Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบความรู้วิชาการบัญชีห้างหุ้นส่วน 20201-2002

ใบความรู้วิชาการบัญชีห้างหุ้นส่วน 20201-2002

Description: หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) 2563
ประเภทวิชาพาณิชยกรรม
สาขาวิชาพณิชยการ
สาขางานการบัญชี
รหัสวิชา 20201-2002
ชื่อวิชาการบัญชีห้างหุ้นส่วน
ท-ป-น 1-4-3

Search

Read the Text Version

ใบความรวู้ ิชา การบญั ชหี า้ งหนุ้ ส่วน 20201-2002 หนว่ ยท่ี 1 ความรู้เบ้ืองตน้ เกีย่ วกบั ห้างหุ้นสว่ น 1. สาระสำคญั การประกอบธุรกจิ การค้าอาจดำเนินการได้หลายรปู แบบ ทัง้ โดยบุคคลคนเดยี วเป็นเจ้าของกจิ การโดย ลำพัง หรืออาจดำเนินการโดยร่วมลงทุนกับบุคคลอื่นเป็นกลุ่มคณะก็ได้ การจะตัดสินใจเลือกดำเนินธุรกิจ การค้าในรูปแบบใดน้ัน ผู้ประกอบการต้องคำนึงถึงองค์ประกอบท่ีสำคัญหลายประการด้วยกัน เช่น ลักษณะ ของกิจการค้า เงินทุน ความรู้ความสามารถในการดำเนินธุรกิจ เป็นต้น ทั้งน้ี เพ่ือให้การประกอบธุรกิจน้ัน ประสบผลสำเร็จนำมาซง่ึ ผลประโยชน์และกำไรสูงสุด ห้างหุ้นสว่ นก็เปน็ การประกอบธรุ กิจอีกรูปแบบหนึ่ง ที่มผี ู้ประกอบการนยิ มจดั ตงั้ ซึ่งเป็นรปู แบบธุรกิจ ที่มีบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปตกลงทำการค้าร่วมกันเพื่อแสวงหากำไรและแบ่งผลกำไรจากการดำเนินกิจการนั้น ผู้เป็นหุ้นส่วนสามารถลงหุ้นด้วยเงิน ทรัพย์สินหรือแรงงานก็ได้ ถ้าลงหุ้นด้วยทรัพย์สินหรือแรงงานต้องตีราคา เป็นจำนวนเงนิ 2. สมรรถนะประจำหน่วยการเรียนรู้ 1. แสดงความรู้เกย่ี วกับความหมายและลักษณะสำคัญของห้างห้นุ สว่ น 2. แสดงความรเู้ กี่ยวกับประเภทของหา้ งหุ้นส่วน 3. แสดงความรู้เกี่ยวกับหน้าที่ของห้างหุ้นส่วนได้ 4. แสดงความรเู้ กย่ี วกับความเกย่ี วพันระหว่างผเู้ ป็นหุ้นสว่ นด้วยกันเอง 5. แสดงความรู้เกยี่ วกับความเกีย่ วพนั ระหวา่ งผ้เู ปน็ หุ้นส่วนกับบุคคลภายนอก 6. แสดงเจตคตแิ ละกิจนิสัยท่ีดีต่อการศกึ ษาการบญั ชีหา้ งหุ้นส่วน 3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ประจำหน่วย 3.1.จดุ ประสงค์ท่ัวไปเพอื่ ใหม้ ีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับความรู้เบอื้ งต้นเกี่ยวกับห้างหุ้นส่วน 3.2.จุดประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 3.1. อธบิ ายความหมายและลักษณะสำคัญของห้างหุ้นสว่ นได้ 3.2. บอกประเภทของหา้ งหนุ้ ส่วนได้ 3.3. บอกหนา้ ท่ีของหา้ งหนุ้ สว่ นได้ 3.4. อธิบายความเก่ยี วพันระหว่างผูเ้ ป็นหุ้นส่วนด้วยกนั เองได้ 3.5. อธบิ ายความเกยี่ วพนั ระหว่างผเู้ ป็นหุ้นสว่ นกับบคุ คลภายนอกได้

4. สาระการเรยี นรู้ ห้างหนุ้ ส่วน หมายถึง การท่ีบุคคลต้งั แต่ 2 คนขน้ึ ไปตกลงทำการค้าร่วมกันเพื่อแสวงหากำไรและแบ่ง ผลกำไรจากการดำเนินกิจการนั้น ผู้เป็นหุ้นสว่ นสามารถลงหุ้นดว้ ยเงนิ สด ทรพั ยส์ ิน หรอื แรงงานก็ได้ ถ้าลงหุ้น ด้วยทรัพยส์ ินหรอื แรงงานตอ้ งตีราคาเปน็ จำนวนเงนิ ลกั ษณะสำคัญของหา้ งหุ้นส่วน มดี ังน้ี 1) เป็นสญั ญาหรอื ข้อตกลงของบคุ คลตัง้ แต่ 2 คนขึน้ ไป 2) เป็นการกระทำกิจการร่วมกัน โดยคู่สัญญาจะต้องมีการตกลงเพ่ือจะกระทำกิจการร่วมกัน เชน่ การจะตกลงนำเงินสด ทรัพยส์ นิ หรือแรงงาน มาลงทนุ เปน็ ต้น 3) เป็นการแสวงหากำไรมาแบ่งปันกัน โดยจะต้องทำไปเพื่อแสวงหากำไรมาแบ่งปันกัน ทำให้ กจิ การท่ีจะเปน็ หุ้นส่วนต้องเปน็ กิจการท่ีดำเนนิ งานแล้วมีทิศทางท่ีต้องไดก้ ำไร ประเภทหา้ งหุ้นสว่ น ซง่ึ แบ่งออกเป็น 2 ประเภทตามกฎหมายแพง่ และพาณิชยม์ าตรา 1013 คือ 1) ห้างหุ้นส่วนสามัญ (Ordinary Partnership) คือ ห้างหุ้นส่วนท่ีมีผู้เป็นหุ้นส่วนประเภท เดียว คือ หุ้นส่วนไม่จำกัดความรับผิด โดยหุ้นส่วนทุกคนต้องรับผิดร่วมกันในหน้ีสินของห้างหุ้นส่วนท้ังหมด ห้างหุ้นส่วนสามัญจะจดทะเบียนหรือไม่ก็ได้ แต่ถ้าจดทะเบียนจะเรียกว่าห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล (หสน.) และมีสภาพเปน็ นิตบิ ุคคลตามกฎหมาย 2) ห้างหุ้นส่วนจำกัด (Limited Partnership - หจก.) คอื หา้ งหุ้นส่วนที่มหี ุ้นส่วน 2 ประเภท ได้แก่ 2.1 หุ้นส่วนจำกัดความรับผิด จะมีคนเดียวหรือหลายคนก็ได้ รับผิดไม่เกินจำนวนเงินท่ีตน ลงหุ้นในหา้ งหุ้นสว่ นจำกดั 2.2 หุ้นส่วนไม่จำกัดความรบั ผิด จะมีคนเดียวหรอื หลายคนก็ได้ รับผิดร่วมกนั ในหน้ีสินของ ห้างหนุ้ ส่วนทั้งหมด เมื่อจดทะเบียนเป็นห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล หรือห้างหุ้นส่วนจำกัดแล้ว ห้างหุ้นส่วนจะมีสภาพ เป็นนิติบุคคลตามกฎหมายแยกต่างหากจากผู้เป็นหุ้นส่วน และได้รับเลขทะเบียนนิติบุคคล 13 หลัก ซ่ึง สามารถใชเ้ ป็นเลขประจำตวั ผู้เสยี ภาษีอากรของกรมสรรพากรได้ เลข 13 หลกั XXXXXXXXXXXXX เลขทะเบียนนิติ เลขประจำตวั ผ้เู สยี บุคคล ภาษี สำหรับชื่อห้างหุ้นส่วน ถ้าจะนำช่ือไปใช้ในดวงตรา ป้ายชื่อ จดหมาย หรือเอกสารอย่างอ่ืนท่ีใช้ในธุรกิจ ของห้างหุ้นส่วน ต้องมีคำว่า “ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล” หรือ “ห้างหุ้นส่วนจำกัด” ประกอบชื่อ ถ้าใช้เป็น

อักษรต่างประเทศต้องใช้คำที่มีความหมายว่า “ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล” หรือ “ห้างหุ้นส่วนจำกัด” ประกอบชอ่ื ไม่เกนิ 50,000 บาท และปรบั อีกวันละ ถา้ ไมจ่ ัดทำจะมคี วามผดิ ปรับ ห้างหนุ้ สว่ น ไม่เกิน 500 บาท จนกวา่ จะได้เลกิ ใช้ หรอื จนกวา่ จะได้ปฏบิ ัติให้ถกู ต้อง ข้อแตกตา่ งระหว่างห้างหุ้นส่วนสามัญกบั ห้างหุ้นส่วนจำกัด และข้อแตกตา่ งระหว่างห้นุ ส่วนประเภท จำกดั ความรับผิด กับไมจ่ ำกดั ความรับผดิ ขอ้ แตกต่างระหวา่ งห้างหุ้นสว่ นสามัญกับห้างหุ้นสว่ นจำกัด ห้างหุ้นส่วนสามัญ หา้ งหุ้นสว่ นจำกัด 1.ไมต่ อ้ งจดทะเบยี น 1.ตอ้ งจดทะเบียน 2.ถ้าจดทะเบียนจะเปน็ ห้างหุ้นสว่ นสามัญนติ บิ ุคคล 2.เป็นนิตบิ ุคคล 3.ต้องรับผดิ รว่ มกนั ในหน้ีสนิ ของห้างหุน้ สว่ นท้ังหมด 3.รบั ผดิ ไมเ่ กินจำนวนเงนิ ทตี่ นลงหุน้ และรบั ผิด รว่ มกันในหน้ีสนิ ของห้างหนุ้ สว่ นท้ังหมด 4.มหี ุ้นสว่ นประเภทเดยี ว คือห้นุ ส่วนไมจ่ ำกดั ความ 4.มหี นุ้ ส่วน 2 ประเภท คือหุน้ ส่วนจำกดั ความรับผิด รับผดิ และหนุ้ ส่วนไมจ่ ำกัดความรบั ผิด 5.ห้นุ ส่วนทุกคนเข้ามาจัดการงานของหา้ งได้ 5.หนุ้ สว่ นประเภทไม่จำกัดความรบั ผิดเท่านั้นที่เข้า จัดการงานของหา้ งหนุ้ ส่วนได้ ขอ้ แตกต่างระหวา่ งหุน้ ส่วนประเภทจำกัดความรับผิด กบั ไม่จำกดั ความรับผิด หุ้นส่วนจำกดั ความรับผิด หุน้ ส่วนไมจ่ ำกัดความรับผิด 1.นำเงนิ สด และทรัพย์สินอ่นื มาลงทุน 1.นำเงนิ สด ทรัพยส์ ินอืน่ และแรงงานมาลงทุน 2.เป็นห้นุ ส่วนผูจ้ ัดการไม่ได้ 2.เป็นหนุ้ สว่ นผู้จัดการได้ 3.ดำเนนิ กจิ การทม่ี กี ารแขง่ ขันกบั หา้ งหุ้นสว่ นก็ได้ 3.จะดำเนินกิจการที่มกี ารแขง่ ขนั กบั หา้ งหนุ้ ส่วน ไมไ่ ด้ 4.เม่อื ผู้เป็นหุ้นส่วนตาย ลม้ ละลาย หรือเปน็ ผไู้ ร้ 4.เม่อื ผู้เป็นหุ้นสว่ นคนใดตาย หรือตกเปน็ ผไู้ ร้ ความสามารถ ไมต่ อ้ งเลกิ กจิ การ ความสามารถเปน็ เหตุหน่ึงท่ที ำให้ตอ้ งเลิกกจิ การ หนา้ ทีข่ องห้างหุ้นส่วน 1) จดั ทำบัญชรี ายวัน 2) ต้องจดั ใหม้ ผี ูท้ ำบัญชี 3) ตอ้ งสง่ มอบเอกสารท่ตี ้องใชป้ ระกอบการลงบัญชี 4) ต้องปิดบัญชคี รงั้ แรกภายใน 12 เดือน 5) จดั ทำงบการเงนิ

6) เมื่อผ้สู อบบัญชรี ับอนุญาตตรวจสอบงบการเงนิ แลว้ 7) ต้องเกบ็ รกั ษาบญั ชีและเอกสารท่ีต้องใชป้ ระกอบการลงบัญชไี ว้ทีส่ ำนกั งานแหง่ ใหญ่ การเปล่ียนแปลงรายการทางทะเบียน เม่ือห้างหุ้นส่วนจะเปลี่ยนแปลงรายการทางทะเบียน ผู้เป็น หุ้นส่วนจะต้องตกลงให้ความยินยอมด้วยกันทุกคนแล้วให้หุ้นส่วนผู้จัดการยื่นขอจดทะเบียนแก้ไขเพ่ิมเติม รายการท่ีเปลี่ยนแปลงนั้นต่อนายทะเบียนหุ้นส่วนบริษัทการเปลี่ยนแปลงหุ้นส่วนผู้จัดการต้องไปย่ืนจด ทะเบียนภายใน 14 วนั นบั จากวันทีม่ ีการเปล่ียนแปลง ความเกยี่ วพันระหวา่ งผู้เป็นหุน้ สว่ นด้วยกนั เอง ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์กล่าวถงึ ความเก่ียวพันระหวา่ งผู้เป็นหุน้ ส่วน ดงั น้ี 1. ผูเ้ ปน็ หุ้นส่วนทกุ คนตอ้ งมสี ่งิ หนงึ่ สง่ิ ใดมาลงหนุ้ ด้วยในห้างหุ้นสว่ น สิง่ ที่นำมาลงด้วยนั้นจะ เงิน เป็นหรอื ทรพั ย์สนิ สิง่ อ่ืนหรอื ลงแรงงานก็ได้ 2. เม่อื มีข้อสงสัย ใหส้ ันนษิ ฐานไวก้ อ่ นว่าสิ่งซ่ึงนำมาลงหุน้ ดว้ ยกันนั้นมีค่าเท่ากนั 3. ถ้าหุ้นส่วนคนใดได้ลงแต่แรงงานของตนเข้าเป็นหุ้น และในสัญญาเข้าหุ้นส่วนมิได้ตีราคา ค่าแรงไว้ ให้คำนวณส่วนกำไรของผู้เป็นหุ้นส่วนด้วยลงแรงงาน โดยส่วนตัวเฉลี่ยของผู้เป็นหุ้นส่วนซ่ึงได้ ลงเงิน หรือลงทรัพย์สนิ เข้าหนุ้ นน้ั 4. ถ้าหุ้นส่วนคนใดเอาทรัพย์สินมาให้ใช้เป็นการลงหุ้น ความเกี่ยวพันระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วน คน น้ันกับห้างหุ้นส่วน เช่น ส่งมอบและซ่อมแซม ความรับผิดเพื่อชำรุดบกพร่อง ความรับผิดเพ่ือการ รอนสิทธิ ข้อยกเวน้ ความรับผดิ ให้บงั คบั ตามบทบญั ญตั แิ หง่ ประมวลกฎหมายว่าด้วยเช่าทรัพย์ 5. ถ้าหุ้นส่วนคนหน่ึงให้กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินอันใดอันหนึ่งเป็นการลงหุ้น ความเก่ียวพัน ระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วนคนนั้นกับห้างหุ้นส่วนในเร่ืองส่งมอบและซ่อมแซม ความรับผิดเพื่อชำรุดบกพร่อง ความ รับผิดเพือ่ การรอนสทิ ธิ ขอ้ ยกเว้นความรบั ผดิ ให้บงั คับตามประมวลกฎหมายนวี้ า่ ด้วยชอ้ื ขาย 6. ถ้าผเู้ ปน็ หุ้นสว่ นคนใดละเลยไม่ส่งมอบส่วนลงหุ้นของตน ต้องส่งคำบอกกล่าวเปน็ จดหมาย จด ทะเบียนไปรษณีย์ไปยังผู้เป็นหุ้นส่วนคนนั้น ให้ส่งมอบส่วนลงหุ้นของตนมาภายในเวลาอันสมควร ผู้เป็น หุ้นส่วนคนอืน่ ๆ จะลงความเห็นพรอ้ มกนั หรือโดยเสียงข้างมากซ่ึงแล้วแต่ขอ้ สัญญา ให้เอาผเู้ ปน็ หุน้ ส่วนคนน้ัน ออกได้ 7. ห้ามมิให้เปล่ียนแปลงข้อสัญญาเดิมแห่งห้างหุ้นส่วนหรือประเภทแห่งกิจการ นอกจากด้วย ความยินยอมของผูเ้ ป็นหุ้นส่วนหมดดว้ ยกนั ทกุ คน เวน้ แต่จะมีขอ้ ตกลงกนั ไว้เป็นอยา่ งอื่น 8. ถ้าผู้เป็นหุ้นส่วนมิได้ตกลงกันไว้ในกระบวนจัดการห้างหุ้นส่วน ผู้เป็นหุ้นส่วนย่อมจัดการ ห้าง ห้นุ ส่วนนั้นได้ทุกคน แต่ผู้เป็นหุน้ ส่วนคนหน่ึงคนใดจะเข้าทำสญั ญาอันใดซง่ึ ผู้เป็นหุ้นส่วนอกี คนหนงึ่ ทักทว้ งน้ัน ไม่ได้ ในกรณีเชน่ น้ีใหถ้ อื วา่ ผเู้ ปน็ หุ้นส่วนยอ่ มเป็นหุ้นสว่ นผู้จัดการทุกคน 9. ถ้าได้ตกลงกันไว้ว่าการงานของห้างหุ้นส่วนน้ันให้เป็นไปตามเสียงข้างมาก ให้ผู้เป็นหุ้นส่วน คนหนึ่งมีเสียงเป็นคะแนนหนึ่ง โดยไมต่ อ้ งคำนึงถงึ จำนวนที่ลงหุน้ ด้วยมากหรือนอ้ ย 10. ถ้าได้ตกลงกันไว้ว่าจะให้ผ้เู ป็นหุ้นส่วนหลายคนจดั การหา้ งหุ้นส่วน หุ้นสว่ นผู้จัดการแตล่ ะคน จะจัดการห้างหุ้นส่วนน้ันก็ได้ แต่หุ้นส่วนผู้จัดการคนหนึ่งคนใดจะทำการอันใดซ่ึงหุ้นส่วนผู้จัดการ อีกคนหนึ่ง ทักท้วงนั้นไม่ได้ 11. หุ้นส่วนผู้จัดการน้ัน จะให้ออกจากตำแหน่งได้ต่อเมื่อผู้เป็นหุ้นส่วนทุกคนยินยอมพร้อมกัน เว้นแต่จะได้ตกลงกันไว้เป็นอย่างอ่นื

12. แม้ว่าหุ้นส่วนทุกคนได้ตกลงให้ผู้เป็นหุ้นส่วนคนเดียวหรือหลายคนเป็นผู้จัดการห้างหุ้นส่วน ก็ตาม ผู้เป็นหุ้นส่วนทุกคนนอกจากผู้จัดการย่อมมีสิทธิที่จะไต่ถามถึงการดำเนินงานของห้างหุ้นส่วนที่ทำ อยู่ นัน้ ไดท้ กุ เมอื่ และมสี ิทธิท่ีจะตรวจและคัดสำเนาสมุดบัญชี และเอกสารใดๆ ของห้นุ สว่ นได้ 13. ห้ามมิให้ผู้เป็นหุ้นส่วนประกอบกิจการอย่างหน่ึงอย่างใดซึ่งมีสภาพเป็นการแข่งขันกับ กิจการของห้างหุ้นส่วนนั้น ไม่ว่าทำเพื่อประโยชน์ตนหรือประโยชน์ผู้อ่ืน โดยมิได้รับความยินยอมของ ผู้เป็น หุ้นส่วนคนอ่ืนๆ 14. ถ้าผู้เป็นหุ้นส่วนคนใดทำการฝ่าฝืนต่อกฎหมายน้ี ผู้เป็นหุ้นส่วนคนอื่นๆ ก็จะเรียกเอาผล กำไรซึง่ ผู้นั้นหาได้ทั้งหมด หรือเรียกเอาค่าสินไหมทดแทนเพื่อการที่ห้างห้นุ ส่วนไดร้ ับความเสียหาย เพราะเหตุ นั้น แตห่ า้ มมิให้ฟ้องเรยี กเมอื่ พ้นเวลา 1 ปีนับแตว่ นั ทำการฝ่าฝืน 15. ผเู้ ป็นหนุ้ สว่ นตอ้ งจดั การงานของหา้ งหุน้ สว่ นดว้ ยความระมดั ระวังใหม้ ากเสมือนกับจัดการ งานของตนเอง 16 ห้ามมใิ ห้ชกั นำเอาบุคคลผอู้ น่ื เข้ามาเป็นหุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วน โดยมไิ ดร้ บั ความยนิ ยอมจาก หุ้นส่วนทกุ คน เวน้ แต่จะไดต้ กลงกันไว้เป็นอย่างอน่ื 17. ถ้าหุ้นส่วนคนใดคนหน่ึงโอนส่วนกำไรของตนในห้างหุ้นส่วนท้ังหมด หรือบางส่วนให้แก่ บุคคลภายนอกโดยมไิ ด้รับความยินยอมจากห้นุ ส่วนทุกคน บคุ คลภายนอกจะเขา้ เปน็ หนุ้ ส่วนไมไ่ ด้ 18. ความเก่ียวพันระหว่างหุ้นส่วนผู้จัดการกับผู้เป็นหุ้นส่วนนั้น ให้บังคับด้วยบทบัญญัติแห่ง ประมวลกฎหมายว่าดว้ ย ตัวแทน 19. ถา้ หุ้นส่วนมิไดเ้ ป็นผู้จดั การ แต่เขา้ มาจัดการงานของหา้ งห้นุ ส่วน หรอื หุ้นส่วนผ้จู ดั การ กระทำเกนิ ขอบอำนาจของตน ใหบ้ ังคบั ใช้บทบัญญัตแิ ห่งประมวลกฎหมายนี้วา่ ดว้ ยจดั การงานนอกส่งั 20. กำไรหรือขาดทนุ ของผเู้ ป็นหนุ้ สว่ นทกุ คนนนั้ ย่อมเป็นไปตามสว่ นทีล่ งหุ้น 21. ถา้ หุ้นสว่ นของผู้ใดได้กำหนดไว้แต่เพยี งกำไรว่าจะแบ่งเทา่ ไร หรือกำหนดแต่ยอมขาดเท่าไร ให้สนั นษิ ฐานไวว้ า่ หุ้นสว่ นผู้นน้ั มสี ่วนกำไรและส่วนขาดทุนเปน็ อย่างเดียวกัน 22. ผู้เป็นหุน้ ส่วนไม่มสี ทิ ธทิ ีจ่ ะได้รบั บำเหน็จใหจ้ ดั การงานของห้างหุน้ สว่ นน้ันได้ เวน้ แต่จะได้มี ความตกลงกันไวเ้ ปน็ อย่างอ่นื 23. ถ้าช่ือของผู้เปน็ หุ้นส่วนซงึ่ ออกจากห้นุ สว่ นไปแล้ว ยังคงใชเ้ รียกตดิ เปน็ ช่อื ห้างหุ้นส่วนอยู่ ผูเ้ ปน็ ห้นุ ส่วนนนั้ มสี ิทธิท่ีจะไมใ่ หใ้ ช้ช่ือของตนได้ 24 ผู้เป็นหุ้นส่วนคนหนงึ่ จะเรยี กเอาส่วนของตนจากหนุ้ สว่ นอืน่ ๆ ได้แม้จะไมป่ รากฏชื่อของตน ความเกยี่ วพนั ระหว่างผู้เป็นหุ้นสว่ นกับบุคคลภายนอก 1. ผเู้ ปน็ หนุ้ ส่วนจะถือเอาสทิ ธิใดๆ แก่บคุ คลภายนอกในกจิ การ ซง่ึ ไมป่ รากฏชื่อของตนไม่ได้ 2. การใดๆ อันผู้เป็นหุ้นส่วนคนใดคนหนึ่งได้จัดทำไปในทางท่ีเป็นธรรมดาการค้าขายของห้าง หุ้นส่วนนั้น ผู้เป็นหุ้นสว่ นทุกคนย่อมมีความผูกพันในการน้ันๆ ด้วย และต้องรับผดิ ร่วมกันโดยไม่จำกัด จำนวน ในการชำระหน้ี อันไดก้ อ่ ใหเ้ กิดข้นึ เพราะจดั การไปเช่นนัน้ 3. ผู้เป็นหุ้นส่วนซ่ึงออกจากหุ้นส่วนไปแล้วยังคงต้องรับผิดในหนี้ ซึ่งห้างหุ้นส่วนได้ก่อให้เกิด ข้ึน ท่ีตนไดอ้ อกจากหุ้นสว่ นไป 4. บุคคลผเู้ ข้าเปน็ หุ้นส่วนในหา้ งห้นุ ส่วนย่อมต้องรบั ผดิ ในหนใ้ี ดๆ ซึ่งห้างหุ้นสว่ นได้กอ่ ให้เกดิ ขึ้น กอ่ นทต่ี นเขา้ มาเป็นหนุ้ ส่วนด้วย

5. ห้างหุ้นส่วนซ่ึงมิได้จดทะเบียนน้ัน ถึงแม้จะมีข้อจำกัดอำนาจของหุ้นส่วนคนหน่ึงในการท่ีจะ ผกู พันผู้เป็นหนุ้ สว่ นคนอน่ื ๆ ท่านว่าข้อจำกัดเชน่ นัน้ ก็หามผี ลถึงบุคคลภายนอกไม่ 6. บุคคลใดแสดงตนว่าเป็นหุ้นส่วนด้วยวาจา ด้วยลายลักษณ์อักษร ด้วยกิริยา ด้วยยินยอมให้ เขาใช้ชื่อตนเป็นช่ือห้างหุ้นส่วนก็ดี หรือรู้แล้วไม่คัดค้านปล่อยให้เขาแสดงว่าตนเป็นหุ้นส่วน บุคคลน้ัน ย่อม ต้องรบั ผิดต่อบุคคลภายนอกในบรรดาหนข้ี องหา้ งหุ้นส่วนเสมือนเป็นหุ้นส่วน

แบบฝึกปฏิบตั ิหน่วยท่ี 1 จงตอบคำถามต่อไปน้ี 1. ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ยม์ าตรา 1012 กล่าวถงึ หา้ งห้นุ สว่ นอย่างไร 2. จงบอกลกั ษณะสำคัญของหา้ งหุ้นส่วน มาให้เข้าใจ 3. หา้ งหุ้นส่วนตามกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์มาตรา 1013 แบ่งเป็นก่ีประเภท ได้แก่อะไรบ้าง และมลี ักษณะ อย่างไร จงอธิบาย 4. จงบอกขอ้ แตกตา่ งระหวา่ งหุน้ สว่ นประเภทจำกัดความรับผดิ กับไมจ่ ำกัดความรบั ผดิ 5. จงบอกหน้าท่ีในการจัดทำบัญชขี องหา้ งหุน้ สว่ น ตามพระราชบัญญตั กิ ารบัญชี พ.ศ. 2543 6. เมอ่ื หา้ งหนุ้ ส่วนจะเปลี่ยนแปลงชือ่ ของหา้ งห้นุ ส่วน จะตอ้ งปฏิบตั ิอยา่ งไร 7. หา้ งหุ้นสว่ นต้องเก็บรักษาบัญชีและเอกสารทต่ี อ้ งใช้ประกอบการลงบัญชีไวท้ สี่ ำนักงานแห่งใหญ่หรือสถานที่ ท่ีใช้ผลิตหรือเก็บสินค้าเป็นประจำหรอื สถานทท่ี ่ีใช้เปน็ ทที่ ำงานประจำอย่างไร 8. เอกสารทห่ี า้ งหนุ้ ส่วนต้องสง่ มอบเพือ่ ใช้ประกอบการลงบญั ชี ได้แกเ่ อกสารใด และถา้ ไมด่ ำเนินการจะมโี ทษ อย่างไร

9. ห้างหุ้นสว่ นตอ้ งปดิ บัญชอี ยา่ งไร 10. ผเู้ ปน็ หุน้ ส่วนกับบุคคลภายนอกมคี วามเก่ียวพนั กันอยา่ งไร

ใบความรู้วิชา การบัญชหี า้ งหุน้ ส่วน 20201-2002 หนว่ ยท่ี 2 กฎหมายท่เี กี่ยวข้องกับห้างหุน้ ส่วน 1. สาระสำคัญ การประกอบกิจการห้างหุ้นส่วนนั้น จำเป็นต้องปฏิบัติตามกฎหมายหลายฉบับโดยเฉพาะประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 ลักษณะ 22 หุ้นส่วนและบริษัท พระราชบัญญัติกำหนดความผิดเกี่ยวกับ ห้างหุ้นส่วนจดทะเบยี น หา้ งหุน้ สว่ นจำกัด บริษทั จำกัด สมาคมและมูลนธิ ิ พ.ศ. 2499 และพระราชบัญญัตกิ าร บัญชี พ.ศ. 2543 เพ่ือให้การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน การจัดทำบัญชีของห้างหุ้นส่วน และข้อมูลอ่ืนๆ ที่เกี่ยวข้องกับ หา้ งหุ้นส่วนเป็นไปด้วยความถกู ต้องตามกฎหมาย รวมท้ังผลของการไม่กระทำตามข้ันตอนของกฎหมายก็จะมี บทลงโทษเชน่ เดยี วกัน ดังนนั้ จึงจำเป็นต้องศึกษากฎหมายประกอบการจัดต้ังห้างหุ้นส่วน การรับหุ้นส่วนใหม่ การลาออกและการตายของหนุ้ สว่ น รวมท้ังการเลกิ หา้ งและการชำระบัญชี 2. สมรรถนะประจำหนว่ ยการเรยี นรู้ 1. แสดงความรู้เกีย่ วกับความรู้ด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับห้างหุ้นส่วน 2. แสดงความรู้เก่ียวกบั ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 ลกั ษณะ 22 หุน้ สว่ นและบรษิ ัท 3. แสดงความรู้เก่ียวกับพระราชบัญญัติกำหนดความผิดเกี่ยวกับห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน ห้างหุ้นส่วน จำกดั บริษทั จำกดั สมาคมและมลู นธิ ิ พ.ศ. 2499 4. แสดงความรู้เกี่ยวกบั พระราชบัญญตั กิ ารบัญชี พ.ศ. 2543 5. แสดงเจตคตแิ ละกิจนิสยั ที่ดีต่อการศึกษาการบญั ชีห้างหุ้นส่วน 3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรูป้ ระจำหนว่ ย 3.1.จุดประสงคท์ ่ัวไปเพอื่ ใหม้ ีความรูค้ วามเขา้ ใจเก่ียวกบั กฎหมายที่เก่ยี วข้องกับหา้ งหุ้นสว่ น 3.2.จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 3.2.1. บอกความรดู้ า้ นกฎหมายทีเ่ กย่ี วขอ้ งกับหา้ งหุน้ ส่วน 3.2.2. อธบิ ายประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ บรรพ 3 ลักษณะ 22 หุ้นสว่ นและบรษิ ัท 3.2.3. อธิบายพระราชบัญญตั ิกำหนดความผิดเก่ยี วกับห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน หา้ งหุน้ ส่วนจำกัด บรษิ ัทจำกดั สมาคมและมูลนธิ ิ พ.ศ. 2499 3.2.4. อธิบายพระราชบัญญัตกิ ารบญั ชี พ.ศ. 2543

4. สาระการเรยี นรู้ ความรู้ด้านกฎหมายท่ีเกี่ยวข้องกับห้างหุ้นส่วน การประกอบธุรกิจการค้าท่ีดำเนินการในรูปแบบ ของหา้ งหุน้ ส่วนน้ัน ผู้ประกอบการจะต้องคำนึงถึงองคป์ ระกอบทสี่ ำคัญหลายประการ เช่น ลกั ษณะของกจิ การ ค้า เงินทุน ความรี้ความสามารถในการดำเนินธุรกิจ เป็นต้น เพื่อให้การประกอบธุรกิจน้ันประสบผลสำเร็จ นำมาซึ่งผลประโยชน์และกำไรสูงสุด ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ บรรพ 3 ลักษณะ 22 หุ้นส่วนและบริษัท ซ่ึงได้บัญญัติบท กฎหมายเกี่ยวกับลักษณะสำคัญของสัญญาหุ้นส่วนและบริษัท รวมถึงความผูกพัน หน้าที่ความรับผิดชอบ ระหว่างผูเ้ ป็นหุ้นสว่ นกับห้างหุน้ ส่วน และระหวา่ งหนุ้ สว่ นกับบุคคลภายนอก กฎหมายฉบับนี้ประกอบดว้ ย • หมวดที่ 1 สญั ญาจัดตง้ั ห้างหนุ้ สว่ น • หมวดที่ 2 หา้ งหนุ้ สว่ นสามญั สว่ นท่ี 1 บทวิเคราะห์ ส่วนท่ี 2 ความเก่ียวพันระหว่างผ้เู ปน็ หุ้นส่วนดว้ ยกันเอง สว่ นที่ 3 ความเกี่ยวพันระหว่างผ้เู ป็นหุ้นส่วนกับบุคคลภายนอก สว่ นท่ี 4 การเลิกและชำระบัญชีห้างหนุ้ ส่วนสามัญ สว่ นท่ี 5 การจดทะเบียนหา้ งหุ้นสว่ นสามัญ สว่ นที่ 6 การควบหา้ งหนุ้ ส่วนจดทะเบียนเข้ากนั • หมวดท่ี 3 ห้างหนุ้ สว่ นจำกัด พระราชบัญญัติกำหนดความผิดเกี่ยวกับห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด สมาคมและมูลนิธิ พ.ศ. 2499 ในเน้ือหาจะอธิบายเฉพาะส่วนที่เกี่ยวข้องกับห้างหุ้นส่วนเท่าน้ัน โดย พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2500 เป็นต้นไป โดยให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวง พาณิชยร์ ักษาการตามบทบัญญตั ิในหมวดนี้ ประกอบด้วย หมวด 1 ความผดิ เก่ียวกบั ห้างหนุ้ ส่วนจดทะเบยี นและหา้ งหุ้นสว่ นจำกดั ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนหรือห้างหุ้นส่วนจำกัดใดใช้ชื่อในดวงตรา ป้ายชื่อ หนังสือบอกกล่าว ป่าวรอ้ ง จดหมาย ใบแจ้งความหรอื เอกสารอย่างอนื่ เกีย่ วกับธรุ กิจของห้างหุ้นสว่ น (มาตรา 3) (1) ถ้าเป็นอักษรไทย ไม่ใช้คำว่า “ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล” หรือ “ห้างหุ้นส่วนจำกัด ประกอบซ้ือแล้วแตก่ รณี (2) ถ้าเป็นอักษรต่างประเทศ ไม่ใช้คำซง่ึ มคี วามหมายว่า “ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล” หรือ “หา้ งหุน้ ส่วนจำกัด” ตามประกาศของกระทรวงตา่ งประเทศประกอบชอ่ื แล้วแตก่ รณี ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 50,000 บาท และปรับอีกไม่เกินวันละ 500 บาท จนกว่าจะได้ ปฏิบตั ใิ ห้ถกู ตอ้ ง ผู้ใดใช่ชื่อหรือย่ีห้อซึ่งมีอักษรไทยประกอบว่า “ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล” หรือ “ห้าง หุ้นส่วน จํากัด ” หรืออักษรต่างประเทศซ่ึงมีความหมายดังกล่าวประกอบ ในดวงตรา ป้ายช่ือ หนังสือบอก กล่าวป่าวร้อง จดหมาย ใบแจ้งความ หรือเอกสารอย่างอ่ืนเก่ียวกับธุรกิจ โดยมิได้เป็นห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน หรือหา้ งหุน้ ส่วนจำกัด เวน้ แต่เป็นการใช้ในการขอจดทะเบียนเก่ียวกับการต้ังหา้ งหุ้นส่วน ตอ้ งระวางโทษ ปรับ

ไม่เกนิ 20,000 บาท และปรบั อกี ไม่เกินวันละ 500 บาท จนกวา่ จะได้เลิกใช้หรอื จนกว่าจะได้ปฏิบัติ ให้ถูกต้อง แลว้ แต่กรณี (มาตรา 4) ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน หรือห้างหุ้นส่วนจำกัดใดไม่จดทะเบียนตามมาตรา 1064/2 หรือ มาตรา 1078/2 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ยต์ ้องระวางโทษปรบั ไม่เกนิ 20,000 บาท ผสู้ อบบญั ชีของห้างหุ้นสว่ นจดทะเบียน ห้างหุ้นสว่ นจำกัด ผู้ใดรับรองงบดลุ หรือบัญชีอ่ืนใดท่ี ไม่ ถูกต้องหรือทำรายงานเท็จ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือท้ังจำ ท้ัง ปรบั (มาตรา 31) ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนหรือห้างหุ้นส่วนจำกัดใด ไม่โฆษณาหรือไม่มีหนังสือบอกกล่าวความ ประสงคจ์ ะแปรสภาพ หรือจัดการแปรสภาพโดยฝ่าฝนื ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ตอ้ งระวางโทษ ปรับ ไมเ่ กนิ 20,000 บาท หุ้นส่วนผู้จัดการของห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน หรือห้างหุ้นส่วนจำกัดใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา 1246/3 แห่งประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ ตอ้ งระวางโทษปรับไม่เกนิ 50,000 บาท ผชู้ ำระบัญชีคนใดของห้างหุ้นสว่ นจดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนจำกัด ไม่กระทำตามมาตรา 1253 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 80,000 บาท (มาตรา 32) ผู้ชำระบัญชีคน ใดของห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนจำกัด ไม่จดทะเบียนตามประมวล กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ต้อง ระวางโทษปรับไมเ่ กนิ 50,000 บาท (มาตรา 33) ผู้ชำระบัญชีคนใดของห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนจำกัด ไม่ร้องขอต่อศาลตาม ประมวล กฎหมายแพง่ และพาณิชย์ ตอ้ งระวางโทษปรบั ไม่เกิน 50,000 บาท (มาตรา 34) ผชู้ ำระบญั ชีคนใดของห้างหุ้นสว่ นจดทะเบียน ห้างหนุ้ ส่วนจำกดั (มาตรา 35) (1) ไม่ทำงบดุล หรอื ไมเ่ รียกประชุมใหญต่ ามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ (2) ไม่ทำรายงาน หรือไม่เปดิ เผยรายงานตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ (3) ไม่ทำรายงาน ไม่เรียกประชุมใหญ่ หรือไม่ช้ีแจงกิจการตามประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์ หรือ (4) ไม่มอบบัญชีและเอกสารตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ต้องระวางโทษปรับไม่ เกิน 50,000 บาท ผชู้ ำระบญั ชขี องห้างหุ้นสว่ นจดทะเบียน หา้ งหนุ้ สว่ นจำกัด ไม่เรียกประชมุ ใหญ่ ไมท่ ำรายงาน หรอื ไม่แถลงตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ยต์ ้องระวางโทษปรบั ไม่เกิน 10,000 บาท (มาตรา 36) ผู้ชำระบัญชีของห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนจำกัด แบ่งคืนทรัพย์สินโดยฝ่าฝืน ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชยต์ อ้ งระวางโทษปรับไม่เกิน 20,000 บาท (มาตรา 37) ผู้ใดใช้ช่ือของห้างหุ้นส่วน จดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนจํากัดใดท่ีถูกขีดชื่อออกจากทะเบียนแล้ว ใน การประกอบกิจการค้า เพื่อให้ประชาชนเข้าใจว่าห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนจำกัดน้ันยังมิได้ถูก ขีดชื่อต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 50,000 บาท และปรับอีกวันละไม่เกิน 1,000 บาท จนกว่าจะได้เลิกใช้ (มาตรา 38/1) บคุ คลใดซึ่งรับผิดชอบในการดำเนินงานของห้างหุ้นสว่ นจดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนจำกดั เอาไป ทำเสียหาย ทำลาย ทำใหเ้ สื่อมคา่ หรือทำให้ไรป้ ระโยชน์ ซงึ่ ทรัพย์สินอันนิติบุคคลจำนำไว้ ถ้าไดก้ ระทำ เพ่ือให้

เกิดความเสียหายแก่ผู้รับจำนำ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี โทษปรับไม่เกิน 60,000 บาท หรือทั้งจำทั้ง ปรับ (มาตรา 39) บุคคลใดซึ่งรับผิดชอบในการดำเนินงานของห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนจำกัด รู้ว่า เจ้าหนี้ของนิติบุคคลหรือเจ้าหนี้ของบุคคลอ่ืนซึ่งจะใช้สิทธิของเจ้าหนี้ของนิติบุคคลดังกล่าว บังคับการ ชำระ หน้จี ากนติ บิ คุ คล ใชห้ รอื นา่ จะใชส้ ิทธเิ รียกร้องทางศาลให้ชำระหนี้ (มาตรา 40) (1) ยา้ ย ซอ่ น หรือโอนใหแ้ ก่ผูอ้ ่นื ซง่ึ ทรพั ยส์ ินของนติ ิบคุ คล หรอื (2) แกล้งให้นิติบุคคลเปน็ หน้ีซง่ึ ไมเ่ ป็นความจริง ถา้ ได้กระทำเพ่ือมิให้เจ้าหน้ีได้รับชำระหน้ีท้ังหมดหรือแต่บางส่วน ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 3 ปี หรือปรบั ไมเ่ กิน 60,000 บาท หรอื ทง้ั จำท้งั ปรบั บุคคลใดซึ่งรับผิดชอบในการดำเนินงานของห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนจำกัด กระทำ การหรือไม่กระทำการเพ่ือแสวงหาประโยชน์ท่ีมิควรได้โดยชอบด้วยกฎหมายเพื่อตนเองหรือผู้อื่นอัน เปน็ การเสยี หายแก่นิตบิ คุ คลตอ้ งระวางโทษปรบั ไม่เกิน 50,000 บาท (มาตรา 41) บุคคลใดซ่ึงรับผิดชอบในการดำเนินงานของห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนจำกัด กระทำ หรอื ยนิ ยอมให้กระทำการดงั ตอ่ ไปนี้ (มาตรา 42) (1) ทำให้เสียหาย ทำลาย เปล่ียนแปลง ตัดทอน หรือปลอม บัญชี เอกสาร หรือหลักประกัน ของห้างห้นุ สว่ นหรือบรษิ ัท หรือทเี่ ก่ียวกับหา้ งหนุ้ ส่วน (2) ลงข้อความเท็จ หรือไม่ลงข้อความสำคัญในบัญชี หรือเอกสารของห้างหุ้นส่วน หรือที่ เกยี่ วกบั ห้างหุ้นส่วน ถ้ากระทำหรือยินยอมให้กระทำการเพ่ือลวงให้ห้างหุ้นส่วน ผู้เป็นหุ้นส่วนขาดประโยชน์ อันควร ได้ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 7 ปี หรือปรับไม่เกิน 140,000 บาท หรือทั้งจำท้ังปรับ ผู้ใดโฆษณา ชวนให้เข้าช่ือซ้ือหุ้นโดยฝ่าฝืนประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ต้องระวางโทษ ปรับไม่เกิน 50,000 บาท (มาตรา 43) ผู้ใดโฆษณาโดยอ้างถึงบุคคล ตำแหน่งหน้าที่ บัญชี รายงาน หรือกิจการอันเกี่ยวกับ ห้างหุ้นส่วน จดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนจำกัด อันเป็นเท็จในสาระสำคัญหรือปกปิดข้อความอันเป็นสาระสำคัญ เพอ่ื (มาตรา 46) (1) ลวงผู้มสี ว่ นไดเ้ สยี ในหา้ งหนุ้ ส่วนนน้ั ให้ขาดประโยชนอ์ นั ควรได้จากห้างหนุ้ ส่วนนนั้ (2) จงู ใจบคุ คลให้เขา้ เป็นหนุ้ ส่วน ให้มอบหมายหรือให้ส่งทรพั ย์สนิ ให้แก่ห้างหุ้นส่วนน้ัน หรือ ใหเ้ ขา้ เป็นผคู้ ้ำประกนั หรือใหท้ รัพยส์ ินเปน็ ประกันหา้ งหุน้ สว่ นนั้น ต้องระวางโทษจำคกุ ไมเ่ กนิ 3 ปี หรอื ปรบั ไม่เกิน 60,000 บาท หรอื ทัง้ จำท้ังปรับ ผู้ใดโดยทุจริต กำหนดค่าแรงงานหรือทรัพย์สินที่นำมาลงในห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน หา้ งหนุ้ ส่วนจำกัด แทนเงนิ คา่ หุน้ สูงกว่ามูลค่าทีแ่ ท้จรงิ ต้องปรบั ไมเ่ กิน 50,000 บาท (มาตรา 48) บรรคาความผิดในหมวด 1 ตามพระราชบัญญัตินี้ที่มีโทษปรับสถานเดียวให้อธิบดีกรมพัฒนา ธุรกิจการค้าหรือผู้ซึ่งอธิบดีกรมพัฒนาธุรกิจการค้ามอบหมายมีอำนาจเปรียบเทียบได้ และเมื่อผู้กระทำ ความผิดได้ชำระค่าปรับตามที่ไดเ้ ปรียบเทยี บแล้วให้คดีเป็นอันเลิกกันตามประมวลกฎหมายวิธพี ิจารณา ความ อาญา ถ้าผู้กระทำความผิดไม่ยินยอมตามท่ีเปรียบเทียบหรือเมื่อยินยอมแล้วไม่ชำระเงินค่าปรับ ภายในเวลาท่ี กำหนดให้ดำเนนิ คดีตอ่ ไป

พระราชบัญญัตกิ ารบัญชี พ.ศ. 2543 พ.ร.บ. การบัญชี พ.ศ. 2543 ได้ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษาเม่ือวันท่ี 12 พฤษภาคม 2543 ซ่ึงมี ผลบงั คบั ใชต้ ง้ั แตว่ ันที่ 10 สงิ หาคม 2543 เป็นตน้ ไป สำนักกำกับดูแลธุรกิจ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า จึงได้นำข้อมูลเกี่ยวกับ พ.ร.บ. การบัญชีดังกล่าว มา เผยแพร่ เพ่ือให้ผู้ประกอบธุรกิจ ผู้ทำบัญชี ผู้สอบบัญชีและผู้สนใจท่ัวไปได้ศึกษาทำความเข้าใจเพ่ือ ประกอบการปฏิบัตงิ านให้ถูกตอ้ งต่อไป โดยได้นำเสนอข้อมูลสรุปเปน็ 2 ส่วน ดังน้ี 1. หลกั การของพระราชบญั ญัตกิ ารบญั ชี พ.ศ. 2543 1) แก้ไขหลักการจากเดิมท่ีกำหนดให้ธุรกิจท้ังนิติบุคคลและบุคคลธรรมดาที่ประกอบธุรกิจ ตามประเภทที่รัฐมนตรีประกาศกำหนดต้องจัดทำบัญชี เป็นกำหนดให้เฉพาะนิติบุคคลเท่านั้นท่ีมีหน้าท่ี จัดทำ บัญชี และเพ่ิมกิจการร่วมค้าตามประมวลรัษฎากรให้เป็นผู้มีหน้าท่ีจัดทำบัญชีด้วย บุคคลธรรมดาและห้าง หุ้นส่วนทไ่ี มไ่ ด้จดทะเบียนไมต่ อ้ งจัดทำบัญชี เว้นแตร่ ฐั มนตรจี ะออก ประกาศ ให้เปน็ ผมู้ ีหน้าทจ่ี ดั ทำบญั ชี 2) กำหนดให้ผู้ทำบัญชีต้องเข้ามามีส่วนรับผิดชอบในการจัดทำบัญชีของธุรกิจโดยแบ่งแยก หน้าท่ีและความรบั ผิดชอบระหว่างผู้ทำบญั ชีกับผู้มีหน้าท่ีจดั ทำบญั ชีให้ชัดเจน ซงึ่ มีการเพิ่มโทษจาก กฎหมาย เดิม โดยบทกำหนดโทษมีทั้งโทษปรับและจำคุก สำหรบั ผ้มู ีหนา้ ท่จี ดั ทำบัญชีและผู้ทำบญั ชีท่ี กระทำความผิด 3) ให้อธิบดีโดยความเห็นขอบของรัฐมนตรีมีอำนาจกำหนดคุณสมบัติและเงื่อนไขของการ เป็น ผู้ทำบัญชี รวมท้ังกำหนดข้อยกเว้นให้ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีหรือผู้ทำบัญชีไม่ต้องปฏิบัติตามมาตรฐานการ บญั ชีในเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือส่วนใดสว่ นหนึ่ง โดยให้คำนงึ ถึงมาตรฐานการบัญชี และข้อคดิ เห็นของ หน่วยงาน ทเ่ี กย่ี วขอ้ งและสถาบนั วิชาชพี บญั ชีประกอบดว้ ย 4) กำหนดใหร้ ฐั มนตรีมีอำนาจออกกฎกระทรวง ยกเวน้ ให้งบการเงนิ ของผู้มหี น้าที่จัดทำบญั ชี ซึ่งเป็นห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนท่ีมีทุน สินทรัพย์หรือรายได้ รายการใดรายการหน่ึงหรือทุกรายการไม่เกิน ท่ี กำหนดโดยกฎกระทรวง ไมต่ ้องรับการตรวจสอบและแสดงความเหน็ โดยผู้สอบบญั ชรี ับอนุญาต 5) ลดภาระของธุรกิจในการเก็บรักษาบัญชแี ละเอกสารประกอบการลงบญั ชีจาก 10 ปี เหลือ 5 ปี เวน้ แต่ในกรณีที่จำเป็นในการตรวจสอบบัญชี โดยมีอำนาจกำหนดใหผ้ ู้มีหน้าท่ีจัดทำบัญชีเกบ็ รักษา บัญชี และเอกสารประกอบการลงบัญชไี ว้เกนิ 5 ปี แตต่ ้องไมเ่ กนิ 7 ปี 6) กำหนดให้การจัดทำบัญชีต้องเป็นไปตามมาตรฐานการบัญชีและมีการรับรองมาตรฐาน การ บัญชีที่กำหนดขึ้น ซึ่งคณะกรรมการควบคุมการประกอบวิชาชีพสอบบัญชีได้มีมติให้ประกาศใช้แล้วเป็น มาตรฐานการบญั ชตี ามกฎหมาย 2. สรุปสาระสำคญั พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 ในพระราชบัญญัติน้ีมีการกำหนดแบ่งแยกหน้าที่และความรับผิดชอบของบุคคลที่เกี่ยวข้องใน การ จัดทำบัญชีของธุรกิจไว้ 2 ฝ่าย คือ ผู้มีหน้าที่จัดทำบัญชีกับผู้ทำบัญชี เพื่อให้ท้ัง 2 ฝ่ายได้มีหน้าที่ และความ รับผิดชอบท่ีช่วยทำให้การจัดทำบัญชีของธุรกิจถูกต้องส่งผลให้ข้อมูลในงบการเงินเชื่อถือได้ และนำไปใช้ ประโยชนใ์ นการตดั สนิ ใจได้

แบบฝกึ ปฏบิ ตั ิหนว่ ยท่ี 2 จงตอบคำถามตอ่ ไปน้ี 1. ประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์ มีความสำคัญตอ่ ห้างหุ้นส่วนอย่างไร 2. ห้างหุ้นสว่ นจำกัดใดใช้ช่อื ในดวงตา ปา้ ยชือ่ หนังสอื บอกกลา่ วปา่ วร้อง จดหมาย ใบแจง้ ความเกยี่ วกบั หา้ ง หุ้นส่วน ตามพระราชบัญญตั ิกำหนดความผดิ เก่ียวกับห้างห้นุ ส่วนจดทะเบยี น หา้ งห้นุ สว่ นจำกดั บริษัทจำกดั สมาคมและมลู นธิ ิ พ.ศ 2499 ตามมาตรา 3 ตอ้ งระวางโทษอย่างไร 3. ถ้าผชู้ ำระบัญชีคนใดของหา้ งห้นุ ส่วนจดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนจำกัดไมป่ ฏิบัตกิ ารเรอื่ งดงั ตอ่ ไปนีต้ ้องระวาง โทษอยา่ งไร (1) ไม่ทำงบดลุ หรือไมเ่ รียกประชุมใหญต่ ามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (2) ไมท่ ำรายงาน หรอื ไม่เปดิ เผยรายงานตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ (3) ไมท่ ำรายงาน ไมเ่ รียกประชุมใหญ่ หรือไมช่ ้แี จงกจิ กรรมตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณชิ ย์ หรอื (4) ไมม่ อบบัญชีและเอกสารตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ 4. ถ้าบุคคลใดท่รี ับผดิ ชอบดำเนินงานของหา้ งหุ้นส่วนจดทะเบียน หา้ งหนุ้ สว่ นจำกดั รวู้ า่ เจา้ หน้ขี องนิตบิ คุ คล หรอื เจา้ หน้ีของบุคคลอื่นซงึ่ จะใช้สิทธขิ องเจา้ หนข้ี องนิตบิ ุคคล บังคับการชำระหน้จี ากนิติบุคคล ใชห้ รือนา่ จะ ใช้สทิ ธเ์ิ รียกรอ้ งทางศาลใหช้ ำระหนี้ (มาตรา 40) กระทำดงั ต่อไปน้จี ะมโี ทษอยา่ งไร (1) ยา้ ย ซอ่ น หรอื โอนให้แกผ่ อู้ ่ืนซึง่ ทรัพยส์ ินของนิตบิ ุคคล หรือ (2) แกล้งใหน้ ิตบิ ุคคลเป็นหน้ซี ึง่ ไมเ่ ป็นความจรงิ

5. ถ้าบุคคลใดที่รบั ผิดชอบในการดำเนนิ งานของห้างหุ้นสว่ นจดทะเบยี น ห้างหุน้ สว่ นจำกดั กระทำหรือยินยอม ให้กระทำดงั ตอ่ ไปน้ี (มาตรา 42) จะมโี ทษอยา่ งไร (1) ทำให้เสียหาย ทำลาย เปล่ียนแปลง ตัดทอน หรือปลอม บัญชี เอกสาร หรือหลักประกันของ หา้ งห้นุ ส่วนหรอื บริษัท หรอื ที่เก่ียวขอ้ งกับหา้ งหนุ้ ส่วน (2) ลงข้อความเท็จ หรือไม่ลงข้อความสำคัญในบัญชี หรือเอกสารของห้างหุ้นส่วน หรือท่ีเก่ียวกับ หา้ งหุ้นส่วน 6. จงบอกหลกั การของพระราชบัญญตั กิ ารบัญชี พ.ศ. 2543 ประกอบด้วยอะไรบ้าง 7. ผู้ทำบญั ชีจะดำเนนิ การโดย “ผูท้ ก่ี ระทำการแทน” นติ ิบคุ คลหรอื ธรุ กิจหมายถงึ บุคคลใดบ้าง 8. ผ้มู ีหนา้ ทจี่ ดั ทำบญั ชีต้องทำบญั ชใี หค้ รบถ้วนและถกู ตอ้ ง โดยมหี ลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารตามท่กี ฎหมายกำหนด เกี่ยวกับเร่อื งใดบ้าง (มาตรา 7 (1) – (4)) 9. การจดั ทำงบการเงนิ ซ่ึงมีรายการย่อตามที่อธิบดีประกาศกำหนดตามประเภทธุรกิจมีก่ีแบบ ประกอบด้วย อะไรบา้ ง 10. งบการเงินของห้างหนุ้ ส่วนต้องได้รบั การตรวจสอบและแสดงความเหน็ โดยผู้สอบบญั ชรี ับอนุญาตอยา่ งไร

ใบความรูว้ ชิ า การบญั ชหี า้ งห้นุ สว่ น 20201-2002 หน่วยท่ี 3 การจัดตัง้ หา้ งหุ้นสว่ น 1. สาระสำคัญ การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนนั้น เกิดจากการท่ีบุคคลต้ังแต่ 2 คนข้ึนไป ตกลงท่ีจะทำการค้าร่วมกัน โดย มุ่งหวังท่ีจะแบ่งผลกำไรจากการดำเนินกิจการค้าน้ัน ผู้เป็นหุ้นส่วนสามารถลงหุ้นด้วยเงิน ทรัพย์สิน หรือ แรงงานก็ได้ ถ้าลงหุ้นด้วยทรัพย์สินหรือแรงงานต้องตีราคาเป็นจำนวนเงิน ซึ่งห้างหุ้นส่วนมี 2 ประเภท คือ ห้างหุ้นส่วนสามัญ จะจดทะเบียนหรือไม่ก็ได้ เมื่อจดทะเบียนแล้วเรียกว่าห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล และมี สภาพเป็นนิติบุคคลตามกฎหมาย และห้างหุ้นสว่ นจำกัด ซึ่งกฎหมายบงั คับให้จดทะเบียน โดยให้ปฏิบัติการจด ทะเบียนห้างหุ้นส่วนตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ และประกาศของกรมพัฒนาธุรกิจการค้าอย่าง เคร่งครดั 2. สมรรถนะประจำหน่วยการเรียนรู้ 1. แสดงความรเู้ กย่ี วกับการจดทะเบยี นจดั ตั้งห้างหุน้ ส่วน 2. แสดงความรเู้ กี่ยวกับการจดทะเบียนหา้ งหุ้นสว่ นสามญั 3. แสดงความรเู้ กย่ี วกบั การจดทะเบียนจัดตงั้ ห้างห้นุ ส่วนจำกดั 4. แสดงความรูเ้ ก่ียวกบั เอกสารและหลักฐานที่ตอ้ งใช้ในการจัดทะเบียน 5. แสดงความรเู้ กย่ี วกบั อตั ราคา่ ธรรมเนยี ม 6. แสดงความรู้เกย่ี วกบั สถานท่จี ดทะเบียน 7. แสดงความรเู้ กยี่ วกับการย่นื คำขอจดทะเบียนทางอนิ เทอร์เน็ต 8. แสดงความรเู้ กี่ยวกับการกรอกแบบแบบพิมพ์ 9. แสดงเจตคตแิ ละกจิ นสิ ัยท่ีดีต่อการศึกษาการบญั ชีหา้ งห้นุ สว่ น 3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ประจำหนว่ ย 3.1.จดุ ประสงค์ทว่ั ไปเพ่ือใหม้ คี วามรู้ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั การจัดตง้ั ห้างหุ้นส่วน 3.2.จดุ ประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 3.2.1. อธบิ ายและจดทะเบยี นจดั ตั้งหา้ งห้นุ ส่วน 3.2.2. อธบิ ายและจดทะเบยี นหา้ งหุ้นส่วนสามัญ 3.2.3. อธิบายและจดทะเบียนจัดต้ังหา้ งห้นุ ส่วนจำกดั 3.2.4. อธบิ ายเอกสารและหลกั ฐานท่ีต้องใช้ในการจดทะเบยี น 3.2.5. บอกอัตราคา่ ธรรมเนียม 3.2.6. บอกสถานที่จดทะเบยี น 3.2.7. ยน่ื คำขอจดทะเบียนทางอนิ เทอร์เนต็ 3.2.8. ฝกึ ปฏบิ ัตกิ ารกรอกแบบแบบพมิ พ์

4. สาระการเรียนรู้ การจดทะเบียนจัดตง้ั ห้างหนุ้ ส่วน การจัดตัง้ ห้างหนุ้ สว่ นน้ัน เกิดจากการทีบ่ คุ คลตง้ั แต่ 2 คนขึ้นไป ตกลงที่จะทำการคา้ ร่วมกัน โดมุ่งหวัง ที่จะแบ่งผลกำไรจากการดำเนินกิจการค้าน้ัน ผู้เป็นหุ้นส่วนสามารถลงหุ้นด้วยเงิน ทรัพย์สิน หรือแรงงานก็ได้ ถา้ ลงห้นุ ด้วยทรพั ย์สนิ หรอื แรงงานต้องตรี าคาเป็นจำนวนเงนิ ขัน้ ตอนการจดทะเบยี นจัดตั้งหา้ งหุ้นส่วน การจดทะเบยี นห้างหนุ้ ส่วนสามัญ คอื ห้างหนุ้ สว่ นประเภทซง่ึ มผี ูเ้ ปน็ หนุ้ ส่วนจำพวกเดียว โดยหุ้นส่วน ทุกคนตอ้ งรบั ผิดรว่ มกนั ในบรรดาหนี้สินทงั้ ปวงของหา้ งหุ้นสว่ นไม่จำกัดจำนวน แบ่งได้ 2 ประเภท 1. ห้างหุ้นสว่ นสามัญท่ีมไิ ดจ้ ดทะเบียน 2. ห้างหุ้นส่วนสามัญจดทะเบียน ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาตรา 1064 กล่าวไว้ วา่ “อันห้างหุ้นสว่ นสามญั น้นั จะจดทะเบียนหรือไม่กไ็ ด้ แตถ่ ้าจดทะเบียนตอ้ งมีรายการดังต่อไปน”ี้ 1) ชื่อห้างหนุ้ สว่ น 2) วตั ถทุ ี่ประสงค์ของห้างหนุ้ ส่วน 3) ที่ต้งั สำนกั งานแหง่ ใหญแ่ ละสาขาทัง้ ปวง 4) ช่ือและที่สำนักกับทั้งอาชีวะของผู้เป็นหุ้นส่วนทุกๆ คน ถ้าผู้เป็นหุ้นส่วนคนใดมีชื่อย่ีห้อก็ ให้ลงทะเบยี นท้งั ชอื่ และยี่ห้อดว้ ย 5) ชื่อหุ้นสว่ นผูจ้ ดั การ ในเมื่อได้ตั้งแตง่ ใหเ้ ปน็ ผู้จัดการแต่เพียงบางคน 6) ถา้ มีขอ้ จำกดั อำนาจของหนุ้ สว่ นผจู้ ัดการประการใดใหล้ งไว้ด้วย 7) ตราซ่ึงใชเ้ ป็นสำคญั ของห้างหนุ้ สว่ น 8) รายการอืน่ ๆ ท่ีเห็นสมควรใหป้ ระชาชนทราบ (ถ้ามี) วิธกี ารจดทะเบียนหา้ งหุ้นส่วนสามัญ มีข้ันตอนดังนี้

1). กรณจี ดทะเบียนจดั ตัง้ ห้างหุน้ สว่ นหรอื แก้ไขเปล่ียนแปลงชือ่ ห้าง ใหผ้ ู้เปน็ หุ้นสว่ นหรือหุ้นสว่ น ผจู้ ดั การ ขอตรวจและจองชือ่ หา้ งหนุ้ ส่วนกอ่ นว่า ช่ือทีจ่ ะใชน้ น้ั จะซ้ำหรอื คล้ายกบั คนอ่ืนทีจ่ ดทะเบียนไวก้ ่อน หรือไม่ เม่ือจองชื่อได้แลว้ จะตอ้ งขอจดทะเบยี นภายใน 30 วัน 2). ซื้อคำขอและแบบพมิ พจ์ ากกรมพฒั นาธุรกิจการคา้ หรือสำนักงานบรกิ ารจดทะเบยี นธุรกจิ ท้ัง 7 แห่ง หรือสำนกั งานพฒั นาธรุ กิจการค้าจงั หวัด 3). จัดทำคำขอจดทะเบยี นและเอกสารประกอบคำขอยน่ื ตอ่ นายทะเบียนเพ่ือตรวจพจิ ารณา 4). ชำระค่าธรรมเนยี มตามใบสั่งของเจา้ หน้าที่ 5). ถ้าประสงค์จะได้หนังสือรับรองรายการในทะเบียนให้ยื่นคำขอและชำระค่าธรรมเนียมต่อ เจา้ หน้าท่ี 6). รับใบสำคญั แสดงการจดทะเบยี นและหนงั สอื รับรองรายการในทะเบียนได้ การลงลายมอื ชอ่ื ของผ้เู ป็นหุ้นส่วนและหนุ้ สว่ นผจู้ ัดการ มสี าระสำคัญดังนี้ 1). ผู้เป็นหุ้นส่วนและหุ้นส่วนผู้จัดการจะต้องลงลายมือช่ือในคำขอจดทะเบียนและเอกสาร ประกอบคำขอดว้ ยตนเอง 2). หุ้นส่วนผู้จัดการผู้ขอจดทะเบียนซึ่งต้องลงชื่อในคำขอจดทะเบียน จะต้องลงลายมือช่ือ ตอ่ หนา้ นายทะเบยี นพรอ้ มแสดงตน้ ฉบบั บัตรประจำตัว หรือ 3). ในกรณีท่ีหุ้นส่วนผู้จัดการไม่สามารถลงลายมือช่ือต่อหน้านายทะเบียนตาม ให้หุ้นส่วน ผจู้ ดั การลงลายมือชือ่ ต่อหน้าสมาชิกเนตบิ ณั ฑติ ยสภา หรือทนายความกไ็ ด้ ห้างหุ้นส่วนจำกดั คอื ห้างหนุ้ สว่ นทีม่ ีผเู้ ปน็ หุ้นส่วนสองจำพวก ได้แก่ 1. ผู้เป็นหุ้นส่วนคนเดียวหรือหลายคนซ่งึ มีจำกัดความรับผิดเพียงไม่เกินจำนวนเงินที่ตนรบั จะลง หุ้นในห้างหุน้ สว่ นนัน้ จำพวกหนง่ึ 2. ผู้เป็นหุ้นส่วนคนเดียวหรือหลายคนซ่ึงต้องรับผิดร่วมกันในบรรดาหนี้ของห้างหุ้นส่วนไม่มี จำกัดจำนวนอีกจำพวกหนง่ึ โดยห้างหุ้นสว่ นจำกดั ทจี่ ดทะเบียนตอ้ งมรี ายการดังนี้ 1) ชอื่ ห้างหนุ้ ส่วน 2) ข้อแถลงความวา่ เปน็ ห้างห้นุ สว่ นจำกดั และวัตถทุ ี่ประสงค์ของห้างหนุ้ ส่วนน้นั 3) ทต่ี ั้งสำนกั งานแหง่ ใหญ่และสำนักงานสาขาท้ังปวง 4) ชื่อ ยี่ห้อ สำนัก และอาชีวะของผู้เป็นหุ้นส่วนจำพวกจำกัดความรับผิด และจำนวนเงินซ่ึง ได้ลงหนุ้ ด้วยในหา้ งหนุ้ สว่ น 5) ช่ือ ย่หี อ้ สำนัก และอาชวี ะของผเู้ ป็นหุ้นส่วนจำพวกไมจ่ ำกัดความรบั ผดิ 6) ชื่อหนุ้ ส่วนผ้จู ัดการ 7) ถ้ามีข้อจำกัดอำนาจหุ้นส่วนผู้จัดการอันจะผูกพันห้างหุ้นส่วนนั้นประการใดให้ ลงไวด้ ว้ ย 8) รายการอ่ืนๆ ที่เหน็ สมควรใหป้ ระชาชนทราบ (ถา้ มี) ขนั้ ตอนการจดั ต้งั หา้ งหุ้นสว่ นจำกัด แบง่ ออกได้ 4 ขนั้ ตอน ดงั นี้ ขัน้ ตอนท่ี 1 ทำความตกลงระหว่างผเู้ ป็นหนุ้ ส่วนในเร่ืองสำคญั ๆ ขัน้ ตอนที่ 2 ขอตรวจสอบและจองชือ่ หา้ งหนุ้ ส่วนจำกัด ข้นั ตอนท่ี 3 จดั ทำคำขอจดทะเบียนและเอกสารประกอบ

ข้นั ตอนท่ี 4 การยืน่ ขอจดทะเบียน เอกสารหลกั ฐานในการขอจดทะเบียน ดงั เชน่ 1. คำขอจดทะเบยี นหา้ งหุ้นสว่ น (แบบ หส.1) 2. แบบคำรบั รองการจดทะเบยี นห้างหุน้ สว่ น 3. รายการจดทะเบียน (แบบ หส.2) /หา้ งหนุ้ ส่วนสามัญนิตบิ ุคคล ใช้เฉพาะหน้า 1 และ 3 4. วัตถุประสงค์ (แบบ ว.) 5. แบบ สสช.1 จำนวน 1 ฉบับ 6. ใบแจง้ ผลการจองช่อื นติ ิบคุ คล 7. แผนทแ่ี สดงที่ตั้งสำนักงานแห่งใหญ่ และสถานทีส่ ำคัญบรเิ วณใกลเ้ คียงโดยสงั เขป ตัวอยา่ งแบบพมิ พจ์ ดทะเบยี น ประเภท คำขอ รายการ เอกสารประกอบ เอกสารประกอบ การจดทะเบยี น จดทะเบยี น รายการจด คำขอจดทะเบียน ทะเบียน 1.จดั ตั้งหา้ ง แบบ แบบ หส.2 แบบ ว. 1. แบบคำรับรองการจดทะเบียนห้างหุ้นสว่ น หุ้นส่วนจำกัด หส.1 (ใช้ทง้ั 3 หน้า) 2. แบบจองชือ่ นิตบิ คุ คล 3. แบบ สสช.1 จำนวน 1 ฉบบั 4.แผนทต่ี งั้ สำนักงานแห่งใหญ่และสถานที่ สำคญั บริเวณใกล้เคียงโดยสังเขป5.สำเนา หลักฐานการรับชำระเงนิ ลงหนุ้ ที่หา้ งหุ้นสว่ น ต้ังแตร่ ้อยละ 40 แตไ่ ม่ถงึ ร้อยละ 50 ของทุน จดทะเบยี น ให้หุ้นส่วนทุกคนทมี่ ีสัญชาติไทย สง่ หลกั ฐานแสดงทีม่ าของเงินลงทนุ ซ่งึ ปรากฏ จำนวนเงินสอดคล้องกับจำนวนเงินที่นำมาลง หุ้นของห้นุ สว่ นแตล่ ะคนดงั น้ี สำเนาสมุดเงนิ ฝากธนาคารหรือสำเนาใบแจง้ ยอดบัญชีธนาคารย้อนหลัง 6 เดอื น หรอื -เอกสารท่ธี นาคารออกให้เพือ่ รับรองหรือแสดง ฐานะทางการเงินของหุ้นสว่ นหรอื -สำเนาหลักฐานแสดงแหลง่ ทมี่ าของเงนิ ท่ลี ง หุน้ 6.สำเนาบตั รประจำตวั ของผเู้ ป็นหุ้นสว่ นทุกคน 7.สำเนาหลักฐานเปน็ ผรู้ ับรองลายมือชื่อ (ถ้ามี) 8.หนังสือมอบอำนาจ (ถา้ มี) 2.จัดตงั้ ห้าง แบบ แบบ หส.2 แบบ ว. หนุ้ สว่ นสามัญ หส.1 (เฉพาะหนา้ 1 เชน่ เดยี วกับการจดั ต้งั ห้างหุ้นสว่ นจำกัด นิตบิ ุคคล และหนา้ 3)

อตั ราค่าธรรมเนยี มการจดทะเบียนหา้ งหนุ้ สว่ น 1). การจดทะเบยี นหา้ งหุ้นส่วนทกุ จำนวนเงินไม่เกนิ 100,000บาทแหง่ ทนุ ที่กำหนดไว้ 100 บาท เศษของ 100,000 บาท ใหค้ ดิ เปน็ 100,000 บาท ท้ังนี้ รวมกันไม่ใหต้ ำ่ กว่า 1,000 บาท และไมใ่ ห้เกิน 5,000 บาท 2). หนังสอื รับรอง ฉบับละ 200 บาท 3). ใบสำคญั แสดงการจดทะเบียน ฉบับละ 100 บาท 4). กรณีขอให้นายทะเบยี นรับรองเอกสารคำขอจดทะเบียน หนา้ ละ 50 บาท สถานท่ีจดทะเบยี นหา้ งหุ้นส่วน 1). สำนักงานแห่งใหญ่ต้ังอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร ย่ืนจดทะเบียนได้ที่ส่วนจดทะเบียนธุรกิจ กลาง กรมพฒั นาธรุ กิจการค้า ถนนนนทบรุ ี 1 นนทบุรี หรือสำนกั งานพฒั นาธรุ กจิ การค้าท้ัง 6 เขต 2). สำนักงานแห่งใหญ่ตัง้ อยจู่ ังหวัดอื่น ยน่ื จดทะเบียนได้ท่ีสำนักงานพฒั นาธรุ กิจการค้าจังหวัดที่ ห้างหนุ้ สว่ นมสี ำนักงานแห่งใหญต่ ัง้ อยู่ 3). ยืน่ จดทะเบยี นทางอนิ เทอร์เนต็ ที่เวบ็ ไซต์ www.dbd.go.th ข้ันตอนจดทะเบียนหา้ งหนุ้ ส่วนทางอนิ เทอรเ์ น็ต มีขน้ั ตอนดังนี้ ผู้ขอจดทะเบียนลงทะเบียนได้ทเี่ วบ็ ไซต์ www.dbd.go.th ผูข้ อจดทะเบยี นจะได้รับ Username และ Password เลือกหัวข้อ “จดทะเบียนนิตบิ คุ คล” แล้ว Login เข้าสู่ระบบด้วย Username และ Password ท่ไี ดร้ บั เลอื กหวั ขอ้ ทต่ี ั้งสำนักงาน/เลอื กธุรกรรมท่ีตอ้ งการ และกรอกขอ้ มลู การจดทะเบยี น แลว้ คลิกส่งข้อมูล นายทะเบยี นแจ้งผลการตรวจสอบและจำนวนเงินค่าธรรมเนยี มใหผ้ ู้ขอทราบ (ในกรณมี ีขอ้ บกพรอ่ ง ใหผ้ ู้ขอจดทะเบียนแกไ้ ขข้อบกพร่องแลว้ สง่ ข้อมลู ใหน้ ายทะเบยี น) ผู้ขอพมิ พ์เอกสารขอจดทะเบียนได้จากเวบ็ ไซต์ ของกรมฯ และนำไปใหผ้ เู้ ก่ียวข้องลงนาม ผขู้ ดจดทะเบียนยนื่ คำขอจดทะเบียนได้ดว้ ยตนเอง หรอื สง่ ทางไปรษณีย์ นายทะเบยี นตรวจสอบและรบั จดทะเบยี น

การกรอกแบบแบบพมิ พ์







แบบพมิ พก์ ารจดทะเบยี นจัดต้ังหา้ งห้นุ สามญั นติ ิบคุ คล ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. แบบ หส.1 และหนงั สือรบั รอง 2. แบบ หส.2 (ใชเ้ ฉพาะหน้า 1 และ 3) 3. เอกสารประกอบรายการ : แบบ ว. 4. เอกสารประกอบ 1) แบบคำรับรองการจดทะเบยี นห้างหนุ้ ส่วน 2) แบบจองช่อื นิติบุคคล 3) แบบ สสช.1 จำนวน 1 ฉบบั 4) สำเนาหลกั ฐานการรบั ชำระเงินลงหุ้น ท่ีห้างหุน้ สว่ นไดอ้ อกให้แก่ผเู้ ป็นหุ้นสว่ น 5) แผนทแี่ สดงที่ตั้งสำนกั งานแหง่ ใหญแ่ ละสถานท่สี ำคัญ บรเิ วณใกล้เคยี งโดยสงั เขป 6) หนงั สอื มอบอำนาจ (ถา้ มี) 5. แบบพิมพจ์ ดทะเบยี นสามารถขอ หรอื ดาวนโ์ หลด ไดจ้ าก www.dbd.go.th 6. จำลองสถานการณ์ต่างๆ ของห้างหุ้นส่วนสามัญที่จะจดทะเบียนเองท้ังหมด โดยให้แต่ละคน เป็นหนุ้ สว่ นผจู้ ัดการเอง แบบพมิ พก์ ารจดทะเบยี นจดั ตั้งห้างห้นุ จำกัด ดังตอ่ ไปนี้ 1. หส.1 และหนังสอื รับรอง 2. แบบ หส.2 (ใชท้ ง้ั 3 หน้า) 3. เอกสารประกอบรายการ : แบบ ว. 4. เอกสารประกอบ 1) แบบคำรบั รองการจดทะเบียนหา้ งหุ้นสว่ น 2) แบบจองชื่อนิติบคุ คล 3) แบบ สสช.1 จำนวน 1 ฉบบั 4) สำเนาหลกั ฐานการรบั ชำระเงินลงหุ้น ที่ห้างหุ้นส่วนได้ออกใหแ้ ก่ผเู้ ป็นห้นุ ส่วน 6) แผนทแ่ี สดงที่ต้งั สำนักงานแหง่ ใหญ่และสถานที่สำคญั บรเิ วณใกลเ้ คียงโดยสังเขป 7) หนงั สือมอบอำนาจ (ถ้าม)ี 5. แบบพมิ พจ์ ดทะเบยี นสามารถขอ หรอื ดาวนโ์ หลด ไดจ้ าก www.dbd.go.th 6. จำลองสถานการณ์ต่างๆ ของห้างหุ้นส่วนจำกัดท่ีจะจดทะเบียนเองทั้งหมด โดยให้แต่ละคน เป็นหนุ้ สว่ นผู้จัดการเอง

แบบฝึกปฏิบัติหนว่ ยท่ี 3 จงตอบคำถามตอ่ ไปน้ี 1. จงบอกขนั้ ตอนการจดทะเบียนจดั ตงั้ ห้างห้นุ ส่วน 2. การจดทะเบยี นห้างหุ้นส่วนสามัญนิตบิ ุคคล ตามประมวลกฎหมายแพง่ และพาณิชย์มาตรา 1064 ต้องมี รายการใดบ้าง 3. การลงลายมือช่ือของผเู้ ป็นหนุ้ สว่ นและหุ้นส่วนผู้จดั การ มหี ลักปฏิบัติอยา่ งไร 4. จงบอกข้อแตกต่างระหวา่ งหุน้ ส่วนประเภทจำกดั ความรบั ผดิ กบั ไมจ่ ำกัดความรับผิด 5. การจัดตั้งหา้ งหุน้ ส่วนจำกดั มีวธิ ีปฏิบตั อิ ย่างไร 6. วัตถทุ ีป่ ระสงคข์ องหา้ งหุน้ สว่ นจะต้องไมม่ ีลักษณะอยา่ งใดบา้ ง 7. แบบวตั ถุประสงค์สำเร็จรปู ท่ีกรมพัฒนาธุรกจิ การคา้ ไดจ้ ัดทำขึ้นเพ่อื อำนวยความสะดวกแก่ผ้ขู อ จดทะเบียน มีก่แี บบ ไดแ้ ก่แบบใดบ้าง 8. ในการจดทะเบียนหา้ งหนุ้ ส่วน มกี ารกำหนดอัตราคา่ ธรรมเนยี มอย่างไร

9. ถา้ ตอ้ งการจะจดทะเบียนห้างห้นุ ส่วน จะต้องไปดำเนินการ ณ ท่ใี ด 10. การจัดทำตราของห้างหุ้นสว่ น มีหลกั เกณฑอ์ ย่างไร

ใบความรู้วิชา การบัญชหี า้ งหนุ้ ส่วน 20201-2002 หน่วยที่ 4 การบนั ทึกรายการเปิดบัญชีของหา้ งหนุ้ ส่วน 1. สาระสำคญั เมื่อจัดตั้งห้างหุ้นส่วนเรียบร้อยแล้ว จะต้องนำเงิน สินทรัพย์อื่น หรือแรงงาน มาลงทุนในห้างหุ้นส่วน เพื่อสิทธิต่างๆ ตามท่ีได้กำหนดไว้ในสัญญาการจัดต้ังห้างหุ้นส่วน ดังน้ันจึงจำเป็นต้องมีการบันทึกรายการเปิด บัญชขี องห้างหุ้นสว่ น เพ่ือให้ทราบถึงจำนวนทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนว่ามีจำนวนเท่าใดบ้าง และเพ่ือเป็นหลักฐาน ในการดำเนนิ ธุรกิจรูปแบบหา้ งหุ้นส่วนต่อไป 2. สมรรถนะประจำหนว่ ยการเรียนรู้ 1. แสดงความรเู้ กย่ี วกบั การบันทกึ รายการเปดิ บญั ชขี องห้างห้นุ ส่วน 2. แสดงความรเู้ กย่ี วกบั การบนั ทึกรายการเปดิ บญั ชกี รณหี ุ้นส่วนนำเงินสดมาลงทุน 3. แสดงความรู้เกย่ี วกบั การบนั ทกึ รายการเปดิ บญั ชีกรณีหุ้นส่วนนำสทิ รัพยอ์ ่ืนๆ มาลงทนุ 4. แสดงความรู้เกีย่ วกับการบันทกึ รายการเปิดบญั ชีกรณีหุ้นส่วนนำแรงงานมาลงทนุ 5. แสดงความรู้เกี่ยวกับการบันทึกรายการเปิดบัญชีกรณีหุ้นส่วนนำสินทรัพย์มาลงทุน แต่ไม่ได้ตี มูลคา่ ไว้ 6. แสดงเจตคตแิ ละกิจนิสยั ทด่ี ีต่อการศกึ ษาการบญั ชีห้างหุน้ ส่วน 3. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรปู้ ระจำหน่วย 3.1.จุดประสงคท์ วั่ ไปเพ่ือให้มคี วามร้คู วามเข้าใจเกย่ี วกบั การบันทึกรายการเปดิ บัญชขี องห้างหนุ้ ส่วน 3.2.จุดประสงค์เชิงพฤติกรรม 3.2.1. อธิบายและบนั ทึกรายการเปิดบญั ชีของห้างหุน้ ส่วน 3.2.2. บนั ทกึ รายการเปดิ บัญชีกรณหี ้นุ สว่ นนำเงนิ สดมาลงทุน 3.2.3. บันทึกรายการเปิดบญั ชีกรณีหุ้นส่วนนำสินทรพั ย์อ่นื ๆ มาลงทุน 3.2.4. บนั ทึกรายการเปดิ บัญชกี รณีห้นุ ส่วนนำแรงงานมาลงทนุ 3.2.5. บันทกึ รายการเปดิ บัญชีกรณหี ุ้นสว่ นนำสินทรพั ยม์ าลงทนุ แตไ่ มไ่ ดต้ มี ูลคา่ ไว้ 4. สาระการเรียนรู้ การบันทกึ รายการเปิดบญั ชขี องหา้ งหุน้ สว่ น ประมวลกฎหมายแพ่งลาพณชิ ย์มาตรา 1026 “ผเู้ ป็นหนุ้ ส่วนทกุ คนต้องมีส่ิงหนึ่งสงิ่ ใดมาลงหุ้นด้วยใน หา้ งหุ้นสว่ น โดยสิ่งท่นี ำมาลงหุน้ ด้วยนั้นจะเปน็ เงนิ หรือทรัพยส์ นิ สงิ่ อื่น หรอื ลงแรงงานก็ได้” ราคายุติธรรม หมายถึง จำนวนท่ีผู้ซื้อและผู้ขายตกลงแลกเปลี่ยนสินทรัพย์กัน โดยท้ังสองฝ่ายมี ความรู้และเต็มใจในการแลกเปลี่ยน และต่อรองกันได้อย่างอิสระ ราคาตลาด หมายถึง จำนวนเงินท่ีกิจการสามารถได้รับจากการขายสินทรัพย์ในตลาดที่มีลักษณะ เหมือนกัน โดยผซู้ ้ือและผ้ขู ายเตม็ ใจซอ้ื ขายในตลาดนัน้ รวมท้งั ต้องเป็นการกระทำอย่างเปิดเผยตอ่ สาธารณชน การบันทึกรายการเปิดบัญชี (Opening Entries) ของห้างหุ้นส่วนในวันเร่ิมกิจการนั้น สามารถแบ่ง ออกเป็น 4 ลักษณะ ดังนี้

1). การบันทึกรายการเปดิ บญั ชีกรณหี ุ้นส่วนนำเงนิ สดมาลงทุน 2). การบันทกึ รายการเปิดบญั ชีกรณหี ุ้นส่วนนำสินทรพั ย์อื่นๆ มาลงทุน 3). การบันทึกรายการเปิดบัญชีกรณหี ุ้นส่วนนำแรงงานมาลงทุน 4). การบันทกึ รายการเปดิ บญั ชกี รณีหุน้ ส่วนนำสนิ ทรพั ย์มาลงทนุ แต่ไม่ได้ตมี ลู คา่ ไว้ การบันทกึ รายการเปดิ บญั ชีกรณหี นุ้ ส่วนนำเงินสดมาลงทนุ ในการจดั ต้งั ห้างหุ้นสว่ น ผเู้ ป็นหุ้นสว่ นแตล่ ะคนอาจนำเงนิ สดมาลงทุนในหา้ งทั้งหมด หรอื บางสว่ นก็ ได้ โดยสามารถบันทึกรายการเปิดบญั ชี ดงั น้ี หุน้ ส่วน เงินสด หา้ งหนุ้ ส่วน เดบิต เงนิ สด XX เครดติ ทนุ -ผู้เป็นหุ้นสว่ นคนที่ 1 XX XX ทนุ -ผู้เป็นหุ้นสว่ นคนท่ี 2 หนุ้ สว่ นนำเงนิ สดมาลงทุน ตัวอย่างท่ี 1 ในวันที่ 1 มกราคม 2557 ณเดชน์ ญาญ่า และโบว่ี ตกลงเข้าเป็นหุ้นส่วนกัน เพ่ือจัดตั้งห้าง หนุ้ สว่ น โดยนำเงินสดมาลงทนุ 20,000 บาท 30,000 บาท และ 40,000 บาท ตามลำดบั การบนั ทกึ รายการเปดิ บัญชีของห้างห้นุ ส่วน เป็นดงั นี้ สมุดรายวันทวั่ ไป หน้า 1 เครดติ พ.ศ. 2557 รายการ เลขท่ี เดบติ บาท สต. เดือน วันท่ี บญั ชี บาท สต. 20,000 - ม.ค. 1 เงินสด 90,000 - 30,000 - 40,000 - ทุน-ณเดชน์ ทุน-ญาญ่า ทนุ -โบวี่ หนุ้ ส่วนแต่ละคนนำเงินสดมาลงทนุ การบนั ทกึ รายการเปดิ บัญชีกรณหี ุน้ สว่ นนำสทิ รัพย์อ่นื ๆ มาลงทุน การนำสินทรัพย์อ่ืนๆ มาลงทุนในห้างหุ้นส่วนนั้น ควรมีการตีราคาสินทรัพย์แต่ละประเภทว่ามีมูลค่า เท่าใดก่อนการบันทึกบัญชีเพ่ือความถูกต้องและให้เกิดความยุติธรรมอาจจะใช้ราคาตลาด (Fair Market Value) หรือราคายุติธรรม โดยเป็นราคาประเมินของสินทรัพย์นั้นๆ เป็นเกณฑ์ห้างหุ้นส่วนจะบันทึกบัญชี สินทรัพย์แยกแต่ละประเภทที่นำมาลงทุน และเครดิตบัญชีทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนแต่ละคน การลงทุนด้วย สนิ ทรพั ย์ เชน่ ลงทุนดว้ ยที่ดิน อาคารสำนักงาน รถยนต์ เปน็ ต้น

โดยสามารถบนั ทกึ รายการเปดิ บัญชี ดังน้ี หุ้นสว่ น สนิ ทรัพยอ์ ่ืนๆ หา้ งหุ้นสว่ น เชน่ อาคาร ท่ดี ิน อุปกรณ์ เคร่ือง XX ตกแต่ง รถยนต์ เป็นต้น XX เดบิต สินทรพั ยอ์ น่ื ๆ XX เครดติ ทนุ -ผเู้ ป็นหุ้นส่วนคนท่ี 1 ทนุ -ผู้เปน็ หุ้นส่วนคนท่ี 2 หนุ้ สว่ นนำสินทรพั ยอ์ ่ืนๆ มาลงทนุ ตวั อย่างที่ 2 ในวนั ที่ 1 มกราคม 2557 ราณี จริ ายุ และนิษฐา ตกลงเข้าเปน็ หุน้ ส่วนกนั เพอื่ จดั ตงั้ ห้างหุ้นส่วน โดยนำเงนิ สด และสินทรัพยม์ าลงทนุ ดงั นี้ 1. ราณนี ำเงนิ สด 20,000 บาท และลูกหนี้การคา้ จำนวน 30,000 บาท มาลงทนุ ในหา้ ง 2. จริ ายุนำเคร่ืองตกแตง่ มาลงทุนราคาทนุ 30,000 บาท และราคาตลาด 25,000 บาท 3. นิษฐานำเงินสดมาลงทุน 10,000 บาท และนำสินค้ามาลงทนุ อีก 22,000 บาท การบันทกึ รายการเปดิ บัญชีของห้างหนุ้ ส่วน เป็นดงั น้ี สมดุ รายวนั ท่ัวไป หน้า 1 พ.ศ. 2557 รายการ เลขที่ เดบิต เครดติ เดอื น วนั ท่ี บัญชี บาท สต. บาท สต. ม.ค. 1 เงนิ สด (20,000+10,000) 30,000 - ลกู หนีก้ ารคา้ 30,000 - สินค้า 22,000 - เคร่อื งตกแตง่ 25,000 - ทุน-ราณี 50,000 - ทุน-จิรายุ 25,000 - ทุน-นิษฐา 32,000 - หนุ้ สว่ นนำเงนิ สดและสินทรพั ยอ์ ื่นๆ มาลงทนุ ในกรณีที่ผู้เป็นหุ้นส่วนอาจนำเงินสด สินทรัพย์อ่ืน และหนี้สินมาลงทุนด้วยนั้น ให้บันทึกบัญชีทุนของ ผู้เป็นหุ้นส่วนแต่ละคน ด้วยการนำยอดรวมสินทรัพย์ทั้งส้ินหักยอดรวมหนี้สิน โดยสามารถบันทึกรายการเปิด บญั ชี ดังนี้

หนุ้ ส่วน ⚫เงินสด หา้ งหนุ้ ส่วน ⚫สนิ ทรพั ย์ เช่น อาคาร ทีด่ นิ อุปกรณ์ XX เครือ่ งตกแต่ง รถยนต์ เปน็ ต้น XX ⚫หนสี้ นิ เช่น เจา้ หนี้ เงินกู้ เป็นตน้ เดบติ เงินสด XX สนิ ทรัพยอ์ ่ืนๆ XX เครดิต ทุน-ผเู้ ป็นหุ้นส่วนคนที่ 1 ทนุ -ผ้เู ปน็ หุ้นส่วนคนท่ี 2 ห้นุ สว่ นนำเงนิ สด สินทรัพยอ์ ่นื ๆ และหน้ีสินมาลงทนุ ตัวอย่างท่ี 3 วันท่ี 1 มกราคม 2557 เตย้ และเตน้ ตกลงเข้าเปน็ หุ้นสว่ นกัน โดยเต้ยนำเงนิ สด 50,000 บาท และอุปกรณ์ 25,000 บาท สว่ นเตน้ น้ำเงนิ สด 10,000 บาท สินค้า 30,000 บาท และเจ้าหนี้ จำนวน 20,000 บาท มาลงทุน การบันทกึ รายการเปดิ บัญชขี องห้างหุ้นส่วน เป็นดังนี้ การบนั ทึกรายการเปดิ บัญชีของห้างหุน้ ส่วน เป็นดังน้ี สมุดรายวันทัว่ ไป หนา้ 1 พ.ศ. 2557 รายการ เลขที่ เดบติ เครดิต เดอื น วนั ท่ี บัญชี บาท สต. บาท สต. ม.ค. 1 เงนิ สด (50,000+10,000) 60,000 - สนิ ค้า 30,000 - อปุ กรณ์ 25,000 - เจ้าหนี้ 20,000 - ทนุ -เต้ย 25,000 - ทุน-เตน้ (10,000+30,000-20,000) 32,000 - หนุ้ ส่วนนำเงนิ สด สินทรัพย์ หนสี้ ินมาลงทุน การบนั ทกึ รายการเปดิ บัญชกี รณีห้นุ ส่วนนำแรงงานมาลงทนุ แรงงาน หมายถึง แรงกาย สตปิ ัญญา ความรู้ ความสามารถ ความเช่ียวชาญ ชอื่ เสยี ง ของผู้ เป็น ห้นุ ส่วน หากหุ้นสว่ นลงทุนเป็นแรงงานใหถ้ อื เสมือนว่าเป็นค่าความนิยม (Goodwill) ทห่ี นุ้ ส่วนผูน้ ้ัน นำมา ลงทุนในหา้ งหนุ้ สว่ น ซ่ึงควรตกลงกนั ใหช้ ดั เจนว่าจะบนั ทึกในสมุดบัญชีของหา้ งห้นุ ส่วนหรือไม่ และตีราคา มลู ค่าเท่าใด ขน้ึ อย่กู ับข้อตกลงกนั ทรี่ ะบุไว้ในสัญญา

ถา้ ผูเ้ ป็นหุ้นสว่ นคนใดไดล้ งแต่แรงงานของตนเข้าเป็นหนุ้ และในสญั ญาเข้าหุ้นสว่ นมไิ ดต้ ีราคา คา่ แรง ไว้ให้คำนวณส่วนกำไรของผทู้ ่ีเป็นหนุ้ สว่ นด้วยลงแรงงานนัน้ ด้วยสว่ นถวั เฉลี่ยของผเู้ ปน็ ห้นุ สว่ นซึง่ ได้ลงเงนิ หรือลงทรพั ย์สนิ เข้าหนุ้ ด้วย ในการบันทึกบัญชีของห้างหนุ้ ส่วน ใหบ้ ันทึกแรงงานเป็นบัญชีค่าความนิยม ซ่ึงจดั เป็นบัญชี สินทรัพย์ ประเภทไมห่ มุนเวียน จะแสดงในงบแสดงฐานะการเงินของหา้ งห้นุ ส่วน ณ วนั สิน้ งวดบัญชี หุ้นส่วนแต่ละคนควรตกลงในเร่ืองของการบันทึกบัญชีเก่ียวกับแรงงานไว้ให้ชัดเจนว่าจะมีมูลค่าเท่าใด ซงึ่ ขนึ้ อย่กู บั ข้อตกลงดังตอ่ ไปน้ี 1. ถ้าให้สิทธิได้รับคืนทุน จะบันทึกเป็นค่าความนิยมของผู้เป็นหุ้นส่วนไว้ในสมุดบัญชีของ หา้ งหุน้ สว่ น ดงั น้ี เดบติ ค่าความนิยม XX เครดิต ทนุ -ผู้เป็นหุ้นส่วนที่นำแรงงานมาลงทุน XX หนุ้ สว่ นนำเงินสด สินทรัพย์อื่นๆ และหนี้สินมาลงทุน ถ้าในสัญญาเขา้ เป็นห้างหุ้นสว่ นไม่ไดต้ ีมูลค่าของแรงงานไว้ ตามประมวลกฎหมายแพ่งและ พาณิชยใ์ ห้ คำนวณส่วนในทนุ หรือทุน หรอื ค่าแรงงานของผ้เู ป็นหุ้นสว่ น ดังต่อไปนี้ ส่วนในทนุ = สว่ นถวั เฉลย่ี ของผู้เปน็ หนุ้ สว่ นซึ่งนำเงิน หรอื สนิ ทรัพย์อื่น การบนั ทกึ รายการเปดิ บัญชกี รณีห้นุ ส่วนนำสินทรัพยม์ าลงทนุ แต่ไมไ่ ดต้ ีมูลคา่ ไว้ ถ้าผู้เปน็ หนุ้ สว่ นนำสินทรัพย์มาลงทนุ ในหา้ งหุ้นส่วน แตไ่ ม่ไดก้ ำหนดมลู ค่าหรอื ตีมลู คา่ ไว้ตามกฎหมาย แพ่งและพาณิชยใ์ ห้ถือวา่ ผู้เป็นหุ้นส่วนทุกคนลงทุนเท่ากัน

แบบฝึกปฏบิ ตั ิหน่วยที่ 4 คำช้ีแจง จงแสดงวิธที ำ ขอ้ 4-1 เม่ือวันท่ี 1 มกราคม 2557 เจรจาและเสรี ตกลงเป็นหุ้นส่วนกัน โดยเจรจานำเงินสด มาลงทุน 100,000 บาท และเสรีนำเงินสดมาลงทุน 200,000 บาท ทำ ให้บันทึกรายการเปิดบัญชีในสมุด รายวนั ทว่ั ไป ให้ทำ บันทึกรายการเปดิ บัญชีในสมุดรายวันทั่วไป ข้อ 4-2 เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2557 กา้ มปูและกงุ้ นาง เปน็ หนุ้ สว่ นกัน โดยนำเงนิ สดและสินทรัพย์ ซึง่ ตกลงตี ราคาตามราคาตลาดแล้วมาลงทุน ดงั น้ี กา้ มปู (หนว่ ย : บาท) ก้งุ นาง (หนว่ ย : บาท) เงินสด 100,000 เงนิ สด 40,000 เงนิ ฝากธนาคาร 50,000 เงินฝากธนาคาร 10,000 สนิ ค้าคงเหลือ 50,000 เงนิ กู้ 200,000 อุปกรณส์ ำนักงาน 70,000 อาคาร 250,000 เจา้ หนี้ 4,000 ทดี่ นิ 200,000 ใหท้ ำ บันทึกรายการเปิดบัญชีในสมุดรายวันทวั่ ไป ขอ้ 4-3 เมื่อวันท่ี 1 มกราคม 2557 รันยา วาที รัดเกล้า และวิสา ตกลงเป็นหุ้นส่วนกัน รันยานำ เงินสดมา ลงทุน 200,000 บาท วาท่ีนำเครอื่ งจักรมาลงทุน 180,000 บาท รัดเกล้าลงทุน ด้วยแรงงานคิดเป็น เงิน 100,000 บาท และวิสาลงทุนด้วยแรงงานแต่ไม่ได้ตีมูลค่าไว้ หุ้นส่วนตกลงให้รัดเกล้ามีสิทธิ ได้รับคืนทนุ แต่วสิ าไม่มสี ทิ ธิไดร้ บั คืนทุน ใหท้ ำ บันทกึ รายการเปดิ บญั ชีในสมดุ รายวันทวั่ ไป ขอ้ 4-4 วันท่ี 1 มกราคม 2557 มาลี มาลัย และมาเล่า ตกลงเป็นหุ้นส่วนกัน มาลีน้ำเงินสด 100,000 บาท และสินค้าคงเหลือ 50,000 บาท มาลงทุน มาลัยนำเงินสด 60,000 บาท เคร่ืองตกแต่ง 100,000 บาท และเจ้าหน้ีการค้า 20,000 บาท มาลงทุน ส่วนมาเล่านำ แรงงานมาลงทุน โดยไม่ได้ตีราคาไว้ ผเู้ ปน็ หุ้นสว่ นทกุ คนตกลงให้มาเล่ามสี ทิ ธิไดร้ ับคืนทนุ ให้ทำ บันทึกรายการเปดิ บัญชีในสมดุ รายวันทั่วไป ขอ้ 4-5 วันที่ 1 มกราคม 2557 กรนี และกนั ต์เป็นหนุ้ สว่ นกันน้ำเงินสดมาลงทุน20,000บาทและ40,000บาท ตามลำดบั ให้ทำ บันทึกรายการเปิดบญั ชใี นสมุดรายวันทัว่ ไป

ข้อ 4-6 แอนดรู พอร์ช และเคลล่ี เป็นหุ้นส่วนกัน แอนดรูนำเงินสดมาลงทุน 50,000 บาท พอร์ชนำเงินสด 120,000 บาท สนิ คา้ ราคาทนุ 20,000 บาท ราคาตลาด 50,000 บาท มาลงทุน ส่วนเคลล่นี ำอาคาร มาลงทุนโดยตีมลู ค่าเป็นราคาทุน 50,000 บาท ราคาตลาด 100,000 บาท และนำแรงงานมาลงทุน 50,000 บาท หนุ้ ส่วนตกลงใหแ้ รงงานทีเ่ คลลี่ นำมาลงทุนไม่มสี ิทธิไดร้ บั คืนทนุ ใหท้ ำ บนั ทกึ รายการเปดิ บญั ชใี นสมดุ รายวนั ทั่วไป ข้อ 4-7 ออ๊ ฟและอว้ น ตกลงกันเป็นหนุ้ ส่วนเม่ือ 1 มกราคม 2557 โดยนำสินทรพั ย์และหนส้ี ินมาลงทุน ดังนี้ 1) อ๊อฟนำเงินสด 10,000 บาท ลูกหน้ี 8,000 บาท ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 2,000 บาท สินค้า คงเหลือ 6,000 บาท อุปกรณ์ 4,000 บาท เครื่องตกแต่ง 75,000 บาท ค่า เส่ือมราคาสะสม 5,000 บาท เจ้าหนี้ 5,000 บาท มาลงทุน 2) อว้ นนำเงินสด 120,000 บาท และรถยนต์จำนวน 2 คัน ยงั ไมไ่ ดต้ รี าคามาลงทุน ให้ทำ 1. คำนวณหาสว่ นในทนุ ของหุ้นส่วนแต่ละคน 2. บนั ทกึ รายการเปิดบญั ชีในสมุดรายวันท่ัวไป ข้อ 4-8 อู๋ อัน และโอเปน็ หุ้นสว่ นกนั โดยอนู่ ำสินค้า 80,000 บาท และอุปกรณ์ 70,000 บาท มาลงทุน อัน นำรถยนตร์ าคา 200,000 บาท มาลงทนุ ส่วนโอน่ ำอาคารมาลงทนุ แต่ไม่ได้ ตีราคาไว้ ให้ทำ 1. คำนวณหาส่วนในทุนของหนุ้ สว่ นแต่ละคน 2. บนั ทกึ รายการเปิดบญั ชใี นสมดุ รายวันท่วั ไป ขอ้ 4-9 พรีม แพท และพรต เป็นห้นุ สว่ นกนั นำเงินสดและสนิ ทรัพยอ์ น่ื ๆ มาลงทุนดังน้ี พรมี แพท หนว่ ย : บาท - พรต เงินสด 80,000 60,000 10,000 - ลูกหน้ี 8,000 1,500 - 20,000 25,000 ค่าเผอ่ื หนสี้ งสัยจะสูญ 1,000 85,000 - 5,000 - สินค้าคงเหลือ - - - - อปุ กรณ์สำนกั งาน - - - - ค่าเส่ือมราคาสะสม - อาคาร 200,000 ทด่ี นิ 300,000 เจา้ หน้ี 250,000 ใหท้ ำ 1. คำนวณหาส่วนในทนุ ของหนุ้ สว่ นแต่ละคน 2. บนั ทึกรายการเปดิ บัญชใี นสมดุ รายวนั ทั่วไป

ขอ้ 4-10 ดนัยและจริยา ตกลงกันเปน็ หนุ้ ส่วนเม่ือ 1 มนี าคม 2557 นำสินทรพั ยม์ าลงทนุ ดงั น้ี 1) ดนัยนำเงินสด 30,000 บาท ลูกหนี้ 40,000 บาท คา่ เผือ่ หนส้ี งสัยจะสญู 6,000 บาท รถยนต์ 45,000 บาท เครื่องตกแต่ง 30,000 บาท ค่าเส่อื มราคาสะสมเครื่องตกแตง่ 15,000 บาท และ เจ้าหน้ี 20,000 บาท มาลงทนุ 2) จริยานำเงนิ สดมาลงทนุ 60,000 บาท และแรงงานอกี 10,000 บาท ทำ ใหบ้ นั ทกึ รายการเปดิ บัญชีในสมดุ รายวันท่วั ไป ให้ทำ บนั ทกึ รายการเปดิ บัญชีในสมุดรายวนั ทว่ั ไป

ใบความรู้วิชา การบัญชหี า้ งหนุ้ ส่วน 20201-2002 หนว่ ยท่ี 5 การบันทึกบัญชตี ามวธิ ที ุนเปล่ยี นแปลงและวธิ ีทนุ คงที่ 1. สาระสำคัญ การจัดทำบัญชีของห้างหุ้นส่วน มีวิธีปฏิบัติเป็นไปตามมาตรฐานการบัญชี เช่นเดียวกับการบัญชีของ กิจการเจ้าของคนเดียวหรือบริษัทจำกัด ยกเว้นรายการท่ีเกี่ยวกับส่วนของผู้เป็นหุ้นส่วนและการแบ่งผลกำไร ขาดทุนระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วนจะมีวิธีบันทึกบัญชีและการแสดงรายการในงบแสดงฐานะการเงินแตกต่างกันไป ตามลักษณะของรูปแบบธุรกิจ บัญชีท่ีใช้บันทึกรายการที่เกี่ยวข้องระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วน มี 4 บัญชี ได้แก่ บัญชีทุน บัญชีกระแสทุน หรือบญั ชีเงนิ ถอน บญั ชีเงินทดรองของผ้เู ป็นหนุ้ สว่ น บญั ชีเงินกยู้ มื ของผู้เป็นหนุ้ สว่ น สว่ นการบันทกึ บญั ชที ุนของหา้ งห้นุ สว่ นมี 2 วธิ ี คอื 1. วธิ ที นุ คงท่ี (Fixed Capital Method) จะมบี ัญชีเกย่ี วกบั ทุน 2 บญั ชี คอื 1.1 บัญชที ุน (Capital Accounts) ใช้บันทึกเฉพาะรายการเปล่ยี นแปลงทุนท่ีมีลักษณะถาวร เช่น การลงทุน การเพ่ิมทนุ และการลดทุนของผเู้ ป็นหุ้นสว่ นแตล่ ะคน 1.2 บัญชีกระแสทุนหรือบัญชีเงินถอน (Current or Drawing Accounts) ใช้บันทึกรายการที่ เก่ียวกับสิทธิส่วนได้เสียของผู้เป็นหุ้นส่วนแต่ละคน ซ่ึงเป็นรายการเปลี่ยนแปลงทุนท่ีมีลักษณะช่ัวคราว เช่น ถอนใชส้ ว่ นตวั สว่ นแบง่ ผลกำไรขาดทุน ดอกเบยี้ เงินทุน โบนัสและเงนิ เดอื นของผูเ้ ป็นหุ้นสว่ นแตล่ ะคน 2. วิธที ุนเปลย่ี นแปลง (Alternative Capital Method) จะบนั ทึกรายการเกย่ี วกบั ทุนของ ผู้เปน็ หนุ้ สว่ น โดยเปดิ บัญชที นุ เพยี งบัญชเี ดียวใช้บนั ทึกรายการ 2. สมรรถนะประจำหนว่ ยการเรียนรู้ 1. แสดงความรเู้ ก่ียวกับรายการท่ีมผี ลทำใหเ้ งนิ ทนุ ของหุ้นสว่ นเปลี่ยนแปลง 2. แสดงความรเู้ กย่ี วกับส่วนในทนุ และสว่ นในกำไรขาดทนุ ของหนุ้ สว่ น 3. แสดงความรู้เกีย่ วกบั หลกั เกณฑก์ ารบนั ทึกบัญชขี องห้างห้นุ ส่วน 4. แสดงเจตคติและกิจนสิ ัยที่ดตี อ่ การศึกษาการบัญชีหา้ งหุน้ สว่ น 3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ประจำหน่วย 3.1.จดุ ประสงค์ทวั่ ไปเพื่อให้มีความรูค้ วามเขา้ ใจเกี่ยวกบั กฎหมายที่เกย่ี วขอ้ งกับห้างหนุ้ สว่ น 3.2.จุดประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม 3.2.1. อธบิ ายรายการท่มี ีผลทำให้เงินทนุ ของหนุ้ ส่วนเปล่ียนแปลงได้ 3.2.2. อธบิ ายและคำนวณส่วนในทนุ และสว่ นในกำไรขาดทุนของห้นุ ส่วนได้ 3.2.3. บอกหลักเกณฑก์ ารบนั ทกึ บัญชขี องห้างห้นุ สว่ นตามหลกั การบัญชีโดยทั่วไปได้ 4. สาระการเรยี นรู้ รายการทม่ี ีผลทำใหเ้ งนิ ทนุ ของหา้ งห้นุ ส่วนเปลี่ยนแปลงไป มีดังนี้ 1. รายการซง่ึ ทำให้ทุน หรอื สิทธิส่วนไดเ้ สียของผู้เปน็ หุ้นส่วนเพิ่มขึ้น ไดแ้ ก่ 1) การลงทนุ เพ่มิ 2) ผู้เป็นหุ้นสว่ นชำระหนี้ใหแ้ ก่หา้ งหุ้นสว่ น 3) สว่ นแบ่งผลกำไรจากการดำเนนิ งาน 4) ส่วนแบง่ กำไรจากการปรับปรุงสินทรพั ย์ หนี้สิน ของหา้ งหนุ้ ส่วน

5) ห้างหุน้ ส่วนคดิ เงนิ เดือน เงินโบนสั หรือดอกเบี้ยทุน ให้กบั ผูเ้ ป็นห้นุ ส่วน 2. รายการท่ที ำให้ทนุ หรือสทิ ธิส่วนได้เสยี ของผูเ้ ปน็ หุ้นส่วนลดลง ได้แก่ 1) ผเู้ ปน็ ห้นุ สว่ นถอนเงินสดหรือสนิ ทรัพย์อ่ืนของหา้ งไปใช้ส่วนตัว 2) หา้ งห้นุ สว่ นชดใช้ หรือรับเอาหนสี้ นิ สว่ นตวั ของผูเ้ ปน็ หุ้นสว่ น 3) สว่ นแบง่ ผลขาดทุนจากการดำเนนิ งาน 4) ส่วนแบ่งผลขาดทนุ จากการปรบั ปรุงสินทรัพย์ หนส้ี ิน ของหา้ งหุน้ ส่วน 5) ห้างห้นุ สว่ นคดิ ดอกเบ้ีย จากวนั ทผ่ี เู้ ป็นห้นุ ส่วนถอนกำไรไปใช้ลว่ งหนา้ ส่วนในทนุ และส่วนในกำไรขาดทนุ ของหุ้นสว่ น “ส่วนในทุนของผู้เป็นหุ้นส่วน” หมายถึง สินทรัพย์ท่ีหุ้นส่วนมีอยู่ในห้างหุ้นส่วน ซ่ึงเป็นเงินสดหรือ สินทรัพย์อ่ืน ที่ผู้เป็นหุ้นส่วนนำมาลงทุนในตอนจัดต้ังหุ้นส่วน สิทธิส่วนได้เสียของผู้เป็นหุ้นส่วนอาจ เปล่ียนแปลงได้ภายหลังจากดำเนินงาน เนื่องจากผู้เป็นหุ้นส่วนอาจนำเงินสดมาลงทุนเพ่ิม ถอนทุนหรือได้รับ สว่ นแบง่ กำไร “ส่วนในกำไรขาดทุน” หมายถึง ข้อตกลงระบุสิทธิส่วนได้เสียเม่ือมีผลของการดำเนินงานของห้าง หุ้นส่วน ซ่ึงเป็นข้อตกลงเก่ียวกับการแบ่งกำไรหรือขาดทุนระหว่างผู้เป็นหุ้นส่วน เช่น เอมและอ้อตกลงเป็น หุ้นส่วนกัน เอมนำเงินสดมาลงทุน 50,000 บาท อ้อนำเครื่องตกแต่ง 12,000 บาท และสินค้า 40,000 บาท มาลงทนุ ผู้เปน็ หุน้ สว่ นตกลงแบ่งกำไรขาดทนุ เท่ากัน ส่วนในทุนและส่วนในกำไรขาดทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนแต่ละคน จะบันทึกไว้ในบัญชีเงินทุนของ ผู้เป็น หุ้นส่วน ประกอบด้วยเงินลงทุนเริ่มแรกตอนจัดต้ังห้างหุ้นส่วน ภายหลังจากการดำเนินงานไปแล้ว ส่วนแบ่ง กำไรหรือขาดทุนของห้างหุ้นส่วน ซึ่งส่วนแบ่งผลกำไรขาดทุนท่ีหุ้นส่วนแต่ละคนจะได้รับน้ัน จะเป็นไปตาม อัตราส่วนที่ได้ตกลงกันไว้ในสัญญาการจัดตั้งห้างหุ้นส่วน อัตราส่วนแบ่งน้ีจะเป็นอัตราท่ี คงท่ีไม่มีการ เปลย่ี นแปลง ยกเว้นจะมีการตกลงใหเ้ ปลี่ยนแปลงอตั ราน้ใี หม่ หลกั เกณฑก์ ารบันทึกบัญชีของหา้ งหุน้ ส่วน การจัดทำบัญชีของห้างหุ้นส่วนน้ันจะมีลักษณะคล้ายกับกิจการเจ้าของคนเดียว อาจจะแตกต่างกัน เฉพาะการจัดทำบัญชีห้างหุ้นส่วนน้ันมีบุคคลอย่างน้อย 2 คนข้ึนไป ดังนั้น จึงต้องเปิดบัญชีทุนของหุ้นส่วน แตล่ ะคน (Capital Account) ไว้ การบันทึกบัญชีของห้างหุ้นส่วน 2 วธิ ี คือ 1. วธิ ที นุ คงที่ (Fixed Capital Method) 1.1 บญั ชีทุน (Capital Accounts) 1.2 บัญชกี ระแสทนุ (Current Accounts) 1.3 บัญชีเงินถอน (Drawing Accounts) 2. วิธที นุ เปลีย่ นแปลง (Alternative Capital Method) บัญชีเงินทดรองและบญั ชเี งินกู้ บญั ชีเงินทดรองของผู้เป็นหนุ้ ส่วน (Advance to Partner Accounts) ใช้บนั ทึกรายการเมอ่ื หา้ ง หุ้นสว่ นจ่ายเงินทดรองหรือเงนิ กู้ยมื ใหแ้ ก่ผู้เป็นหุน้ ส่วน บัญชเี งนิ กูย้ มื ของผู้เปน็ ห้นุ สว่ น (Loans From Partner Accounts) ใช้บันทึกรายการเมอ่ื ห้าง หุ้นสว่ นกู้ยมื เงินจากผู้เป็นหุ้นสว่ น

แบบฝกึ ปฏิบัติหน่วยที่ 5 จงตอบคำถามต่อไปนี้ 1. รายการใดบา้ งทท่ี ำให้ทุน หรอื สิทธสิ ่วนไดเ้ สียของผู้เป็นหุ้นส่วนเพ่ิมขน้ึ 2. รายการใดบา้ งที่ทำให้ทนุ หรอื สิทธสิ ว่ นไดเ้ สยี ของผู้เปน็ หุ้นส่วนลดลง 3. สว่ นในทนุ ของผู้เป็นหุ้นสว่ น หมายถงึ อะไร 4. ส่วนในกำไรขาดทนุ หมายถงึ อะไร 5. การบันทกึ บัญชขี องหา้ งหุ้นส่วนมีวธิ ี ได้แก่วธิ ีใดบ้าง 6. บัญชีเงนิ ทดรองเก่ยี วขอ้ งกบั ห้างหุ้นสว่ นอย่างไร และมกี ารบันทึกบัญชีอย่างไร จงอธิบาย 7. บัญชีเงนิ กยู้ ืมเก่ียวขอ้ งกับห้างหุน้ ส่วนอยา่ งไร และบนั ทกึ บัญชีอย่างไร จงอธบิ าย 8. กรณลี งทุนเปน็ แรงงานในห้างห้นุ ส่วน จะมีวิธีบันทึกบัญชอี ยา่ งไร

9. การถอนใชส้ ่วนตวั ของผเู้ ป็นหนุ้ สว่ น จะมีวธิ กี ารบันทึกบัญชใี นหา้ งหุน้ สว่ นอยา่ งไร 10. ห้างหนุ้ สว่ นจะใช้วธิ ีทุนเปลย่ี นแปลง (Alternative Capital Method) ในการบนั ทกึ บญั ชอี ยา่ งไร

ใบความรู้วชิ า การบญั ชีหา้ งห้นุ ส่วน 20201-2002 หนว่ ยท่ี 6 การแบง่ ผลกำไรขาดทนุ ของห้างหนุ้ ส่วน 1. สาระสำคัญ เม่ือห้างหุ้นส่วนดำเนินกิจการมาระยะหน่ึง หากมีผลกำไรขาดทุนเกิดขึ้นจะต้องนำมาแบ่งกันตาม ขอ้ ตกลงในสัญญาการจดั ต้งั ห้างหนุ้ สว่ น โดยมีหลักเกณฑ์การแบ่งผลกำไรขาดทนุ ที่ใช้โดยท่วั ไป ไดแ้ ก่ การแบ่ง เท่ากัน การแบ่งตามอัตราส่วนท่ีตกลงกนั การแบ่งตามอตั ราส่วนทุน คิดดอกเบ้ียทุน แลว้ แบง่ ผลกำไรขาดทนุ ท่ี เหลอื ตามอตั ราสว่ นทต่ี กลงกนั และคิดเงินเดอื น หรอื โบนัส แล้วแบง่ ผลกำไรขาดทนุ ทเี่ หลอื ตามอตั ราส่วนที่ ตกลงกัน และเม่ือมีการคำนวณแบ่งตามข้อตกลงแล้วก็จะนำไปบันทึกบัญชีตามวิธีทุนคงที่ หรือทุน เปลีย่ นแปลงแลว้ แต่ห้างหุน้ สว่ นน้ันเลอื กใชว้ ิธใี ดวิธหี น่งึ ต่อไป 2. สมรรถนะประจำหนว่ ยการเรยี นรู้ 1. แสดงความร้เู กยี่ วกับหลกั เกณฑก์ ารแบง่ ผลกำไรขาดทุน 2. แสดงความรูเ้ กีย่ วกบั การคำนวณและการบันทกึ บญั ชกี ารแบ่งผลกำไรขาดทนุ ของผู้เป็นหุน้ ส่วน 3. แสดงความรเู้ ก่ียวกับการเปลี่ยนแปลงอตั ราส่วนการแบง่ ผลกำไรขาดทุน 4. แสดงเจตคตแิ ละกจิ นิสัยทีด่ ีตอ่ การศกึ ษาการบญั ชีหา้ งหุ้นสว่ น 3. จุดประสงค์การเรียนร้ปู ระจำหนว่ ย 3.1.จุดประสงค์ทวั่ ไปเพื่อให้มีความรคู้ วามเขา้ ใจเก่ยี วกบั การแบง่ ผลกำไรขาดทุนของหา้ งห้นุ สว่ น 3.2.จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม 3.2.1. อธบิ ายหลกั เกณฑก์ ารแบ่งผลกำไรขาดทุน 3.2.2. คำนวณและบันทึกบัญชีการแบ่งผลกำไรขาดทนุ ของผเู้ ป็นหุ้นสว่ น 3.2.3. อธบิ ายและคำนวณการเปลย่ี นแปลงอัตราสว่ นการแบ่งผลกำไรขาดทุน 4. สาระการเรียนรู้ หลกั เกณฑก์ ารแบ่งผลกำไรขาดทุน เมอื่ กจิ การตกลงเขา้ เปน็ หุน้ ส่วนในห้างหุ้นสว่ นแล้ว ก็จะมีการนำเงนิ สด สนิ ทรัพย์อ่ืนและ แรงงานมา ลงทนุ ในห้างหุน้ ส่วน ซง่ึ ห้างหุ้นส่วนก็จะดำเนนิ การไประยะหนึ่ง หรืองวดเวลาใดเวลาหนึ่ง อาจมีผลกำไรหรอื ผลขาดทนุ เกดิ ข้ึนภายในหา้ งหุ้นสว่ น โดยผลกำไรขาดทุนทีเ่ กิดขึน้ นตี้ ้องแบ่งให้กับ ผเู้ ป็นหุ้นสว่ นทกุ คนตาม สญั ญาทไี่ ด้ตกลงกนั ไวใ้ นการจดั ต้งั ห้างห้นุ สว่ น แต่ถ้าในสัญญาน้ันห้นุ ส่วนไม่ได้ ตกลงกันไว้ในเร่ืองอตั ราส่วน แบ่งผลกำไรขาดทนุ ตามกฎหมายประมวลแพง่ และพาณิชยใ์ ห้ถือปฏิบตั ิ โดยการแบง่ ตามอตั ราสว่ นทุน เหตุผลสำคัญในการแบ่งผลกำไรขาดทนุ ของหา้ งหุ้นสว่ น ได้แก่ 1. เป็นคา่ ตอบแทนแกผ่ ู้เป็นหุ้นส่วนท่ีให้บรกิ ารเป็นส่วนตวั แก่ห้างหุ้นส่วน 2. เปน็ ค่าตอบแทนแกเ่ งินหรอื สนิ ทรัพย์ท่ผี ู้เปน็ หุ้นสว่ นแต่ละคนนำมาลงทนุ 3. เปน็ ผลกำไรท่แี ท้จริง และดำเนนิ นโยบายร่วมกันของผเู้ ป็นหนุ้ ส่วน

การแบ่งผลกำไรขาดทนุ ใหผ้ ู้เปน็ หนุ้ ส่วนนั้น ควรระบุไวใ้ นสัญญาการจดั ตั้งห้างหุ้นสว่ นให้ชดั เจน เพ่ือ ไมใ่ หเ้ กิดปญั หาในอนาคต โดยปกติหลกั เกณฑ์การแบง่ ผลกำไรขาดทุนทน่ี ยิ มปฏิบตั ิกันมวี ิธกี ารแบง่ ผลกำไร ขาดทนุ ดังนี้ 1. แบ่งเทา่ กัน 2. แบ่งตามอตั ราสว่ นทีต่ กลงกนั 3. แบ่งตามอตั ราส่วนทุน 4. คดิ ดอกเบย้ี ทนุ แลว้ แบ่งผลกำไรขาดทุนทเ่ี หลือตามอัตราส่วนที่ตกลงกนั 5. คดิ เงนิ เดอื น หรอื โบนัส แล้วแบง่ ผลกำไรขาดทุนทเ่ี หลือตามอตั ราสว่ นท่ตี กลงกัน การแบ่งผลกำไรขาดทนุ ทน่ี ิยมปฏบิ ัติกันมวี ิธีการแบ่งผลกำไรขาดทนุ เมื่อห้างหนุ้ สว่ นทราบผลการดำเนินงานประจำปขี องกจิ การ กจ็ ะนำผลกำไรขาดทุนที่ไดร้ ับมา คำนวณ เพื่อแบ่งให้ผู้เป็นหุ้นส่วนตามอัตราส่วนที่ตกลงกันไว้ และบันทึกบัญชีตามหลักการบัญชีที่ยอมรับ ท่ัวไป โดย ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. แบ่งเท่ากัน ถ้าหุ้นส่วนตกลงแบ่งผลกำไรขาดทุนเท่ากัน หุ้นส่วนแต่ละคนย่อมมีส่วนในผล กำไรหรือ ขาดทนุ เทา่ กัน โดยไม่คำนึงถึงทุนท่หี ้นุ สว่ นแตล่ ะคนนำมาลงทุนวา่ มีจำนวนมากหรือนอ้ ย 2. แบ่งตามอัตราส่วนที่ตกลงกัน การแบ่งผลกำไรขาดทุนตามวิธีน้ี ส่วนมากจะใช้ในกรณีท่ีผู้ เป็นหุ้นส่วนมีความสามารถไม่เทา่ กัน อาจจะตกลงกนั ให้แบ่งผลกำไรขาดทุนตามอัตราส่วนอย่างใดอยา่ งหนง่ึ ก็ ได้ที่เห็นว่ามีความเหมาะสม เช่น อัตราส่วนเดียวหรือสองส่วน (กำไรขาดทุนส่วนแรกเป็นอัตราหนึ่ง ส่วนท่ี เหลือแบ่งอกี อตั ราหนง่ึ ) หรอื อาจแบง่ เป็นเปอร์เซ็นต์ (%) เป็นตน้ 3. แบ่งตามอตั ราส่วนทุน สินทรัพยป์ ระเภทต่างๆ ที่ผู้เป็นหุ้นส่วนทุกคนนำมาลงทุนนั้น ถือเป็น ส่วนสำคัญในการหา รายได้ให้แกห่ า้ งหุ้นสว่ น ผูเ้ ป็นหนุ้ สว่ นอาจจะตกลงกันให้แบง่ ผลกำไรขาดทุนตามบัญชที ุน ของการลงทุน แต่ละคน เพ่ือจะได้มีเงินทุนในห้างหุ้นส่วนมากขึ้นซึ่งถือเป็นการจูงใจอย่างหนึ่ง และเพ่ือให้เกิด ความ ยุติธรรมแก่ผู้เป็นหุ้นส่วนที่นำเงินมาลงทุน ถ้าผู้เป็นหุ้นส่วนคนใดลงทุนมากหุ้นส่วนผู้นั้นก็ควรจะได้สวน แบ่งผลกำไรขาดทุนมาก แต่ถ้าหุ้นส่วนคนใดลงทนุ น้อยก็จะได้รบั ผลกำไรขาดทุนน้อยเช่นกนั ถ้า ผ้เู ป็นหุ้นส่วน ไดต้ กลงแบ่งผลกำไรขาดทุนตามอัตราสว่ นทุน ก็จะตอ้ งระบุไว้ในสญั ญาการจัดตั้ง ห้างหุ้นส่วนให้ชัดเจนวา่ เป็น ทนุ ณ วนั ใด ดงั นั้น คำวา่ “ทนุ ” จึงหมายถึงทุนตา่ งๆ ดังน้ี 3.1 ทนุ ณ วันเร่ิมตั้งกิจการ 3.2 ทุน ณ วนั ต้นงวดบัญชี 3.3 ทนุ ณ วนั ส้นิ งวดบญั ชี 3.4 ทนุ ถัวเฉลีย่ 4. คิดดอกเบ้ียทุน แล้วแบ่งผลกำไรขาดทุนทีเ่ หลือตามอัตราส่วนที่ตกลงกัน การคิดดอกเบี้ยทุน ให้หุ้นส่วนถือเป็นการแบ่งผลกำไรขาดทุนอย่างหน่ึง โดยคำนึงว่าทุนเป็น ส่วนสำคัญในการหารายได้ของห้าง หุ้นส่วน จงึ ควรจะแบ่งส่วนของกำไรหรอื ขาดทุนให้เป็นดอกเบี้ยทุน แก่ผู้เป็นหุ้นส่วนของจำนวนเงินท่ีลงทุนใน ห้างหุ้นส่วน และส่วนของกำไรหรือขาดทุนท่ีเหลือจึงจะนำมา แบ่งกันตามอัตราส่วนที่ตกลงกัน การคิด ดอกเบ้ยี ทุนสามารถคำนวณได้ 3 วธิ ี คอื 4.1 คิดดอกเบ้ียทุนจากทนุ ณ วันต้นงวด 4.2 คิดดอกเบีย้ ทุนจากทนุ ณ วนั สน้ิ งวด 4.3 คดิ ดอกเบย้ี ทุนจากทุนถัวเฉล่ีย

5. คิดเงินเดือน หรือโบนัส แล้วแบ่งผลกำไรขาดทุนที่เหลือตามอัตราส่วนที่ตกลงกัน การ คิดเงินเดือนให้แก่ผู้เป็นหุ้นส่วน จะต้องระบุไว้ในสัญญาการจัดตั้งห้างหุ้นส่วนให้คิด เงินเดือนให้แก่ผู้เป็น หุ้นส่วน การคิดเงินเดือนนั้นถือเป็นค่าตอบแทนสำหรับความสามารถในการ ปฏิบัติงานของหุ้นส่วนแต่ละคน จึงถือวา่ เป็นส่วนหนึ่งของการแบ่งผลกำไรขาดทุน ซงึ่ มีลักษณะ เหมือนกับการคดิ ดอกเบย้ี เงนิ ทุน ตามหลักการ บัญชีที่รับรองกันโดยท่ัวไปถือว่าเงินเดือนของผู้เป็น หุ้นส่วนเป็นการแบ่งผลกำไรขาดทุนอย่างหนึ่ง ไม่ว่าห้าง หุ้นสว่ นจะมผี ลการดำเนนิ งานเป็นกำไรสุทธิหรอื ขาดทนุ สุทธกิ ็ตาม ก็ต้องคดิ เงินเดอื นใหผ้ เู้ ปน็ หุน้ ส่วน การเปลย่ี นแปลงอัตราสว่ นการแบง่ ผลกำไรขาดทุน ถ้าผู้เป็นหุ้นส่วนต้องการจะเปล่ียนแปลงอัตราส่วนแบ่งผลกำไรขาดทุน ก็ต้องปรับปรุงส่วนทุน ของผู้ เป็นหุ้นส่วนให้ถูกต้อง แต่ก่อนที่จะมีการเปลี่ยนแปลงอัตราส่วนแบ่งกำไรขาดทุนนั้น ให้พิจารณา ราคา สินทรัพย์และหนี้สินของห้างหุ้นส่วน และตีราคาใหม่ให้เท่ากับราคาท่ีจะขายได้ หรือราคาทดแทน (Replacement Cost) ในวันท่ีมีการเปล่ียนแปลงอัตราส่วนแบ่งกำไรขาดทุน ผลต่างของราคาสินทรัพย์ ที่ตี ราคาใหม่กับราคาสินทรัพย์ตามบัญชี จะนำไปปรับปรุงกับบัญชีทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนตามอัตราส่วน แบ่งกำไร ขาดทนุ เดมิ

แบบฝึกปฏิบตั หิ น่วยท่ี 6 คำช้ีแจง จงแสดงวิธที ำ ขอ้ 6-1 บอมและบอย เป็นหุ้นส่วนกัน มีทุน 30,000 บาท และ 70,000 บาท ตามลำดับ ในวันส้ินงวด ปรากฏวา่ ห้างหนุ้ ส่วนมีกำไรสทุ ธจิ ำนวน 120,000 บาท ใหท้ ำ 1. คำนวณส่วนแบ่งกำไรขาดทนุ ของห้างห้นุ สว่ น ดังน้ี (หา้ งใช้วธิ ที ุนเปลี่ยนแปลง) • แบ่งเทา่ กัน • แบง่ ตามอตั ราส่วน 2 : 3 • แบ่งตามอัตราสว่ นทนุ 2. บนั ทึกรายการแบ่งผลกำไรขาดทนุ ในสมุดรายวนั ทวั่ ไป ข้อ 6-2 ตะวันพงศ์และจิรายุเป็นหุ้นส่วนกัน มีทุน 50,000 บาท และ 60,000 บาท ท้ังสองตกลง แบ่งผล กำไรขาดทุนในอตั รา 1 : 3 ในวันส้ินงวดปรากฏว่าหา้ งหุน้ ส่วนมผี ลกำไรสุทธิ 220,000 บาท ให้ทำ 1. คำนวณการแบ่งกำไรขาดทนุ 2. บนั ทกึ รายการแบง่ ผลกำไรขาดทนุ ในสมุดรายวนั ทั่วไปดว้ ยวิธีทุนคงที่ ข้อ 6-3 หยาดทิพย์และหยาดฝนเป็นหุ้นส่วนกัน นำเงินสดมาลงทุนครั้งแรก 100,000 บาท และ 80,000 บาท และทนุ ของผู้เปน็ หนุ้ สว่ นมีดงั น้ี บัญชีทนุ -หยาดทิพย์ เลขที่ 30X พ.ศ. 2557 รายการ หนา้ เดบิต พ.ศ. 2557 รายการ หนา้ เครดติ เดอื น วันท่ี บัญชี บาท สต. บัญชี บาท สต. เดอื น วันที่ มี.ค. 1 ถอนทนุ 24,000 - ม.ค. 1 ยอดยกมา 112,000 - ก.ค. 1 ลงทนุ เพิ่ม 52,000 - พ.ย. 1 ลงทุนเพมิ่ 20,000 - บัญชที ุน-หยาดฝน เลขท่ี 30X พ.ศ. 2557 รายการ หนา้ เดบติ พ.ศ. 2557 รายการ หนา้ เครดติ เดือน วันท่ี บญั ชี บาท สต. บัญชี บาท สต. เดอื น วนั ที่ ก.ค. 1 ถอนทนุ 20,000 - ม.ค. 1 ยอดยกมา 120,000 - ม.ี ค. 31 ลงทุนเพม่ิ 34,000 - พ.ค. 10 ลงทนุ เพ่มิ 26,000 - ก.ย. 30 ลงทุนเพิ่ม 40,000 - ห้างหุ้นส่วนมกี ำไรสทุ ธิท้ังสิ้นในปี 2557 จำนวน 400,000 บาท (หา้ งใช้วิธีทนุ เปลีย่ นแปลง) ให้ทำ 1. คำนวณการแบ่งผลกำไรขาดทนุ ตามอตั ราสว่ นดงั นี้ • ทุน ณ วันเริ่มต้นกิจการ • ทนุ ณ วันตน้ งวดบัญชี • ทนุ ณ วันส้ินงวดบัญชี • ทนุ ถว้ เฉล่ยี 2. บันทกึ รายการในสมดุ รายวันทว่ั ไป

ข้อ 6-4 ก้องและกล้วยเป็นหุ้นส่วนกันและนำเงินมาลงทุน 200,000 บาท และ 400,000 บาท ตกลงใน สัญญาการจัดต้ังห้างหุ้นส่วนต้องการจะแบ่งผลกำไรขาดทุนในอัตรา 409% : 6090 ต่อมาห้าง ห้นุ สว่ นไดด้ ำเนนิ งานมาระยะหนึ่งจนถึงวนั สนิ้ งวดบญั ชี ปรากฏวา่ กจิ การมี กำไรสุทธิ 600,000 บาท ใหท้ ำ บันทกึ รายการในสมดุ รายวันท่วั ไป ตามวธิ ที ุนคงที่ ข้อ 6-5 วทิ ยาและสหรัถเปน็ หุน้ ส่วนกัน นำเงนิ สดมาลงทุน 40,000 บาท และ 60,000 บาท ในปี 2557 หา้ ง หนุ้ ส่วนมผี ลขาดทุนสุทธจิ ำนวน 220,000 บาท ตกลงแบ่งผลกำไรขาดทุน เท่ากนั ให้ทำ บนั ทกึ รายการในสมดุ รายวนั ท่วั ไป วธิ ีทุนเปลย่ี นแปลง ขอ้ 6-6 ข้ึนและป้องเป็นหุ้นส่วนกัน น้ำเงินสดมาลงทุนเมื่อวันที่ 1 มกราคม 2557 จำนวน 120,000 บาท และ 100,000 บาท ตามลำดบั ห้างหุ้นส่วนมีกำไรสุทธิจำนวน 50,000 บาท ทั้งสองตกลงในสัญญา การจดั ตั้งห้างหนุ้ สว่ น ดงั น้ี 1) คิดดอกเบ้ยี ทุน 59% จากทุน ณ วันต้นงวด 2) กำไรขาดทุนท่ีเหลือให้แบ่งเท่ากัน ให้ทำ 1. คำนวณส่วนแบง่ ผลกำไรขาดทุน 2 บนั ทกึ รายการในสมุดรายวันท่ัวไป ตามวิธีทุนคงที่ ขอ้ 6-7 กรีนและกันต์ เป็นหุ้นส่วนกัน มีทนุ ในวันที่ 1 มกราคม 2557 จำนวน 300,000 บาท และ 250,000 บาท ตามลำดับ ห้างหุ้นส่วนมีกำไรสุทธิจำนวน 500,000 บาท ผู้เป็น หุ้นส่วนตกลงแบ่งผลกำไร ขาดทนุ ดังน้ี 1) คดิ ดอกเบี้ยทนุ 50% จากทนุ ณ วนั ตน้ งวด 2) คิดเงนิ เดอื นให้กรนี เดอื นละ 20,000 บาท และกนั ตเ์ ดอื นละ 30,000 บาท 3) กำไรทเ่ี หลอื ใหแ้ บง่ เท่ากนั ให้ทำ 1. คำนวณส่วนแบ่งกำไรขาดทุน 2. บันทกึ รายการในสมดุ รายวนั ท่ัวไป วธิ ที ุนคงที่ ข้อ 6-8 แพรวาและแพนเค้ก เป็นหุ้นส่วนกัน มีทุน 200,000 บาท และ 400,000 บาท ในปี 2557 หา้ งหุ้นสว่ นมกี ำไรสทุ ธิ 800,000 บาท ทั้งสองตกลงแบ่งกำไรขาดทุนดงั น้ี 1) คดิ ดอกเบีย้ ทนุ 596 จากทุน ณ วันต้นงวด 2) คดิ เงนิ เดอื นให้แพรวาเดือนละ 35,000 บาท และแพนเคก้ เดือนละ 40,000 บาท 3) คดิ โบนสั ให้แพรวา 69% ของกำไรสุทธิหลังหกั โบนัส แต่กอ่ นหักดอกเบี้ยทุนและเงินเดอื น 4) กำไรที่เหลือแบง่ ในอตั รา 3 : 1 ใหท้ ำ 1. คำนวณสว่ นแบง่ กำไรขาดทนุ 2. บนั ทกึ รายการในสมดุ รายวันทว่ั ไป วธิ ีทุนเปลี่ยนแปลง

ข้อ 6-9 ข้อมูลเกีย่ วกบั ทนุ ของหา้ งหุ้นส่วนจ้อบและจอย สิ้นสุดวันที่ 31 ธนั วาคม 2557 มดี งั น้ี ทนุ -จอ๊ บ ทุน-จอย ม.ค. 1 ยอดยกมา 40,000 ม.ค. 1 ยอดยกมา 40,000 20,000 ม.ี ค. 15 เพมิ่ ทุน 6,000 พ.ค. 25 เพิ่มทุน 8,000 52,000 พ.ค. 8 เพม่ิ ทนุ 12,000 ก.ย. 17 ถอนทนุ ก.ย. 5 ถอนทุน 8,000 ธ.ค. 31 ยอดยกไป ธ.ค. 31 ยอดยกไป 50,000 ห้างห้นุ สว่ นมกี ำไรสุทธิประจำปี 680,000 บาท และบนั ทกึ บัญชโี ดยวิธที นุ คงที่ ให้ทำ บันทึกรายการในสมุดรายวนั ทั่วไป และแสดงการคำนวณประกอบแตล่ ะกรณี ดงั น้ี 1. แบง่ กำไรขาดทุนให้หนุ้ สวนตามอตั ราสว่ นทุน ณ วันส้ินงวด 2. คิดดอกเบ้ียทุนให้หุ้นส่วนในอัตรา 109% ต่อปีจากทุนต้นปี และคิดเงินเดือนให้หุ้นส่วน ปีละ 360,000 บาท และ 520,000 บาท ตามลำดบั ส่วนกำไรท่เี หลือใหแ้ บง่ เทา่ กัน ขอ้ 6-10 แอนและแอฟ ตกลงเป็นหุ้นส่วนกัน มีทุน ณ วันเริ่มตั้งกิจการจำนวน 100,000 และ 120,000 บาท ตามลำดับ ในปนี หี้ ้างหุ้นส่วนมีกำไรสทุ ธจิ ำนวน 860,000 ท้ังสองตกลงแบง่ ผลกำไรขาดทุน ดงั น้ี 1) คดิ เงนิ เดือนใหแ้ อนเดอื นละ 25,000 บาท และแอฟเดอื นละ 18,000 บาท 2) คดิ ดอกเบ้ียทนุ 10% ของทุน ณ วันเรม่ิ ตง้ั กิจการ 3) คิดโบนสั ให้แอฟในฐานะผูจ้ ัดการ 15% ของกำไรสุทธิหลงั หกั เงนิ เดือน ดอกเบี้ยแต่กอ่ นหกั โบนสั 4) กำไรขาดทุนท่ีเหลือแบ่งในอัตรา 2 : 4 ใหท้ ำ 1. คำนวณการแบ่งกำไรขาดทนุ ใหห้ ้นุ ส่วน 2. บนั ทกึ รายการในสมดุ รายวันทัว่ ไป (วธิ ที ุนคงที)่

ใบความรู้วชิ า การบัญชีหา้ งหุ้นส่วน 20201-2002 หนว่ ยที่ 7 การทำงบการเงิน 1. สาระสำคัญ งบการเงิน เป็นรายงานผลการดำเนินงาน ฐานะการเงิน หรือการเปล่ียนแปลงฐานะการเงินของ กิจการ ไม่ว่าจะรายงานโดยงบแสดงฐานะการเงิน งบกำไรขาดทุน หรือหมายเหตุประกอบงบการเงิน หรือ คำอธบิ ายอื่นซง่ึ ระบุไว้ว่าเปน็ ส่วนหนึ่งของงบการเงิน ซงึ่ กฎหมายกำหนดให้ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนที่จัดตัง้ ข้ึน ตามกฎหมายไทยเป็นผมู้ ีหน้าที่จดั ทำบัญชี และต้องจัดใหม้ ีการทำบัญชีสำหรับการประกอบธรุ กิจของตนโดยมี รายละเอยี ด หลกั เกณฑ์ และวธิ ีการตามทบ่ี ญั ญัตไิ ว้ในพระราชบญั ญตั กิ ารบัญชีอย่างครบถว้ นสมบรู ณ์ 2. สมรรถนะประจำหน่วยการเรียนรู้ 1. แสดงความรูเ้ กย่ี วกับความรู้เบ้อื งต้นเกี่ยวกับงบการเงิน 2. แสดงความรเู้ ก่ียวกับงบกำไรขาดทนุ 3. แสดงความรเู้ กี่ยวกบั งบแสดงฐานะการเงนิ 4. แสดงความร้เู กี่ยวกับงบเงินทนุ ของผูเ้ ป็นหนุ้ ส่วน 5. แสดงเจตคติและกิจนสิ ยั ทีด่ ตี อ่ การศึกษาการบญั ชีหา้ งหุน้ สว่ น 3. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรปู้ ระจำหนว่ ย 3.1.จดุ ประสงค์ทั่วไปเพ่อื ให้มีความรู้ความเขา้ ใจเกีย่ วกบั การทำงบการเงนิ 3.2.จดุ ประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม 3.2.1. อธบิ ายความร้เู บ้อื งตน้ เก่ียวกบั งบการเงิน 3.2.2. อธิบายและจดั งบกำไรขาดทนุ 3.2.3. อธิบายและจัดทำงบแสดงฐานะการเงิน 3.2.4. อธิบายและจดั ทำงบเงนิ ทุนของผูเ้ ปน็ หุ้นสว่ น 4. สาระการเรียนรู้ ความร้เู บอ้ื งต้นเกี่ยวกบั งบการเงนิ งบการเงิน (Financial Statement) หมายถึง รายงานทางการเงินที่นำเสนอข้อมูลเพื่อแสดงฐานะ ทางการเงิน ผลการดำเนินงาน และกระแสเงินสดของกิจการโดยถูกต้องตามที่ควรในแต่ละงวดบัญชีใดบัญชี หนงึ่ หรือระหว่างงวดบัญชกี ็ได้ จุดมุง่ หมายของงบการเงิน คือ การใหข้ ้อมูลเกีย่ วกับฐานะการเงนิ ผลการดำเนินงาน และกระแส เงนิ สดของกิจการ ซง่ึ เป็นประโยชน์ตอ่ การตดั สินใจเชงิ เศรษฐกจิ ของผู้ใชง้ บการเงนิ กลมุ่ ต่างๆ นอกจากน้ี งบ การเงนิ ยงั แสดงถงึ ผลการบริหารงานของฝ่ายบริหารซ่ึงไดร้ บั มอบหมายให้ดแู ลทรัพยากรของกิจการเพื่อทจ่ี ะ บรรลุวตั ถปุ ระสงค์ดงั กล่าว

งบกำไรขาดทุน งบกำไรขาดทุน (Income Statement) หมายถึง รายงานทที่ ำขึน้ เพอื่ แสดงผลการดำเนนิ งานของ กิจการในระหว่างงวดบญั ชหี รอื ส้นิ งวดบัญชีใดบญั ชีหนึง่ ของกจิ การ ประกอบด้วยรายไดแ้ ละคา่ ใช้จ่าย รวมถึง ผลกำไรและขาดทุน การจัดทำงบกำไรขาดทุนมีวธิ ีการจัดทำ 2 วิธี คือ 1. วิธจี ำแนกคา่ ใช้จา่ ยตามลักษณะของค่าใช้จา่ ย 2. การจดั ทำงบกำไรขาดทนุ วิธีจำแนกค่าใชจ้ ่ายตามหนา้ ที่หรือวธิ ีต้นทุนขาย ได้แก่ 2.1. จำแนกคา่ ใชจ้ า่ ยตามหน้าท่ี แบบขน้ั เดียว (Single Step) 2.2. จำแนกค่าใช้จ่ายตามหน้าท่ี แบบหลายขั้น (Multiple Step) งบแสดงฐานะการเงิน งบแสดงฐานะการเงิน (Statements of Financial Position) หมายถึง งบการเงินที่แสดงถึง ฐานะทางการเงินของกิจการ ณ วันใดวันหนึ่งว่ามีสินทรัพย์ หนี้สิน และส่วนของเจ้าของอยู่จำนวนเท่าใด ดังนน้ั บัญชที ีแ่ สดงจงึ ได้แก่ บญั ชีสนิ ทรพั ย์ หนี้สิน และทุนหรือส่วนของเจา้ ของ (ทุน) งบเงินทุนของผู้เป็นหุ้นส่วน หมายถึง งบท่ีจัดทำขึ้นเพื่อแสดงให้เห็นรายการเปลี่ยนแปลงที่เกิดข้ึน ระหว่างงวดของบัญชีทุนผู้เป็นหุ้นส่วนแต่ละคน งบเงินทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนไม่ใช่งบการเงิน แต่จัดทำขึ้นเพ่ือ เป็นงบประกอบของงบกำไรขาดทุน และงบแสดงฐานะการเงิน และไม่ต้องนำส่งหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง เช่น กรมพัฒนาธรุ กิจการคา้ หรือกรมสรรพากร เปน็ ต้น เมื่อได้จัดทำงบเงินทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนแล้วก็ไม่ต้องแสดงรายละเอียดเก่ียวกับทุนมากในงบแสดง ฐานะการเงิน ใหน้ ำเฉพาะยอดทุนคงเหลือจากการคำนวณในงบเงนิ ทุนของผ้เู ป็นหุ้นส่วนมาใส่ใยงบแสดงฐานะ การเงิน

แบบฝกึ ปฏบิ ตั ิหนว่ ยท่ี 7 คำชี้แจง จงแสดงวิธีทำ ข้อ 7-1 ข้อมูลของห้างหุ้นส่วน วัฒนา จำกัด ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2557 ป๊ีบกับโป๊บ เป็นหุ้นส่วนกัน ดังต่อไปนี้ หนว่ ย : บาท เงินสด 3,345 เงินฝากธนาคาร 14,828 ลกู หน้กี ารคา้ 13,990 สินค้าคงเหลอื ต้นงวด 16,300 ภาษเี งนิ ได้จ่ายลว่ งหน้า 11,767 คา่ เบี้ยประกันจา่ ยล่วงหน้า 9,000 อุปกรณ์ 32,250 ค่าเส่ือมราคาสะสม-อุปกรณ์ 9,900 อาคาร 609,500 ค่าเสื่อมราคาสะสม-อาคาร 108,500 ทดี่ นิ 655,000 เจ้าหนี้การคา้ 228,150 ตั๋วเงินจ่าย 61,500 เงินกูร้ ะยะยาว 350,000 ทนุ -ปบ๊ี 275,000 ทุน-โปบ๊ 225,000 ขายสนิ คา้ 423,755 รบั คนื สนิ คา้ 10,635 ซื้อสินคา้ 207,155 ส่งคืนสนิ คา้ 7,830 ส่วนลดรบั 4,200 ค่าสาธารณปู โภค 6.100 คา่ โฆษณา 22,500 ค่านายหนา้ 19,850 คา่ ใชจ้ ่ายอื่นๆ 3,590 เงินเดือน 44,900 ดอกเบี้ยจ่าย 13,125 1,693,835 1,693,835

รายละเอียดเพิ่มเตมิ มีดังน้ี 1. คิดคา่ เสือ่ มราคาอุปกรณ์ 20% และอาคาร 5% ต่อปี 2 ค่าเบยี้ ประกนั จา่ ยลว่ งหน้าคงเหลือ 3,000 บาท 3. ดอกเบ้ียจ่ายคดิ ในอตั รา 1555 ตอ่ ปี โดยมีเงนิ กูต้ ามบญั ชีกู้เมอ่ื 1 กันยายน 2557 4. สนิ คา้ คงเหลือ 31 ธนั วาคม 2557 จำนวน 28,945 บาท 5 ภาษีเงินได้ 3096 6. คิดดอกเบี้ยทนุ ใหห้ ุ้นส่วน 59% ตอ่ ปี 7. คิดเงินเดอื นให้ป้ีบ 27,000 บาท และโป็บ 30,000 บาท 8. กำไรทเ่ี หลือแบง่ เท่ากัน ใหท้ ำ 1. บนั ทึกรายการในสมุดรายวนั ท่ัวไป 2. งบกำไรขาดทุน 3. งบแสดงฐานะการเงิน 4. งบเงินทนุ ของผเู้ ป็นหนุ้ สว่ น ข้อ 7-2 ทุนของหา้ งหุ้นส่วน ศริ ิวัฒนา จำกัด มีดงั น้ี บัญชที ุน-ศริ ิ เลขที่ 30X พ.ศ. 2557 รายการ หนา้ เดบิต พ.ศ. 2557 รายการ หนา้ เครดิต เดือน วันท่ี บญั ชี บาท สต. บัญชี บาท สต. เดอื น วันที่ 20,000 - ม.ี ค. 1 ถอนทุน 2,500 - ม.ค. 1 ยอดยกมา 7,500 - ก.ค. 1 ลงทุนเพิม่ เลขท่ี 30X บญั ชีทุน-วฒั นา หนา้ เครดติ บัญชี บาท สต. พ.ศ. 2557 รายการ หนา้ เดบติ พ.ศ. 2557 รายการ เดอื น วันที่ 25,000 - บญั ชี บาท สต. เดือน วันท่ี 10,000 - ก.ค. 1 ถอนทุน 2,250 - ม.ค. 1 ยอดยกมา มี.ค. 31 ลงทุนเพิ่ม กำไรสุทธปิ ระจำปี 2557 มีจำนวน 420,000 บาท และในสัญญาจดั ตง้ั หา้ งห้นุ สว่ นมีดังนี้ 1. หนุ้ ส่วนตกลงแบง่ กำไรเท่ากัน 2. คิดเงินเดือนใหศ้ ริ ิและวัฒนาเดอื นละ 12,000 บาท และ 15,000 บาท ตามลำดับ 3. คดิ ดอกเบยี้ ทุน 5% จากทนุ ต้นงวด 4. คดิ วฒั นาได้รับโบนัส 10% ของกำไรสทุ ธิ หลังหักเงนิ เดือน ดอกเบี้ยทุน และหลงั หักโบนสั ใหท้ ำ 1. บันทกึ รายการปรับปรุงในสมดุ รายวนั ทว่ั ไป (วธิ ีทนุ เปลีย่ นแปลง) 2 แบ่งผลกำไรสุทธทิ ้ายงบกำไรขาดทนุ 3. งบเงนิ ทุนของผเู้ ป็นหุ้นสว่ น

ขอ้ 7-3 ดนัยและนิธิ เปน็ หุ้นสว่ นกัน ในสัญญาจดั ตง้ั หา้ งหนุ้ ส่วนกำหนดไว้ดังนี้ 1. คดิ เงินเดอื นให้ดนยั ปีละ 420,000 บาท และนธิ ิ 240,000 บาท 2. คิดดอกเบ้ียทุนให้หนุ้ สว่ น 55 จากทุน ณ วนั ตน้ งวด 3. กำไรสุทธิที่เหลือแบง่ เทา่ กนั ณ วันท่ี 1 มกราคม 2557 มีทุนของผู้เป็นหุ้นส่วนจำนวน 40,000 และ 60,000 บาท ในเดือน มีนาคม หุ้นส่วนทุกคนลงทุนเพิ่มคนละ 10,000 คน ห้างหุ้นส่วนมีกำไรสุทธิ 850,000 บาท และเดือน กรกฎาคมมกี ารถอนเงนิ อีก 10,000 บาท และ 12,000 บาท ใหท้ ำ 1. แบง่ ผลกำไรสุทธิต่อทา้ ยงบกำไรขาดทุน 2. งบเงินทนุ ของผเู้ ป็นห้นุ สว่ น ขอ้ 7-4 เวทกาและวรฤทธิ์ เป็นหุ้นส่วนกัน เร่ิมจัดต้ังห้างหุ้นส่วนเมื่อ 1 มกราคม 2556 ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 มีทุน 50,000 บาท และ 30,000 บาท ตกลงแบ่งกำไรขาดทุนในอัตรา 2 : 3 หลังจากคิดเงิน เดือนและดอกเบ้ยี ทุนให้หุ้นส่วนแลว้ โดยดอกเบีย้ ทนุ คิดในอตั รา 59% ตอ่ ปีจากทนุ ตน้ งวด ข้อมูลเพิม่ เตมิ รายการ พ.ศ. 2556 พ.ศ. 2557 กำไรสทุ ธิ 36,000 48,000 เงินเดือน-เวทกา 16,000 8,000 เงินเดอื น-วรฤทธิ์ 14,000 8,000 เงินถอน-เวทกา 11,000 8,000 เงนิ ถอน-วรฤทธ์ิ 12,000 8,000 ให้ทำ งบเงินทนุ ของผเู้ ป็นหุน้ สว่ น ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2557 ข้อ 7-5 ต่อไปน้ีเปน็ ขอ้ มูลของห้างหนุ้ สว่ นจำกัด นิลพัฒน์ ประจำปี 2557 รายการ นลิ พัฒน์ ทุน 1 มกราคม 2557 170,000 180,000 เพมิ่ ทนุ 20,000 16,000 ถอนใชส้ ว่ นตวั 6,000 10,000 สว่ นแบ่งกำไรสทุ ธิ 15,000 20,000 ใหท้ ำ งบเงนิ ทุนของผู้เป็นหนุ้ สว่ น ณ วันที่ 31 ธนั วาคม 2557