Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน

การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน

Published by Kunasin Chutinun, 2022-03-29 06:24:47

Description: การอธิบายเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานจากการค้นคว้าหากผิดพลาดประการใดต้องขอภัยไว้ ณ ที่นี้
คุณาสิน ชุตินันท์

Keywords: Problem Baesed-Learning,Learning,Education,PBL

Search

Read the Text Version

Problem Based - Learning : PBL การจัดการเรียนรู้ แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน - คุณาสิน ชุตินันท์ -

คำนำ รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา MAP4405 สัมมนาการศึกษาคณิตศวสตร์เพื่อเป็นประโยชน์แก่ นักศึกษาวิชาชีพครู สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มาหาวิทยาลัย ราชภัฏสวนสุนันทา ที่จะศึกษาเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แบบ ใช้ปัญหาเป็นฐาน(Problem Based-Learning) อันจะนับ ได้ว่าเป็นองค์ความรู้หรือสาขาวิชาที่น่าสนใจในการจัดการ เรียนรู้วิชาคณิตศาสตร์ ซึ่งผู้จัดทำจัดทำขึ้นเพื่อรวบรวมองค์ ความรู้ และนำสิ่งที่ได้จากการศึกษาค้นคว้ามาประยุกต์ใช้กับ การทำงานใน ฐานะครู นั่นก็คือการนำมาใช้ประโยชน์ในด้าน การจัดการเรียนการสอน ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายฉบับนี้จะเป็นประโยชน์แก่ นักศึกษาวิชาชีพครูสาขาวิชา คณิตศาสตร์ทุกคน รวมไปถึงผู้ ที่สนใจใฝ่ศึกษาหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองอยู่เสมอ หาก รายงานเล่มนี้มี ข้อบกพร่องประการใด ผู้จัดทำขออภัยไว้ ณ โอกาสนี้ด้วย - คุณาสิน ชุตินันท์ - ผู้จัดทำ

TABLE OF CONTENTS CHAPTER01 : INTRODUCTION 2 ความหมายของการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็ นฐาน 3 ลักษณะสำคัญของการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็ นฐาน 5 ขั้นตอนของการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็ นฐาน CHAPTER02 : PROBLEM IS IMPORTANT 9 หลักการออกแบบปัญหาสำหรับการจัดการเรียนรู้ CHAPTER03 : TEACHER'S DUTIES 11 บทบาทของครูในการจัดการเรียนรู้ 13 การวัดและประเมินผลของการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็ นฐาน

ion01 CHAPTER01 แ น ะ นำ เ กี่ ย ว กั บ ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้แบบใช้ปัญหาเป็ นฐาน introduct 01

ความหมายของการจัดการเรียนรู้ แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน What is the Problem Based - Learning ปัญหา กระบวนการ องค์ความรู้ กระบวนการ การแก้ปัญหา ทำงานกลุ่ม ทำงานกลุ่ม รูปแบบการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นจากแนวคิดตามทฤษฎี การเรียนรู้แบบสร้างสรรค์นิยม(Constructivism) โดยให้ ผู้เรียนสร้างความรู้ใหม่ จากการใช้ปัญหาที่เกิดขึ้นในบริบทจริง เป็นเครื่องมือในการช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ตามเป้าหมาย ผ่านทางกระบวนการทำงานกลุ่มการสืบค้นกระบวนการทำ ความเข้าใจและแก้ไขปัญหาด้วยเหตุผลเชื่อมโยงความรู้ที่มีอยู่ เดิม ให้ผสมผสานกับข้อมูลใหม่ แล้วประมวลเป็นความรู้ใหม่ -2-

ลักษณะสำคัญของการจัดการเรียนรู้ แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน The Aspect of Problem Based - Learning 1) ต้องมีสถานการณ์ที่เป็นปัญหา และเริ่มต้นการจัด กระบวนการเรียนรู้ด้วยการใช้ปัญหาเป็นตัวกระตุ้นให้ เกิดกระบวนการเรียนรู้ 2) ปัญหาที่นำมาใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ ควรเป็น ปัญหาที่เกิดขึ้นพบเห็นได้ในชีวิตจริงของผู้เรียน ต้องมี ลักษณะคลุมเครือไม่ชัดเจน มีวิธีแก้ไขปัญหาได้อย่าง หลากหลายอาจมีคำตอบได้หลายคำตอบ 3) ให้นักเรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้อย่างแท้จริง (Student Centered Learning) 4) ผู้เรียนเรียนรู้โดยการนำตนเอง (Self-Directed Learning) ค้นหาและแสวงหาความรู้ด้วย ตนเอง ดังนั้น ผู้เรียนจึงต้องวางแผนการเรียนรู้ด้วย ตนเอง บริหารเวลาเอง คัดเลือกวิธีการเรียนรู้ และ ประสบการณ์การเรียนรู้ รวมทั้ง ประเมินการเรียนรู้ -3-

ลักษณะสำคัญของการจัดการเรียนรู้ แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (ต่อ) The Aspect of Problem Based - Learning 5) ผู้เรียนเรียนรู้เป็นกลุ่มย่อย เป็นการพัฒนาทักษะการแก้ ปัญหาด้วยเหตุผล ฝึกให้ผู้เรียนมีทักษะในการรับส่งข้อมูล เรียนรู้เกี่ยวกับความแตกต่างระหว่างบุคคล และฝึกการจัด ระบบตนเองเพื่อพัฒนาความสามารถในการทำงานร่วมกัน เป็นกลุ่ม 6) การเรียนรู้มีลักษณะการบูรณาการความรู้ และบูรณาการ ทักษะกระบวนการต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เรียนได้รับความรู้และคำ ตอบที่กระจ่างชัดเจน 7) ความรู้ที่เกิดจากการเรียนรู้ จะได้มาหลังจากผ่านกระบวนการ เรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานแล้วเท่านั้น 8) ครูทำหน้าที่ เป็นผู้อำนวยความสะดวก (Facilitator) หรือผู้ ให้คำแนะนำ (Guide) ครูมีการจัดสภาพการณ์ให้นักเรียน เผชิญปัญหา 9) การประเมินผลเป็นการประเมินผลจากสภาพจริง โดยพิจารณาจากการปฏิบัติงานความก้าวหน้าของผู้เรียน -4-

ขั้นตอนของการจัดการเรียนรู้ แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน The procedure of Problem Based - Learning การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานไม่จำกัดการสร้างขั้น ตอนการจัดการเรียนรู้แต่ขั้นตอนจะต้องเกิดกิจกรรมต่อไปนี้ Clarifying unfamiliar terms การทำความเข้าในส่วนต่าง ๆ ที่ไม่คุ้นเคยหรือ แปลกใหม่ Problem definition การนิยามปัญหาหรือการรับรู้ว่ามีปัญหาอะไรเกิด ขึ้นและอะไรขัดขวางต่อการแก้ปัญหา Brainstorm การระดมสมองหรือการระดมความคิด Analyzing the problem การวิเคราะห์ปัญหา Formulating learning issue การสร้างจุดมุ่งหมายทางการเรียน หรือองค์ความรู้ ที่ใช้ในการแก้ปัญหา -5-

ขั้นตอนของการจัดการเรียนรู้ แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (ต่อ) The procedure of Problem Based - Learning Self-study การสืบค้นข้อมูลหรือการค้นคว้า Reporting การรายงานผลหรือการนำเสนอผลงาน ผู้จัดทำขอเสนอขั้นตอนการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหา เป็นฐานที่คิดค้นจากการสืบค้นในหน้าถัดไปโดยแสดงเป็น แผนภาพเป็นขั้นตอนเพื่อสะดวกต่อการจัดการเรียนรู้ -6-

ขั้นเตรียม ครูศึกษาแผนการสอน เนื้อหา และจุดประสงค์ การสอน ครูกำหนดกิจกรรมที่จะให้นักเรียนปฏิบัติเป็นขั้นตอน ตามลำดับ ขั้นดำเนินการ สอน -7- 1. กำหนดปัญหา Clarifying unfamiliar 2. ทำความเข้าใจปัญหา terms 3. ดำเนินการค้นคว้า Problem definition 4. สังเคราะห์ความรู้ Brainstorm 5. สรุปและประเมินค่าของคำตอบ Analyzing the problem 6. นำเสนอและประเมินผลงาน Formulating learning issue Self-study Reporting ขั้นประเมินผล ประเมินผลการทำงานของนักเรียน ประเมินผลการจัดการเรียนรู้เพื่อ พัฒนา แก้ไข ปรับปรุงครั้งต่อไป

02 Important CHAPTER02 ปัญหาคือส่ วนสำคัญ Problem is 02

หลักการออกแบบปัญหา สำหรับการจัดการเรียนรู้ Problem Design Principles การวิเคราะห์หลักสูตรเพื่อกำหนดมโนทัศน์หลัก ของโจทย์ปัญหาเพื่อการกำหนดเนื้อหาและทักษะ กำหนดวัตถุประสงค์การเรียนรู้ในโจทย์ปัญหาต้อง ระบุคำสำคัญ (Key words) ในมโนทัศน์หลัก การเตรียมแหล่งข้อมูลและแหล่งค้นคว้า สร้างประเด็นคำถามในการเรียนรู้ เขียนโจทย์ ปัญหาที่กระตุ้นผู้เรียน การตรวจสอบโจทย์ปัญหามีความเหมาะสมหรือไม่ กำหนดกลยุทธ์ในการประเมินผล -9-

Duties03 CHAPTER03 ครูอยู่ส่ วนไหนของห้องเรียน Teacher's 03

บทบาทของครูในการจัดการเรียนรู้ teacher's duties Assessment + Evaluation Flexible thinking Comment Design + Motivate Facilitate + Support - 11 -

บทบาทของครูในการจัดการเรียนรู้ (ต่อ) teacher's duties 1) ออกแบบและกระตุ้นความสนใจของนักเรียนใน กระบวนการจัดการเรียนรู้ 2) เป็นผู้อำนวยความสะดวกในการเรียน แนะนำ ช่วยขยาย แนวคิดเตรียมสื่อการเรียนรู้แนะนำแหล่งการเรียนรู้ และ เอกสารทางวิชาการต่าง ๆ แนะนำนักเรียนโดยอยู่ห่าง ๆ ในขณะที่นักเรียนดำเนินกระบวนการเรียนรู้จนได้คำตอบ ของปัญหาออกมาแต่ไม่ใช่การบอกคำตอบโดยตรง 3) ร่วมแสดงความคิดเห็นหรือตกแต่งรายละเอียดของผล การแก้สถานการณ์ปัญหาของนักเรียน 4) มีความยืดหยุ่นและพร้อมรับแนวคิดในการแก้ปัญหาที่ หลากหลายของนักเรียน 5) ให้กำลังใจในการค้นคว้าแก่นักเรียน และประเมินผลการ เรียนรู้ในรูปแบบที่เหมาะสมกับหลักการและแนวคิดของ การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน - 12 -

การวัดและประเมินผลของ การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน The Assessment and Evaluation Knowledge Authentic Assessment Summative Assessment Formative Assessment Skill Attitude วิธีการวัดและประเมินการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็น ฐานว่าควรกำหนดวิธีการประเมินผลที่เป็นการประเมินผลตาม ภาพจริงโดยจะต้องประเมินผลความก้าวหน้า และประเมินผล รวม ซึ่งจะต้องครอบคลุมทั้ง เนื้อหา ทักษะกระบวนการ และ เจตคติ เมื่อจัดการเรียนรู้เรียบร้อยครูผู้สอนก็ต้องมีการ ประเมินผลนักเรียน ครู และปัญหาที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ เพื่อวิเคราะห์ ปรับปรุง และพัฒนาเพื่อให้การจัดการเรียนรู้ใน ครั้งถัดไปเกิดประสิทธิภาพตามที่คาดหวัง - 13 -

บรรณานุกรม กนิษฐา ศิริวงษ์ขันธ์. (2560). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอน แบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมทักษะ กระบวนการทางคณิตศาสตร์สำหรับนักเรียนระดับประถม ศึกษา(วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ฆนัท ธาตุทอง. (2554). สอนคิด : การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการ คิด. กรุงเทพฯ : เพชรเกษมการพิมพ์. ชวาล แพรัตกุล. (2520). เทคนิคการวัดผล. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพ ฯ : วัฒนาพานิช. ทัศน์ศรี เสมียนเพชร. (2552). การสร้างโจทย์ปัญหาในการเรียนรู้ แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน, จุลสารPBL จุลสารวลัยลักษณ์, ปีที่2 (มกราคม 2552 ฉบับที่ 1), 5-6. ทิศนาแขมณี. (2551).ศาสตร์การสอน:องค์ความรู้เพื่อการจัด กระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ.พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. นันธิยา ไชยสะอาด. (2557). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็นฐานที่มีต่อทักษะการแก้ปัญหา และทักษะการเชื่อม โยงทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา. - 14 -

บรรณานุกรม นภสร เรือนโรจน์รุ่ง. (2558) การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็น ฐานเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทักษะการแก้ปัญหา คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน และเจตคติต่อการเรียนวิชา คณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ปฏิพัฒน์ ติดทะ. (2559). การใช้การเรียนรู้ที่เน้นปัญหาเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมการเข้าถึงคณิตศาสตร์และ ความเข้าใจเชิงมโน มติทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 . เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. พิชิต ฤทธิ์จรูญ. 2555. การวิจัยทางการบริหารการศึกษาเพื่อ พัฒนาคุณภาพการศึกษา. วิทยาลัยการฝึกหัดครู กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. ไพศาล สุวรรณน้อย. (2558). การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning: PBL). ในมหาวิทยาลัย ขอนแก่น, เอกสารประกอบการบรรยายโครงการพัฒนาการ เรียนการสอน. (น.1-10). ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ภัทราวดี มากมี. (2558). การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-based Learning). ใน กองบรรณาธิการวารสาร EAU Heritage(บ.ก.), วารสารมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย. (น.7-14). นครนายก:มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย. ยุพิน พิพิธกุล. (2545). การเรียนการสอนคณิตศาสตร์ยุคปฏิรูป การศึกษา. กรุงเทพฯ: บพิทการพิมพ์. - 15 -

บรรณานุกรม ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุคส์พับลิเคชั่นส์ รุสดา จะปะเกีย. (2558). ผลของการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหา เป็นฐาน ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาชีววิทยาและความ พึงพอใจในการจัดการเรียนรู้ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6. (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต). สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ วิชุดา วงศ์เจริญ. (2561). การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ร่วมกับเทคโนโลยีเสมือนจริง เพื่อพัฒนาทักษะการคิด วิเคราะห์และทักษะการคิดแก้ปัญหาสำหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. วิมล วงษ์ใหญ่. (2561). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา คณิตศาสตร์ เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน ร่วมกับเทคนิคการจัดทีมแข่งขัน(วิทยานิพนธ์ปริญญามหา บัณฑิต). สงขลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา. วัฒนา. รัตนพรหม. (2548). \"การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก\", ศึกษาศาสตร์ปริทัศน์. 20(1) : 33-34. วันวิสาข์ สุมล. (2559). การสร้างชุดการสอนคณิตศาสตร์ เรื่อง ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์โดยใช้รูปแบบปัญหาเป็น ฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3(วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี. - 16 -

บรรณานุกรม ศิริชัย กาญจนวาสี. (2552). ทฤษฎีการทดสอบแบบดั้งเดิม, พิมพ์ ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ศศิธร แม้นสงวน. (2556). พฤติกรรมการสอนคณิตศาสตร์2. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง. สมนึก ภัททิยธนี. (2553). การวัดผลการศึกษา. มหาสารคาม : ภาควิชาวิจัยและพัฒนาการศึกษาคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สุเทพ พงศ์ศรีวัฒน์. (2548). ภาวะผู้นำ ทฤยฎีและปฏิบัติ ศาสตร์ และศิลป์สู่ความเป็นผู้นำที่สมบูรณ์. เชียงราย: มหาวิทยาลัย ราชกัฎเชียงราย. สุวิษา ไกรฉวี. (2560). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับการเรียนรู้แบบโครงงานชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3. มหาสารคาม:มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. - 16 -

Problem Based - Learning : PBL การจัดการเรียนรู้ แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน นายคุณาสิน ชุตินันท์ E-mail : [email protected] Facebook : Kunasin Chutinun


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook