Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน

การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน

Published by Kunasin Chutinun, 2022-02-03 02:55:45

Description: การสัมนาเชิงวิชาการในหัวข้อ "การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน"
จัดทำโดย
นายคุณาสิน ชุตินันท์ รหัสนักศึกษา 61131111007
หมู่เรียนที่ 1 ชั้นปีที่ 4 คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา

Keywords: ปัญหาเป็นฐาน,Problem Based-Learning,การจัดการเรียนรู้

Search

Read the Text Version

การสัมนาเชิงวิชาการ การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem Based - Learning : PBL MAP4405 สัมนาการศึกษาคณิตศาสตร์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

นายคุณาสิน ชุตินันท์ รหัสนักศึกษา 61131111007 หมู่เรียนที่ 1 ชั้นปีที่ 4 คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา ทำความรู้จักวิทยากร introduction

การสัมนาเชิงวิชาการ ความหมาย การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based - Learning)

การสัมนาเชิงวิชาการ การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem Based - Learning: PBL ความหมาย \" รูปแบบการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นจากแนวคิดตามทฤษฎี การเรียนรู้แบบสร้างสรรค์นิยม (Constructivism) โดยให้ผู้เรียนสร้างความรู้ใหม่จากการใช้ปัญหาที่เกิดขึ้น ในบริบทจริง เป็นเครื่องมือในการเกิดการเรียนรู้ตาม เป้าหมาย ผ่านทางกระบวนการทำงานกลุ่มการสืบค้น กระบวนการทำความเข้าใจและแก้ไขปัญหาด้วยเหตุผล เชื่อมโยงความรู้ที่มีอยู่เดิม ให้ผสมผสานกับข้อมูลใหม่ แล้วประมวลเป็นความรู้ใหม่ \"

การสัมนาเชิงวิชาการ การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem Based - Learning : PBL ลักษณะสำคัญของการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน 1. ต้องมีสถานการณ์ที่เป็นปัญหา ใช้ปัญหาเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ 2. ปัญหาควรเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นพบเห็นได้ในชีวิตจริง มีลักษณะคลุมเครือไม่ชัดเจน มีวิธีแก้ไขปัญหาได้อย่าง หลากหลาย อาจมีคำตอบได้หลายคำตอบ 3. ให้นักเรียนเป็นศูนย์กลางของการเรียนรู้อย่างแท้จริง (Student Centered Learning) 4. ผู้เรียนเรียนรู้โดย การนำตนเอง (Self-Directed Learning) ค้นหาและแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง 5. ผู้เรียนเรียนรู้เป็นกลุ่มย่อย เพื่อพัฒนาทักษะต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการทำงานร่วมกับผู้อื่น 6. การเรียนรู้มีลักษณะการบูรณาการความรู้ และบูรณาการทักษะกระบวนการต่าง ๆ เพื่อให้ผู้เรียนได้รับความรู้ และคำตอบที่กระจ่างชัดเจน 7. ครูทำหน้าที่เป็น ผู้อำนวยความสะดวก (Facilitator) หรือ ผู้ให้คำแนะนำ (Guide) ครูมีการจัดสภาพการณ์ให้ นักเรียนเผชิญปัญหา 8. การประเมินผลเป็น การประเมินผลจากสภาพจริง โดยพิจารณาจากการปฏิบัติงานความก้าวหน้าของผู้เรียน

การสัมนาเชิงวิชาการ ขั้นตอน การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based - Learning)

ขั้นเตรียม ครูศึกษาแผนการสอน เนื้อหา และจุดประสงค์การสอน ครูกำหนดกิจกรรมที่จะให้นักเรียนปฏิบัติเป็นขั้นตอนตามลำดับ ขั้นดำเนินการ 1. กำหนดปัญหา Clarifying unfamiliar terms สอน 2. ทำความเข้าใจปัญหา Problem definition 3. ดำเนินการค้นคว้า Brainstorm 4. สังเคราะห์ความรู้ Analyzing the problem 5. สรุปและประเมินค่าของคำตอบ Formulating learning issue 6. นำเสนอและประเมินผลงาน Self-study Reporting ขั้นประเมินผล ประเมินผลการทำงานของนักเรียน ประเมินผลการจัดการเรียนรู้เพื่อ พัฒนา แก้ไข ปรับปรุงครั้งต่อไป การสัมนาเชิงวิชาการ การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem Based - Learning : PBL

ช่วงเวลาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น 1 time for exchanging opinions I สิ่งสำคัญในการจัดการเรียนรู้เเบบใช้ปัญหาเป็นฐาน

ปัญหาที่ดี ? หลักการออกแบบปัญหา 1. การวิเคราะห์หลักสูตรเพื่ อกำหนดมโนทัศน์หลักของ โจทย์ปัญหาเพื่ อการกำหนดเนื้อหาและทักษะ 2. กำหนดวัตถุประสงค์การเรียนรู้ในโจทย์ปัญหาต้อง ระบุคำสำคัญ (Key words) ในมโนทัศน์หลัก 3. การเตรียมแหล่งข้อมูลและแหล่งค้นคว้า 4.สร้างประเด็นคำถามในการเรียนรู้ เขียนโจทย์ปัญหา ที่กระตุ้นผู้เรียน 5. การตรวจสอบโจทย์ปัญหามีความเหมาะสมหรือไม่ 6. กำหนดกลยุทธ์ในการประเมินผล

การสัมนาเชิงวิชาการ การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem Based - Learning : PBL บทบาทของครู 1. ออกแบบและกระตุ้นความสนใจของนักเรียนในกระบวนการจัดการเรียนรู้ 2. เป็นผู้อำนวยความสะดวกในการเรียน แนะนำ ช่วยขยายแนวคิดเตรียมสื่อการเรียนรู้ 3. แนะนำแหล่งการเรียนรู้ และเอกสารทางวิชาการต่าง ๆ แนะนำนักเรียนโดยอยู่ห่าง ๆ ในขณะที่ นักเรียนดำเนินกระบวนการเรียนรู้จนได้คำตอบของปัญหาออกมาแต่ไม่ใช่การบอก คำตอบโดยตรง 4. ร่วมแสดงความคิดเห็นหรือตกแต่งรายละเอียดของผลการแก้สถานการณ์ปัญหาของนักเรียน 5. มีความยืดหยุ่นและพร้อมรับแนวคิดในการแก้ปัญหาที่หลากหลายของนักเรียน 6. ให้กำลังใจในการค้นคว้าแก่นักเรียน และประเมินผลการเรียนรู้ในรูปแบบที่เหมาะสมกับหลักการ และแนวคิดของการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน

ปัญหาน่าคิด เค้กทรงปริซึมสี่เหลี่ยมที่มีหน้าตัดเป็น รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวด้านละ 30 ซม. สูง 20 ซม. แบ่งให้คน 3 คน อย่างไร ให้เท่าเทียมกัน 30 ซม. 30 ซม.

เค้กมีส่วนของเนื้อและครีมถ้าแบ่งเท่าเทียมควรแบ่งให้ เท่ากับทั้งสองส่วนจึงควรแบ่งจากขอบไปสู่พื้ นที่ได้ดังนี้ เฉลยปัญหา การสัมนาเชิงวิชาการ การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem Based - Learning : PBL

ช่วงเวลาแลกเปลี่ยนความคิดเห็น 2 time for exchanging opinions II ข้อจำกัดของการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน

ประโยชน์ของการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน ได้ความรู้ที่สอดคล้องกับบริบทจริง พั ฒนาทักษะการคิดเชิงวิพากย์ ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตัวเอง และสามารถนำไปใช้ได้ การคิดวิเคราะห์ การคิดอย่างเป็น อย่างต่อเนื่อง นำไปสู่การเรียนรู้ ตลอดชีวิต ซึ่งเป็นคุณลักษณะที่ เหตุเป็นผล การคิดสังเคราะห์ สำคัญของบุคคลในศตวรรษที่ 21 การคิดสร้างสรรค์ และนำไปสู่การคิด แก้ปัญหา ที่มีประสิทธิผล ผู้เรียนสามารถทำงานและสื่อสาร เป็นการสร้างแรงจูงใจในการ ความคงอยู่ของความรู้จะนานขึ้น กับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ เรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน

ขอบคุณสำหรับการรับฟังรับชม \" ทะเลที่ราบเรียบไม่เคยสร้างกะลาสีที่เก่ง \" - Franklin D. Roosevelt - การสัมนาเชิงวิชาการ การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem Based - Learning : PBL

บรรณานุกรม กนิษฐา ศิริวงษ์ขันธ์. (2560). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานโดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อ ส่งเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์สำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา(วิทยานิพนธ์ปริญญา การสัมนาเชิงวิชาการ ดุษฎีบัณฑิต). มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน ฆนัท ธาตุทอง. (2554). สอนคิด : การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการคิด. กรุงเทพฯ : เพชรเกษมการพิมพ์. ชวาล แพรัตกุล. (2520). เทคนิคการวัดผล. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพ ฯ : วัฒนาพานิช. Problem Based - Learning ทัศน์ศรี เสมียนเพชร. (2552). การสร้างโจทย์ปัญหาในการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน, จุลสารPBL จุลสารวลัยลักษณ์, ปีที่2 (มกราคม 2552 ฉบับที่ 1), 5-6. ทิศนาแขมณี. (2551).ศาสตร์การสอน:องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. นันธิยา ไชยสะอาด. (2557). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานที่มีต่อทักษะการแก้ปัญหา และทักษะการเชื่อมโยงทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 (วิทยานิพนธ์ปริญญา มหาบัณฑิต). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา. นภสร เรือนโรจน์รุ่ง. (2558) การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน และเจตคติต่อการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ปฏิพัฒน์ ติดทะ. (2559). การใช้การเรียนรู้ที่เน้นปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมการเข้าถึงคณิตศาสตร์และ ความเข้าใจเชิงมโนมติทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 . เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. พิชิต ฤทธิ์จรูญ. 2555. การวิจัยทางการบริหารการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา. วิทยาลัยการฝึกหัด ครู กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร. ไพศาล สุวรรณน้อย. (2558). การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning: PBL). ใน มหาวิทยาลัยขอนแก่น, เอกสารประกอบการบรรยายโครงการพัฒนาการเรียนการสอน. (น.1-10). ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ภัทราวดี มากมี. (2558). การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-based Learning). ใน กอง บรรณาธิการวารสาร EAU Heritage(บ.ก.), วารสารมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย. (น.7-14). นครนายก:มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย.

บรรณานุกรม ยุพิน พิพิธกุล. (2545). การเรียนการสอนคณิตศาสตร์ยุคปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพฯ: บพิทการพิมพ์. ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุคส์ การสัมนาเชิงวิชาการ พั บลิเคชั่นส์ การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน รุสดา จะปะเกีย. (2558). ผลของการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน Problem Based - Learning วิชาชีววิทยาและความพึงพอใจในการจัดการเรียนรู้ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6. (วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต). สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิชุดา วงศ์เจริญ. (2561). การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับเทคโนโลยีเสมือนจริง เพื่อพัฒนา ทักษะการคิดวิเคราะห์และทักษะการคิดแก้ปัญหาสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์. วิมล วงษ์ใหญ่. (2561). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่อง ระบบสมการเชิงเส้นของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับเทคนิคการจัด ทีมแข่งขัน(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). สงขลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา. วัฒนา. รัตนพรหม. (2548). \"การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก\", ศึกษาศาสตร์ปริทัศน์. 20(1) : 33-34. วันวิสาข์ สุมล. (2559). การสร้างชุดการสอนคณิตศาสตร์ เรื่องทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์โดยใช้ รูปแบบปัญหาเป็นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 35(วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. ศิริชัย กาญจนวาสี. (2552). ทฤษฎีการทดสอบแบบดั้งเดิม, พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ศศิธร แม้นสงวน. (2556). พฤติกรรมการสอนคณิตศาสตร์2. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง. สมนึก ภัททิยธนี. (2553). การวัดผลการศึกษา. มหาสารคาม : ภาควิชาวิจัยและพัฒนาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. สุเทพ พงศ์ศรีวัฒน์. (2548). ภาวะผู้นำ ทฤยฎีและปฏิบัติ ศาสตร์ และศิลป์สู่ความเป็นผู้นำที่สมบูรณ์. เชียงราย: มหาวิทยาลัยราชกัฎเชียงราย. สุวิษา ไกรฉวี. (2560). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้ปัญหาเป็นฐานร่วมกับการเรียนรู้ แบบโครงงานชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. มหาสารคาม:มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

บรรณานุกรม Barell , John. (1998). PBL an Inquiry Approach. Illinois : Skylight Training and Publishing. Hendriana, H., Johanto, T., & Sumarmo, U. (2018). The Role of Problem Based Learning to Improve Students’ Mathematical Problem-Solving Ability and Self Confidence. Journal on Mathematics Education Kaharuddin, A. (2018). Effect of Problem Based Learning Model on Mathematical Learning Outcomes of 6th Grade Students of Elementary School Accredited B in Kendari City. Kendari City: International Journal of Trends in Mathematics Education Research Meryance V.S., Sahat S., Bornok S. (2019). Development of Learning Materials Oriented on Problem-Based Learning Model to Improve Students’ Mathematical Problem Solving Ability and Metacognition Ability. State University of Medan. International Electronic Journal of Mathematics Education. การสัมนาเชิงวิชาการ การจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน Problem Based - Learning


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook