงั คม ะชมุ ชนเพิม่ มรสู้ ู่ ะชาชนตาม วทาง ะราชดำริ าลท่ี๙ ๑๕ คน ๒,๘๐๐
ที่ ช่ือ/โครงการ วตั ถุประสงค์ แผนปฏบิ ัตกิ ารปร สำนกั งานส่งเสริมการศึกษ งานการศึกษาต่อเน่อื งโครงการศูน กจิ กรรมหลัก ตัวช้ีวัดความสำเ เชงิ ปรมิ าณ เชงิ 1 โครงการศนู ย์ เพือ่ ให้ -การทำขนั โตกหวาย ร้อยละ ผ้เู รีย ฝึกอาชพี ประชาชนมี เทยี ม 100 นำค ชมุ ชนแบบชั้น อาชีพและมี ของผเู้ รยี น อาชีพ เรยี น 31 ทกั ษะในการ -ชา่ งเชือ่ ม จบหลักสตู ร ชัว่ โมง จดั ทำอาชีพ รวม สองหม่ืนห้าพนั สองร้อยบาทถ้วน
ระจำปงี บประมาณ พ.ศ 256๖ ๒๘ ษานนอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั รายจา่ ยอ่ืน ๑๒,๖00 นยฝ์ กึ อาชีพชุมชนแบบช้ันเรียน 31 ชวั่ โมง ( ไตรมาส 1-2 ) ๑๒,๖00 เรจ็ เป้าหมาย งบประมาณ งคุณภาพ ประเภท จำนวน งบอุดหนนุ งบ กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ดำเนนิ งาน ยนสามารถ ประชาชน ๑๔ คน - - ความรศู้ ูนย์ฝึก พชุมชน ประชาชน ๑๔ คน - - ๒๘ คน ๒๕,๒00
ท่ี ช่ือ/โครงการ วตั ถปุ ระสงค์ แผนปฏิบตั ิการปร สำนักงานส่งเสริมการศกึ ษ งานการศึกษาตอ่ เนือ่ งโครงการศูน กจิ กรรมหลัก ตวั ช้ีวัดความสำเ เชิงปริมาณ เชงิ 1 โครงการศูนย์ เพ่อื ให้ --การทำ รอ้ ยละ ผูเ้ รีย ฝึกอาชีพ ประชาชนมี -ชา่ งเชอ่ื ม 100 นำค ชุมชนแบบช้นั อาชีพและมี ของผู้เรยี น อาชีพ เรียน 31 ทักษะในการ จบหลักสตู ร ชัว่ โมง จดั ทำอาชีพ รวม สองหมนื่ หา้ พันสองรอ้ ยบาทถ้วน
ระจำปงี บประมาณ พ.ศ 256๖ ๒๙ ษานนอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั รายจา่ ยอื่น ๑๒,๖00 นยฝ์ กึ อาชีพชุมชนแบบช้ันเรียน 31 ชวั่ โมง ( ไตรมาส ๓-๔ ) ๑๒,๖00 เรจ็ เป้าหมาย งบประมาณ งคุณภาพ ประเภท จำนวน งบอุดหนนุ งบ กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ดำเนนิ งาน ยนสามารถ ประชาชน ๑๔ คน - - ความรศู้ ูนย์ฝึก พชุมชน ประชาชน ๑๔ คน - - ๒๘ คน ๒๕,๒00
แผนปฏบิ ตั ิการป สำนกั งานส่งเสริมการศึกษ งานการศกึ ษาต่อเนื่องโครงการศูน ที่ ชอื่ / วัตถปุ ระสงค์ กิจกรรม ตวั ช้ีวัดคว โครงการ หลัก เชิง ปรมิ าณ โครงการศูนย์ เพอ่ื ให้ -การทำพรมเช็ดเทา้ รอ้ ยละ100 ผู้เรียน ฝึกอาชพี ประชาชน -การทำพรมเชด็ เทา้ ของผเู้ รียน สามารถนำ ชมุ ชนกลุม่ มีอาชีพ -การทำพรมเชด็ เทา้ จบหลักสูตร ความรู้ สนใจไมเ่ กนิ และฝึก -การตัดเยบ็ ผา้ คลุมไหล่ ศูนยฝ์ กึ 30 ชม ทักษะ -การทอพรมเช็ดเท้า อาชพี -การทำขนมเปียกปนู ชมุ ชน สังขยา -การทำขนมกะหร่ีปบั๊ ขนมตม้ -การตดั เย็บกระเป๋า สตางคจ์ ากเศษผ้า -การทำเข็มกลดั ดอกไม้ จากกระดาษย่น รวม สามหม่ืนเกา้ พนั หกสิบบาทถ้วน
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ 256๖ ๓๐ ษานนอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั นย์ฝกึ อาชีพชมุ ชน กลุม่ สนใจ ( ไตรมาส 1-2 ) วามสำเร็จ เป้าหมาย งบประมาณ เชงิ คุณภาพ ประเภท จำนวน งบอุดหนนุ งบ รายจ่ายอ่นื กลุม่ เปา้ หมาย กลมุ่ เปา้ หมาย ดำเนนิ งาน โครงการศูนย์ ประชาชน ๑๐ - - 4,340 ฝึกอาชพี ชมุ ชน ๑๐ 4,340 กลมุ่ สนใจ ไม่ ๑๐ - - 4,340 เกิน 30 ชม ๑๐ 4,340 ๑๐ - - 4,340 ๑๐ 4,340 ๑๐ - - 4,340 ๑๐ - - 4,340 ๑๐ 4,340 ๑๐ ๙๐ คน ๓๙,๐๖0
แผนปฏบิ ตั ิการป สำนักงานสง่ เสริมการศกึ ษ งานการศกึ ษาต่อเนอ่ื งโครงการศนู ท่ี ชอื่ / วตั ถุประสงค์ กจิ กรรม ตัวชี้วัดคว โครงการ หลกั เชิง ปรมิ าณ โครงการศูนย์ เพือ่ ให้ -การทอพรมเช็ดเท้า ร้อยละ100 ผ้เู รยี น ฝกึ อาชพี ประชาชน -การทำขนมกะหรปี่ ๊บั ของผเู้ รยี น สามารถนำ ชมุ ชนกลุ่ม มีอาชีพ ขนมตม้ จบหลกั สตู ร ความรู้ สนใจไม่เกนิ และฝึก -การทำขนมกะหร่ีปั๊บ ศนู ย์ฝกึ 30 ชม ทักษะ ขนมตม้ อาชีพ -การทำลกู ประคบจาก ชมุ ชน สมนุ ไพร -การทำไม้กวาด ทางมะพร้าว -การทอพรมเช็ดเท้า รวม สองหม่นื หกพันสส่ี บิ บาทถว้ น
ประจำปงี บประมาณ พ.ศ 256๖ ๓๑ ษานนอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย นย์ฝกึ อาชพี ชมุ ชน กลมุ่ สนใจ ( ไตรมาส 1-2 ) วามสำเร็จ เปา้ หมาย งบประมาณ เชิงคณุ ภาพ ประเภท จำนวน งบอดุ หนนุ งบ รายจา่ ยอ่นื กล่มุ เป้าหมาย กลมุ่ เป้าหมาย ดำเนนิ งาน โครงการศนู ย์ ประชาชน ๑๐ - - 4,340 ฝกึ อาชพี ชมุ ชน ประชาชน ๑๐ 4,340 กลุ่มสนใจ ไม่ -- เกิน 30 ชม ประชาชน ๑๐ 4,340 -- ประชาชน ๑๐ 4,340 -- ประชาชน ๑๐ 4,340 -- ๑๐ 4,340 ๖๐ คน 2๖,0๔0
ที่ ช่ือ/โครงการ วัตถุประสงค์ แผนปฏบิ ัตกิ ารปร สำนกั งานสง่ เสริมการศึกษ งานการศกึ ษาต่อเน่ืองโครงการศนู กิจกรรมหลัก ตัวชี้วดั ความสำเ เชงิ ปริมาณ เชงิ 1 โครงการศนู ย์ เพ่ือให้ -การทำของชำร่วย รอ้ ยละ100 ผ้เู รีย ฝกึ อาชพี ประชาชนมี ชุมชนกลุ่ม อาชีพ จากเศษผ้า ของผเู้ รยี น นำค สนใจ ( 20 ) ชม -การทำลิปปาลม์ จบหลักสูตร อาชพี -การปลูกผ้า ประดบั อาคารงาน พิธีตา่ งๆ -การทำพวงกุญแจ ของชำรว่ ย -การสานกระเป๋า จากเสน้ พลาสตกิ -การสานตระกรา้ จากเส้นพลาสตกิ รวม สี่หม่นื แปดพันสามร้อยบาทถว้ น
ระจำปงี บประมาณ พ.ศ 256๖ ๓๒ ษานนอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย รายจา่ ยอ่ืน 4,340 นยฝ์ ึกอาชีพชมุ ชน กลมุ่ สนใจ ( ไตรมาส ๓-๔ ) 4,340 4,340 เร็จ เปา้ หมาย งบประมาณ งคุณภาพ ประเภท จำนวน งบอดุ หนนุ งบ ดำเนินงาน กลมุ่ เปา้ หมาย กลุ่มเป้าหมาย - ยนสามารถ ประชาชน ๑๔ คน - ความรู้ศูนยฝ์ กึ พชมุ ชน ๑๔ คน ๑๔ คน ๑๔ คน 4,340 ๑๔ คน 4,340 ๗๕ คน ๔๘,๓๐๐
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144