Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore file-33235

file-33235

Published by Watcharin Indeng, 2021-11-01 07:39:38

Description: file-33235

Search

Read the Text Version

AEC คืออะไร AEC หรือ Asean Economics Community คือการรวมตัวของชาตใิ น Asean 10 ประเทศ โดยมี ไทย, พม่า, ลาว, เวยี ดนาม , มาเลเซยี , สิงคโปร์, อินโดนีเซีย , ฟิลิปปินส์, กมั พูชา, บรไู น เพ่อื ทจ่ี ะให้มี ผลประโยชนท์ างเศรษฐกิจรว่ มกนั จะมรี ปู แบบคล้ายๆ กลุ่ม Euro Zone นน่ั เอง จะทําใหม้ ีผลประโยชน์ , อํานาจตอ่ รองต่างๆ กบั ค่คู ้าไดม้ ากขนึ้ และการนาํ เข้า สง่ ออกของชาติในอาเซียนกจ็ ะเสรี ยกเว้นสินคา้ บาง ชนดิ ทแ่ี ตล่ ะประเทศอาจจะขอไวไ้ ม่ลดภาษนี าํ เขา้ (เรียกวา่ สินคา้ อ่อนไหว) Asean จะรวมตวั เป็น ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียนและมผี ลเป็นรปู ธรรม ณ วนั ท่ี 31 ธนั วาคม 2558 ณ วันน้ันจะทาํ ให้ภูมิภาคนี้เปลีย่ นไปอย่างมากอย่างทค่ี ุณคดิ ไม่ถงึ ทีเดียว AEC Blueprint (แบบพิมพเ์ ขียว) หรือแนวทางที่จะให้ AEC เปน็ ไปคือ 1. การเปน็ ตลาดและฐานการผลิตเดยี วกนั 2.การเป็นภูมภิ าคท่ีมขี ีดความสามารถในการแขง่ ขันสงู 3. การเปน็ ภมู ิภาคที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกจิ ที่เท่าเทยี มกนั 4. การเปน็ ภมู ภิ าคทีม่ กี ารบูรณาการเข้ากบั เศรษฐกิจโลก โดยใหแ้ ตล่ ะประเทศใน AEC ใหม้ จี ดุ เดน่ ต่างๆ ดงั นี้ พมา่ : สาขาเกษตรและประมง มาเลเซยี : สาขาผลิตภัณฑ์ยาง และสาขาสิง่ ทอ อินโดนีเซยี : สาขาภาพยนตร์และสาขาผลิตภณั ฑ์ไม้ ฟิลปิ ปนิ ส์ : สาขาอิเล็กทรอนิกส์ สิงคโปร์ : สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ และสาขาสขุ ภาพ ไทย : สาขาการท่องเทย่ี ว และสาขาการบิน (ประเทศไทยอยู่ตรงกลาง ASEAN) การเปล่ยี นแปลงที่จะเห็นไดช้ ดั ๆใน AEC โดยอธบิ ายใหเ้ หน็ ภาพเขา้ ใจง่ายๆ เชน่ – การลงทนุ จะเสรมี ากๆ คอื ใครจะลงทนุ ที่ไหนกไ็ ด้ ประเทศทก่ี ารศกึ ษาระบบดีๆ ก็จะมาเปิดโรงเรียนในบ้าน เรา อาจทําใหโ้ รงเรียนแพงๆแต่คุณภาพไมด่ ีตอ้ งปรบั ตัว ไม่เช่นน้นั อาจจะสู้ไมไ่ ด้ – ไทยจะเปน็ ศูนยก์ ลางการท่องเที่ยว และการบนิ อย่างไมต่ ้องสงสัย เพราะวา่ อยกู่ ลาง Asean และไทยอาจจะ เดน่ ในเรือ่ ง การจัดการประชมุ ต่างๆ, การแสดงนทิ รรศการ, ศนู ยก์ ระจายสินคา้ และยังเด่นเร่ืองการคมนาคม อีกดว้ ยเนอื่ งจากอยูต่ รงกลางอาเซียน และการบริการด้านการแพทย์และสุขภาพจะเติบโตอย่างมากเช่นกนั เพราะ จะผสมผสานสง่ เสริมกันกบั อตุ สาหกรรมการทอ่ งเทยี่ ว (ค่าบริการทางการแพทยข์ องประเทศตา่ งชาติ จะมรี าคาสงู มากหากเทยี บกับประเทศไทย) เทศบาลตาบลกงพานพนั ดอน อาเภอกมุ ภวาปี จงั หวดั อดุ รธานี

– การค้าขายจะขยายตัวอย่างนอ้ ย 25% ในสว่ นของอุตสาหกรรมบางอยา่ ง เช่น รถยนต์ , การท่องเทยี่ ว , การ คมนาคม , แตอ่ ตุ สาหกรรมทีน่ า่ ห่วงของไทยคือ ที่ใช้แรงงานเปน็ หลกั เชน่ ภาคการเกษตร , ก่อสรา้ ง , อุตสาหกรรมสิง่ ทอจะได้รับผลกระทบ เนื่องจากฐานการผลติ อาจยา้ ยไปประเทศทผ่ี ลติ สินค้าทดแทนไดเ้ ชน่ อุตสาหกรรมสงิ่ ทอ โดยผูล้ งทนุ อาจย้ายฐานการผลิตจากประเทศไทยไปยังประเทศทม่ี คี า่ แรงถกู กว่า เน่ืองด้วย บางธุรกิจไมจ่ าํ เป็นตอ้ งใชท้ ักษะมากนกั ค่าแรงจงึ ถกู ( ณ วันท่ี 15 ก.ย.56 ค่าแรงหนุ่มสาวโรงงาน ณ ประเทศ ลาว อยู่ทปี่ ระมาณ 4,000 บาทไทย) – เรื่องภาษาอังกฤษจะเป็นสิง่ ทสี่ ําคัญอย่างมาก เน่อื งจากจะมคี นอาเซยี น เข้ามาอยใู่ นไทยมากมายไปหมด และมักจะพูดภาษาไทยไมค่ อ่ ยได้ แตจ่ ะใช้ภาษาอังกฤษ (AEC มมี าตรฐานว่าจะใช้ภาษาองั กฤษเป็นภาษากลาง เพื่อส่อื สารใน AEC) บางทเี รานึกวา่ คนไทยไปทักพูดคุยดว้ ย แต่เคา้ พูดภาษาองั กฤษกลับมา เราอาจเสยี ความ ม่ันใจได้ ส่วนสง่ิ แวดล้อมนนั้ ปา้ ยต่างๆ หนงั สอื พมิ พ์ , สือ่ ต่างๆ จะมภี าษาองั กฤษมากขน้ึ (ใหด้ ปู า้ ยที่ สนามบินสวุ รรณภมู เิ ป็นตวั อย่าง) และจะมโี รงเรยี นสอนภาษามากมาย หลากหลายหลักสตู ร – การค้าขายบริเวณชายแดนจะคกึ คักอย่างมากมาย เนื่องจาก ดา่ นศุลกากรชายแดนอาจมีบทบาทนอ้ ยลงมาก แต่จะมีปัญหาเรอื่ งยาเสพตดิ และปญั หาสังคมตามมาดว้ ย – เมอื งไทยจะไมข่ าดแรงงานทไี่ ร้ฝมี อื อกี ต่อไปเพราะแรงงานจะเคลื่อนย้ายเสรี จะมี ชาวพม่า , ลาว, กัมพชู า เข้ามาทํางานในไทยมากขน้ึ แตค่ นเหล่าน้ีกจ็ ะมาแยง่ งานคนไทยบางสว่ นด้วยเชน่ กนั และยังมปี ญั หาสังคม , อาชญากรรม จะเพ่มิ ขึ้นอกี ดว้ ย อันน้รี ฐั บาลควรต้องวางแผนรับมือ – คนไทยทใี่ ช้ภาษาองั กฤษได้ บางส่วนจะสมองไหลไปทาํ งานเมอื งนอก โดยเฉพาะอตุ สาหกรรมซอรฟ์ แวร์ (ที่ จะใหส้ งิ คโปรเ์ ปน็ หัวหอกหลัก) เพราะชาวไทยเก่ง แตป่ จั จุบันไดค้ า่ แรงถูกมาก อนั นีส้ มองจะไหลไปสิงคโปร์ เยอะมาก แต่พวกชาวตา่ งชาติก็จะมาทาํ งานในไทยมากขนึ้ เช่นกัน อาจมชี าว พมา่ , กัมพูชา เก่งๆ มาทาํ งานกับ เราก็ได้ โดยจะใชภ้ าษาองั กฤษเปน็ ส่ือกลาง บรษิ ทั software ในไทยอาจต้องปรับคา่ จา้ งให้ส้กู บั บรษิ ทั ตา่ งชาติให้ได้ ไม่เชน่ นนั้ จะเกดิ ภาวะสมองไหล – อุตสาหกรรมโรงแรม, การทอ่ งเที่ยว, ร้านอาหาร, รถเชา่ บรเิ วณชายแดนจะคึกคกั มากขนึ้ เนือ่ งจากจะมีการ สญั จรมากขน้ึ และเมอื งตามชายแดนจะพฒั นามากขึน้ เรอ่ื ยๆ เน่อื งจากเป็นจุดขนส่ง – สาธารณูปโภคในประเทศไทย หากเตรียมพร้อมไมด่ อี าจขาดแคลนได้ เช่น ชาวพม่า มาคลอดลูกในไทย ก็ ต้องใช้โรงพยาบาลในไทยเปน็ ตน้ – กรงุ เทพฯ จะแออัดอยา่ งหนัก เน่ืองจากมีตําแหนง่ เป็นตรงกลางของอาเซียนและเปน็ เมอื งหลวงของไทย โดย เมืองหลวงอาจมีสํานักงานของต่างชาตมิ าต้ังมากขน้ึ รถจะตดิ อย่างมาก สนามบนิ สุวรรณภมู ิจะแออัดมากข้นึ (ปจั จบุ ันมีโครงการที่จะขยายสนามบนิ แลว้ ) – ไทยจะเปน็ ศนู ยก์ ลางอาหารโลกในการผลิตอาหาร เพราะ knowhow ในไทยมเี ยอะประสบการณ์สูง และ บรษิ ทั อาหารในไทยก็แข็งแกรง่ ประกอบทาํ เลที่ตงั้ เหมาะสมอย่างมาก แม้จะใหพ้ ม่าเน้นการเกษตร แต่ทาง ประเทศไทยเองคงไปลงทนุ ในพมา่ เรอ่ื งการเกษตรแลว้ สง่ ออก ซึง่ ก็ถอื เป็นธรุ กจิ ของคนไทยทีช่ าํ นาญอยู่แลว้ เทศบาลตาบลกงพานพนั ดอน อาเภอกุมภวาปี จงั หวัดอดุ รธานี

– ไทยจะเปน็ ศูนย์การการท่องเทีย่ ว และคมนาคมอย่างไม่ต้องสงสัย หากผู้ประกอบธุรกจิ ในไทยทเ่ี กย่ี วเน่ือง กบั ธุรกจิ น้ปี รบั ตวั และเตรียมพรอ้ มดีกจ็ ะไดป้ ระโยชนจ์ ากการเป็นศูนยก์ ลางการทอ่ งเท่ียวและคมนาคม – ปญั หาสังคมจะรนุ แรงถ้าไม่ไดร้ ับการวางแผนที่ดี เน่ืองจาก จะมีขยะจาํ นวนมากมากขน้ึ , ปัญหาการแบ่งชน ช้ัน ถา้ คนไทยทํางานกับคนต่างชาติทีด่ ้อยกวา่ อาจมกี ารแบ่งชนชัน้ กันได้ , จะมีชมุ ชนสลมั เกดิ ข้นึ และอาจมี พมา่ ทาวน์, ลาวทาวน,์ กัมพูชาทาวน์, ปญั หาอาชญากรรมจะรุนแรง สถติ กิ ารกอ่ อาชญากรรมจะเพ่มิ ขึน้ อยา่ ง มากจากชนน้นั ทม่ี ปี ญั หา, คนจะทําผดิ กฎหมายมากขึ้นเนื่องจากไมร่ ู้กฎหมาย การขนสง่ ทีจ่ ะเปล่ียนแปลง East-West Economic Corridor (EWEC) หรอื เส้นทางหมายเล ข 9 (R9) ชอ่ื ไทยวา่ เส้นทางระเบียงเศรษฐกจิ แนวตะวนั ออก-ตะวนั ตก จะมีการขนส่งจากท่าเทียบเรอื ทางทะเลฝง่ั ขวาไปยังฝ่ังซา้ ย เวียดนาม-ไทย-พมา่ มีระยะทางตดิ ต่อกนั โดยประมาณ 1,300 กม.อยู่ในเขตประเทศไทยถงึ 950 กม. ลาว 250 กม. เวยี ดนาม 84 กม.เสน้ ทางเริม่ ท่ี เมอื งท่าดานงั ประเทศเวยี ดนาม ผ่านเมอื งเวแ้ ละเมืองลาวบาว ผา่ นเข้าแขวงสะหวนั นะเขตในประเทศลาว และมาขา้ มสะพานมิตรภาพ 2 (มกุ ดาหาร-สะหวันนะเขต) ข้ามแมน่ า้ํ โขงสู่ไทยทจ่ี ังหวัดมกุ ดาหาร ผ่านจงั หวัด กาฬสินธ์ุ, ขอนแก่น, เพชรบูรณ์, พิษณโุ ลก สุดทอ่ี าํ เภอแม่สอด จงั หวัดตาก จากนนั้ เขา้ ไปยงั ประเทศพมา่ ไป เรื่อยๆ ถงึ อ่าวเมาะตะมะ ท่ีเมอื งเมาะลาํ ไย หรอื มะละแหมง่ เปน็ การเชอ่ื มจากทะเลจนี ใตไ้ ปส่อู นิ เดยี เส้นทาง R9 นจี้ ะทาํ ใหก้ ารขนสง่ รวมถึง logistic ใน AEC จะพฒั นาอกี มาก และจากาการที่ไทยอยู่ ตรงกลางภมู ิภาค ทาํ ให้เราขายสินคา้ ได้มากขึ้นเพราะเราจะสง่ ของไปทา่ เรือทางฝงั่ ซา้ ยของไทยก็ได้ ทางฝั่งขวา ก็ได้ ทด่ี ินและอสังหารมิ ทรพั ย์ในไทยบรเิ วณดังกลา่ วก็นา่ จะมีราคาสงู ข้นึ ดว้ ย และท่พี ม่ายังมี โครงการก่อสร้างขนาดใหญ่ หรอื โครงการ “ทวาย” (ศูนยอ์ ุตสาหกรรมขนาดใหญ่ , ทา่ เรือขนาดใหญ่ ทป่ี จั จุบัน Italian-Thai Development PLC ได้รบั สมั ปทานในการก่อสร้างแล้ว ปจั จบุ นั ได้ หยดุ การพัฒนาชว่ั คราวเพือ่ รอผรู้ ว่ มลงทนุ ในการพัฒนาโครงการ ข้อมลู ณ 27 เม.ย.2557) โครงการทวายมี เป้าหมายที่จะสร้างท่าเรือนํา้ ลกึ และนิคมอตุ สาหกรรมบนพน้ื ท่ีประมาณ 250 ตารางกิโลเมตร ในภาคใต้ของ พมา่ ซึ่งมโี ครงการก่อสรา้ งโรงถลุงเหลก็ โรงงานปุย๋ โรงไฟฟ้าถา่ นหนิ โรงกล่นั นา้ํ มนั ในระยะถดั ไปอีกดว้ ย เทศบาลตาบลกงพานพันดอน อาเภอกุมภวาปี จังหวดั อุดรธานี

ซึ่งโครงการทวาย มที ี่เสน้ ทางสอดคล้องกบั East-West Economic Corridor จะกลายเปน็ ทางออกสู่ ทะเลจุดใหมท่ ส่ี ําคัญมากตอ่ อาเซยี น เพราะในอดีตทางออกสมู่ หาสมุทรอินเดียจําเปน็ ตอ้ งใชท้ ่าเรือของสิงคโปร์ เท่านนั้ ขณะเดียวกนั โปรเจกตท์ วายน้ยี ังเป็นตน้ ทางรับสนิ คา้ จากฝั่งมหาสมุทรอินเดยี หรอื สินคา้ ทมี่ าจากฝง่ั ยโุ รปและตะวนั ออกกลาง โดยเฉพาะสินคา้ กลุ่มพลังงานไมว่ ่าจะเปน็ น้าํ มนั กา๊ ซ ซึ่งจะถูกนําเข้าและแปรรูปใน โรงงานปโิ ตรเคมภี ายในพน้ื ทโ่ี ปรเจกตท์ วาย เพ่อื สง่ ผา่ นไทยเขา้ ไปยงั ประเทศกลุม่ อินโดจีนเช่น ลาว กัมพชู า และไปส้นิ สุดปลายทางยังท่าเรือดานงั ประเทศเวยี ดนาม และจะถูกส่งออกไปยังเอเชยี ตะวนั ออกอย่างญปี่ ุ่น และจนี ทง้ั น้ีทั้งนน้ั ส่งิ ท่ีเราควรจะเตรยี มตัวแต่เนน่ิ ๆ ท่ีสําคญั ตอนน้ีคือ ภาษาองั กฤษ อยา่ งนอ้ ยๆเราก็จะได้ สื่อสารกนั กบั Asean ได้ เพราะหากสอ่ื สารไมไ่ ด้ เรือ่ งอ่ืนก็คงยากที่จะทํา และกาคิดจะหาลูกค้าแคใ่ นประเทศ ไทยก็อาจไมเ่ พียงพอแล้ว เพราะธุรกิจตา่ งชาตกิ จ็ ะมาแยง่ สว่ นแบง่ การตลาดของเราแนน่ อน เรือ่ ง AEC จงึ ถอื เปน็ เรอื่ งใหญ่ ทธ่ี รุ กิจ และคนไทยต้องปรับตัวและเตรียมพร้อมใหด้ ี ประวตั ิความเป็นมาประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน (AEC) Asean Economic Community History AEC เปน็ การพฒั นามาจากการเป็น สมาคมประชาชาตแิ หง่ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ( The Association of South East Asian Nations : ASEAN) กอ่ ต้ังขึ้นตามปฏญิ ญากรุงเทพฯ ( Bangkok Declaration) เม่อื 8 สิงหาคม 2510 โดยมปี ระเทศผกู้ อ่ ต้งั แรกเรมิ่ 5 ประเทศ คือ อินโดนเี ซยี มาเลเซีย ฟิลิปปนิ ส์ สงิ คโปร์ และไทย ต่อมาในปี 2527 บรูไน ก็ไดเ้ ขา้ เปน็ สมาชิก ตามด้วย 2538 เวยี ดนาม กเ็ ข้ารว่ ม เปน็ สมาชกิ ตอ่ มา 2540 ลาวและพม่า เข้ารว่ ม และปี 2542 กัมพูชา กไ็ ดเ้ ขา้ รว่ มเป็นสมาชิกลําดบั ที่ 10 ทาํ ให้ ปจั จบุ ันอาเซียนเปน็ กล่มุ เศรษฐกิจภูมภิ าคขนาดใหญ่ มปี ระชากร รวมกันเกอื บ 500 ลา้ นคน เทศบาลตาบลกงพานพนั ดอน อาเภอกมุ ภวาปี จังหวดั อุดรธานี

จากนั้นในการประชุมสุดยอดอาเซยี นครั้งที่ 9 ทอ่ี นิ โดนีเซยี เมอ่ื 7 ต.ค. 2546 ผนู้ ําประเทศสมาชิก อาเซยี นได้ตกลงกันทีจ่ ะจดั ตง้ั ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ซง่ึ ประกอบด้วย3 เสาหลกั คือ 1.ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น (Asean Economic Community:AEC) 2.ประชาคมสงั คมและวฒั นธรรมอาเซยี น (Socio-Cultural Pillar) 3.ประชาคมความม่ันคงอาเซียน (Political and Security Pillar) คาํ ขวญั ของอาเซยี น คือ “ One Vision, One Identity, One Community.” หนงึ่ วสิ ยั ทัศน์ หนึ่งอตั ลักษณ์ หนึ่งประชาคม เดมิ กาํ หนดเปา้ หมายที่จะตง้ั ขึน้ ในปี 2563 แตต่ ่อมาได้ตกลงกันเลอื่ นกําหนดใหเ้ รว็ ขนึ้ เป็นปี 2558 และกา้ วสาํ คัญตอ่ มาคอื การจัดทาํ ปฏิญญาอาเซียน (ASEAN Charter) ซ่งึ มผี ลใชบ้ ังคับแล้วตั้งแต่เดอื นธนั วาคม ปี 2552 นับเป็นการยกระดับความร่วมมอื ของอาเซยี นเขา้ สูม่ ติ ใิ หม่ในการสร้างประชาคม โดยมพี นื้ ฐานที่ แข็งแกร่งทางกฎหมายและมีองค์กรรองรับการดําเนนิ การเข้าสูเ่ ป้าหมายดังกล่าวภายในปี 2558 ปจั จุบันประเทศสมาชิกอาเซยี น รวม 10 ประเทศไดแ้ ก่ ไทย พมา่ มาเลเซยี อินโดนีเซีย ฟิลปิ ปินส์ สิงคโปร์ เวียดนาม ลาว กมั พูชา บรไู น สําหรับเสาหลกั การจดั ต้งั ประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น (ASEAN Economic Community หรอื AEC ) ภายในปี 2558 เพ่อื ให้อาเซียนมกี ารเคล่ือนย้ายสินค้า บรกิ าร การลงทุน แรงงานฝมี อื อย่างเสรี และเงนิ ทุนท่ี เสรีขึน้ ตอ่ มาในปี 2550 อาเซยี นไดจ้ ัดทาํ พิมพเ์ ขยี วเพ่ือจดั ตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ( AEC Blueprint) เปน็ แผนบรู ณาการงานด้านเศรษฐกจิ ใหเ้ ห็นภาพรวมในการมุ่งไปสู่ AEC ซึ่งประกอบดว้ ยแผนงานเศรษฐกจิ ใน ดา้ น ตา่ ง ๆ พร้อมกรอบระยะเวลาทช่ี ัดเจนในการดําเนนิ มาตรการตา่ ง ๆ จนบรรลุเป้าหมายในปี 2558 รวมทง้ั การให้ความยดื หยุ่นตามทปี่ ระเทศสมาชกิ ได้ตกลงกนั ล่วงหนา้ ในอนาคต AEC จะเปน็ อาเซียน+3 โดยจะเพิม่ ประเทศ จนี เกาหลใี ต้ และญีป่ ่นุ เข้ามาอยูด่ ว้ ย และ ต่อไปก็จะมีการเจรจา อาเซยี น+6 จะมปี ระเทศ จีน เกาหลีใต้ ญ่ปี ุ่น ออสเตรเลยี นวิ ซีแลนด์ และ อนิ เดยี ตอ่ ไป อาเซียน คอื อะไร อาเซยี น คอื สมาคมประชาชาตแิ หง่ เอเชยี ตะวันออกเฉยี งใต้ ( Association of South East Asian Nations หรอื ASEAN) โดยการจัดตัง้ ในครง้ั แรกมจี ุดประสงค์เพือ่ ส่งเสริมและรว่ มมอื ในเรื่องสันตภิ าพ , ความ มน่ั คง, เศรษฐกิจ , องคค์ วามรู้ , สงั คมวฒั นธรรม บนพ้ืนฐานความเทา่ เทียมกันและผลประโยชน์ร่วมกนั ของ ประเทศสมาชิก อาเซยี น ไดก้ อ่ ต้งั ขึ้นโดย ปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) เมื่อวันท่ี 8 สงิ หาคม พ.ศ. 2510 โดยมีผรู้ ่วมกอ่ ตั้ง 5 ประเทศคือ 1.ไทย โดย พนั เอก (พิเศษ) ถนดั คอมนั ตร์ (รัฐมนตรีตา่ งประเทศ) 2.สงิ คโปร์ โดย นายเอส ราชารตั นมั (รัฐมนตรีตา่ งประเทศ) 3.มาเลเซีย โดย ตุน อบั ดลุ ราชกั บนิ ฮสุ เซน (รองนายกรฐั มนตรี รัฐมนตรกี ลาโหมและรัฐมนตรีกระทรวง พัฒนาการแหง่ ชาติ) 4.ฟลิ ปิ ปนิ ส์ โดย นายนาซโิ ซ รามอส (รฐั มนตรตี า่ งประเทศ) เทศบาลตาบลกงพานพันดอน อาเภอกุมภวาปี จังหวดั อุดรธานี

5.อนิ โดนีเซยี โดย นายอาดมั มาลกิ (รัฐมนตรตี า่ งประเทศ) ต่อมาไดม้ ีประเทศตา่ งๆ เขา้ ร่วมเปน็ สมาชกิ เพม่ิ เตมิ คอื 8 ม.ค.2527 บรูไนดารสุ ซาลาม , 28 ก.ค. 2538 เวยี ดนาม, 23 ก.ค. 2540 สปป.ลาว และ พมา่ , 30 เม.ย. 2542 กัมพชู า ทําให้ปัจจบุ ันมีสมาชิกอาเซียน ทัง้ หมด 10 ประเทศ สัญลกั ษณ์อาเซยี น รูปรวงขา้ วสีเหลอื งบนพื้นสีแดงลอ้ มรอบด้วยวงกลมสขี าวและสนี ํา้ เงนิ -รูปรวงข้าวสีเหลอื ง 10 ตน้ มดั รวมกนั ไว้ หมายถึง ประเทศสมาชิกรวมกนั เพือ่ มติ รภาพและความเป็นน้าํ หนง่ึ ใจเดียวกัน -พืน้ ทว่ี งกลม สแี ดง สขี าว และนาํ้ เงิน ซง่ึ แสดงถึงความเปน็ เอกภาพ -ตัวอักษรคําวา่ “asean” สีน้ําเงนิ อย่ใู ตภ้ าพรวงขา้ วอันแสดงถงึ ความมุ่งมั่นท่จี ะทํางานร่วมกันเพ่ือความ มัน่ คง สนั ตภิ าพ เอกภาพ และความก้าวหน้าของประเทศสมาชกิ อาเซียน สนี ํา้ เงิน หมายถงึ สนั ติภาพและความมน่ั คง สีแดง หมายถึง ความกลา้ หาญ และความก้าวหน้า สีขาว หมายถึง ความบริสุทธิ์ สีเหลือง หมายถงึ ความเจริญรุ่งเรือง อาเซยี น รวมตัวกันเพ่อื ความรว่ มมือกันทางการเมือง ความมัน่ คง เศรษฐกิจ และวฒั นธรรม และได้มี การพัฒนาการเรือ่ ยมา จนถงึ ขณะนท้ี ีเ่ รามกี ฎบัตรอาเซยี น (ธรรมนญู อาเซยี น หรือ ASEAN Charter) ซงึ่ เปน็ เสมอื นแนวทางการดาํ เนินงานทจ่ี ะนาํ ไปสกู่ ารเปน็ ประชาคมอาเซียนซ่ึงประกอบด้วย 3 เสาหลกั คือ 1.การเมืองความมน่ั คง 2.เศรษฐกิจ (AEC) 3.สงั คมและวัฒนธรรม ซึ่งทง้ั หมดนี้กม็ ีพฒั นาการไปดว้ ยกนั โดยเหตทุ คี่ นส่วนใหญ่มักจะพดู ถงึ แต่ AEC ซึ่งก็คอื ด้านเศรษฐกิจ หรอื “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น” คงเป็นเพราะว่าเรื่องเศรษฐกิจเป็นเรือ่ งทด่ี ูจะจับตอ้ งไดม้ ากกวา่ เรือ่ งอนื่ ๆ เทศบาลตาบลกงพานพันดอน อาเภอกุมภวาปี จงั หวดั อุดรธานี

อกี ทงั้ ในการขบั เคล่อื นสว่ นใหญ่แล้วทม่ี กั จะกา้ วไปเร็วกวา่ สว่ นอนื่ ๆ กค็ อื ภาคธรุ กิจ ดังนัน้ คนอาจจะรับร้เู รอ่ื ง AEC มากกว่ามิติความรว่ มมืออนื่ ๆ ของอาเซยี น อยา่ งไรกด็ คี วามร่วมมอื ทง้ั 3 เสาหลกั ของอาเซยี นกม็ ีความสาํ คญั ด้วยกนั ทงั้ ส้นิ เพราะการสรา้ ง ประชาคมอาเซยี นย่อมหมายถึงการร่วมมอื และหลอมรวมกันในทกุ มติ ิ และแต่ละมติ ิก็ล้วนมีความสาํ คญั และ ส่งเสริมซง่ึ กนั และกัน เราคงไมอ่ าจผลกั ดันความรว่ มมอื ทางเศรษฐกิจไดห้ ากปราศจากความม่นั คงทางการเมือง หรอื ความเขา้ ใจกันของคนในอาเซียน ขณะนม้ี ีความเขา้ ใจคลาดเคลือ่ น เรือ่ งการเปิดเสรีแรงงานในอาเซียนจะทําไดอ้ ยา่ งอสิ ระ ตวั อย่างเชน่ แรงงานสามารถขา้ มฝงั่ โขงไปกห็ างานทาํ อกี ประเทศหนึง่ ได้เลย ขอ้ เทจ็ จรงิ ไม่ได้เป็นเช่นน้ัน เพราะการเปิดเสรี ดา้ นแรงงานท่ีอาเซียนไดเ้ จรจากนั ครอบคลุมเฉพาะในสว่ นของแรงงานมีฝีมือ ขณะน้ีอาเซยี นไดจ้ ัดทําข้อตกลง ยอมรับร่วมในคุณสมบตั วิ ชิ าชพี เพยี ง 7 สาขา คอื แพทย์ ทนั ตแพทย์ พยาบาล นกั บัญชี วิศวกร สถาปนกิ และ ชา่ งสาํ รวจ แตก่ ารทแ่ี รงงานมีฝมี อื ใน 7 สาขาดังว่าจะเขา้ มาทาํ งานในประเทศต่างๆ ในอาเซียนได้ จะตอ้ งทํา ตามข้นั ตอนและกฎระเบียบภายในประเทศต่างๆ อยดู่ ี เช่น หากตอ้ งการทํางานในไทยกต็ อ้ งผา่ นการสอบใบ ประกอบวชิ าชีพหรือผ่านขั้นตอนการประเมนิ ตามเงอ่ื นไขภายใต้การกาํ กับดแู ลของหนว่ ยงานทีเ่ ก่ียวขอ้ งของ ไทยเสยี กอ่ น อยา่ งไรก็ตาม ในสว่ นของแรงงานไร้ฝีมือไมอ่ ยใู่ นขอบเขตของการเปดิ เสรดี า้ นบริการอาเซียน ดังน้นั การเปิดเสรีเป็นคนละสว่ นกับปัญหาแรงงานตา่ งดา้ วทว่ั ไป รวมถงึ แรงงานต่างด้าวทลี่ ักลอบเข้าเมืองโดยผดิ กฎหมาย ซงึ่ ในส่วนน้นั ประเทศไทยไดพ้ ยายามรว่ มมือกบั รฐั บาลประเทศเพือ่ นบา้ นเพือ่ แกไ้ ขปญั หาและจัด ระเบียบ เมอื่ ไม่นานมานี้มกี ารสอบถามความตระหนกั ร้ขู องประชาชนใน 10 ประเทศสมาชกิ เก่ียวกบั อาเซยี น ปรากฏวา่ ไทยอยใู่ นอนั ดบั ท้ายๆ ขณะท่ีประเทศสมาชิกใหม่ของอาเซียน ( CLMV) อยา่ ง ลาว กัมพูชา เมยี น มาร์ และเวียดนาม กลับรู้จกั และเห็นความสาํ คญั ของอาเซยี นมากกวา่ เพราะเขาติดตามข่าวสารเก่ียวกับ ประเทศไทย ซอื้ สนิ คา้ ไทย ดลู ะครไทย และเรียนรภู้ าษาไทยกันมากข้นึ คนไทยเป็นคนเก่ง มจี ุดแขง็ และมี ความโดดเด่นหลายด้าน และไมไ่ ด้ดอ้ ยเรอ่ื งความรู้ความสามารถ แต่ยังมีจุดอ่อนอันดบั แรกในเร่อื งของภาษา โดยเฉพาะภาษาอังกฤษซึง่ เป็นภาษาทางการของอาเซียน ซ่งึ ต้องพฒั นาอีกมาก นอกจากน้ี เราตอ้ งหนั มาให้ความสนใจกับประเทศเพ่อื นบ้านอาเซยี นด้วยกนั เองมากข้นึ วา่ ตอนนี้เขา ทําอะไรกัน มีพฒั นาการในเรอ่ื งใด มีความแข็งแกรง่ และมีจดุ ออ่ นในเร่อื งไหน เพราะเมื่อรวมตัวกนั เป็น ประชาคมอาเซียนใน ปี 2558 ประเทศในอาเซยี นจะมกี ารตดิ ตอ่ กันมากขนึ้ ขณะทอ่ี งคก์ รต่างๆในประเทศไทย กต็ ้องพัฒนาความรูแ้ ละตดิ ตามข่าวสารขอ้ มูลเก่ียวกับอาเซยี นใน สาขาทเ่ี ก่ยี วกับตนเอง เพ่อื ให้สามารถรบั มอื กับคู่แขง่ จากอกี 9 ประเทศใหไ้ ด้ จะกอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชน์สูงสดุ กบั คนไทยและประเทศไทยอย่างเตม็ เมด็ เต็มหนว่ ย จงึ อยากใหม้ องวา่ ปี 2558 ที่อาเซยี นจะก้าวสกู่ ารเปน็ ประชาคม ไมไ่ ด้ถอื เป็นจดุ สนิ้ สดุ ของอาเซียน แต่เป็นอีกก้าวหนึง่ ที่สําคัญของอาเซียน และเราจาํ เป็นต้อง ปรบั ตัวเพ่อื ให้เข้ากบั สภาพเศรษฐกิจและสภาพแวดล้อมตา่ งๆ ท่ีเปล่ยี นแปลงไป เทศบาลตาบลกงพานพันดอน อาเภอกมุ ภวาปี จงั หวดั อดุ รธานี

ประเทศอาเซยี น 10 ประเทศ ปจั จุบนั ประเทศในอาเซยี น มอี ยู่ 10 ประเทศ โดยมีข้อมูลของแต่ละประเทศดงั น้ี 1.ประเทศบรูไน ดารุสซาลาม (Brunei Darussalam) เมอื งหลวง : บนั ดาร์ เสรี เบกาวนั ภาษา : ภาษามาเลย์ เปน็ ภาษาราชการ รองลงมาเป็นอังกฤษและจนี ประชากร : ประกอบดว้ ย มาเลย์ 66%, จีน11%,อื่นๆ 23% นบั ถอื ศาสนา : อิสลาม 67%, พทุ ธ 13%, ครสิ ต์ 10% ระบบการปกครอง : ระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธิราชย์ จดุ แขง็ – การเมอื งค่อนข้างม่ันคง – รายไดเ้ ฉลยี่ ตอ่ คนเป็นอนั ดับ 2 ในอาเซียน อนั ดับ 26 ของโลก – ผสู้ ง่ ออกและมปี รมิ าณสํารองนาํ้ มนั อันดับ 4 ในอาเซียน ข้อควรรู้ – ประชาชนของประเทศในกลุ่มอาเซยี นสามารถทําวซี ่าที่ ตม.ที่ประเทศบรไู นฯ สามารถอยู่ได้นาน 2 สปั ดาห์ – ควรหลกี เลย่ี งเสื้อผ้าสเี หลอื ง เพราะถือเปน็ สีของพระมหากษัตริย์ – การทกั ทายจะจับมอื กนั เบาๆ และสตรจี ะไม่ยน่ื มือใหบ้ รุ ษุ จบั – การใชน้ ้ิวชี้ไปทีค่ นหรอื สงิ่ ของถือว่าไมส่ ุภาพ แตจ่ ะใชห้ ัวแมม่ ือชี้แทน – จะไมใ่ ช้มือซา้ ยในการส่งของใหผ้ อู้ ่ืน – สตรีเวลานงั่ จะไมใ่ ห้เท้าชี้ไปทางผู้ชายและไม่สง่ เสยี งหรอื หวั เราะดัง – วนั หยดุ คอื วันศกุ ร์และวนั อาทิตย์, วนั ศุกร์ 12.00-14.00 น.ทุกร้านจะปดิ – จดั งานเย็นต้องจดั หลงั 2 ท่มุ เทศบาลตาบลกงพานพนั ดอน อาเภอกมุ ภวาปี จังหวดั อุดรธานี

2.ประเทศกัมพูชา (Cambodia) เมืองหลวง : กรงุ พนมเปญ ภาษา : ภาษาเขมร เปน็ ภาษาราชการ รองลงมาเปน็ องั กฤษ, ฝร่งั เศส, เวยี ดนามและจนี ประชากร : ประกอบด้วย ชาวเขมร 94%, จีน 4%,อื่นๆ 2% นบั ถือศาสนา : พุทธ(เถรวาท) เปน็ หลกั ระบบการปกครอง : ประชาธปิ ไตยแบบรัฐสภา โดยมี พระมหากษตั ริย์ เป็นประมขุ ภายใต้รฐั ธรรมนญู จดุ แขง็ – ค่าจ้างแรงงานตา่ํ ท่ีสุดในอาเซียน – มีทรพั ยากรธรรมชาติหลากหลายและสมบูรณ์ ขอ้ ควรรู้ – ผูท้ เี่ ดินทางเข้ากัมพูชา และประสงคจ์ ะอยทู่ าํ ธุรกิจเปน็ ระยะเวลาเกนิ 3 เดอื น ควรฉีดยาปอ้ งกันโรคไทฟอยด์ และไวรัสเอและบี – เพื่อนผูช้ ายจบั มอื กนั ถือเปน็ เร่อื งปกติ – ผหู้ ญิงหา้ มแต่งตัวเซก็ ซ่ี, ผชู้ ายไว้ผมยาวจะมภี าพลักษณ์ นักเลง – ห้ามจบั ศรี ษะ คนกัมพูชาถือว่าเปน็ สว่ นสําคญั ที่สดุ ของร่างกาย – สบตามากเกนิ ไป ถอื ว่าไม่ใหเ้ กยี รติ 3.ประเทศอินโดนีเซีย (Indonesia) เมอื งหลวง : จาการ์ตา ภาษา : ภาษาอินโดนเี ซยี เป็นภาษาราชการ ประชากร : ประกอบดว้ ย ชนพ้ืนเมืองหลายกลุม่ มีภาษามากกวา่ 583 ภาษา ร้อยละ 61 อาศยั อยบู่ นเกาะชวา นับถือศาสนา : อสิ ลาม 87%, คริสต์ 10% ระบบการปกครอง : ประชาธปิ ไตยทีม่ ปี ระธานาธิบดเี ป็นประมขุ และหัวหน้าฝ่ายบรหิ าร จุดแขง็ – มขี นาดเศรษฐกจิ ใหญท่ ีส่ ุดในเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใต้ – มีจํานวนประชากรมากทส่ี ดุ ในเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ ขอ้ ควรรู้ – ไมค่ วรใชม้ อื ซ้ายในการรับ-ส่งของ คนมสุ ลมิ อนิ โดนเี ซียถือวา่ มือซ้ายไมส่ ภุ าพ – นยิ มใชม้ ือกินขา้ ว – ไมค่ วรชี้น้ิวดว้ ยนว้ิ ช้ี แตใ่ ชน้ วิ้ โปง้ แทน เทศบาลตาบลกงพานพนั ดอน อาเภอกุมภวาปี จงั หวดั อุดรธานี

– ไม่จับศีรษะคนอินโดนเี ซียรวมทงั้ การลูบศรี ษะเด็ก – การครอบครองยาเสพติด อาวุธ หนงั สือรูปภาพอนาจาร มีบทลงโทษหนัก อาทิ การนาํ เข้าและครอบครอง ยาเสพติดมีโทษถึงประหารชวี ติ – บทลงโทษรุนแรงเก่ียวกับการค้าและส่งออกพืชและสตั ว์กวา่ 200 ชนิด จงึ ควรตรวจสอบก่อนซื้อหรอื นาํ พืช และสตั ว์ออกนอกประเทศ – มอเตอรไ์ ซคร์ ับจ้างมมี เิ ตอร์ – งานศพใส่ชดุ สอี ะไรก็ได้ 4.ประเทศลาว (Laos) เมืองหลวง : นครหลวงเวยี งจันทร์ ภาษา : ภาษาลาว เป็นภาษาราชการ ประชากร : ประกอบดว้ ย ชาวลาวล่มุ 68%, ลาวเทิง 22%, ลาวสูง 9% รวมประมาณ 68 ชนเผา่ นบั ถอื ศาสนา : 75% นบั ถอื พทุ ธ, นับถอื ผี 16% ระบบการปกครอง : สังคมนยิ มคอมมวิ นิสต์ (ทางการลาวใช้คําว่า ระบบประชาธิปไตยประชาชน) จดุ แขง็ – ค่าจ้างแรงงานต่าํ อนั ดบั 2 ในอาเซยี น – การเมืองมเี สถยี รภาพ ขอ้ ควรรู้ – ลาว มตี วั อักษรคล้ายของไทย ทาํ ใหค้ นไทยอ่านหนังสอื ลาวไดไ้ ม่ยากนกั ส่วนคนลาวอา่ นหนังสือไทยได้คล่อง มาก – ลาวขับรถทางขวา – ติดตอ่ ราชการต้องนงุ่ ซิ่น – เดินผา่ นผู้ใหญ่ ต้องกม้ หัว – ถ้าเพื่อนคนลาวเชิญไปพักทบี่ า้ นหา้ มใหเ้ งนิ – อยา่ ซือ้ น้ําหอมให้กัน – ที่ถูกตอ้ งคนลาวทีใ่ ห้พกั ต้องแจง้ ผใู้ หญบ่ ้าน – เขา้ บ้านต้องถอดรองเทา้ และถ้าเขาเสริ ฟ์ น้าํ ต้องดม่ื 5.ประเทศมาเลเซีย (Malaysia) เมืองหลวง : กรงุ กัวลาลัมเปอร์ ภาษา : ภาษามาเลย์ เปน็ ภาษาราชการ รองลงมาเปน็ องั กฤษและจีน เทศบาลตาบลกงพานพันดอน อาเภอกุมภวาปี จงั หวัดอดุ รธานี

ประชากร : ประกอบด้วย มาเลย์ 40%, จนี 33%, อินเดยี 10%, ชนพน้ื เมืองเกาะบอรเ์ นยี ว 10% นับถือศาสนา : อสิ ลาม 60%, พทุ ธ 19%, ครสิ ต์ 11% ระบบการปกครอง : ประชาธปิ ไตยในระบบรัฐสภา จดุ แขง็ – มีปริมาณสํารองน้ํามันมากเป็นอันดบั 3 ในเอเชียแปซฟิ คิ – มีปริมาณก๊าซธรรมชาติมากเป็นอนั ดบั 2 ในเอเชียแปซิฟคิ ข้อควรรู้ – ผู้ท่ีนบั ถือศาสนาอิสลามจะไดร้ บั สทิ ธิพิเศษ คือ เงนิ อดุ หนุนทางด้านการศกึ ษา สาธารณสขุ การคลอดบุตร งานแต่งงานและงานศพ – มาเลเซียมีปัญหาประชากรหลากหลายเชือ้ ชาติ ชาตพิ ันธใุ์ นมาเลเซยี ประกอบด้วยชาวมาเลย์ กว่ารอ้ ยละ 40 ทเ่ี หลืออีกกว่าร้อยละ 33 เปน็ ชาวจีนร้อยละ10 เปน็ ชาวอินเดยี และ อกี ร้อยละ 10 เปน็ ชนพืน้ เมืองบนเกาะ บอร์เนียว – ใชม้ ือขวาเพยี งข้างเดยี วในการรบั ประทานอาหาร และรบั สง่ ของ – เครือ่ งดม่ื แอลกอฮอล์เปน็ เร่ืองตอ้ งหา้ ม 6.ประเทศเมียนมาร์ หรอื พมา่ (Myanmar) เมอื งหลวง : เนปดี อ (Naypyidaw) ภาษา : ภาษาพม่า เปน็ ภาษาราชการ ประชากร : ประกอบด้วยเผ่าพันธุ์ 135 มี 8 เช้ือชาติหลักๆ 8 กล่มุ คอื พม่า 68% , ไทยใหญ่ 8% , กระเหรย่ี ง 7%, ยะไข่ 4% จีน 3% มอญ 2% อนิ เดีย 2% นับถือศาสนา : นับถือพุทธ 90%, คริสต์ 5% อสิ ลาม 3.8% ระบบการปกครอง : เผด็จการทางทหาร ปกครองโดยรฐั บาลทหารภายใต้สภาสันตภิ าพและการพัฒนาแหง่ รฐั จดุ แขง็ – มพี รมแดนเชอื่ มต่อกบั จีน และอินเดยี – คา่ จ้างแรงงานตา่ํ เปน็ อันดับ 3 ในอาเซียน – มีปรมิ าณก๊าซธรรมชาตเิ ป็นจํานวนมาก ข้อควรรู้ – ไม่ควรพูดเร่ืองการเมอื ง กบั คนไม่คุ้นเคย – เขา้ วดั ตอ้ งถอดรองเท้า ถงุ เทา้ – ห้ามเหยียบเงาพระสงฆ์ – ให้นามบตั รตอ้ งยนื่ ใหส้ องมอื – ไมค่ วรใส่กระโปรงส้ัน กางเกงขาส้นั ในสถานทีส่ าธารณะและ ศาสนสถาน – ผหู้ ญิงชอบทาทะนาคา (ผู้ชายกท็ าด้วย) ผ้ชู ายชอบเคยี้ วหมาก เทศบาลตาบลกงพานพนั ดอน อาเภอกมุ ภวาปี จังหวัดอุดรธานี

7.ประเทศฟิลิปปนิ ส์ (Philippines) เมอื งหลวง : กรุงมะนลิ า ภาษา : ภาษาฟิลิปโิ น และภาษาองั กฤษ เปน็ ภาษาราชการ รองลงมาเป็น สเปน , จนี ฮกเกยี้ น , จีนแตจ้ วิ๋ ฟิลปิ ปนิ ส์ มีภาษาประจําชาติคอื ภาษาตากาลอ็ ก ประชากร : ประกอบดว้ ย มาเลย์ 40%, จีน33%, อนิ เดีย 10%, ชนพืน้ เมืองเกาะบอร์เนียว 10% นับถอื ศาสนา : ครสิ ตโ์ รมนั คาทอลิก 83% คริสตน์ กิ ายโปรเตสแตนต์, อิสลาม 5% ระบบการปกครอง : ประชาธปิ ไตยแบบประธานาธิบดีเป็นประมุขและหัวหนา้ ฝ่ายบริหาร จดุ แขง็ – แรงงานท่วั ไป กม็ ีความรสู้ ื่อสารภาษาองั กฤษได้ ข้อควรรู้ – การเข้าไปประกอบธุรกจิ ในฟิลิปปินส์ในลักษณะตา่ งๆ เช่น การลงทนุ รว่ มกบั ฝ่ายฟิลปิ ปนิ ส์จาํ เป็นต้องมี การศึกษาขอ้ มลู ให้ละเอยี ด โดยเฉพาะในด้านกฎหมาย การจดทะเบียนภาษี และปญั หาทางด้านแรงงาน เปน็ ตน้ – เทา้ สะเอว หมายถงึ ทา้ ทาย, เลิกคิ้ว หมายถึง ทักทาย – ใชป้ ากชีข้ อง – กินขา้ วบ้านเพอ่ื นสามารถหอ่ กลบั ได้ แตค่ วรมีของฝากใหเ้ ขาด้วย – ตกแต่งบา้ น 2 เดอื น ต้อนรับครสิ ต์มาส 8.ประเทศสงิ คโปร์ (Singapore) เมืองหลวง : สงิ คโปร์ ภาษา : ภาษามาเลย์ เปน็ ภาษาราชการ รองลงมาคอื จนี กลาง ส่งเสรมิ ให้พดู ได้ 2 ภาษาคอื จีนกลาง และให้ใช้ อังกฤษ เพือ่ ติดตอ่ งานและชวี ติ ประจําวนั ประชากร : ประกอบด้วยชาวจีน 76.5%, มาเลย์ 13.8%, อินเดยี 8.1% นบั ถอื ศาสนา : พุทธ 42.5%, อิสลาม 14.9%, คริสต์ 14.5%, ฮินดู 4%, ไม่นับถือศาสนา 25% ระบบการปกครอง : สาธารณรัฐ (ประชาธปิ ไตยแบบรัฐสภา มสี ภาเดียว) โดยมปี ระธานาธิบดีเปน็ ประมุข และ นายกรัฐมนตรเี ปน็ หวั หน้าฝา่ ยบรหิ าร จุดแข็ง – รายไดเ้ ฉลย่ี ต่อคน เปน็ อันดบั 1 ในอาเซียน และอนั ดับ 15 ของโลก – แรงงานมที ักษะสูง เทศบาลตาบลกงพานพันดอน อาเภอกมุ ภวาปี จงั หวดั อุดรธานี

ขอ้ ควรรู้ – หน่วยราชการเปดิ ทําการวนั จันทร์ – ศกุ ร์ ระหวา่ งเวลา 08.30 น.-13.00 น. และ 14.00 น. – 16.30 น. และวันเสาร์ เปิดทาํ การระหว่างเวลา 08.00 น. – 13.00 น. – การหลบหนีเขา้ สิงคโปร์และประกอบอาชพี เร่ขายบริการผดิ กฎหมาย จะถูกลงโทษอยา่ งรนุ แรง – การลักลอบนาํ ยาเสพตดิ อาวธุ ปืนและส่ิงผิดกฎหมายอน่ื ๆ จะไดร้ ับโทษอย่างรนุ แรงถงึ ขน้ั ประหารชีวิต – ขึน้ บนั ไดเลอื่ นใหช้ ิดซา้ ย – หา้ มทิ้งขยะเร่ยี ราด, ห้ามเกบ็ ผลไมใ้ นทส่ี าธารณะ – ผสู้ ูงอายุทํางาน ถอื เป็นเร่ืองปกติ 9.ประเทศเวยี ดนาม (Vietnam) เมอื งหลวง : กรุงฮานอย ภาษา : ภาษาเวียดนาม เปน็ ภาษาราชการ ประชากร : ประกอบดว้ ยชาวเวยี ด 80%, เขมร 10% นับถอื ศาสนา : พทุ ธนกิ ายมหายาน 70%, ครสิ ต์ 15% ระบบการปกครอง : ระบบสังคมนยิ ม โดยพรรคคอมมิวนสิ ต์เป็นพรรคการเมืองเดยี ว จดุ แขง็ – มปี รมิ าณสํารองนาํ้ มันดิบมากเป็นอันดบั 2 ในเอเชียแปซิฟิค ข้อควรรู้ – หนว่ ยงานราชการ สาํ นกั งาน และองค์กรให้บริการสาธารณสุข เปดิ ทําการระหว่างเวลา 08.00 น. – 16.30 น. ต้งั แตว่ นั จันทร์ – ศุกร์ – เวยี ดนามไม่อนญุ าตใหถ้ า่ ยภาพอาคารทที่ าํ การต่างๆ ของรัฐ – คดียาเสพติดการฉอ้ โกงหนว่ ยงานของรัฐมีโทษประหารชีวติ – ตกี ลองแทนออดเขา้ เรียน – ชุดนักเรยี นหญงิ เปน็ ชุดอา่ วหญา่ ย – คนภาคเหนอื ไมท่ านนํ้าแขง็ – ไมถ่ า่ ยรปู 3 คนอย่างเดด็ ขาด เพราะถอื วา่ จะทาํ ใหเ้ บ่ือกนั หรอื แยกกนั หรอื ใครคนใดเสยี ชวี ติ – ต้องเชิญผู้ใหญก่ อ่ นทานขา้ ว 10.ประเทศไทย (Thailand) เมอื งหลวง : กรุงเทพมหานคร เทศบาลตาบลกงพานพนั ดอน อาเภอกมุ ภวาปี จงั หวดั อุดรธานี

ภาษา : ภาษาไทย เปน็ ภาษาราชการ ประชากร : ประกอบด้วยชาวไทยเปน็ สว่ นใหญ่ นบั ถือศาสนา : พทุ ธนิกายเถรวาท 95%, อสิ ลาม 4% ระบบการปกครอง : ระบบประชาธปิ ไตยแบบรฐั สภา อนั มพี ระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมุข จดุ แข็ง – เป็นศูนย์กลางเชอ่ื มโยงคมนาคมด้านต่างๆ ในภมู ภิ าคอาเซียน – มีแหล่งท่องเทย่ี วทางธรรมชาตแิ ละวฒั นธรรมท่มี ชี อ่ื เสียง ขอ้ ควรรู้ – ไปศาสนสถานควรแต่งกายเรียบร้อย, ก่อนเขา้ อุโบสถต้องถอดรองเทา้ – หา้ มพระสงฆส์ ัมผสั สตรี – สถาบันพระมหากษตั ริย์เป็นทเ่ี คารพสกั การะ การละเมิดใดๆ ถอื เปน็ ความผิดตามรฐั ธรรมนญู – ทกั ทายกนั ดว้ ยการไหว้ – ถือว่าเท้าเป็นของต่าํ ไมค่ วรพาดบนโต๊ะ หรือเกา้ อ้ี หรอื หนั ทศิ ทางไปที่ใคร – ธงชาติถือเป็นของสูง ไม่ควรนํามากระทาํ การใดๆท่เี ปน็ การเหยียดหยาม – การแสดงออกทางเพศในทส่ี าธารณะ ยงั ไมไ่ ด้รบั การยอมรบั ในวัฒนธรรมไทย AEC BLUEPRINT สําหรบั เสาหลกั การจดั ตงั้ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น (ASEAN Economic Community หรอื AEC ) ภายในปี 2558 เพ่ือใหอ้ าเซียนมกี ารเคลอื่ นย้ายสนิ ค้า บรกิ าร การลงทนุ แรงงานฝมี อื อย่างเสรี และเงนิ ทุนท่ี เสรีขนึ้ ต่อมาในปี 2550 อาเซยี นไดจ้ ดั ทําพมิ พ์เขยี วเพอ่ื จดั ต้ังประชาคมเศรษฐกจิ อาเซียน ( AEC Blueprint) เป็นแผนบรู ณาการงานด้านเศรษฐกิจให้เห็นภาพรวมในการมุง่ ไปสู่ AEC ซึ่งประกอบดว้ ยแผนงานเศรษฐกจิ ใน ดา้ น ตา่ ง ๆ พรอ้ มกรอบระยะเวลาทีช่ ดั เจนในการดําเนนิ มาตรการตา่ ง ๆ จนบรรลเุ ปา้ หมายในปี 2558 รวมท้ังการให้ความยืดหยุน่ ตามท่ีประเทศสมาชิกได้ตกลงกนั ลว่ งหนา้ เพือ่ สรา้ งพนั ธสญั ญาระหว่างประเทศ สมาชิกอาเซียน อาเซยี นได้กําหนดยุทธศาสตร์การกา้ วไปสปู่ ระชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น ทส่ี ําคญั ดังน้ี 1. การเป็นตลาดและฐานการผลติ เดยี วกัน 2.การเปน็ ภูมภิ าคท่ีมีขดี ความสามารถในการแข่งขันสงู 3. การเปน็ ภูมิภาคท่มี กี ารพฒั นาทางเศรษฐกจิ ทเ่ี ท่าเทยี มกัน และ 4. การเป็นภมู ภิ าคท่ีมีการบูรณาการเขา้ กับเศรษฐกิจโลก โดยมรี ายละเอียดแยกตามหัวขอ้ ดงั นี้ 1. การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียวกนั การเปน็ ตลาดและฐานการผลิตเดียวกัน เป็นยุทธศาสตรส์ ําคญั ของการจัดตัง้ ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซยี น ซงึ่ จะทาํ ให้อาเซียนมีความสามารถในการแขง่ ขนั สงู ขน้ึ โดยอาเซียนได้กําหนดกลไกและมาตรการใหม่ ๆ ท่จี ะช่วยเพม่ิ ประสิทธภิ าพการดําเนนิ มาตรการด้านเศรษฐกิจทมี่ อี ยูแ่ ล้ว เร่งรัดการรวมกลุ่มเศรษฐกจิ ใน เทศบาลตาบลกงพานพนั ดอน อาเภอกุมภวาปี จงั หวัดอุดรธานี

สาขาทีม่ ีความสาคัญลาํ ดับแรก อํานวยความสะดวกการเคลือ่ นยา้ ยบคุ คล แรงงานฝมี อื และผู้เช่ียวชาญ และ เสรมิ สร้างความเข้มแขง็ ของกลไกสถาบนั ในอาเซยี น การเป็นตลาดและฐานการผลติ เดียวกนั ของอาเซียน มี 5 องค์ประกอบหลกั คอื (1) การเคลือ่ นย้ายสนิ ค้าเสรี (2) การเคลอ่ื นย้ายบริการเสรี (3) การเคล่อื นย้ายการลงทนุ เสรี (4) การเคลอ่ื นยา้ ยเงินทนุ เสรีข้นึ (5) การเคลอื่ นยา้ ยแรงงานฝีมอื เสรี ท้งั นี้ อาเซยี นได้กาํ หนด 12 สาขาอุตสาหกรรมสําคญั ลาํ ดบั แรกอยู่ภายใตต้ ลาดและฐานการผลติ เดียวกนั ของอาเซยี น ไดแ้ ก่ เกษตร ประมง ผลติ ภณั ฑ์ยาง ผลิตภัณฑไ์ ม้ สงิ่ ทอและเคร่ืองนุ่งหม่ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ ยานยนต์ การขนสง่ ท างอากาศ สขุ ภาพ e-ASEAN ท่องเที่ยว และโลจสิ ตกิ ส์ รวมทง้ั ความรว่ มมอื ในสาขา อาหาร เกษตรและป่าไม้ การเป็นตลาดสนิ คา้ และบริการเดยี วจะช่วยสนบั สนนุ การพัฒนาเครือขา่ ยการผลติ ในภมู ิภาค และ เสรมิ สรา้ งศักยภาพของอาเซียนในการเปน็ ศนู ย์กลางการผลิตของโลก และเป็นส่วนหนึ่งของห่วงโซ่อุปทานโลก โดยประเทศสมาชกิ ไดร้ ่วมกันดาํ เนินมาตรการตา่ ง ๆ ที่จะชว่ ยเพมิ่ ขดี ความสามารถแข่งขนั ของอาเซียน ได้แก่ยกเลกิ ภาษศี ลุ กากรให้หมดไป ทยอยยกเลกิ อุปสรรคทางการคา้ ที่มิใช่ภาษี ปรับประสานพธิ กี ารดา้ น ศลุ กากรให้เป็นมาตรฐานเดียวกันและงา่ ยขน้ึ ซึง่ จะชว่ ยลดต้นทุนธรุ กรรม เคลื่อนยา้ ยแรงงานฝีมือเสรี นัก ลงทุนอาเซยี นสามารถลงทุนไดอ้ ยา่ งเสรีในสาขาอุตสาหกรรมและบริการท่ปี ระเทศสมาชกิ อาเซียนเปดิ ให้ เปน็ ต้น 2. การเปน็ ภูมิภาคท่มี ีความสามารถในการแข่งขัน เปา้ หมายสําคญั ของการรวมกลมุ่ ทางเศรษฐกจิ ของอาเซยี น คอื การสร้างภมู ิภาคที่มีความสามารถใน การแข่งขันสงู มคี วามเจรญิ รุ่งเรือง และมเี สถยี รภาพทางเศรษฐกิจ ภูมภิ าคท่มี ีความสามารถในการแขง่ ขนั มี 6 องค์ประกอบหลกั ได้แก่ (1) นโยบายการแข่งขัน ( 2) การ คมุ้ ครองผูบ้ ริโภค (3) สิทธใิ นทรัพยส์ ินท างปัญญา ( IPR) (4) การพัฒนาโครงสร้างพนื้ ฐาน ( 5) มาตรการดา้ น ภาษี (6) พาณชิ ยอ์ เิ ล็กทรอนิกส์ ประเทศสมาชิกอาเซยี นมขี ้อผูกพันที่จะนาํ กฎหมายและนโยบายการแขง่ ขันมาบังคบั ใช้ ภายในประเทศ เพอ่ื ทาํ ให้เกิดการแข่งขนั ท่เี ท่าเทียมกันและสรา้ งวฒั นธรรมการแขง่ ขนั ของภาคธุรกจิ ทเ่ี ปน็ ธรรม นาํ ไปสกู่ ารเสรมิ สร้างการขยายตัวทางเศรษฐกิจในภมู ภิ าคในระยะยาว 3. การเปน็ ภูมิภาคท่ีมีการพัฒนาทางเศรษฐกิจทีเ่ ทา่ เทียมกัน การพฒั นาทางเศรษฐกิจทเี่ ทา่ เทยี มกนั มี 2 องคป์ ระกอบ คอื (1) การพฒั นาวสิ าหกจิ ขนาดกลางและ ขนาดย่อม (SME) (2) ความริเร่ิมในการรวมกลุ่มของอาเซียน (Initiatives for ASEAN Integration: IAI) ความ ริเริม่ ดังกลา่ วมจี ดุ มุ่งหมายเพอ่ื ลดชอ่ งว่างการพัฒนา ทง้ั ในระดับ SME และเสริมสรา้ งการรวมกลุ่มของกมั พูชา ลาว พม่า และเวียดนาม ใหส้ ามารถดาเนนิ การตามพนั ธกรณีและเสริมสรา้ งความสามารถในการแข่งขนั ของ อาเซยี น รวมทัง้ เพือ่ ให้ประเทศสมาชิกอาเซยี นทุกประเทศได้รบั ประโยชนจ์ ากการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ 4. การเปน็ ภูมิภาคทมี่ กี ารบูรณาการเข้ากบั เศรษฐกจิ โลก เทศบาลตาบลกงพานพันดอน อาเภอกุมภวาปี จงั หวดั อุดรธานี

อาเซียนอย่ใู นทา่ มกลางสภาพแวดลอ้ มที่มกี ารเชือ่ มตอ่ ระหวา่ งกนั และมีเครือข่ายกบั โลกสงู โดยมี ตลาดท่พี ึง่ พากนั และอตุ สาหกรรมระดับโลก ดังน้นั เพอ่ื ใหภ้ าคธุรกจิ ของอาเซียนสามารถแขง่ ขนั ไดใ้ นตลาด ระหว่างประเทศ ทาํ ใหอ้ าเซยี นมีพลวัตรเพิม่ ข้ึนและเปน็ ผูผ้ ลติ ของโลก รวมทั้งทําให้ตลาดภายในยงั คงรกั ษา ความน่าดงึ ดดู การลงทุนจากต่างประเทศ อาเซยี นจงึ ตอ้ งมองออกไปนอกภมู ิภาค อาเซียนบรู ณาการเข้ากบั เศรษฐกิจโลก โดยดาํ เนิน 2 มาตรการคอื ( 1) การจัดทําเขตการคา้ เสรี ( FTA) และ ความเป็นหุ้นสว่ นทางเศรษฐกจิ อย่างใกลช้ ิด (CEP) กับประเทศนอกอาเซยี น (2) การมสี ่วนร่วมในเครือข่ายหว่ ง โซอ่ ปุ ทานโลก กฎบัตรอาเซยี น (ASEAN CHARTER) หรือธรรมนูญอาเซียน กฎบัตรอาเซียน เปรยี บเสมือนรฐั ธรรมนูญของอาเซยี นท่จี ะทําให้อาเซยี นมีสถานะเปน็ นติ ิบคุ คล เป็น การวางกรอบทางกฎหมายและโครงสร้างองคก์ รใหก้ บั อาเซยี น โดยนอกจากจะประมวลสิ่งทีถ่ ือเป็นค่านิยม หลกั การ และแนวปฏิบตั ใิ นอดตี ของอาเซียนมาประกอบกันเปน็ ขอ้ ปฏิบตั อิ ยา่ งเป็นทางการของประเทศสมาชกิ แลว้ ยงั มกี ารปรับปรงุ แกไ้ ขและสร้างกลไกใหมข่ นึ้ พรอ้ มกาํ หนดขอบเขตหนา้ ทีค่ วามรับผดิ ชอบขององคก์ รที่ สําคัญในอาเซยี นตลอดจนความสมั พนั ธ์ในการดําเนนิ งานขององค์กรเหลา่ น้ี ใหส้ อดคลอ้ งกบั ความ เปล่ยี นแปลงในโลกปัจจบุ ัน เพ่อื เพิ่มประสทิ ธิภาพของอาเซียนใหส้ ามารถดําเนนิ การบรรลตุ ามวตั ถุประสงค์ และเปา้ หมายโดยเฉพาะอยา่ งยิง่ การขบั เคล่อื นการรวมตวั ของประชาคมอาเซียน ให้ไดภ้ ายในปี พ.ศ. 2558 ตามท่ผี ้นู าํ อาเซียนได้ตกลงกันไว้ ท้ังนผี้ ู้นาํ อาเซยี นไดล้ งนามรับรองกฎบัตรอาเซยี น ในการประชุมสุดยอดยอดเซียน ครั้งที่ 13เมื่อวนั ที่ 20 พฤศจกิ ายน 2550 ณ ประเทศสิงคโปร์ ในโอกาสครบรอบ 40 ของการก่อตงั้ อาเซียน แสดงให้เหน็ วา่ อาเซยี นกาํ ลังแสดงใหป้ ระชาคมโลกได้เห็นถงึ ความก้าวหนา้ ของอาเซยี นท่ีกาํ ลงั จะกา้ วเดนิ ไปดว้ ยกันอยา่ ง ม่ันใจระหวา่ งประเทศสมาชิกตา่ ง ๆ ทงั้ 10 ประเทศ และถือเปน็ เอกสารประวตั ศิ าสตร์ชิน้ สาํ คญั ท่จี ะ ปรบั เปลีย่ นอาเซียนใหเ้ ป็นองคก์ รทมี่ สี ถานะเป็นนติ ิบคุ คลในฐานะทีเ่ ป็นองคก์ รระหว่างรัฐบาล ประเทศสมาชกิ ไดใ้ ห้สตั ยาบันกฎบัตรอาเซียน ครบทงั้ 10 ประเทศแลว้ เมื่อวนั ที่ 15 พฤศจกิ ายน2551 กฎบตั รอาเซียนจึงมผี ล ใชบ้ งั คับตง้ั แตว่ ันที่ 15 ธ.ค. 2551 เป็นต้นไป วัตถุประสงคข์ องกฎบัตรอาเซียน วัตถปุ ระสงค์ของกฎบตั รอาเซยี น คอื ทําให้อาเซยี นเป็นองคก์ รทีม่ ีประสทิ ธิภาพ มีประชาชนเปน็ ศนู ยก์ ลาง และเคารพกฎกตกิ าในการทํางานมากขนึ้ นอกจากน้ี กฎบัตรอาเซียนจะให้สถานะนติ บิ ุคคลแก่ อาเซียนเปน็ องค์กรระหว่างรัฐบาล (intergovernmental organization) โครงสรา้ งและสาระสาคญั ของกฎบตั รอาเซียน กฎบัตรอาเซยี น ประกอบด้วยบทบัญญตั ิ 13 หมวด 55 ข้อ ไดแ้ ก่ หมวดที่ 1 ความมงุ่ ประสงคแ์ ละหลักการของอาเซยี น หมวดที่ 2 สภาพบคุ คลตามกฎหมายของอาเซยี น เทศบาลตาบลกงพานพนั ดอน อาเภอกมุ ภวาปี จงั หวดั อุดรธานี

หมวดที่ 3 สมาชกิ ภาพ (รัฐสมาชกิ สิทธิและพนั ธกรณีของรฐั สมาชิก และการรับสมาชกิ ใหม่ หมวดที่ 4 โครงสรา้ งองค์กรของอาเซียน หมวดที่ 5 องค์กรท่มี ีความสัมพนั ธก์ ับอาเซยี น หมวดท่ี 6 การคมุ้ กนั และเอกสิทธ์ิ หมวดที่ 7 กระบวนการตัดสินใจ หมวดท่ี 8 การระงบั ข้อพิพาท หมวดที่ 9 งบประมาณและการเงนิ หมวดที่ 10 การบริหารและขั้นตอนการดําเนินงาน หมวดที่ 11 อัตลักษณ์และสัญลักษณข์ องอาเซียน หมวดท่ี 12 ความสมั พนั ธ์กบั ภายนอก หมวดที่ 13 บทบญั ญตั ิทั่วไปและบทบญั ญัติสุดทา้ ย กฎบัตรอาเซยี นชว่ ยใหอ้ าเซยี นทํางานได้อยา่ งมปี ระสิทธิภาพมากข้ึน เสริมสรา้ งกลไกการติดตาม ความตกลงต่างๆ ให้มีผลเปน็ รูปธรรม และผลกั ดนั อาเซียนให้เปน็ ประชาคมเพือ่ ประชาชนอย่างแทจ้ ริง กฎบตั รอาเซยี นชว่ ยใหอ้ าเซียนทาํ งานไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพมากขึน้ ไดอ้ ย่างไร มขี ้อกําหนดใหมๆ่ ท่ี ช่วยปรับปรุงโครงสรา้ งการทํางานและกลไกต่างๆ ของอาเซียนใหม้ ีประสทิ ธิภาพมากขึน้ และเพิม่ ความยดื หยนุ่ ในการแก้ไขปญั หา เชน่ 1. กาํ หนดใหเ้ พมิ่ การประชุมสดุ ยอดอาเซียนจากเดมิ ปีละ 1 คร้ัง เป็นปลี ะ 2 ครั้ง เพอื่ ใหผ้ ้นู ํามโี อกาส หารอื กันมากขึน้ พรอ้ มทงั้ แสดงให้เหน็ ถงึ เจตจาํ นงทางการเมืองท่ีจะผลักดันอาเซยี นไปสู่การรวมตัวกนั เปน็ ประชาคมในอนาคต 2. มกี ารตั้งคณะมนตรปี ระจาํ ประชาคมอาเซยี นตามเสาหลักท้งั 3 ดา้ น คือ การเมืองความมน่ั คง เศรษฐกิจ สังคมและวฒั นธรรม 3. กําหนดใหป้ ระเทศสมาชิกแตง่ ต้ังเอกอคั รราชทตู ประจาํ อาเซยี นไปประจาํ ท่กี รุงจาการ์ตา ซง่ึ ไม่ เพยี งแตจ่ ะแสดงใหเ้ ห็นถงึ ความต้งั ใจแนวแนข่ องอาเซียนท่จี ะทํางานร่วมกนั อย่างใกลช้ ดิ เพื่อมุง่ ไปสู่การรวมตวั กนั เป็นประชาคมอาเซยี นในอนาคต และยังชว่ ยลดค่าใชจ้ า่ ยในการเดินทางไปร่วมประชุมและเพ่ือเพม่ิ ประสิทธิภาพในการประสานงานระหว่างประเทศสมาชิก เทศบาลตาบลกงพานพนั ดอน อาเภอกุมภวาปี จังหวดั อดุ รธานี

4. หากประเทศสมาชกิ ไมส่ ามารถตกลงกนั ได้โดยหลักฉันทามติ ให้ใชก้ ารตัดสินใจรูปแบบอ่ืนๆ ได้ ตามท่ผี นู้ าํ กําหนด 5. เพม่ิ ความยืดหยนุ่ ในการตีความหลกั การไม่แทรกแซงกิจการภายใน โดยมีขอ้ กําหนดว่าหากเกิด ปัญหาที่กระทบต่อผลประโยชน์สว่ นร่วมของอาเซยี น หรอื เกิดสถานการณฉ์ ุกเฉิน ประเทศสมาชิกต้องหารอื กัน เพ่อื แกป้ ัญหา และกําหนดใหป้ ระธานอาเซียนเสนอวิธีการแก้ไขปญั หาดังกลา่ ว กฎบัตรอาเซยี นจะเสริมสรา้ งกลไกการติดตามความตกลงต่างๆ ให้มผี ลเป็นรูปธรรมไดอ้ ยา่ งไร กฎบัตรอาเซยี นสร้างกลไกตรวจสอบและติดตามการดาํ เนินการตามความตกลงต่างๆ ของประเทศ สมาชิกในหลากหลายรปู แบบ เช่น 1. ให้อาํ นาจเลขาธกิ ารอาเซยี นดแู ลการปฏบิ ัตติ ามพันธกรณีและคาํ ตัดสินขององคก์ รระงบั ข้อพพิ าท 2. หากการปฏิบตั ิหรอื ไม่ปฏบิ ัตติ ามขอ้ ตกลงต่างๆ ทําใหเ้ กดิ ข้อพิพาทระหวา่ งรฐั สมาชิกสามารถใช้ กลไกและขน้ั ตอนระงับขอ้ พิพาททง้ั ที่มีอย่แู ล้ว และทจ่ี ะต้งั ขึ้นใหม่เพ่ือแก้ไขข้อพพิ าทท่เี กิดข้ึนโดยสันตวิ ธิ ี 3. หากมกี ารละเมดิ พันธกรณใี นกฎบตั รฯ อย่างรา้ ยแรง ผ้นู ําอาเซยี นสามารถกาํ หนดมาตรการใดๆ ที่ เหมาะสมว่าจะดาํ เนนิ การอย่างไรตอ่ รัฐผลู้ ะเมดิ พนั ธกรณีกฎบตั รอาเซียนชว่ ยใหอ้ าเซยี นเปน็ ประชาคมเพื่อ ประชาชนไดอ้ ย่างไรขอ้ บทตา่ งๆ ในกฎบัตรอาเซียนแสดงให้เห็นว่าอาเซียนกาํ ลงั ผลักดนั องค์กรให้เป็น ประชาคมเพ่ือประชาชนอย่างแทจ้ รงิ จึงกาํ หนดให้การลดความยากจนและลดชอ่ งวา่ งการพัฒนาเป็นเป้าหมาย หนง่ึ ของอาเซียนกฎบัตรอาเซียนเปิดโอกาสให้ภาคประชาชนและภาคประชาสังคมเขา้ มามสี ว่ นร่วมในอาเซยี น ผา่ นการมปี ฏสิ มั พันธก์ บั องคก์ รตา่ งๆ ของอาเซยี นมากขน้ึ ทงั้ ยังกําหนดใหม้ คี วามรว่ มมือระหว่างอาเซียนกบั สมัชชารฐั สภาอาเซยี น ซงึ่ เป็นองค์กรความร่วมมือระหว่างรฐั สภาของประเทศสมาชกิ กาํ หนดใหม้ กี ารจัดตั้ง กลไกสทิ ธิมนุษยชนของอาเซยี น เพอื่ สง่ เสรมิ และคมุ้ ครองสทิ ธิมนษุ ยชนและสิทธิขั้นพนื้ ฐานของประชาชน ความสาคัญของกฎบตั รอาเซียนต่อประเทศไทย กฎบัตรอาเซียน ใหค้ วามสําคัญกับการปฏบิ ัติตามพันธกรณตี ่างๆ ของประเทศสมาชกิ ซึ่งจะช่วยสร้าง เสริมหลักประกันให้กับไทยว่า จะสามารถได้รับผลประโยชนต์ ามทต่ี กลงกนั ไว้อย่างเตม็ เมด็ เตม็ หน่วย นอกจากน้ี การปรบั ปรุงการดําเนินงานและโครงสร้างองค์กรของอาเซียนให้มปี ระสทิ ธภิ าพมากขึ้น และการ เสรมิ สร้างความร่วมมอื ในทงั้ 3 เสาหลักของประชาคมอาเซยี นจะเป็นฐานสําคัญทจี่ ะทําใหอ้ าเซียนสามารถ ตอบสนองต่อความตอ้ งการและผลประโยชนข์ องรัฐสมาชกิ รวมท้งั ยกสถานะและอํานาจต่อรอง และ ภาพลกั ษณข์ องประเทศสมาชิกในเวทรี ะหว่างประเทศได้ดีย่งิ ขน้ึ ซงึ่ จะเออื้ ใหไ้ ทยสามารถผลกั ดนั และไดร้ ับ ผลประโยชน์ดา้ นตา่ งๆ เพิม่ มากขน้ึ ด้วย ตวั อย่างเชน่ – อาเซียนขยายตลาดใหก้ บั สินค้าไทยจากประชาชนไทย 60 ลา้ นคน เปน็ ประชาชนอาเซียนกว่า 550 ล้านคน ประกอบกับการขยายความรว่ มมอื เพอ่ื เช่อื มโยงโครงสร้างพน้ื ฐาน เช่น เส้นทางคมนาคม ระบบไฟฟา้ โครงข่ายอนิ เตอร์เนต็ ฯลฯ จะช่วยเพม่ิ โอกาสทางการค้าและการลงทนุ ให้กบั ไทย เทศบาลตาบลกงพานพันดอน อาเภอกมุ ภวาปี จงั หวดั อุดรธานี

นอกจากนี้ อาเซยี นยังเป็นทง้ั แหล่งเงนิ ทุนและเปา้ หมายการลงทนุ ของไทย และไทยได้เปรียบประเทศ สมาชกิ อ่ืนๆ ทีม่ ที ี่ตั้งอยู่ใจกลางอาเซยี น สามารถเปน็ ศนู ยก์ ลางทางการคมนาคมและขนส่งของประชาคม ซึ่งมี การเคลือ่ นย้ายสินค้า บรกิ าร และบุคคล ระหว่างประเทศสมาชิกที่สะดวกขนึ้ – อาเซยี นช่วยส่งเสรมิ ความร่วมมือในภูมภิ าคเพือ่ เผชญิ กบั ภยั คกุ คามทส่ี ง่ ผลกระทบต่อประชาชนโดยตรง เช่น SARs ไข้หวดั นก การคา้ มนุษย์ ภยั พิบัตทิ างธรรมชาติ หมอกควัน ยาเสพติดปญั หาโลกร้อน และปัญหาความ ยากจน เป็นตน้ – อาเซียนจะช่วยเพิ่มอํานาจตอ่ รองของไทยในเวทโี ลก และเป็นเวทที ่ีไทยสามารถใช้ในการผลักดันให้มกี าร แกไ้ ขปัญหาของเพ่ือนบ้านทก่ี ระทบมาถงึ ไทยดว้ ย เชน่ ปัญหาพม่า ในขณะเดยี วกันความสัมพนั ธ์พหุภาคใี น กรอบอาเซยี นจะเกอ้ื หนนุ ความสัมพันธข์ องไทยในกรอบทวิภาคี เชน่ ความร่วมมอื กบั มาเลเซียในการแกไ้ ข ปัญหา 3 จังหวดั ชายแดนใต้ดว้ ย แหลง่ ที่มา: http://www.thai-aec.com/ เทศบาลตาบลกงพานพนั ดอน อาเภอกุมภวาปี จงั หวัดอดุ รธานี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook