Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 - รูปทั่วไปของฟังก์ชั้นกำลังสอง

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 - รูปทั่วไปของฟังก์ชั้นกำลังสอง

Published by Kunasin Chutinun, 2022-07-27 08:22:18

Description: ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ สามารถนำไปอ้างอิงสร้างแผนการจัดการเรีนรู้ได้แต่ควรปรับให้เหมาะแก่ผู้เรียนของตนเอง และหากผิดพลาดประการใดขออภัยไว้ ณ ที่นี้
นายคุณาสิน ชุตินันท์ ผู้จัดทำ

Keywords: Maths,Quadratic Function,Parabola Equation

Search

Read the Text Version

วช.9 แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 8 หน่วยการเรียนร้ทู ่ี 3 ฟงั ก์ชันกำลงั สอง เร่อื ง รปู ท่ัวไปของฟงั ก์ชนั กำลงั สอง กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ รายวชิ า คณิตศาสตร์พน้ื ฐาน 5 รหสั วิชา ค23111 ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2565 เวลา 4 ช่ัวโมง ครูผูส้ อน นายคณุ าสิน ชตุ ินันท์ โรงเรยี นวิมุตยารามพทิ ยากร 1. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ช้วี ัด ค 1.2 ม.3/2 เข้าใจและใช้ความรเู้ กี่ยวกบั ฟงั กช์ ันกำลังสองในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ 2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 2.1 อธิบายบทนิยามของฟงั ก็ชนั กำลังสองได้ (K) 2.2 ระบคุ ่า a, b และ c ของฟังก็ชนั กำลังสองทก่ี ำหนดให้ได้ (K) 2.3 เขียนระบลุ ักษณะและส่วนประกอบทส่ี ำคัญของฟังก็ชันกำลังสองได้ (P) 2.4 เขยี นอธิบายความแตกต่างของฟงั ก็ชนั ทีก่ ำหนดใหไ้ ด้ (P) 2.5 นกั เรียนแสดงพฤตกิ รรมมีนำ้ ใจ แบง่ ปนั ช่วยเหลอื ผู้อ่ืนโดยไมห่ วงั ผลตอบแทน (A) 3. สาระสำคญั 3.1 ฟังก์ชัน คือ ความสัมพันธข์ องปริมาณ x และปริมาณ y โดยที่ ปรมิ าณ xแต่ละคา่ จะมปี รมิ าณ y ที่สอดคล้องกันเพยี ง 1 ค่า ในกรณที ี่ f เป็นความสัมพันธท์ ีเ่ ป็นฟงั กช์ นั และค่าของ y ขน้ึ อยูก่ ับค่าของ x จะ เขียนแทนดว้ ย y = f(x) และเรยี ก f(x) วา่ ค่าของฟงั กช์ ัน f ที่ x 3.2 ฟังก์ชันกำลังสอง คือ ฟังก์ชนั ทอ่ี ยูใ่ นรูป y = ax + bx + c หรือf(x) = ax2 + bx + c เม่ือ a, b, c เปน็ คา่ คงตวั และ a ≠ 0 มกี ราฟเปน็ พาราโบลา 4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 4.1 นักเรียนมคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยี 5. คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 5.1 มจี ิตสาธารณะ 6. ภาระงาน /ชน้ิ งาน 6.1 แบบฝึกหัดที่ 8 เรื่องฟังก์ชันกำลังสอง 6.2 ใบงานที่ 4 เร่อื งฟงั กช์ ันกำลงั สอง

วช.9 7. การวดั ผลและประเมนิ ผลการเรยี นรู้/ภาระงาน การประเมินระหว่างเรียน - ปฏิสัมพนั ธร์ ะหว่างครูผูส้ อนกับนักเรียนขณะข้นั สอน - การตอบคำถามและความร่วมมอื ของนักเรยี นทีม่ ีต่อตวั อย่างและคำถามท่คี รูผ้สู อนกล่าว เป้าหมาย หลักฐาน วธิ วี ัด เครอ่ื งมือวัด เกณฑก์ ารวดั ตวั ช้ีวัด (วชิ าพืน้ ฐาน) - ตรวจแบบฝึกหดั - แบบฝกึ หัดท่ี 8 - นกั เรียนทำ เขา้ ใจและใช้ความรเู้ กีย่ วกบั - แบบฝึกหัดท่ี 8 และใบงาน เร่ืองฟังกช์ ันกำลัง แบบฝกึ หดั และใบ ฟงั กช์ ันกำลังสองในการ เรอ่ื งฟังกช์ ันกำลงั สอง งานถกู ต้องมากกวา่ แกป้ ัญหาคณิตศาสตร์ สอง - ตรวจแบบฝึกหดั - ใบงานท่ี 4 เรอ่ื ง รอ้ ยละ 50 ผ่าน - ใบงานที่ 4 เร่อื ง และใบงาน ฟังกช์ ันกำลังสอง เกณฑ์ ฟงั กช์ นั กำลงั สอง - นกั เรียนทำ - ครูผ้สู อน - แบบฝกึ หดั ที่ 8 แบบฝกึ หดั และใบ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ สงั เกตกุ ารใช้ เร่อื งฟังก์ชนั กำลงั งานถกู ต้องมากกวา่ เทคโนโลยีของ สอง ร้อยละ 50 ผ่าน - อธิบายบทนิยามของฟงั ก็ - แบบฝึกหดั ท่ี 8 - ใบงานที่ 4 เร่อื ง เกณฑ์ ฟังก์ชนั กำลงั สอง ชันกำลงั สองได้ (K) เรื่องฟังก์ชนั กำลัง - เมอื่ แปลผล - แบบสงั เกต คุณภาพพฤติกรรม - ระบคุ ่า a, b และ c ของฟัง สอง พฤติกรรม ก็ชนั กำลังสองท่กี ำหนดใหไ้ ด้ - ใบงานท่ี 4 เรอื่ ง (K) - เขยี นระบุลักษณะและ ฟงั กช์ นั กำลงั สอง สว่ นประกอบที่สำคญั ของฟัง กช็ นั กำลงั สองได้ (P) - เขียนอธิบายความแตกต่าง ของฟงั ก็ชนั ที่กำหนดให้ได้ (P) - นักเรยี นแสดงพฤตกิ รรมมี น้ำใจ แบ่งปนั ช่วยเหลอื ผ้อู ่ืน โดยไมห่ วังผลตอบแทน (A) สมรรถนะสำคญั - นักเรียนมีความสามารถใน - แบบสงั เกตุ การใช้เทคโนโลยี พฤติกรรม

วช.9 เป้าหมาย หลักฐาน วิธวี ดั เครอ่ื งมอื วัด เกณฑก์ ารวดั นักเรยี นท่ใี ชส้ ำหรบั ของนักเรียนไมต่ ่ำ การหาคำตอบและ กว่าระดับพอใช้ ประเมินคำตอบ คุณลักษณะอนั พึงประสงค์ - แบบสงั เกตุ - ครูผู้สอนสงั เกตุ - แบบสังเกต - เม่ือแปลผล - มีจติ สาธารณะ พฤติกรรม พฤติกรรมนกั เรียนที่ พฤติกรรม คณุ ภาพพฤติกรรม แสดงถงึ การคิดอย่าง ของนักเรยี นไม่ต่ำ รอบคอบ มีคุณธรรม กวา่ ระดับพอใช้ และมเี หตุผล การประเมินมื้อสน้ิ สดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ - ตรวจแบบฝกึ หดั ท่ี 8 เรื่องฟังกช์ ันกำลังสอง - ตรวจใบงานที่ 4 เรื่องฟังกช์ ันกำลังสอง 8. กระบวนการจดั การเรียนรู้ คาบที่ 1 ชั้นนำเข้าสู่บทเรียน 8.1 ครูผู้สอนทบทวนนักเรยี นเกีย่ วกับเรือ่ งความหมายของฟงั กช์ ัน ความสัมพนั ธข์ องปริมาณ x และ ปรมิ าณ y โดยท่ี ปริมาณ xแต่ละคา่ จะมปี รมิ าณ y ที่สอดคล้องกนั เพียง 1 คา่ ในกรณีท่ี f เปน็ ความสัมพันธท์ ่ี เป็นฟงั ก์ชนั และค่าของ y ข้นึ อยกู่ ับค่าของ x จะเขยี นแทนดว้ ย y = f(x) และเรียก f(x) ว่า ค่าของฟงั กช์ ัน f ท่ี x ผ่านการการทำกจิ กรรมเคร่ืองกลฟงั ก์ชัน กจิ กรรมเครอ่ื งกลฟังก์ชนั 1. ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งคา่ x และ y ของเคร่ืองจักรฟังก์ชนั น้ี สามารถเขยี นให้อย่ใู นรปู สมการ ได้เป็น y = x 2 2.

วช.9 ความสมั พันธ์ระหว่างค่า x และ y ของเครื่องจักรฟังก์ชันนี้ สามารถเขียนให้อยูใ่ นรูปสมการ ได้เปน็ y = x2 ข้ันสอน 8.2 ครูผู้สอนอธบิ ายถึงความเปน็ ฟังก์ชนั และสอนผู้เรียนจำแนกว่า จากความสัมพันธท์ ่ีกำหนดเปน็ ฟังกช์ ันหรอื ไม่ โดยความสัมพันธท์ ่ีกำหนดนน้ั จะเปน็ ฟงั ก์ชนั้ กต็ ่อเมอื่ ค่า x 1 คา่ ไดผ้ ลลัพธ์ y 1 คา่ ผ่านและทำ ตัวอย่างพร้อมความเขา้ ใจว่าสามารถเขียน y = f(x) ได้ ตัวอย่างท่ี 1 1) y = 2x + 1 จะเหน็ ได้ว่าไม่วา่ จะแทน x ด้วยอะไรกไ็ ด้ค่า y เพียงคา่ เดยี ว ดงั น้นั y = 2x + 1 เป็นฟงั ก์ชัน เราจะเขยี นแทนได้ว่า f(x) = 2x + 1 2) y2 = x หากแทน x เป็น 9 จะเห็นได้วา่ y สามารถเป็น 3 และ – 3 ได้ ดงั น้นั y2 = x ไมเ่ ป็นฟังก์ชัน 8.3 ครูผู้สอนใหภ้ าระงานเปน็ แบบฝกึ หดั ที่ 8 ฟงั กช์ นั กำลังสอง แบบฝกึ หดั ท่ี 8 ฟังกช์ ันกำลังสอง จากความสมั พนั ธข์ ้างต้นเปน็ ฟังก์ชันหรือไม่ 1) y = x2 - 1 จะทดลองแทนค่า x เปน็ อะไรก็จะได้ค่า y 1 ค่า ดงั นั้น y = x2 – 1 เปน็ ฟังกช์ ัน สามารถเขยี นแทนได้วา่ f(x) = x2 – 1 2) y = 20 – x2 จะทดลองแทนคา่ x เป็นอะไรก็จะได้ค่า y 1 ค่า ดังนน้ั y = x2 – 1 เปน็ ฟังกช์ ัน สามารถเขยี นแทนไดว้ ่า f(x) = 20 – x2 ขนั้ สรุป 8.4 ครูผู้สอนสรปุ องคค์ วามรู้เกยี่ วกบั ความเป็นฟังก์ชันว่าสามารถแยกแยะได้อยา่ งไร คาบท่ี 2 ช้นั นำเข้าสู่บทเรยี น 8.4 ครูทบทวนเกยี่ วกบั การเป็นฟังกช์ ันของความสมั พนั ธว์ ่าถ้าความสมั พันธ์นัน้ เป็นฟังก์ชันจะสามารถ เขยี นแทนไดอ้ ย่างไรผา่ นตัวอยา่ ง ตัวอย่างที่ 2 1) y = 2x + 1 จะทดลองแทนคา่ x เปน็ อะไรก็จะไดค้ ่า y 1 ค่า ดังนน้ั y = x2 – 1 เปน็ ฟังกช์ ัน สามารถเขยี นแทนได้ว่า f(x) = 2x + 1

วช.9 2) y = 3x2 + 1 จะทดลองแทนค่า x เปน็ อะไรก็จะไดค้ ่า y 1 คา่ ดงั นนั้ y = x2 – 1 เป็นฟังก์ชัน สามารถเขียนแทนได้ว่า f(x) = 3x2 + 1 ขั้นสอน 8.5 ครผู ู้สอนอธบิ ายเก่ียวกบั รปู ทวั่ ไปของฟังก์ชนั กำลงั สองโดยรปู ทัว่ ไปคือ รปู y = ax + bx + c หรอื f(x) = ax2 + bx + c เมื่อ a, b, c เปน็ คา่ คงตวั และ a ≠ 0 8.6 ครผู ู้สอนให้นักเรยี นจำแนกความสมั พันธท์ ก่ี ำหนด ว่าเปน็ ฟงั กช์ นั กำลังสองหรือไม่ และคา่ ของ a b และ c คืออะไร แบบฝกึ หดั ท่ี 8 ฟังก์ชนั กำลังสอง 1) y = 2x2 + x + 3 จะเห็นไดว้ ่าตรงกบั รูปท่ัวไปของฟังกช์ ันกำลังสอง ดังนั้น y = 2x2 + x + 3 เป็นฟงั ก์ชันกำลังสอง และ a = 2, b = 1, c= 3 2) y = 4x + 1 เห็นไดว้ า่ ดีกรีของตวั แปรมากทส่ี ุดคือ 1 ดงั นน้ั y = 4x + 1 ไมเ่ ปน็ ฟังก์ชนั กำลงั สออง 3) y = 3x2 + 4 จะเหน็ ไดว้ า่ ตรงกับรูปทว่ั ไปของฟังกช์ นั กำลังสอง ดงั นั้น y = 2x2 + x + 3 เปน็ ฟังก์ชนั กำลงั สอง และ a = 3, b = 0, c= 4 ข้ันสรปุ 8.7 ครูผูส้ อนสรูปถงึ องค์ความรทู้ ไ่ี ด้ในคาบเก่ียวกบั การจำแนกฟังกช์ นั กำลงั สอง และคา่ a b และ c ทอ่ี ยใู่ นรปู ท่วั ไปของฟังกช์ นั กำลงั สอง คาบท่ี 3 ชน้ั นำเข้าส่บู ทเรยี น 8.8 ครูผู้สอนทบทวนเก่ียวกบั รูปทวั่ ไปของฟังกช์ นั กำลังสอง y = ax + bx + c หรือf(x) = ax2 + bx + c เมื่อ a, b, c เป็นคา่ คงตวั และ a ≠ 0 และหาคา่ a b และ c ผา่ นการทำตวั อย่าง ตวั อยา่ งท่ี 3 1) f(x) = 2x2 - 3x + 1 จะเห็นได้วา่ ตรงกับรปู ทวั่ ไปของฟังก์ชนั กำลังสอง ดังน้ัน f(x) = 2x2 - 3x + 1 เป็นฟงั ก์ชนั กำลังสอง และ a = 2, b = -3, c= 1 ข้นั สอน 8.9 ครูผสู้ อนให้นกั เรียนโหลดโปรแกรม Desmos ในโทรศัพท์ เพื่อนำไปใช้ในการวิเคราะห์หรือ ตรวจสอบการวาดกราฟของฟังก์ชันกำลงั สอง

วช.9 8.10 ครผู สู้ อนให้นกั เรยี นลองวาดกราฟจากฟังกช์ นั กำลังสองโดยการพล็อตกราฟทลี ะจดุ จากการแทน คา่ x แลว้ ได้ค่า y ผา่ นตัวอย่างและเมื่อทำเสรจ็ กต็ รวจดว้ ยโปรแกรม Desmosและอธิบายถงึ กราฟที่ไดค้ ือ กราฟพาราโบลา แบบฝึกหดั ที่ 8 ฟังกช์ นั กำลังสอง 1) y = x2 x -2 -1 0 1 2 y41014 2) y = - x2 + 2x x -3 -2 -1 0 1 y -3 0 1 0 -3 ขัน้ สรุป 8.11 ครผู ้สู อนสรปุ ความร้ทู ่ีไดใ้ นคาบเก่ียวกบั ฟังก์ชนั กำลงั สองและกราฟทไี่ ดจ้ ากฟังก์ชันนั้นคอื กราฟ พาราโบลา คาบที่ 4 ชั้นนำเข้าสบู่ ทเรียน 8.12 ครผู สู้ อนทบทวนความเปน็ ฟังกช์ ันกำลังสองว่าเพราะอยใู่ นรปู ทว่ั ไป y = ax + bx + c หรอื f(x) = ax2 + bx + c เม่อื a, b, c เปน็ คา่ คงตวั และ a ≠ 0 ขน้ั สอน 8.13 ครูผู้สอนใหภ้ าระงานใบงานทีใ่ บงานที่ 4 ฟังก์ชนั กำลังสองซ่ึงเปน็ ใบงานการจำแนกฟงั ก์ชันกำลงั สองและการวาดกราฟ พาราโบลา ใบงานที่ 4 ฟังก์ชันกำลังสอง

วช.9 จากฟังกช์ ันทกี่ ำหนดเป็นฟงั ก์ชนั กำลังสองหรอื ไม่ หากเปน็ คา่ ของ a b และ c มีคา่ เทา่ ไร พรอ้ มวาด กราฟของฟงั ก์ชนั 1) y = (2x - 1)2 y = (2x - 1)2 ......................... ฟังกช์ นั กำลงั สอง ............................................................................ ............................................................................ ............................................................................ ............................................................................ x y 2) y = 2x – 7 y = 2x – 7 ......................... ฟงั กช์ ันกำลงั สอง ............................................................................ ............................................................................ ............................................................................ ............................................................................ x y 3) y = 3x2 y = 3x2 ......................... ฟงั ก์ชนั กำลังสอง ............................................................................ ............................................................................ ............................................................................ ............................................................................ x y

วช.9 4) y = 2x2 + 1 y = 2x2 + 1......................... ฟงั ก์ชันกำลงั สอง ............................................................................ ............................................................................ ............................................................................ ............................................................................ x y ข้นั สรปุ 8.14 ครผู ู้สอนสรปุ ความร้ทู ่ีได้จากใบงานท่ี 4 ฟังก์ชันกำลังสอง ซ่ึงเก่ียวกับการจำแนกว่าเปน็ ฟังกช์ ัน กำลังสอง และหาคา่ a b และ c กราฟพาราโบลา 9. สอื่ การเรียนรู้/อุปกรณ์/แหลง่ การเรยี นรู้ 9.1 หนังสอื เรียนรายวชิ าพืน้ ฐาน ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 เล่ม 1 9.2 แบบฝกึ หดั ที่ 8 เร่ืองฟังก์ชนั กำลังสอง 9.4 ใบงานท่ี 4 เร่อื งฟังกช์ ันกำลงั สอง 9.3 หอ้ งสมุดโรงเรียนวิมตุ ยารามพทิ ยากร

วช.9 10. บนั ทกึ หลงั แผนการจดั การเรยี นรู้ 1) ผลการจัดการเรียนรู้ 1.1) ผูเ้ รยี นท่ีผ่านตัวชี้วัด มจี ำนวน ............ คน คิดเป็นรอ้ ยละ ............... 1.2) ผเู้ รียนท่ีไมผ่ ่านตัวชว้ี ัด มีจำนวน ............. คน คดิ เปน็ ร้อยละ ............... 1. .............................................. สาเหตุ ...................................................................... ........ 2. .............................................. สาเหตุ .............................................................................. แนวทางแกป้ ัญหา ................................................................................................................................. 1.3) นกั เรียนทม่ี ีความสามารถพิเศษไดแ้ ก่ ............................................................................................................................. ................................................. แนวทางการพัฒนา / ส่งเสรมิ ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. 1.4) ผ้เู รยี นได้รบั ความรู้ (K) .......................................................................................................... .................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. 1.5) ผูเ้ รียนเกดิ ทกั ษะกระบวนการ (P) ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. 1.6) ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม คา่ นยิ ม (A) ...................................................................................................... ........................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. 2) ปัญหา /อุปสรรค ……………………………………….…………………………………………………………………...................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………............................................ 3) ข้อเสนอแนะแนวทางแกไ้ ข ……………………………………….…………………………………………………………………...................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………............................................

ลงช่อื ..............................................ครูผู้สอน วช.9 (นายคุณาสิน ชตุ ินันท)์ ลงชอ่ื ..............................................ครพู ่เี ลี้ยง นกั ศกึ ษาฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี ครู (นางสาวจภิ ทั ร บญุ ครอบ) ครูพเี่ ล้ยี ง ความคิดเหน็ ของหัวหนา้ กลุ่มสาระ ……………………………………….…………………………………………………………………...................................................... ……………………………………………………………………………………………………………………............................................ ลงชื่อ .................................................................... ( นางสาวจภิ ทั ร บญุ ครอบ) หัวหน้ากลุม่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ ความคดิ เห็นของรองผู้อำนวยการโรงเรียน ……………………………………….………………………………………………………………………................................................ ………………………………………………………………………………………….......................................................……………… ลงชือ่ ................................................................... (ดร.สปุ ระวีณ์ ทิพยโ์ พธ์ิ ) ผชู้ ว่ ยผู้อำนวยการกลมุ่ บรหิ ารวิชาการ

วช.9 แบบประเมินการจดั การเรยี นรู้ตามจุดประสงคก์ ารเรยี นร้ดู ้านพทุ ธพิ ิสยั และด้านทักษะ การจัดการเรยี นร้เู รื่องรูปทัว่ ไปของฟังก์ชนั กำลังสอง นักเรียนระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2565/1 วชิ า ค23111 คณติ ศาสตร์พ้นื ฐาน 5 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 คนที่ จำนวนขอ้ สรปุ ผล ตอบถูก ตอบผิด ผา่ น ไมผ่ า่ น 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26 27

วช.9 คนที่ จำนวนข้อ สรุปผล ตอบถูก ตอบผิด ผ่าน ไมผ่ ่าน 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 หมายเหตุ เกณฑก์ ารผา่ น ตอบคำถามถูกตอ้ งมากกวา่ รอ้ ยละ 50

วช.9 แบบสังเกตพฤตกิ รรมตามจุดประสงคก์ ารเรียนร้สู มรรถนะสำคัญของผเู้ รียน การจัดการเรียนรูเ้ ร่ืองรูปท่ัวไปของฟังก์ชนั กำลังสองนกั เรยี นระดับช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 3 ปีการศึกษา 2565/1 วชิ า ค23111 คณติ ศาสตร์พ้นื ฐาน 5 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 คนที่ เข้าใจวธิ ีการใชเ้ ทคโนโลยี ใช้เทคโนโลยีให้เกิดประโยชน์ สรุปผล ระดบั คุณภาพ ระดับคุณภาพ ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ ดี พอใช้ ปรับปรุง ผ่าน ไม่ผา่ น (3) (2) (1) (3) (2) (1) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25

วช.9 คนท่ี เขา้ ใจวิธกี ารใช้เทคโนโลยี ใชเ้ ทคโนโลยใี หเ้ กิดประโยชน์ สรปุ ผล ระดับคุณภาพ ระดับคุณภาพ ดี พอใช้ ปรับปรงุ ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ ผา่ น ไมผ่ า่ น (3) (2) (1) (3) (2) (1) 26 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 รวม เฉลยี่ สรปุ ผล หมายเหตุ เกณฑ์การให้คะแนน ระดบั ดี = 3 คะแนน ระดับพอใช้ = 2 คะแนน ระดบั ปรบั ปรุง = 1 คะแนน เกณฑก์ ารผ่าน ระดบั คุณภาพของพฤตกิ รรมตั้งแต่ 2 คะแนนขึ้นไป (อย่ใู นระดับพอใช้) เกณฑก์ ารแปลผลของคณุ ลกั ษณะระดบั พฤตกิ รรมโดยรวมใช้เกณฑด์ งั นี้ ชว่ งคะแนน แปลความหมาย 2.01 – 3.00 ระดับดี

วช.9 1.01 – 2.00 ระดบั พอใช้ 0.00 – 1.00 ระดับปรับปรุง เกณฑ์ผา่ น การแปลผลของคุณลักษณะระดับคุณภาพตัง้ แต่ 1.00 ขึ้นไป (อยใู่ นระดบั พอใช)้ เกณฑ์การใหค้ ะแนนระดับคุณภาพแบบสงั เกตพฤตกิ รรมตามจุดประสงค์การเรยี นรู้ ด้านพุทธิพสิ ยั และสมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน ระดับคุณภาพ ระดับดี ระดับพอใช้ ระดับปรับปรงุ เกณฑ์ เขา้ ใจวธิ ีการใช้ 1. เขา้ ใจคณุ สมบัตติ ่าง ๆ 1. เขา้ ใจคุณสมบตั ิต่าง ๆ 1. ไม่เข้าใจคุณสมบัติต่าง เทคโนโลยี ของเทคโนโลยีทก่ี ำหนด ของเทคโนโลยที ก่ี ำหนด ๆ ของเทคโนโลยที ี่กำหนด 2. เข้าใจวิธีการนำ 2. ไม่เข้าใจวิธีการนำ 2. ไม่เข้าใจวิธีการนำ เทคโนโลยไี ปใช้ เทคโนโลยีไปใช้ เทคโนโลยไี ปใช้ ใชเ้ ทคโนโลยีใหเ้ กิด 1 . น ำ เ ท ค โ น โ ล ย ี มา 1. ไม่นำเทคโนโลยีมา 1. ไม่นำเทคโนโลยีมา ประโยชน์ แก้ปญั หา แกป้ ญั หา แกป้ ญั หา 2. ไม่นำเทคโนโลยีมาใช้ 2. ไม่นำเทคโนโลยีมาใช้ 2. ไม่นำเทคโนโลยีมาใช้ ในทางทีผ่ ดิ ศีลธรรม ในทางทผี่ ดิ ศีลธรรม ในทางท่ีผดิ ศลี ธรรม

วช.9 แบบสังเกตพฤตกิ รรมมีจติ สาธารณะ การจัดการเรยี นรู้เรอื่ งรปู ทั่วไปของฟังกช์ นั กำลังสอง ของนกั เรยี นระดับช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 ปีการศึกษา 2565/1 วชิ า ค23111 คณติ ศาสตรพ์ ้ืนฐาน 5 แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ 8 คนที่ ระดับคุณภาพ สรุปผล ดี พอใช้ ปรบั ปรุง ผ่าน ไม่ผา่ น (3) (2) (1) 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20 21 22 23 24 25 26

วช.9 คนที่ ระดับคุณภาพ สรุปผล ดี พอใช้ ปรับปรุง ผ่าน ไม่ผา่ น (3) (2) (1) 27 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 38 39 40 รวม เฉลย่ี สรปุ ผล หมายเหตุ เกณฑ์การให้คะแนน ระดับดี = 3 คะแนน ระดับพอใช้ = 2 คะแนน ระดบั ปรบั ปรงุ = 1 คะแนน เกณฑก์ ารผา่ น ระดับคุณภาพของพฤติกรรมต้งั แต่ 2 คะแนนขึ้นไป (อย่ใู นระดับพอใช้)

วช.9 เกณฑก์ ารแปลผลของคุณลักษณะระดับพฤตกิ รรมโดยรวมใช้เกณฑ์ดังน้ี ช่วงคะแนน แปลความหมาย 2.01 – 3.00 ระดับดี 1.01 – 2.00 ระดบั พอใช้ 0.00 – 1.00 ระดับปรับปรุง เกณฑผ์ า่ น การแปลผลของคุณลกั ษณะระดบั คุณภาพตง้ั แต่ 1.00 ข้นึ ไป (อยใู่ นระดับพอใช)้ เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนระดบั คุณภาพแบบสังเกตพฤติกรรมจิตสาธารณะ ระดับดี ระดบั พอใช้ ระดับปรับปรุง 1. มนี ำ้ ใจ แสดงความเป็นมิตร 1. มนี ้ำใจ แสดงความเป็นมติ ร 1. ไม่มีนำ้ ใจ ไม่แสดงความเป็น 2. ทำส่งิ ทถ่ี ูกต้องและดโี ดยไม่ 2. ทำสง่ิ ทถี่ กู ต้องและดโี ดยหวัง มิตร หวงั ผลตอบแทน ผลตอบแทน 2. ทำส่ิงทถี่ กู ต้องและดโี ดยหวัง ผลตอบแทน