Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เทควันโด

เทควันโด

Description: เทควันโด

Search

Read the Text Version

ความเปนมาของกีฬาเทควันโดและการพัฒนาสมรรถภาพของกฬี าเทควันโด ดา นความแข็งแรง จัดทาํ โดย จกั รกฤษณ วงษจนั นา รหัสนักศึกษา 6012614126 เพ็ญพิชชา บญุ สอน รหสั นักศึกษา 6012614134 อรพรรณ ลนี าค รหสั นักศึกษา 6012614480 นราธิป ตน งาม รหสั นักศึกษา 6012614530 จรรยา เชิดกายเพชรา รหสั นักศึกษา 6012614571 นภพร ปด ตทิ านงั รหสั นักศึกษา 6012624034 นักศึกษาชัน้ ปท่ี 4 สาขาวิทยาศาสตรก ารกฬี าและการออกกําลังกาย เสนอ ดร.ภาณุ กุศลวงศ วฬ. 453 การฝก เพอื่ พัฒนาศักยภาพกีฬาตอ สูปองกนั ตวั ภาคเรยี นที่ 1 ปการศึกษา 2563 มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร

คํานํา รายงานฉบบั น้ีเปนสวนหนง่ึ ของวิชา วฬ.453 การฝกเพอื่ พฒั นาศักยภาพกีฬาตอ สูปองกันตัว โดยมี จุดประสงค เพื่อการศกึ ษาความรูที่ไดจากเรอ่ื งกีฬาเทควันโด ซึ่งรายงานน้มี เี นอ้ื หาเกี่ยวกบั ประวัตคิ วามเปน มา ของกฬี าเทควันโด และการพฒั นาศักยภาพของนกั กีฬา ผจู ดั ทําหวงั วา รายงานเลม นจ้ี ะเปน ประโยชนกบั ผูอ า น หรอื นักเรยี น นักศกึ ษา ทีก่ าํ ลังหาขอมลู เรอื่ งนอ้ี ยู หากมขี อแนะนาํ หรอื ขอ ผิดพลาดประการใด ผูจัดทาํ ขอนอ มรับไวแ ละขออภยั มา ณ ที่น้ดี วย คณะผจู ัดทํา วันที่ 20 กันยายน 2563

สารบัญ หนา เรอื่ ง 2 คาํ นํา 6 สารบัญ 6 ประวัตคิ วามเปนมา 6 เทควันโดในประเทศไทย 7 พฒั นาสมรรถภาพของกีฬาเทควันโดดา นความแข็งแรง 7 9 สมรรถภาพทางกาย 9 การเสริมสรางสมรรถภาพทางกาย 10 หลกั การเสรมิ สรางสมรรถภาพทางกาย 10 11 การฝก ซอ ม (Training) 12 วธิ ฝี กซอ มของระบบที่สาํ คัญ การฝก กลา มเนื้อแตล ะมดั การเสรมิ สรางความแข็งแรง พลงั ความอดทนของกลามเนอ้ื การฝก ดว ยน้ําหนกั การยกนํ้าหนักอยางปลอดภัย บรรณานุกรม

1 เทควันโด เปนศลิ ปะการปองกันตัวชองประเทศเกาหลมี ีมาตง้ั แต 2 พันกวาป ในป ค.ศ.1955 องคก ร พิเศษไดถกู จัดต้งั ขน้ึ ในนามขององคการควบคุมศลิ ปะแหง ชาติ ถูกตั้งข้ึนเพ่ือเผยแพรแ ละควบคุมทาํ การสอนใหแก สาธารณะชน องคกรทางทหารซง่ึ ขนึ้ อยกู บั เงนิ ทุนกองกลางท่ีมีสามชิกขององคก ร เปน ผทู ีม่ ีความคดิ ความสามารถ ทเ่ี ชยี่ วชาญกลมุ สมาชิกไดรวมตวั กนั โดยมีนายพล Choi Hong Hi เปนผตู ง้ั ช่ือใหมขน้ึ วา เทควันโด (Taekwondo) จนกระท่ังทุกวันนม้ี ีคนจํานวนมากกวา 30 ลานคนท่ัวโลกจาก 140 เมืองท่ีไดรบั การ ฝก ฝนดา นเทควันโด ศนู ยก ลางเทควนั โดโลก คือ Kukkiwon เปนสัญลกั ษณข องเทควนั โด โดยมีนายอนุ ยอง คิม (Un Yong Kim) เปน ประธานสหพันธเ ทควันโดโลก และเปน ประธานสมาคมเทควนั โดของประเทศเกาหลี ค.ศ. 1973 มีการแขง ขันชิงแชมปโ ลกเปนครง้ั แรก ค.ศ.1974 มีการสมั มนาผตู ดั สนิ นานาชาติ และการแขงขนั ชงิ แชมปข องเอเชยี ครง้ั แรก ค.ศ.1986 เทควนั โดไดบรรจเุ ขาแขงขันในกฬี าเอเชียนเกมส คร้งั ที่ 10 ณ กรงุ โซล ประเทศเกาหลี ค.ศ.1987 เทควนั โดไดบรรจเุ ขา แขง ขนั ในกีฬาซีเกมส ค.ศ.1988 เทควันโดเปนกีฬาสาธติ ในกีฬาโอลมิ ปกเกมส ณ กรุงโซล ประเทศเกาหลี

2 ค.ศ.2000 เทควันโดเปน กฬี าในโอลมิ ปกเกมส ณ ซิดนยี  ประเทศออสเตเรยี ประวตั คิ วามเปน มาและพฒั นาการของเทควันโด เทควนั โดเปน ศลิ ปะการตอ สูประจําชาติเกาหลอี ันมีประวตั คิ วามเปนมายาวนาน จนอาจกลา วไดว า ประวัติศาสตร ของเทควันโด กค็ ือประวตั ศิ าสตรของชนชาติเกาหลนี ่นั เอง เรือ่ งราวในอดตี ทเี่ กีย่ วขอ งกับ พัฒนาการของเทควันโด แบง ออกไดเปน 4 ยุคสมัย ไดแก ยคุ บรรพกาล ยุคกลาง ยุคใหม และยคุ ปจจุบัน 1) เทควนั โดยุคบรรพกาล มนษุ ยโ ดยธรรมชาตแิ ลวยอ มมสี ัญชาตญิ าณในการปกปอ งตนเองและเผา พันธุ จงึ พยายามที่จะพฒั นา ความสามารถในการตอ สอู ยตู ลอดเวลา ในสมยั ท่ยี งั ไมม อี าวุธก็ตอ งใชก ารตอ สูการดวยมอื เปลาและแมเมอ่ื มนษุ ย สามารถประดษิ ฐอาวธุ ข้นึ ใชแ ลว ก็ยงั อาศัยการฝกฝนการตอ สดู ว ยมือเปลา ในการเสรมิ สรางความแขง็ แกรง ให รางกาย นอกจากนย้ี งั นาํ มาเปนการแสดงความสามารถโออ วดกนั ในงานประเพณีตา งๆ ดว ยเชนการเฉลมิ ฉลอง หลงั ฤดูกาลเกบ็ เก่ียว หรอื ในทช่ี ุมนมุ ชนในโอกาสสําคญั อืน่ ๆเปน ตน ชนชาตเิ กาหลสี บื เชื้อสายมาจากชาวเผา มอง โกล ซึง่ อพยพยายถ่นิ จากใจกลางทวีปเอเชยี มายงั คามสมทุ รเกาหลนี านกวา 2000 ป มาแลว เอกลกั ษณอยา งหนงึ่ ของชาวมองโกลคอื ความชํานาญและผกู พันกบั การขมี่ า ใชช ีวติ บนหลังมา รวมถึงการตอสบู นหลงั มา เน่ืองจาก ตองเล้ียงสัตวแ ละเดินทางไปในทงุ หญา และพนื้ ท่ีอนั ทรุ กันดารเปนระยะทางไกลๆทางตอนเหนอื อยเู สมอ สว น ประชาชนในพื้นท่ที างตอนใตอ ันอุดมสมบูรณมากกวาไดย ึดอาชีพเกษตรกรรมเปน หลัก และทง้ิ ชีวติ บนหลังมาไป ส่ิงน้ีเปนปจ จัยใหพ ฒั นาการของวิธกี ารตอสูของนักรบทางภาคเหนอื และภาคใตแ ตกตางกัน ซงึ่ จะไดก ลา วตอไป ภูมศิ าสตรข องคาบสมทุ รเกาหลีนน้ั มีความสําคญั ย่งิ ทางยทุ ธศาสตรเ พราะเปนสะพานเชื่อมและอยกู ่งึ กลางระหวาง แผน ดนิ จนี ทางตะวนั ตก มองโกลทางทิศเหนือ รสั เซยี ทางทศิ ตะวันออกเฉยี งเหนอื และหมเู กาะญ่ีปุนทางทศิ ใตซ ง่ึ ตางก็พยายามแผอ ํานาจและผลัดกนั ยึดครองดินแดนผนื นอ้ี ยเู สมอ ประวัตศิ าสตรของเกาหลจี ึงเต็มไปดวยการรบ พงุ ตอสู แยงชงิ และปกปอ งบานเมอื งของตนมาตลอด ในยคุ แรกเรม่ิ ของอารยธรรมเกาหลี (ประมาณ 50 ปกอน ครสิ ตกาล) ปรากฏวามีการแบงแยกดนิ แดนออกเปน 3 อาณาจกั ร ไดแ ก โคกุลเยอ ทางทิศเหนือ เบคเจทางทศิ ใต และซลิ ลาทางทิศตะวันออกเฉยี งใต อาณาจกั รทง้ั สามตางกพ็ ยายามชิงความเปนใหญแตผเู ดยี ว จึงยายาม เสริมสรา งกาํ ลงั กองทัพและฝก ฝนทหารของตนใหม ีความเขม แข็งอยูเสมอ โดยเฉพาะอยางยงิ่ โคกลุ เยอ และซลิ ลา ไดสรา งกองทพั นักรบหนมุ ขนึ้ เรยี กวา “ชอู โิ ซนนิ ” และ “ฮวารังโด” ตามลาํ ดับซึง่ มกี ารฝกฝนการตอสูดวยมือ และ เทา รวมถงึ การตอ สูดว ยอาวุธนานาชนดิ กลา วถงึ อาณาจักรโคกุลเยอทางเหนือ ทม่ี เี ขตแดนตดิ ตอ กบั จีนจงึ ตอ ง

3 พัฒนากาํ ลงั ทหารไวปอ งกนั ประเทศ นักรบในกองกําลงั “ชอู โิ ซนิน” นเ้ี รยี กวา “ซอนเบ” ในประวตั ศิ าสตรก ลา ววา พวกซอนเบนจ้ี ะอยูรวมกันเปนหมเู หลา มีการศึกษาประวตั ศิ าสตรศิลปะตางๆ นอกเหนือจากวชิ าการตอ สูแ ละยัง ใชเวลาในยามสงบชวยพัฒนาบา นเมอื งดว ยการสรางถนนปอ มปราการตางๆ วชิ าการตอ สูของพวกซอนเบนเี้ รียกวา “เทคเคียน” ซึง่ มลี ักษณะเดน ท่ีการใชเทาเตะ เนอื่ งจากการขี่มา จะตอ งใชมอื ควบคมุ สายบังคบั มา ถอื อาวธุ และธนู จึงเนนการใชเทาทว่ี างอยูใ นการตอ สูและชวยในการทรงตัวหลกั ฐานภาพวาดตามฝาผนงั ในสสุ านโบราณหลายแหง แสดงใหเ ห็นถงึ การตอสแู ละทักษะตางๆ ของเทคเคยี น ซงึ่ นอกจากจะใชใ นการรบแลว ยังเปนการบรหิ ารรางกาย และเปนเกมกีฬาทนี่ ิยมประลองกนั ในโอกาสตางๆกนั ดว ย สว นอาณาจกั รซลิ ลาทางตอนใต กถ็ กู รกุ รานจาก อาณาจกั รโคกลุ เยอทางตอนเหนอื และอาณาจกั รเบคเจทางตะวันตก จงึ ตอ งเสริมสรางกองทัพทเี่ ขมแข็งไวเ ชน กัน โดยเรียกวานกั รบหนมุ ของตนวา “ฮวารงั ”ซ่งึ มกี ฎระเบยี บการปกครองและการฝกฝนคลา ยคลึงกับซอนเบมาก การคัดเลือกชายหนมุ เขา เปนฮวารังจะตอ งมกี ารทดสอบฝม อื การตอ สซู ง่ึ ไดแกก ารฟนดาบ มวยปล้ํา ข่มี า และการ ตอ สดู ว ยมือเปลาทเ่ี รียกวา“ซบู ัก” ซงึ่ เนน การใชทกั ษะของมอื เปนหลกั เนอื่ งจากชาวซลิ ลามีความผูกพันกบั พุทธ ศาสนาเปนอยางมากวัดโบราณในเมืองเกียงจูจงึ มรี ปู ปน ทวารบาลเปนยกั ษ (กึมกงั ย็อกซา) แสดงทา ตอลักษณะทา มอื ที่คลายคลึงกบั เทควนั โดในปจจบุ ันมาก แมจะมรี ากฐานความเปน มาแตกตา งกนั แตท้งั เทคเคยี น และซบู กั ก็ เรมิ่ ผสมผสานกลมกลืนกนั โดยเทคเคยี นไดเผยแพรจ ากอาณาจกั รโคกลุ เยอเขา มาในอาณาจกั รซิลลาเมื่อราว คริสตศตวรรษที่4 และไดร ับความนยิ มแพรห ลายไปสสู ามัญชนทว่ั ไป อาณาจักรซลิ ลาเรมิ่ มคี วามเขมแขง็ กวา อาณาจักรอน่ื ๆ โดยมีขุนพลฮวารงั ที่มชี อ่ื เสียงอาทเชนิ คิมยซู นิ และคิมชุนช ูเปนกาํ ลงั สําคญั ในการรบเพื่อรวม อาณาจกั รในคาบสมทุ รเกาหลีเปนหนง่ึ เดยี วไดส ําเรจ็ ในป ค.ศ.676 (พ.ศ.1219)และคงความเปน ปกแผน ไวไ ดนาน เกือบ 300 ป 2) เทควันโดยุคกลาง ในสมยั ราชวงศคอรโ ย ซง่ึ ปกครองเกาหลีตอจากอาณาจักรซลิ ลา ในระหวาง ค.ศ.918-1392 มกี ารพฒั นา รปู แบบการฝกเทคเคยี นและซบู ักอยางเปนระบบ และใชใ นการทดสอบเพือ่ คัดเลอื กทหารเขา ประจําการดวยมี บนั ทกึ ทางประวัตศิ าสตรท ่แี สดงวา วิชาการตอ สดู ว ยมอื และเทา เปลานไี้ ดพฒั นาถงึ ขั้นเปนอาวธุ ฆาคนในสงครามได จรงิ ทกั ษะความสามารถในการตอสไู ดกลายเปน สิง่ สําคญั ในการเลือ่ นยศและตําแหนง ของทหาร(จงึ เปน ที่มาของ การจดั ระดบั สายในเทควันโด คลายกับชั้นยศทหารในกองทพั :ผเู รยี บเรยี ง) มกี ารบนั ทกึ ถึงระบบกติกาการตอสู คลายกับกีฬาในปจ จบุ นั ในการทดสอบพละกาํ ลงั ลียหี่ มนิ ใชก าํ ปน ขา งขวาชกที่เสาและสามารถทาํ ใหหลังคา สะเทือนจนกระเบอื้ งมงุ หลังคาหลน ลงมาแตกกระจาย เขาสามารถชกทะลุกําแพงทก่ี อดวยดนิ เหนยี ว และในการ ประลองเขาชกเขาทีก่ ระดูกสันหลงั ของคตู อสซู ่ึงทาํ ใหถึงกบั เสยี ชีวติ จงึ ถอื ไดว า ผฝู กวชิ าตอ สดู วยมอื เปลาสามารถ ทาํ การตอสูเทียบเทากบั การใชอาวธุ สังหารทีเดียว กษัตริยใ นราชวงศน ที้ รงโปรดการประลองตอสเู พ่ือคัดเลอื ก

4 ทหารเปนอยา งยิง่ มีการจัดประลองตามหัวเมอื งตา งๆท่ีเสดจ็ ไปประพาสใหทอดพระเนตรอยเู ปนประจํา อยางไรก็ ตามในชว งทา ยของราชวงศไดมกี ารนาํ อาวุธปน เขามาใชใ นกองทพั ทําใหบ ทบาทของการประลองตอสดู วยมือเปลา ลดความสําคัญลงไปมาก 3) เทควนั โดยคุ ใหม ในยุคนร้ี าชวงศโ ชซันปกครองประเทศเกาหลใี นป ค.ศ.1392-1910 จากน้ันเกาหลตี กอยใู ตก ารปกครอง ของญปี่ ุนจนถงึ ป ค.ศ.1945 ราชวงศโ ชซันปกครองประเทศดวยลทั ธขิ งจ๊อื จงึ ปฏเิ สธพิธกี รรมทางศาสนาพทุ ธ และ ใหค วามสาํ คญั ของศลิ ปะการตอ สูนอ ยกวา งานดา นวรรณกรรม การประลองฝม ือเพอ่ื คัดเลอื กทหารเขา ประจําการก็ ยงั คงมอี ยูแตไ ดร บั ความสนพระทัยจากกษตั รยิ นอ ยลงบา นเมืองจงึ เริ่มออ นแอลง จนเมอื่ เกาหลีถกู รกุ รานจากญป่ี ุน ในป ค.ศ.1592 พระเจาเจียงโจ จงึ ไดร ้ือฟน ศลิ ปะการตอสูขนึ้ มาขนานใหญมีการจัดทําตาํ รามาตรฐานวิชาการตอ สู เรียกวา “มเู ยโดโบ ทองจ”ิ ซ่งึ ในเลม ที่ 4 มภี าพประกอบและไดก ลา วอธบิ ายถึงการเคลอื่ นไหวตอเนอ่ื งซง่ึ มี ลักษณะคลายกบั ทา ราํ พูมเซในปจ จบุ นั มีการสอนวชิ าการตอ สใู หก บั เดก็ คลายกบั เปน กีฬาหรือการละเลน ชนิดหนึ่ง เม่อื ญป่ี ุน เขายดึ ครองประเทศเกาหลี การฝก วชิ าการตอสูเรม่ิ เปน ส่ิงตองหาม จงึ ตอ งมีการแอบฝก และมกี าร ถา ยทอดกันมาอยา งลับๆเฉพาะในหมลู ูกหลานเทาน้นั จนเมอ่ื ญี่ปนุ แพส งครามโลกครง้ั ท่ี 2 ในป ค.ศ.1945 ประเทศ เกาหลีจงึ ไดรบั อสิ รภาพอีกครงั้ แตจ ากการทีท่ างการญ่ปี ุน ไดค มุ ขงั และทรมานนกั เทควันโดเปน จาํ นวนมาก ทาํ ใหผ ู สืบทอดวชิ าการตอ สเู หลือนอ ยจนเปนทหี่ วั่นเกรงกนั วา จะสาบสูญไป ทงั้ ญป่ี ุนไดพยายามกลืนวฒั นธรรมเกาหลีดวย การบงั คบั ใหชาวเกาหลฝี กคาราเต และยโู ดแทน 4) เทควนั โดยคุ ปจ จุบนั ภายหลงั จากทไี่ ดรบั อสิ รภาพจากญปี่ นุ ไดมคี วามพยายามทจี่ ะฟน ฟศู ลิ ปะการตอ สูของเกาหลขี น้ึ มาใหม ปรมาจารย ซองดคุ คิ ไดแ สดงวชิ าเทคเคยี น ใหประธานาธบิ ดี ลซี งึ มาน ชมในงานฉลองวนั เกิด ซึ่งแสดงใหเ ห็น อยา งเดนชดั วา มีเอกลกั ษณที่แตกตางจากคาราเต ในระหวา งชว งเวลาดังกลา วไดมีการกอตั้งสํานัก(โดจงั ) ขึ้นหลาย แหง แตก็อยูไดอยางไมม ่นั คงนักจนเมอื่ เกดิ สงครามเกาหลี และเกาหลถี กู แบง แยกเปน สองประเทศ ไดแ ก สาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนเกาหล(ี เกาหลเี หนอื )ซง่ึ ปกครองโดยระบอบคอมมวิ นสิ ตแบบรสั เซีย และ ประเทศสาธารณรัฐเกาหลี (เกาหลใี ต) ซึ่งปกครองโดยระบอบประชาธปิ ไตยแบบสหรัฐอเมรกิ า สภาพเศรษฐกจิ ใน เกาหลใี ตเ ร่ิมฟน ตัวบรรดานกั ประวัตศิ าสตรและปรมาจารยเ จา สํานักตางๆ โดยการนําของนายพลเชฮองฮี ได รว มกนั กอ ตงั้ สมาคมเทควนั โดแหง สาธารณรัฐเกาหลีไดส าํ เรจ็ ในป ค.ศ.1954ในชว งส้ันๆ จากป ค.ศ.1961-1965 สมาคมไดเปลีย่ นไปใชช ่อื สมาคมเทซูโด (มาจาก เทคเคียน+ซูบกั )แตก ไ็ ดเ ปลย่ี นกลับมาเปน เทควนั โดเชน เดมิ อกี และกฬี าเทควนั โดเริ่มเปน ท่นี ยิ มแพรหลายอกี ครง้ั มกี ารจัดการแขงขันทงั้ ในระดบั ประถมศกึ ษา,มัธยมศึกษา และ

5 ระดับมหาวิทยาลยั รวมทงั้ ไดบ รรจุในการฝก ทหารของกองทพั ในสงครามเวยี ดนามทหารเกาหลไี ดแสดงใหเ ห็นถึง ประสิทธภิ าพของเทควันโดในการตอ สรู ะยะประชิดตวั จึงไดร บั ความสนใจจากนานาประเทศ รวมทง้ั สหรฐั อเมรกิ า คุณคา ของเทควนั โดไดจ ึงเปน ทปี่ ระจักษใ นฐานะทส่ี รา งชอื่ เสียงใหแกป ระเทศเกาหลี วชิ าเทควันโดจึงไดร บั การยก ยองใหเปนกีฬาประจําชาติ (คคุ คิ เทควนั โด) ในป 1971 (พ.ศ.2514) ซึง่ จดุ เดนของเทควันโดนอกจากจะเปนการ ฝก ฝนพละ-กําลงั ทงั้ รางกายและจติ ใจแลว ยงั เปน การเสรมิ สรางและพฒั นาบุคลิกภาพใหแ กเยาวชนอกี ดวย ในป ค.ศ.1972 รฐั บาลเกาหลไี ดส ถาปนาสาํ นัก “กกุ กวิ อน” ขึน้ เพอื่ เปน ศูนยก ลางในการสอบข้ึนทะเบยี นสายดําและ เผยแพรเทควันโดไปทวั่ โลก โดยมดี ร.อุนยองคิม ผูแทนรฐั บาลเปนประธาน มกี ารจดั การแขงขันในระดับตา งๆ มาก ถึง350 ครงั้ ในปนั้นรวมท้ังการแขงขันเทควนั โดชงิ แชมปโลกดว ยนอกจากน้นั เพื่อเปนการพัฒนาของบคุ ลากรผู ฝกสอนเทควนั โด จงึ ไดม ีการจัดต้งั วิทยาลยั เทควนั โดโลก ขน้ึ มาเปนมาตรฐานเดยี วกนั ท่วั โลกเทควันโดไดร บั ความ นิยมเผยแพรอ อกไปอยางรวดเรว็ ทั่วโลกท้ังในหมูทหาร ตาํ รวจ และนกั เรยี นนักศกึ ษาในป ค.ศ.1977 มีจาํ นวนสาย ดําในประเทศเกาหลถี งึ 3,620,000 คน และอีก 160,000 คนทวั่ โลกทมี นักแสดงเทควันโดสาธิตทมี ชาติเกาหลี ไดมี สว นสาํ คญั ในการเผยแพรก ฬี าเทควันโดและเกียรติภมู ขิ องประเทศเกาหลใี หเ ปน ที่รจู ักทั่วไป จนเมอ่ื วันท่ี 28 พ.ค. 1973 มีการประชุมผูแ ทนสมาคมเทควันโดจากประเทศตา งๆทว่ั โลกจาํ นวน 50 ประเทศ และมีมติใหกอ ตงั้ สหพนั ธ เทควันโดโลกขึน้ โดยมี ดร.อุนยองคิม เปน ประธานสหพันธอ กี เชน เดียวกันปจ จุบนั มปี ระเทศสมาชิกถึง 157 ประเทศ (ขอมลู พ.ศ.2547) (พ.ศ.2551 มี 184 ประเทศ)และยงั เพม่ิ ข้ึนเรอ่ื ยๆ สหพนั ธมหี นา ท่ีดูแลการแขงขันเท ควนั โดชงิ แชมปโลก ซง่ึ จัดเปนประจําทุกๆ 2 ป และยังมกี ารจัดตงั้ สหพันธเ ทควันโดแหง เอเชีย และทกุ ทวีปซง่ึ จะ จัดการแขง ขัน ระดบั ภมู ภิ าคทกุ ๆ 2 ป สลบั ปก บั การแขงขนั ชิงแชมปโ ลก นอกจากนัน้ เทควันโดยังไดร บั การรบั รอง จากสถาบนั ตา งๆดงั นี้ - ค.ศ.1975 สหพนั ธเทควนั โดโลกไดเขาเปน สมาชิกของสมาคมสหพันธก ฬี าสากล (GAISF) - ค.ศ.1976 เปน สมาชิกของสภากฬี าทหารโลก (CISM) - ค.ศ.1979 ไดร บั การรบั รองจากคณะกรรมการโอลิมปค สากล - ค.ศ.1982 ไดร บั การบรรจเุ ปน กฬี าสาธติ ในโอลิมปค เกมส (แขงขันท่กี รงุ โซล 1988) - ค.ศ.1984 ไดร ับการบรรจุเปน กฬี าสาธิตในเอเชียนเกมส (แขงขนั ที่กรงุ โซล 1986) - ค.ศ.1979 ไดรบั การบรรจุเปนกฬี าบงั คับในโอลมิ ปค เกมส (แขง ขนั ทซี่ ดิ นยี  2000)

6 ซึง่ นับเปนเกยี รติอันยง่ิ ใหญทส่ี ดุ สาํ หรบั กีฬาทเี่ พง่ิ เผยแพรไ ปทั่วโลกไดเพยี ง30 ปเทานน้ั ในป 2004 ไดมีการ เปล่ียนแปลงอนั สําคัญไดแกตําแหนงประธานสหพันธเ ทควันโดโลก และสํานกั กกุ กวิ อน เน่อื งมาจาก ดร. อุน ยองคิม ไมส ามารถดํารงตาํ แหนง ตอไปได นับเปนการสน้ิ สุดยคุ สมัยอนั ยาวนานของทาน โดยประธานสหพันธเท ควันโดโลกคนปจ จบุ ันไดแก นาย ชุงวอนโชว และประธานสาํ นักกกุ กวิ อนคนปจ จบุ ันไดแ ก ปรมาจารย อมึ วุนเกยี ว สายดาํ ดั้ง 10 (เล่อื นข้ึนมาจากรองประธานสาํ นกั กกุ กิวอน) เทควันโดในประเทศไทย ประเทศไทยเร่ิมรจู กั เทควันโดเม่อื ประมาณ พ.ศ.2508 โดยคณาจารยจากสาธารณรฐั เกาหลีใต จาํ นวน 6 ทา นเดินทางมาเปดสอนท่ี วาย เอม็ ซี เอ , ราชกรีฑาสโมสรกรุงเทพ และในฐานทพั ทหารสหรัฐอเมรกิ า ที่ อ.ตาคลี จ.นครราชสีมา จ.อดุ รธานี จ.อบุ ลราชธานี และ อ.สัตหบี แตเมอ่ื กองทพั สหรฐั อเมรกิ าถอนตวั จากประเทศไทย อาจารยท ง้ั หมดกย็ ายออกไปดวย จนกระทัง่ พ.ศ. 2516 อาจารย ซอง คิ ยอง จึงเดนิ ทางมาเปด สอนท่ีราชกรีฑา สโมสร และในป พ.ศ.2519 ไดทาํ การเปด สํานกั ขนึ้ ท่ีโรงเรยี นศิลปะปอ งกันตัวอาภัสสา โดยการสนบั สนนุ ของคณุ มัลลิกา ขมั พานนท ผซู ง่ึ เหน็ คุณคาของวชิ าน้ี ทม่ี ตี อสุขภาพและสงั คม สว นรวม กจิ การไดเ จรญิ กาวหนามา ตามลาํ ดับ จนไดร ับการรบั รองจากกระทรวงศึกษาธกิ าร พ.ศ. 2521มกี ารกอ ต้งั สมาคมสงเสรมิ ศลิ ปะปองกนั ตัวเท ควันโด และไดเ ปน สมาคมเทควันโดแหง ประเทศไทยเมอื่ ป พ.ศ.2528 เขาเปน มาชิกสหพนั ธเ ทควนั โดโลก สหพนั ธ เทควันโดแหงเอเชีย สหพนั ธเ ทควนั โดอาเซยี นและอยูใ นสังกดั ของการกฬี าแหง ประเทศไทย และคณะกรรมการโอ ลิมปค แหง ประเทศไทย พฒั นาสมรรถภาพของกฬี าเทควันโดดานความแขง็ แรง สมรรถภาพทางกาย 1. ความแข็งแรงของกลามเน้ือ ไดแก กลามเนื้อนอง กลามเน้ือตนขาดานหน ดานหลัง กลามเนื้อ สะโพก กลามเนอื้ ทองและกลามเน้อื หลัง กลามเนื้อไหลแ ละแขน 2. ความไว หรอื ความคลองแคลววองไว นกั กีฬาตอ งสามารถเคลื่อนไหวหรอื เคลื่อนที่โดยฉับพลนั ได ทกุ ทิศทาง และสามารถทรงตวั ไดอ ยางรวดเรว็ ความสามารถในสวนนี้เกดิ ขน้ึ ไดดวยการฝก ซอม ตลอดเวลา

7 3. ความออนตัว เปนลักษณะที่นักกีฬาจ ำเปนตองใชอยูตลอดเวลา ทง้ั ในการเลน เพ่ือรุกและรับ เพราะนกั กฬี าจาํ เปนตอ งมีความออ นตัวและการทรงตวั ท่ดี ีเมื่อมีการเคลอ่ื นไหวโดยฉับพลัน 4. หัวใจและระบบไหลเวียนเลือด ซ่ึงเปนระบบสําคัญหรับนักกฬี าในกรณกี ารเลน หรือการแขงขัน นักกีฬาท่ีมีระบบหวั ใจและระบบไหลเวียนเลอื ดดีกวา มกั ไดเปรียบ โดยเฉพาะกรณที ี่การแขงขัน ยดื เย้อื ใชเ วลานาน อนึง่ ผูท่มี ีระบบหัวใจและระบบไหลเวยี นเลอื ดแข็งแรงผูท ่ีมีความเช่ือมันและ มน่ั ใจในตวั เองสงู กวาผทู อ่ี อนแอกวา โดยเฉพาะผทู มี่ ี ซงึ่ มักจะมผี ลตอ สภาพจิตใจของผูเ ลน การเสริมสรา งสมรรถภาพทางกาย (Body Conditioning) การเสริมสรางสมรรถภาพทางกาย เปนวิธีการพฒั นาสมรรถภาพทางกายใหสามารถออกกาํ ลังกายหรือ เลนกีฬาไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยใชกิจกรรมทางกาย การออกกําลังกาย การฝกสมรรถภาพทางกายในแตละ องคป ระกอบ ซึ่งองคประกอบของสมรรถภาพทางกาย หลายอยางมคี วามสัมพันธกนั และเรียกวา ความสามารถใน การเคลื่อนไหว (Biomotor abilities) เปนการแสดงออกถงึ ความแข็งแรง ความเร็ว และความอดทนในการเลน กีฬา ซงึ่ กีฬาแตล ะชนดิ จะมีลกั ษณะการเคล่ือนไหวท่ีแตกตา งกนั ออกไป เชน กีฬาบางชนิดตอ งการความแข็งแรง บางชนิดตองการความเร็ว บางชนิดตองการความอดทน การฝกจึงควรเนนไปในทางดานที่นักกฬี าตองการใช แต กีฬาเกือบทุกชนิดมักจะใชความสามารถในการเคลื่อนไหวหลายๆ ดานในเวลาเดียวกัน จึงเกิดการผสมผสาน ความสามารถในการเคลื่อนไหวหลายๆ ดา นเขา ดวยกัน (Bompa, 1993) ความแข็งแรง ความเร็ว และความอดทน มีความสัมพันธก ัน ในชวงแรกของการฝก ความสามารถท้งั หมด จะถูกพัฒนา เพ่ือเปนการสรางพ้ืนฐานสําหรับการฝกใหคุนเคย ระยะตอมาจะเปนการฝกในขั้นสูง เพื่อใหเกิด ประสิทธิภาพของการฝก ใหม าก จงึ มกี ารกาํ หนดขนาดของความแข็งแรง ความเร็ว และความอดทนใหเหมาะสมกับ ชนดิ ของกฬี าและความตอ งการของนักกีฬา หลกั การเสรมิ สรา งสมรรถภาพทางกาย หลักการเสริมสรางสมรรถภาพทางกาย เพ่ือใหบรรลุผลและเปาหมาย จะตอ งมีหลักการและข้ันตอนที่ ถูกตองและเหมาะสม ถาออกกําลังกายนอยเกินไป จะไมเกิดประโยชนตอ สมรรถภาพรางกาย แตถามากเกินไป หรอื ไมถ ูกขั้นตอน จะเปนผลเสยี ตอ รา งกายไดเ ชนกนั จึงตอง จัดโปรแกรมการออกกําลังกาย ดงั น้ี

8 1. หลักการออกกําลังกายหนักกวาปกติ (Overload Principle) ในการออกกําลังกาย จะตองมีความ หนกั ทเ่ี พียงพอที่จะกระตนุ ระบบตา ง ๆ ของรา งกาย ใหทํางานมากกวาภาวะปกติ การใชนํ้าหนกั มากกวา ปกตอิ ยา งมหี ลกั การและขั้นตอน จะทาํ ใหรางกายพัฒนาข้นึ 2. หลักการออกกําลังกายแบบกาวหนา (Progression Principle) การออกกําลังกายใหหนกั อยางเปน ข้นั เปนตอน ตอ เน่ืองจากหลักการทํางานหนักกวาปกติ จะตอ งเพมิ่ การออกกําลังกายอยางเปนขั้นตอน และเหมาะสมกับระยะเวลา การปรบั เปล่ียนความหนกั ความบอยและระยะเวลา ในการฝก สามารถปรับ ไดท้งั 3 อยา ง ในการเพม่ิ ความหนักควรคอ ยๆ เพม่ิ ขึ้น เพอ่ื ปอ งกันการเม่อื ยลา ของรา งกาย และควรมวี ัน พั ก เ พ่ื อ ใ ห ร า ง ก า ย ไ ด ฟ น คื น ส ภ า พ จ า ก อ า ก า ร เ ห น่ื อ ย ล า แ ล ะ ซ อ ม แ ซ ม ส ว น ที่ สึกหรอจากการออกกาํ ลังกาย 3. หลักการออกกําลังกายแบบเฉพาะเจาะจง(Specific of Exercise Principle) ในการออกกําลงั กาย นน้ั การออกกําลังกายเพียงรูปแบบเดียวไมสามารถพฒั นาสมรรถภาพรางกายในทกุ ดา นได ดังนน้ั การ ออกกําลังายจึงมีความจําเปนจะตองจัดโปรแกรมการออกกําลังกายแบบเฉพาะเจาะจง เพ่ือสราง สมรรถภาพรา งกายในดา นนน้ั หรือจัดโปรแกรมการออกกําลงั กายเฉพาะสว น 4. หลักการออกกําลังกายแบบยอนกลับ (Reversibility Principle) ในชวงเวลาท่ีออกกําลังกายน้ัน รางกายมคี วามสมบูรณเต็มที่ แตเม่ือเราหยดุ ออกกําลังกายนานๆ รางกายจะกลับเขาสูสภาวะเดิมและ เส่ือมสภาพลง โดยเฉพาะในวัยท่ีสงู อายจุ ะเสื่อมเร็วกวา วัยหนุม สาว จึงตองมีการยอ นกลับมาออกกําลัง กายใหมอีกคร้ัง เพอื่ ท่จี ะเปนการเตรียมตัวและรกั ษาสภาพรา งกายใหพรอมอยเู สมอ 5. หลกั ของความแตกตางของบคุ คล(Principle of individualisation) การตอบสนองตอการออกกาํ ลัง กายของแตละคน ผูท่ีมีอายุ เพศ รูปราง ประสบการณ ระดับสมรรถภาพรางกายทักษะท่ีแตกตางกัน ความสามารถในการออกกําลงั กายยอมแตกตา งกนั จงึ ควรคาํ นงึ ถึง ความแตกตางของแตล ะคน 6. หลกั ของความหลากหลายในการออกกําลงั กาย (Principle of Variety) ในการออกกาํ ลงั กาย เพื่อให ไดประโยชนตอสุขภาพและสมรรถภาพรางกายน้ันจะตองมีรูปแบบกิจกรรมการออกกําลังกายที่ หลากหลาย นอกจากนนั้ การออกกาํ ลงั กายทีห่ ลากหลายยงั ทาํ ใหเ กิดความสนกุ สนาน ทา ทาย ไมรสู ึกเบื่อ หนา ยและจําเจในการออกกําลังกาย 7. หลักของการมสี ว นรว มในการออกกําลงั กาย(Principle of Active Involvement) สมรรถภาพรา งกายของผูออกกําลงั กาย จะเกดิ ข้ึนหลายอยางตามโปรแกรมการออกกําลงั กาย นอกจาก โปรแกรมการออกกาํ ลังกายที่ถูกตองเหมาะสมแลว ผูออกกําลังกายควรมีสวนรวมใน จัดโปรแกรมการ

9 ออกกําลังกายรวมกับผูนําหรือผูเช่ียวชาญการออกกาํ ลังกาย จะชวยเปนแรงกระตุน กระตือรือรนท่ีจะ พัฒนาตนเอง การฝก ซอม (Training) การฝกซอ ม หมายถึง การใชอวัยวะตาง ๆ ใหออกกําลังหรอื ทํางานซาํ้ ๆกนั บอย ๆ อยา งมีระบบระเบียบ โดยมีเปาหมายใหอวัยวะเหลาน้ันมีการพัฒนา แข็งแรง เจริญเติบโต และสามารถทํางานไดอ ยางมีประสิทธิภาพ ยงิ่ ขึน้ การฝกซอ มเพื่อการเลน กฬี าหรือการแขง ขนั กีฬา มีเปาหมายเพ่ือใหร า งกายมคี วามพรอ มสาํ หรบั การเลน หรอื แขงขนั กีฬาน้ัน ๆ อยางมีประสิทธิภาพ โดยท่ัวไปการฝกซอมเพื่อการแขงขนั กีฬาเพื่อความเปนเลิศหรอื เพ่อื การ อาชีพจะมเี ปาหมายใหรางกายมีประสิทธภิ าพถงึ ขดี สูงสุด พรอมทจ่ี ะเขารว มการแขง ขนั ในแตล ะครงั้ โดยหวังผลให ชนะ ผูฝกสอนในกฬี าทป่ี ระสบความสําเร็จ จําเปน ตองมีความรคู วามเขาใจในหลกั ของการฝกซอม รวมทัง้ ความรู ความเขา ใจในสมรรถภาพและประสิทธิภาพทางกายของนักกีฬาแตล ะคน ตลอดจน วธิ ีการฝกซอมทถ่ี ูกตองและ เหมาะสมตอการเลน หรอื การแขง ขันกีฬานนั้ ๆ และตองเตรี ใหพ รอ มท่ีสุดสาํ หรบั การแขง ขัน วิธีฝก ซอ มของระบบทสี่ าํ คัญ กาํ ลงั กลามเนื้อ ผูฝก สอนจําเปน ตอ งรวู าการเลนกีฬา มีกลามเนือ้ อะไรบางทีม่ ีความจําเปนท่ตี องใช เชน กลามเนอ้ื ของขา ซึง่ จาํ แนกเปน 1. กลามเนื้อสะโพก เปนกลามเนื้อมัดที่ใหญที่สุด ไดแก Gluteus Maximus ท ชวยเหยียดและกางตนขา นอกจากน้ยี ังมกี ลามเนอ้ื มัดเลก็ ๆ อยใู ตกลามเนือ้ มดั ใหญนที้ ําหนาทีช่ ว ยกางและหมนุ ตนขาเขา ขางใน 2. กลามเน้ือตน ขาประกอบดวย - กลา มเน้ือดานหนา ของตน ขา มีหนา ท่เี หยียดปลายขา - กลา มเนอื้ ดานในของตน ขา มหี นา ท่หี บุ ตน ขา - กลามเนื้อดา นหลังของตน ขา มหี นาทงี่ อปลายขา 3. กลา มเนือ้ ปลายของขา ประกอบดว ย - กลามเน้ือดานหลังของปลายขาชวยทําหนา ที่งอเทาข้ึน เหยียดน้ิวเทา และ หนั เทาออกดา น นอก

10 - กลามเน้อื ดานนอกของปลายขา ชวยทําหนาท่ีเหยียดปลายเทาเหมือนกลา มเนื้อ ดานหลัง ของปลายขา 4. กลามเนอื้ ของเทา เปนกลา มเน้อื ส้ันๆ เหมือนกบั ของมือ อยูทีห่ ลังเทา มีหนา ท่ียึดเทาใหเปน สวนโคงและ เคล่ือนไหวนว้ิ เทา 5. กลา มเนือ้ หวั ไหล และหนาอก ทําหนา ท่ยี กแขนและยกไหล 6. กลามเน้อื หนาทอ ง 7. กลามเน้ือหลังสวนบน กลามเนื้อดังกลาวขางตน มีความสาํ คัญสาํ หรับการเลนกีฬา เพราะโดยธรรมชาติ ของนักกีฬาจะตองมีการกระโดด การเตะและมีการเคล่ือนที่เปนระยะสั้นตลอดเวลา การฝกกําลัง กลา มเนื้อดังกลา วใหม กี าํ ลังและมคี วามเร็วในการทํางานจึงมคี วามจาํ เปน การฝก กลามเนอ้ื แตละมดั อาจใชก ารยกนาํ้ หนักหรือใชทากายบรหิ ารโดยใชน้ําหนักตัวของนกั กีฬาหรือของคู โดยอาจใหน กั กีฬาจับคู กัน การออกกลังแตล ะทาควรใชน้ําหนกั ประมาณ 60 – 80% ของความสามารถของนกั กฬี าแตละคนและควรทํา เปน เซตๆ ละ 3 – 6 ครั้งๆ ละ 3 – 5 เซต ในระยะตนของการฝกซอม ควรฝกอยา งนอ ย 3 – 4 วันตอสปั ดาห ขอแนะนําสําหรบั การฝก กาํ ลังกลา มเนื้อ ควรทาํ การฝกกลามเนอ้ื สว นลา งและสวนบนของรา งกายสลบั กนั หรืออาจ แยกการฝก แตละสว นเอาไวค นละวัน เพื่อหลกี เลย่ี งอาการเมื่อยลาและใหโอกาสกลา มเนื้อในการพกั ฟนตวั กาํ หนด ชวงเวลาการฝกและระยะเวลาในการฝกแตล ะครัง้ ใหใกลเ คยี งกนั ในปจจบุ ันมเี ครอ่ื งฝก กําลงั กลามเน้อื เฉพาะสว น ซง่ึ ผฝู กสอนสามารถกําหนดใหนกั กีฬาไดฝกกาํ ลงั ของกลามเนอ้ื ท่ีตอ งการแตกตา งกนั ในระหวา ผเู ลน แตละ ตําแหนง ท้ังนเี้ พ่อื เพม่ิ ศักยภาพใหน กั กีฬาในการทาํ หนา ทท่ี แี่ ตกตา งกันไดต ามความตอ งการของผฝู ก สอน การเสริมสรา งความแข็งแรง พลงั ความอดทนของกลามเน้อื การฝกดว ยนํา้ หนกั (Weight training) การฝก ดว ยน้ําหนัก มีจดุ ประสงคเพ่อื พัฒนาความแขง็ แรง พลงั และความอดทนของกลา มเน้ือโดยใชแรง ตา นจากแผน นา้ํ หนัก สปริง ยางยืด ความดนั จากลม แรงตานจากนาํ้ หรอื แรงตา นจากวัตถอุ ่ืน ๆ ใหกลามเน้อื ได ออกแรงหดตวั และยดื ตัวมากกวาปกติ เพอื่ สรางความแข็งแรงใหก ับเอ็นและขอ ตอ ปอ งกนั การบาดเจ็บทอี่ าจเกิด กับกลา มเนอ้ื และเอน็ ขอ ตอ ซึง่ ตอ งจดั โปรแกรมการฝกใหเ หมาะสมกับบุคคล องคประกอบทส่ี าํ คญั ในการออก

11 กาํ ลังกายดวยการฝก ดว ยนํ้าหนัก ประกอบดว ยจาํ นวนครงั้ ทยี่ ก จํานวนเซต ปรมิ าณความหนักท่ยี ก จังหวะในการ ยก และความถูกตอ งของทา ทใ่ี ชใ นการยก การยกน้าํ หนักอยางปลอดภยั (Lifting safety) การลดความเส่ยี งจากการฝกดวยนํา้ หนักหรอื แรงตา น ควรอบอนุ รางกายดวยการยกนํา้ หนักเบาๆ โดยเฉพาะในทา ทจ่ี ะฝกกลามเนอื้ ในมดั นั้น ๆ แสดงทาทจี่ ะฝกดวยการเคลอ่ื นไหวเตม็ ชว งของการเคล่ือนไหวในทา นัน้ ๆ ในการฝกทา ใหมใหใ ชนาํ้ หนกั นอยกอ นจนคนุ เคย คํานึงถงึ การบาดเจบ็ ทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั ขอตอ ถายังพอทจ่ี ะฝกได ใหใ ชน ํ้าหนกั ทน่ี อ ยแตเ พิม่ จํานวนคร้ังแทน อยาพยายามยกนํา้ หนกั ทีม่ ากเกินกวาท่ีกําหนดไว และยกอยา งถูก เทคนิควิธี ยกหนกั ในทาท่หี ลากหลายเพื่อใหก ลามเนอื้ ทุกมดั ไดร บั การพัฒนา ควรสรางความแขง็ แรงใหถึงระดบั ที่ เหมาะสมกอ นทจ่ี ะฝก พลงั กลามเน้อื แบบพลัยโอเมตริก แนวทางในการจัดโปรแกรมการฝก ดว ยนาํ้ หนกั ตามวตั ถุประสงคและเปาหมายทีต่ องการ ดังน้ี

12 บรรณานุกรม เพชราวุธ เทควันโด. [ออนไลน] . เขาถึงไดจาก : https://sites.google.com/site/phechrawuththekhwando /khwam-ru-keiyw-kab-the-khwan-do. (วนั ท่สี บื คนขอ มลู : 20 กนั ยายน 2564).


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook