Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ilovepdf_merged_merged

ilovepdf_merged_merged

Published by aphichat8663, 2022-08-15 07:15:01

Description: ilovepdf_merged_merged

Search

Read the Text Version

รายงาน รายวชิ า การผลติ สอื่ สงิ่ พมิ พ์ เรอ่ื ง ความรู้เบอ้ื งตน้ เกยี่ วกบั คอมพวิ เตอร์ จัดทาโดย นาย ขวญั เพชร หวานเขียง นางสาว ชาลสิ า เขยี วป้อง นางสาว กติ ตมิ า เลศิ ชยั วริ ยิ ะ นาย กฤษดา โพอดุ ม นาย สรุ ยิ า สุดแลว้ เสนอ อาจารย์ ทิวา โคตคา วทิ ยาลยั การอาชพี บา้ นไผ่ ปกี ารศกึ ษา2565

1 ความรเู้ กยี่ วกบั คอมพวิ เตอรเ์ บอ้ื งตน้ บทที่ 1  ความหมายของคอมพวิ เตอร์ คอมพิวเตอร์ คือ เคร่ืองคานวณในรูปของอปุ กรณอ์ ิเล็กทรอนิกส์ ที่ สามารถรบั ข้อมูลและคาสงั่ ผา่ นอปุ กรณร์ ับขอ้ มลู แล้วนาขอ้ มลู และ คาสง่ั นน้ั ไปประมวลผลดว้ ยหนว่ ยประมวลผลเพ่ือให้ได้ผลลัพธ์ที่ ต้องการและแสดงผลผ่านอุปกรณ์แสดงผล ตลอดจนสามารถบันทกึ รายการต่างๆไว้เพ่ือใชง้ านไดด้ ว้ ยอุปกรณ์บนั ทึกข้อมลู สารอง 1.คณุ ลกั ษณะเด่นของคอมพิวเตอร์  ความจา (Storage) เปน็ ความสามารถในการเก็บข้อมูลจานวนมาก และเป็น ระยะเวลานาน ซง่ึ ถอื ได้วา่ เปน็ \"หัวใจ\" ของการทางานแบบ อัตโนมัติของเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ แบง่ ได้2 ระบบคือ  หน่วยความจาหลัก (Primary Storage)  หนว่ ยความจารอง (Secondary Storage)  ความเร็ว(Speed) เปน็ ความสามารถในการประมวลผลข้อมลู ภายในเวลาท่ีสั้น ที่สดุ โดยความเร็วของการประมวลผล พิจารณาจากความสามารถใน การประมวลผลซา้ ๆ ในช่วงเวลาหนึ่งๆ เรยี กวา่ \"ความถ่ี (Frequency)\" โดยนับความถี่เป็น \"จานวนคาส่ัง\" หรือ \"จานวน ครงั้ \" หรอื \"จานวนรอบ\" ในหนึ่งนาที และเรยี กหนว่ ยนี้ ว่า Hz (Hertz = Cycle/Second)

2  ความนา่ เชือ่ ถอื (Sure) เปน็ ความสามารถในการประมวลผลที่สง่ ผลใหเ้ กิดผลลัพธ์ที่ ถกู ต้อง โดยนบั ได้วา่ เป็นส่ิงสาคญั ที่สดุ ในการท างานของเคร่ือง คอมพิวเตอร์ โดยความสามารถนี้ เกยี่ วขอ้ งกับโปรแกรมคาสง่ั และขอ้ มลู ท่นี ักคอมพิวเตอร์ไดก้ าหนดใหก้ ับเครื่องคอมพวิ เตอร์  การปฏิบัติงานอัตโนมัติ (Self Acting) เปน็ ความสามารถของเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ ในการประมวลผลข้อมูล ตามลาดับคาส่งั ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง และต่อเนื่อง โดยอัตโนมัติ ตาม คาสงั่ และขน้ั ตอนที่นักคอมพิวเตอร์ (มนษุ ย)์ ไดก้ าหนดไว้ 2.องค์ประกอบของระบบคอมพวิ เตอร์ องค์ประกอบสาคัญมี 5 ส่วนด้วยกนั คือ  ฮาร์ดแวร์(Hardware)  ซอฟต์แวร์(Software)  บคุ ลากร(People)  ข้อมลู /สารสนเทศ(Data/Information)  กระบวนการทางาน(Procedure)

3 2.1 ฮาร์ดแวร(์ Hardware) เปน็ ลักษณะทางกายภายของเครื่องคอมพวิ เตอร์ หมายถึงตวั เครอ่ื ง คอมพวิ เตอร์ และอุปกรณ์รอบขา้ งทเ่ี ก่ียวข้อง มสี ว่ นประกอบทส่ี าคญั คอื  หนว่ ยรบั ข้อมูล (Input Unit),  หนว่ ยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit)  หน่วยความจาหลัก (Main Memory Unit)  หนว่ ยแสดงผลลัพธ์ (Output Unit)  หนว่ ยเกบ็ ขอ้ มูลสารอง (Secondary Storage Unit)  สว่ นประกอบที่สาคญั ของฮารด์ แวรค์ อมพวิ เตอร์ 1.หน่วยรับขอ้ มูล ทาหนา้ ทร่ี บั ข้อมูลและโปรแกรมเขา้ ส่เู คร่อื งคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยอปุ กรณ์ต่างๆที่นาข้อมลู จากภายนอกเข้าสเู่ คร่อื ง คอมพวิ เตอร์ จงึ เรียกวา่ \"อุปกรณน์ าเข้าขอ้ มลู \" (Input Device) 2.หน่วยประมวลผล สว่ นประกอบท่ีสาคัญภายในของซพี ียู แบง่ ออกไดด้ ังน้ี  หนว่ ยควบคุม (Control Unit)  หน่วยคานวณและตรรกะ (ALU : Arithmetic and Logic Unit)  รจี ิสเตอร์ (Register) 3. หน่วยความจา (Memory Unit) หนา้ ที่ของหนว่ ยความจา  จดั เก็บขอ้ มลู ก่อนการประมวลผล  จดั เก็บขอ้ มูลระหวา่ งการประมวลผล  จดั เก็บข้อมูลหลงั จากการประมวลผล แบง่ ได้ 2 ประเภท คือ หนว่ ยความจาหลกั และหนว่ ยความจาสารอง

4 4.หน่วยแสดงผลลัพธ์ (Output Unit) เปน็ อุปกรณท์ ใี่ ช้แสดงผลโดยสามารถแสดงผลทั้งในรูปแบบ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ (เรียกว่า soft copy) เช่น จอภาพคอมพิวเตอร์ หรอื อยใู่ นรปู แบบของ hard copy เช่น พิมพ์ออกมาเป็น กระดาษออกทางเครอื่ งพมิ พ์ โดยอาจอาศยั อปุ กรณ์อนื่ ๆ เชน่ ลาโพง สาหรบั การแสดงผลที่เปน็ เสยี งได้ 5. ทางเดนิ ระบบ (System Bus) จานวนเส้นทางทีใ่ ชว้ งิ่ บนทางเดนิ ระบบ เรียกว่า บติ (เปรยี บเทียบได้ กับเลนบนถนน  การทางานของ CPU

5  ประโยชน์ของคอมพิวเตอร์ งานธุรกิจ เช่น บริษัท รา้ นค้า ห้างสรรพสนิ ค้า ตลอดจนโรงงาน ต่างๆ ใช้คอมพวิ เตอร์ในการทาบัญชี งานประมวลคา และติดต่อกบั หนว่ ยงานภายนอกผา่ นระบบโทรคมนาคม นอกจากน้งี าน อตุ สาหกรรม ส่วนใหญ่ก็ใชค้ อมพิวเตอร์มาช่วยในการควบคมุ การ ผลติ และการประกอบช้ินสว่ นของอุปกรณ์ตา่ งๆ เช่น โรงงาน ประกอบรถยนต์ ซ่ึงทาใหก้ ารผลติ มีคุณภาพดขี ึ้นบริษทั ยังสามารถรับ หรอื งานธนาคาร ที่ใหบ้ ริการถอนเงนิ ผา่ นตู้ฝากถอนเงินอตั โนมัติ ( ATM ) และใช้คอมพิวเตอร์คดิ ดอกเบ้ียใหก้ ับผฝู้ ากเงนิ และการโอน เงินระหวา่ งบัญชี เช่ือมโยงกนั เปน็ ระบบเครือข่าย งานวทิ ยาศาสตร์ การแพทย์ และงานสาธารณสุข สามารถนา คอมพวิ เตอร์มาใช้ในนามาใช้ในสว่ นของการคานวณที่คอ่ นข้าง ซบั ซ้อน เช่น งานศึกษาโมเลกลุ สารเคมี วิถกี ารโคจรของการส่ง จรวดไปสู่อวกาศ หรืองานทะเบยี น การเงนิ สถิติ และเป็นอปุ กรณ์ สาหรับการตรวจรักษาโรคได้ ซ่งึ จะให้ผลทีแ่ ม่นยากว่าการตรวจด้วย วธิ ีเคมีแบบเดิม และให้การรักษาไดร้ วดเร็วขึน้ งานคมนาคมและส่ือสาร ในส่วนทเ่ี ก่ียวกบั การเดนิ ทาง จะใช้ คอมพวิ เตอร์ในการจองวันเวลา ที่นั่ง ซ่งึ มีการเช่ือมโยงไปยงั ทุก สถานหี รือทกุ สายการบนิ ได้ ทาให้สะดวกต่อผ้เู ดินทางที่ไมต่ ้อง เสยี เวลารอ อีกท้งั ยังใชใ้ นการควบคุมระบบการจราจร เช่น ไฟสญั ญาณจราจร และ การจราจรทางอากาศ หรอื ในการส่ือสารก็ ใชค้ วบคุมวงโคจรของดาวเทียมเพ่ือใหอ้ ยใู่ นวงโคจร ซง่ึ จะช่วย ส่งผลต่อการสง่ สัญญาณให้ระบบการส่อื สารมีความชัดเจน

6 งานวิศวกรรมและสถาปตั ยกรรม สถาปนิกและวศิ วกรสามารถใช้ คอมพิวเตอร์ในการออกแบบ หรือ จาลองสภาวการณ์ ต่างๆ เช่น การ รับแรงสน่ั สะเทือนของอาคารเมือ่ เกิดแผน่ ดินไหว โดยคอมพวิ เตอร์จะ คานวณและแสดงภาพสถานการณใ์ กล้เคียงความจรงิ รวมท้ังการใช้ ควบคุมและตดิ ตามความก้าวหน้าของโครงการต่างๆ เชน่ คนงาน เคร่ืองมือ ผลการทางาน งานราชการ เป็นหน่วยงานท่ีมกี ารใช้คอมพวิ เตอร์มากที่สดุ โดยมี การใช้หลายรปู แบบ ท้ังนีข้ นึ้ อยู่กับบทบาทและหนา้ ที่ของหนว่ ยงาน นั้นๆ เชน่ กระทรวงศึกษาธกิ าร มีการใชร้ ะบบประชุมทางไกลผา่ น คอมพิวเตอร์ , กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้จดั ระบบ เครือข่ายอินเทอร์เน็ตเพ่ือเชอ่ื มโยงไปยังสถาบันตา่ งๆ กรมสรรพากร ใชจ้ ัดในการจัดเก็บภาษี บันทึกการเสียภาษี เป็นต้น การศกึ ษา ไดแ้ ก่ การใชค้ อมพวิ เตอร์ทางดา้ นการเรียนการสอน ซ่งึ มกี ารนาคอมพวิ เตอร์มาช่วยการสอนในลักษณะบทเรียน CAI หรอื งานด้านทะเบียน ซง่ึ ทาใหส้ ะดวกต่อการค้นหาขอ้ มูลนกั เรียน การเกบ็ ข้อมลู ยมื และการสง่ คืนหนังสือห้องสมดุ  ปญั หาและข้อจากดั ของการใช้งานคอมพวิ เตอร์ ปัญหาของผ้ใู ชค้ อมพิวเตอร์ที่พบมากท่สี ดุ กค็ ือ \"ความร้ไู ม่ทนั เทคโนโลยี\" ทีม่ ีการเปลี่ยนแปลงไปอยา่ งรวดเรว็ โดยเฉพาะ เทคโนโลยีทางด้านคอมพวิ เตอร์ ผู้ใชง้ านจงึ จาเป็นอยา่ งยิ่งทีจ่ ะต้อง ตดิ ตามข่าวสารและปรบั ตัวให้ทันสมยั ตลอดเวลา อีกปัญหาที่พบเหน็ บอ่ ยก็คือ ปัญหาอาชญากรรมคอมพวิ เตอร์ ซ่ึง มกั จะเกิดจากคนที่มีความร้แู ละความชานาญทางคอมพิวเตอรเ์ ปน็ พิเศษ แต่กลับนาเอาความรู้น้นั ไปใช้ในทางที่ผดิ และสรา้ งความ เสยี หายแกผ่ ู้อ่ืนอย่างมาก

7 สรปุ ท้ายบท คอมพวิ เตอร์ไดเ้ ข้ามาชว่ ยเหลือการทางานของมนุษย์เป็นอย่าง มาก มีคณุ สมบัตเิ ด่นคอื ความเป็นอัตโนมตั ิ ทางานด้วยความเร็ว มี ความถูกต้องและแม่นยา นา่ เชือ่ ถอื จัดเก็บขอ้ มลู และใช้แลกเปลี่ยน ข้อมลู เพื่อติดตอ่ สื่อสารกนั ได้ คอมพวิ เตอร์ในยคุ แรกเนน้ การทาสงคราม เปน็ หลัก ต่อมามีการพัฒนาให้ดีข้นึ โดยปรบั ขนาดให้เล็กลงและมี ประสิทธภิ าพมากยิ่งขน้ึ เราสามารถเอาคอมพิวเตอร์ไปใช้ประโยชน์ใน สายงานต่างๆได้มากมาย

บทท่ี 2 องคป์ ระกอบของคอมพวิ เตอร์ 1. ฮารด์ แวร์ (Hardware) ฮารด์ แวร์ หมายถงึ สว่ นท่ีประกอบเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ รวมอปุ กรณต์ ่อพว่ งต่างๆ ท่เี กี่ยวขอ้ งกบั คอมพิวเตอรท์ ่เี ราสามารถมองเห็นและสมั ผสั ได้ เช่น ตวั เครื่อง จอภาพ คียบ์ อรด์ และเมาส์ เป็นตน้ เคร่ือง คอมพวิ เตอรส์ ว่ นบุคคลโดยท่วั ไปจะมฮี ารด์ แวรห์ ลกั ๆ ไดแ้ ก่ 1. ตวั เครอ่ื ง (Case) ทาหนา้ ท่ใี นสว่ นของการประมวลผลขอ้ มลู ท่ีไดร้ บั มาจากอปุ กรณน์ าเขา้ ต่างๆ ซง่ึ ภายในตวั เครื่องจะมีอปุ กรณห์ ลกั ไดแ้ ก่ แผงวงจรหลกั หมอ้ แปลงไฟฟา้ ซีพียู ฮารด์ ดสิ ก์ หนว่ ยความจา การด์ แสดงผล การด์ เสียง เป็นตน้ 2. จอภาพ (Monitor) ทาหนา้ ท่แี สดงผลขอ้ ความ รูปภาพ 3. ดสิ กไ์ ดรฟ์ (Disk drive) เป็นอปุ กรณอ์ า่ น-เขียนขอ้ มลู บนดสิ กเ์ ก็ต 4. คียบ์ อรด์ (Keyboard) ทาหนา้ ท่ีปอ้ นขอ้ มลู เขา้ เครือ่ งคอมพวิ เตอร์ 5. เมา้ ส์ (Mouse) เป็นสว่ นท่ใี ชส้ ่งั งานดว้ ยการชแี้ ละเลอื กสิ่งต่างๆท่ีแสดงอยบู่ นจอภาพ 6. ลาโพง (Speaker) เป็นสว่ นท่ใี ชแ้ สดงผลท่เี ป็นเสยี ง 2. ส่วนประกอบของคอมพวิ เตอร์ จาแนกตามหนา้ ท่ขี องฮารด์ แวรส์ ามารถแบ่งเป็นสว่ นสาคญั 5 สว่ น คือ 2.1 หน่วยรับข้อมลู (Input Unit) ทาหนา้ ท่รี บั โปรแกรมคาส่งั และขอ้ มลู เขา้ สเู่ คร่ืองคอมพวิ เตอร์ มี ฮารด์ แวรท์ ่ที าหนา้ ท่เี ป็นหน่วยรบั ขอ้ มลู มหี ลากหลายอปุ กรณ์ ไดแ้ ก่ 1) คยี บ์ อรด์ (Keyboard) อปุ กรณร์ บั ขอ้ มลู จากการกดแปน้ แลว้ ทาการเปลยี่ นเป็นรหสั เพ่อื บอก ใหค้ อมพิวเตอรร์ ูว้ ่ามกี ารกดตวั อกั ษรอะไรแผงแปน้ อกั ขระสว่ นใหญ่เป็นไปตามมาตรฐานของเคร่ือง พมิ พด์ ีด ซง่ึ ระบบรบั รหสั ตวั อกั ขระท่ใี ชใ้ นทางคอมพวิ เตอรเ์ ป็นรหสั 7 หรอื 8 บติ (Operator) 2) เมาส์ (Mouse) อปุ กรณน์ าเขา้ ขอ้ มลู โดยการเลื่อนเมาสเ์ พ่อื บงั คบั ตวั ชไี้ ปยงั ตาแหน่งตา่ งๆ บน หนา้ จอ เมาสท์ ่นี ิยมใชม้ ีดว้ ยกนั 3 ประเภทไดแ้ ก่ - แบบทางกล (Mechanical) ใชล้ กู กลงิ้ กลม - แบบใชแ้ สง (Optical mouse) - แบบไรส้ าย (Wireless Mouse) ท่มี าของภาพ

3) สแกนเนอร์ (Scanner) เป็นอปุ กรณน์ าเขา้ ขอ้ มลู ท่เี ป็นเอกสาร รูปภาพ หรือ รูปถ่าย สแกนเนอรส์ ามารถแบ่งออกได้ 3 ประเภท คือ - แบบเลื่อนกระดาษ (Sheet-Fed Scanner) สแกนเนอรแ์ บบนจี้ ะรบั กระดาษแลว้ ค่อย ๆ เล่อื นหนา้ กระดาษใหผ้ ่านหวั สแกนซง่ึ อยกู่ บั ท่ี - แบบแทน่ นอน (Flatbed scanner) สแกนเนอรแ์ บบนีจ้ ะมีกลไกคลา้ ยกบั เคร่ืองถ่าย เอกสาร เหมาะสาหรบั ใชก้ บั เอกสารทงั้ ท่ีเป็นแผ่นเดียวและเอกสารท่เี ป็นเลม่ 4) แผน่ สัมผัส (Touch Pads) เป็นอปุ กรณร์ บั ขอ้ มลู โดยการใชน้ วิ้ สมั ผสั ลงบนแผ่นสมั ผสั นา้ หนกั ท่ีกดสงไปจะถกู เปล่ียนเป็นสญั ญาณไฟฟา้ มกั เห็นอยใู่ นเคร่ืองคอมพวิ เตอรโ์ นต้ บ๊กุ 5) กล้องดิจิทลั (Digital Camera) เป็นอปุ กรณร์ บั ขอ้ มลู เขา้ สเู่ ครือ่ งคอมพิวเตอร์ ท่สี ามารถ แปลงขอ้ มลู ภาพเป็นสญั ญาณดจิ ิทลั มีลกั ษณะการใชง้ านเหมือนกลอ้ งถ่ายภาพท่วั ไป แต่ต่างกนั ตรงท่ีไม่ ตอ้ งใชฟ้ ิลม์ ในการบนั ทึกขอ้ มลู ขอ้ มลู ภาพท่ีไดส้ ามารถถ่ายลงสเู่ ครื่องคอมพิวเตอรแ์ ละสามารถเรยี กดไู ด้ ทนั ที หรือจะใชโ้ ปรแกรมชว่ ยตกแตง่ ภาพใหด้ สู วยงามขึน้ กไ็ ด้ 2.2หน่วยความจา (Memory Unit) ทาหนา้ ท่เี ก็บขอ้ มลู หรอื คาส่งั ท่ีสง่ มาจากหน่วยรบั ขอ้ มลู เพ่อื เตรยี ม สง่ ไปประมวลผลยงั หน่วยประมวลผลกลาง และเกบ็ ผลลพั ธท์ ่ไี ดม้ าจากการประมวลผลแลว้ เพ่อื เตรียม สง่ ไปยงั หนว่ ยแสดงผล เป็นหนว่ ยจดั เก็บขอ้ มลู ท่ที างานไดร้ วดเรว็ ท่สี ดุ ซ่งึ สามารถจาแนกตามลกั ษณะการ ใชง้ านได้ 2 ประเภท คือ 1) หน่วยความจาหลกั (Main Memory) หรือเรียกว่า หน่วยความจาภายใน (Internal Memory) สามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ - รอม (Read Only Memory - ROM) เป็นหน่วยความจาท่มี โี ปรแกรมหรือขอ้ มลู อย่แู ลว้ สามารถเรยี กออกมาใชง้ านไดแ้ ต่จะไมส่ ามารถเขียนเพมิ่ เตมิ ได้ และแมว้ ่าจะไม่มกี ระแสไฟฟ้าไปเลีย้ ง ใหแ้ ก่ระบบขอ้ มลู กไ็ มส่ ญู หายไป - แรม (Random Access Memory) เป็นหนว่ ยความจาท่ีสามารถเก็บขอ้ มลู ไดเ้ ม่ือมี กระแสไฟฟ้าหลอ่ เลีย้ งเทา่ นนั้ เม่ือใดไม่มกี ระแสไฟฟา้ มาเลีย้ งขอ้ มลู ท่อี ย่ใู นหน่วยความจาชนดิ นจี้ ะหายไป ทนั ที

ภาพท2ี่ .1 หน่วยความจาหลกั (Main Memory) 2) หน่วยความจารอง (Second Memory) หรอื หน่วยความจาภายนอก (External Memory) เป็นหน่วยความจาท่ีตอ้ งอาศยั สือ่ บนั ทกึ ขอ้ มลู และอปุ กรณร์ บั -สง่ ขอ้ มลู ชนิดต่างๆ ไดแ้ ก่ - ฮารด์ ดสิ ก์ (Hard Disk) เป็นฮารด์ แวรท์ ่ที าหนา้ ท่เี ก็บขอ้ มลู ในเคร่อื งคอมพิวเตอร์ ทงั้ โปรแกรมใชง้ านต่างๆ ไฟลเ์ อกสาร รวมทงั้ เป็นท่เี ก็บระบบปฏิบตั ิการท่เี ป็นโปรแกรมควบคมุ การทางานของ เครอื่ งคอมพวิ เตอรด์ ว้ ย ภาพที่2.2 ฮารด์ ดสิ - ฟลอ็ บปี้ดสิ ก์ (Floppy Disk) เป็นอปุ กรณบ์ นั ทกึ ขอ้ มลู ท่มี ขี นาด 3.5 นวิ้ มีลกั ษณะเป็นแผน่ กลมบางทาจากไมลาร์ (Mylar) สามารถบรรจขุ อ้ มลู ไดเ้ พียง 1.44 เมกะไบต์ เทา่ นนั้

- ซีดี (Compact Disk - CD) เป็นอปุ กรณบ์ นั ทกึ ขอ้ มลู แบบดิจทิ ลั เป็นสอ่ื ท่มี ีขนาด ความจสุ งู เหมาะสาหรบั บนั ทกึ ขอ้ มลู แบบมลั ติมเี ดีย ซีดีรอมทามาจากแผ่นพลาสตกิ กลมบางท่ีเคลือบดว้ ย สารโพลคี ารบ์ อเนต (Poly Carbonate) ทาใหผ้ วิ หนา้ เป็นมนั สะทอ้ นแสง โดยมีการบนั ทกึ ขอ้ มลู เป็นสาย เดียว (Single Track) มีขนาดเสน้ ผ่าศนู ยก์ ลางประมาณ 120 มิลลิเมตร ปัจจบุ นั มีซีดีอยหู่ ลายประเภท ไดแ้ ก่ ซีดีเพลง (Audio CD) วีซีดี (Video CD - VCD) ซดี ี-อาร์ (CD Recordable - CD-R) ซีดี-อารด์ บั บลวิ (CD-Rewritable - CD-RW) และ ดวี ีดี (Digital Video Disk - DVD) ภาพที่2.3 ซีดี - รมี ฟู เอเบลิ ไดรฟ์ (Removable Drive) เป็นอปุ กรณเ์ กบ็ ขอ้ มลู ท่ไี ม่ตอ้ งมีตวั ขบั เคลื่อน (Drive) สามารถพกพาไปไหนไดโ้ ดยต่อเขา้ กบั เครอ่ื งคอมพิวเตอรด์ ว้ ย Port USB ปัจจุบนั ความจุ ของรมี ฟู เอเบลิ ไดรฟ์ มีตงั้ แต่ 8 , 16 , 32 , 64 , 128 จนถงึ 1024 เมกะไบต์ ทงั้ นีย้ งั มไี ดรฟ์ ลกั ษณะ เดียวกนั เรียกในช่อื อ่นื ๆ ไดแ้ ก่ Pen Drive , Thump Drive , Flash Drive - ซบิ ไดรฟ์ (Zip Drive) เป็นส่อื บนั ทึกขอ้ มลู ท่จี ะมาแทนแผน่ ฟลอ็ ปปี้ดิสก์ มขี นาดความจุ 100 เมกะไบต์ ซง่ึ การใชง้ านซิปไดรฟ์ จะตอ้ งใชง้ านกบั ซิปดสิ ก์ (Zip Disk) ความสามารถในการ เก็บขอ้ มลู ของซปิ ดิสกจ์ ะเก็บขอ้ มลู ไดม้ ากกว่าฟล็อปปี้ดสิ ก์ - Magnetic optical Disk Drive เป็นสือ่ เกบ็ ขอ้ มลู ขนาด 3.5 นวิ้ ซ่งึ มี ขนาดพอๆ กบั ฟล็อบปี้ดสิ ก์ แต่ขนาดความจมุ ากกว่า เพราะวา่ MO Disk drive 1 แผน่ สามารถบนั ทกึ ขอั มลู ไดต้ งั้ แต่ 128 เมกะไบต์ จนถึงระดบั 5.2 กิกะไบต์

- เทปแบค็ อพั (Tape Backup) เป็นอปุ กรณส์ าหรบั การสารองขอ้ มลู ซ่งึ เหมาะกบั การ สารองขอ้ มลู ขนาดใหญ่มากๆ ขนาดระดบั 10-100 กกิ ะไบต์ ภาพที2่ .4 เทปแบค็ อพั - การด์ เมมโมรี (Memory Card) เป็นอปุ กรณบ์ นั ทกึ ขอ้ มลู ท่ีมีขนาดเล็ก พฒั นาขึน้ เพ่ือ นาไปใชก้ บั อปุ กรณเ์ ทคโนโลยแี บบต่างๆ เช่น กลอ้ ง ดิจิทลั คอมพิวเตอรม์ อื ถือ (Personal Data Assistant - PDA) โทรศพั ทม์ อื ถือ เป็นตน้ ภาพท2ี่ .5 การด์ เมมโมรี 3)หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit - CPU) หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู เรียกอีกช่อื หน่ึงว่า โปรเซสเซอร์ (Processor) หรือ ชปิ (chip) นบั เป็นอปุ กรณท์ ่มี คี วามสาคญั มากท่สี ดุ ของ ฮารด์ แวร์ เพราะมหี นา้ ท่ีในการประมวลผลขอ้ มลู ท่ผี ใู้ ชป้ อ้ น เขา้ มาทางอปุ กรณน์ าเขา้ ขอ้ มลู ตาม ชดุ คาส่งั หรือโปรแกรมท่ผี ใู้ ชต้ อ้ งการใชง้ าน ทาหนา้ ท่เี ก่ียวกบั การคานวณทงั้ ทางตรรกะและคณิตศาสตร์ รวมทงั้ การประมวลขอ้ มลู ตามคาส่งั ท่ีไดร้ บั ประกอบดว้ ยสว่ นสาคญั 2 สว่ น คือ 3.1 หนว่ ยคานวณและตรรกะ (Arithmetic & Logical Unit : ALU) หน่วยคานวณตรรกะ ทาหนา้ ท่ี เหมือนกบั เคร่ืองคานวณอย่ใู นเครือ่ งคอมพวิ เตอร์ โดยทางานเก่ียวกบั การคานวณทางคณิตศาสตร์

เช่น บวก ลบ คณู หาร อีกทงั้ ยงั มีความสามารถอีกอย่างหน่งึ ท่เี คร่ืองคานวณธรรมดาไมม่ ี คอื ความสามารถในเชิงตรรกะศาสตร์ หมายถึง ความสามารถในการเปรยี บเทยี บตามเง่ือนไข และกฎเกณฑ์ ทางคณิตศาสตร์ เพ่ือใหไ้ ดค้ าตอบออกมาว่าเง่ือนไข นนั้ เป็น จรงิ หรือ เทจ็ ได้ 3.2 หน่วยควบคมุ (Control Unit) หน่วยควบคมุ ทาหนา้ ท่คี วบคมุ ลาดบั ขนั้ ตอนการประมวลผล รวมไปถึงการประสานงานกบั อปุ กรณน์ าเขา้ ขอ้ มลู อปุ กรณแ์ สดงผล และหนว่ ยความจาสารองดว้ ย ซพี ียูท่ี มีจาหน่ายในทอ้ งตลาด ไดแ้ ก่ Pentium III , Pentium 4 , Pentium M (Centrino) , Celeron , Dulon , Athlon ภาพที่2.6 หนว่ ยประมวลผลกลาง 4) หน่วยแสดงผล (Output Unit) เป็นอปุ กรณส์ ง่ ออก (Output device) ทาหนา้ ท่แี สดงผล ขอ้ มลู ท่คี อมพวิ เตอรท์ าการประมวลผล หรือผา่ นการคานวณแลว้ ไดแ้ ก่ 4.1 จอภาพ (Monitor) เป็นอปุ กรณแ์ สดงผลลพั ธท์ ่เี ป็นภาพ ปัจจบุ นั แบง่ ออกเป็น 2 ชนิด คือ จอภาพแบบ CRT (Cathode Ray Tube) และจอภาพแบบ LCD (Liquid Crystal Display) ภาพท่ี2.7 จอภาพ

4.2 เคร่ืองพมิ พ์ (Printer) เป็นอปุ กรณท์ ่ที าหนา้ ท่แี สดงผลลพั ธใ์ นรูปของอกั ขระหรือ รูปภาพท่จี ะไปปรากฏอย่บู นกระดาษ แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ไดแ้ ก่ เครื่องพมิ พด์ อตเมตทรกิ ซ์ (Dot Matrix Printer) เครื่องพิมพแ์ บบพน่ หมกึ (Ink-Jet Printer) เครอื่ งพิมพแ์ บบเลเซอร์ (Laser Printer) และ พลอ็ ตเตอร์ (Plotter) ภาพท่ี2.8 เครื่องพิมพ์ 4.3 ลาโพง (Speaker) เป็นอปุ กรณแ์ สดงผลลพั ธท์ ่อี ย่ใู นรูปของเสียง สามารถเช่ือมต่อกบั คอมพิวเตอรผ์ า่ นแผงวงจรเกี่ยวกบั เสียง (Sound card) ซ่งึ มีหนา้ ท่แี ปลงขอ้ มลู ดิจทิ ลั ไปเป็นเสยี ง ภาพท่ี2.9 ลาโพง

3. ซอฟแวร์ (Software) ซอฟตแ์ วร์ (Software) หมายถงึ สว่ นท่มี นษุ ยส์ มั ผสั ไมไ่ ดโ้ ดยตรง (นามธรรม) เป็นโปรแกรมหรือ ชดุ คาส่งั ท่ีถกู เขยี นขนึ้ เพ่อื ส่งั ใหเ้ ครอื่ งคอมพวิ เตอรท์ างาน ซอฟตแ์ วรจ์ ึงเป็นเหมอื นตวั เช่ือมระหวา่ ง ผใู้ ชเ้ ครอ่ื งคอมพิวเตอรแ์ ละเครื่องคอมพิวเตอร์ ถา้ ไมม่ ซี อฟตแ์ วรเ์ รากไ็ มส่ ามารถใชเ้ ครื่องคอมพวิ เตอรท์ า อะไรไดเ้ ลย ซอฟตแ์ วรส์ าหรบั เครื่องคอมพิวเตอร์ 1 ประเภทของซอฟตแ์ วร์ -ซอฟตแ์ วรส์ าหรับระบบ (System Software) คือ ชดุ ของคาส่งั ท่เี ขยี นไวเ้ ป็นคาส่งั สาเรจ็ รูป ซ่งึ จะทางานใกลช้ ิดกบั คอมพิวเตอรม์ ากท่สี ดุ เพ่อื คอยควบคมุ การทางานของฮารด์ แวรท์ กุ อย่าง และอานวยความสะดวกใหก้ บั ผใู้ ชใ้ นการใชง้ าน ซอฟตแ์ วรห์ รือโปรแกรมระบบท่ีรูจ้ กั กนั ดกี ็คือ DOS, Windows, Unix, Linux รวมทงั้ โปรแกรมแปลคาส่งั ท่ีเขยี นในภาษาระดบั สงู เช่น ภาษา Basic, Fortran, Pascal, Cobol, C เป็นตน้ นอกจากนโี้ ปรแกรมท่ีใชใ้ นการตรวจสอบระบบเช่น Norton’s Utilities ก็นบั เป็น โปรแกรมสาหรบั ระบบดว้ ยเชน่ กนั ภาพท่ี2.10 ซอฟตแ์ วรส์ าหรบั ระบบ - ซอฟตแ์ วรป์ ระยุกต์ (Application Software) คือ ซอฟตแ์ วรห์ รือโปรแกรมท่ที า ใหค้ อมพิวเตอรท์ างานตา่ งๆ ตามท่ผี ใู้ ชต้ อ้ งการ ไม่วา่ จะดา้ นเอกสาร บญั ชี การจดั เก็บขอ้ มลู เป็นตน้ ซอฟตแ์ วรป์ ระยกุ ตส์ ามารถจาแนกไดเ้ ป็น 2 ประเภท คือ ซอฟตแ์ วรส์ าหรบั งานเฉพาะดา้ น และซอฟตแ์ วร์ สาหรบั งานท่วั ไป

ซอฟตแ์ วรส์ าหรับงานเฉพาะดา้ น คือ โปรแกรมซง่ึ เขียนขนึ้ เพ่อื การทางานเฉพาะอยา่ งท่เี รา ตอ้ งการ บางท่ีเรยี กวา่ User’s Program เช่น โปรแกรมการทาบญั ชจี า่ ยเงนิ เดือน โปรแกรมระบบเชา่ ซือ้ โปรแกรมการทาสินคา้ คงคลงั เป็นตน้ ซง่ึ แตล่ ะโปรแกรมก็มกั จะมีเง่อื นไข หรือแบบฟอรม์ แตกต่างกนั ออกไปตามความตอ้ งการ หรือกฏเกณฑข์ องแต่ละหน่วยงานท่ีใช้ ซ่งึ สามารถดดั แปลงแกไ้ ขเพม่ิ เติม (Modifications) ในบางสว่ นของโปรแกรมได้ เพ่ือใหต้ รงกบั ความตอ้ งการของผใู้ ช้ และซอฟตแ์ วรป์ ระยกุ ต์ ท่เี ขียนขนึ้ นีโ้ ดยสว่ นใหญ่มกั ใชภ้ าษาระดบั สงู เป็นตวั พฒั นา ภาพท่ี2.11 ซอฟตแ์ วรสื าหรบั งานเฉพาะดา้ น ซอฟตแ์ วรส์ าหรับงานท่ัวไป เป็นโปรแกรมประยกุ ตท์ ่มี ีผจู้ ดั ทาไว้ เพ่ือใชใ้ นการทางานประเภท ต่างๆ ท่วั ไป โดยผใู้ ชค้ นอ่นื ๆ สามารถนาโปรแกรมนไี้ ปประยกุ ตใ์ ชก้ บั ขอ้ มลู ของตนได้ แต่จะไม่สามารถทา การดดั แปลง หรอื แกไ้ ขโปรแกรมได้ ผใู้ ชไ้ ม่จาเป็นตอ้ งเขียนโปรแกรมเอง ซง่ึ เป็นการประหยดั เวลา แรงงาน และคา่ ใชจ้ า่ ยในการเขียนโปรแกรม นอกจากนี้ ยงั ไม่ตอ้ งเวลามากในการฝึกและปฏิบตั ิ ซ่งึ โปรแกรม สาเรจ็ รูปนี้ มกั จะมกี ารใชง้ านในหน่วยงานมราขาดบคุ ลากรท่มี คี วามชานาญเป็นพเิ ศษในการเขียน โปรแกรม ดงั นนั้ การใชโ้ ปรแกรมสาเรจ็ รูปจึงเป็นสิ่งท่อี านวยความสะดวกและเป็นประโยชนอ์ ย่างยงิ่ ตวั อย่างโปรแกรมสาเรจ็ รูปท่ีนิยมใชไ้ ดแ้ ก่ MS-Office, Lotus, Adobe Photoshop, SPSS, Internet Explorer และ เกมสต์ ่างๆ เป็นตน้

ภาพท่ี2.12 ซอฟตแ์ วรส์ าหรบั งานท่วั ไป 4. บคุ ลากร (People) 1) ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ (User) หมายถึงผใู้ ชง้ านคอมพวิ เตอรท์ ่วั ไป สามารถทางานตามหนา้ ท่ี ในหนว่ ยงานนนั้ ๆ เชน่ การพิมพง์ าน การป้อนขอ้ มลู เขา้ เครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ การสง่ จดหมายอเิ ลก็ ทรอนิกส์ เป็นตน้ 2) ผู้ดแู ลและซ่อมบารุงเคร่ืองคอมพิวเตอร์ (Supporter) หมายถึง ผคู้ อยดแู ลตรวจสอบ สภาพของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ เพ่ือใหม้ ีสภาพพรอ้ มท่ีจะทางานไดต้ ลอดเวลากลมุ่ นีจ้ ะเรียนรูเ้ ทคนิค การ ดแู ล รกั ษา การซ่อมแซม การต่อเช่ือม ตลอดจนการใชง้ านโปรแกรมต่างๆค่อนขา้ งดี 3) ผ้เู ขยี นโปรมแกรมคอมพวิ เตอร์ (Programmer) หมายถงึ ผเู้ ขียนโปรมแกรมตามท่ี ผอู้ อกแบบ และวเิ คราะหร์ ะบบคอมพวิ เตอรเ์ ป็นผกู้ าหนด เพ่ือใหไ้ ดโ้ ปรแกรมท่ีตรงตามวตั ถปุ ระสงคก์ ารใช้ งานในองคก์ ร กลมุ่ นจี้ ะศกึ ษามาทางดา้ นภาษาคอมพิวเตอร์ โดยภาษาต่างๆได้ และเป็นนกั พฒั นา โปรแกรมใหค้ นอ่นื เอาไปใชง้ าน 4) ผู้ออกแบบและวเิ คราะหร์ ะบบคอมพิวเตอร์ (System Analysis) เป็นผทู้ ่มี หี นา้ ท่ี พจิ ารณาว่าองคก์ รควรจะใชค้ อมพวิ เตอรใ์ นลกั ษณะใดจึงจะเหมาะสม เกดิ ประโยชนส์ งู สดุ และไดค้ ณุ ภาพ งานดี เป็นผอู้ อกแบบโปรมแกรมก่อนสง่ งานไปใหโ้ ปรมแกรมเมอรท์ างานในสว่ นตอ่ ไป 5) ผบู้ รหิ ารระบบคอมพิวเตอร์ (System Manager) เป็นผมู้ ีหนา้ ท่บี รหิ ารทรพั ยากรทุกชนิดท่ี เกี่ยวกบั คอมพิวเตอรใ์ หเ้ กิดประโยชนส์ งู สดุ แก่องคก์ ร

5. พนื้ ฐานการทางานของคอมพวิ เตอร์ เม่อื ขอ้ มลู ถกู สง่ ผา่ นเขา้ มาทางหน่วยรบั ขอ้ มลู (Input Unit) กจ็ ะถกู สง่ ต่อเพ่ือนาไปจดั เก็บหรอื พกั ขอ้ มลู ไวช้ ่วั คราวท่หี นว่ ยความจา (Memory Unit) กอ่ น จากนนั้ จงึ ค่อยๆทยอยจดั สง่ ขอ้ มลู ตา่ งๆท่ีถกู นามา จดั เกบ็ ไว้ ไปใหห้ น่วยประมวลผล (Processing Unit) เพ่อื ประมวลผลขอ้ มลู ผลขอ้ มลู ตา่ งๆท่ีถกู สง่ เขา้ มา ก่อนท่จี ะสง่ ขอ้ มลู ต่างท่ีผ่านการประมวลผลแลว้ ไปยงั หน่วยสดุ ทา้ ย น่นั ก็คอื หนว่ ยแสดงผล (Output Unit) เพ่อื ทาการแสดงผลออกทางอปุ กรณต์ ่างๆ ต่อไป ภาพที่ 2.13 หลกั การทางานของระบบคอมพิวเตอร์

สรุปทา้ ยบทท่ี 2 การทางานรว่ มกบั คอมพิวเตอร์ ประกอบดว้ ยองคป์ ระกอบ 4 อย่างดว้ ยกนั คอื ฮารด์ แวร์ ซอฟตแ์ วร์ บคุ ลากร และขอ้ มลู องคป์ ระกอบแต่ละอยา่ งลว้ นมคี วามสาคญั และเก่ียวขอ้ งกนั ทง้ั สิน้ หากขาดอย่างใดอย่างหนงึ่ การทางานจะไม่มคี วามสมบูรณเ์ ต็มท่ี พนื้ ฐานการทางานของคอมพิวเตอร์ ประกอบดว้ ยหน่วยทางาน 5หน่วยคือ หนว่ ย ประมวลผลกลาง หน่วยความจาหลกั หนว่ ยความจาสารอง หน่วยรบั /แสดงผลขอ้ มลู และทางเดนิ ของระบบ

บทท3่ี ระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ 1. ประเภทของเครือข่าย ระบบเครือข่ายโดยทวั่ ไปอาจแบ่งไดเ้ ป็นประเภทหลกั ๆ ดงั น้ี 1. LAN (Local Area Network) : ระบบเครือข่ายระดบั ทอ้ งถ่ิน ภาพท่ี3.1 ระบบเครือข่ายระดบั ทอ้ งถ่นิ เป็นระบบเครือข่ายท่ใี ชง้ านอย่ใู นบรเิ วณท่ไี มก่ วา้ งนกั อาจใชอ้ ยภู่ ายในอาคารเดยี วกนั หรอื อาคารท่ีอยู่ ใกลก้ นั เช่น ภายในมหาวิทยาลยั อาคารสานกั งาน คลงั สินคา้ หรือโรงงาน เป็นตน้ การสง่ ขอ้ มลู สามารถทาได้ ดว้ ยความเร็วสงู และมขี อ้ ผิดพลาดนอ้ ย ระบบเครือข่ายระดบั ทอ้ งถ่ินจงึ ถกู ออกแบบมาใหช้ ่วยลดตน้ ทนุ และ เพ่อื เพิม่ ประสิทธิภาพในการทางาน และใชง้ านอปุ กรณต์ ่าง ๆ รว่ มกนั

2. MAN (Metropolitan Area Network) : ระบบเครือข่ายระดบั เมอื ง ภาพท3ี่ .2 ระบบเครอื ข่ายระดบั เมอื ง เป็นระบบเครือข่ายท่มี ีขนาดอยรู่ ะหว่าง Lan และ Wan เป็นระบบเครือข่ายท่ใี ชภ้ ายในเมืองหรอื จงั หวดั เท่านนั้ การเช่ือมโยงจะตอ้ งอาศยั ระบบบรกิ ารเครอื ขา่ ยสาธารณะ จึงเป็นเครือขา่ ยท่ีใชก้ บั องคก์ ารท่มี ี สาขาห่างไกลและตอ้ งการเช่ือมสาขาเหลา่ นนั้ เขา้ ดว้ ยกนั เช่น ธนาคาร เครือข่ายแวนเช่ือมโยงระยะไกลมาก จงึ มคี วามเรว็ ในการส่ือสารไม่สงู เน่ืองจากมีสญั ญาณรบกวนในสาย เทคโนโลยีท่ใี ชก้ บั เครอื ข่ายแวนมคี วาม หลากหลาย มีการเช่ือมโยงระหวา่ งประเทศดว้ ยชอ่ งสญั ญาณดาวเทยี ม เสน้ ใยนาแสง คลน่ื ไมโครเวฟ คลื่นวทิ ยุ สายเคเบิล 3. WAN (Wide Area Network) : ระบบเครือข่ายระดบั ประเทศ หรือเครือข่ายบรเิ วณกวา้ ง ภาพท3ี่ .3 ระบบเครอื ขา่ ยระดบั ประเทศ

เป็นระบบเครือข่ายท่ตี ิดตงั้ ใชง้ านอยใู่ นบรเิ วณกวา้ ง เช่น ระบบเครอื ข่ายท่ีติดตงั้ ใชง้ านท่วั โลก เป็น เครือข่ายท่เี ช่ือมต่อคอมพิวเตอร์ หรอื อปุ กรณท์ ่ีอย่หู า่ งไกลกนั เขา้ ดว้ ยกนั อาจจะตอ้ งเป็นการตดิ ตอ่ สื่อสารกนั ในระดบั ประเทศ ขา้ มทวปี หรือท่วั โลกก็ได้ ในการเช่ือมการตดิ ต่อนนั้ จะตอ้ งมกี ารต่อเขา้ กบั ระบบส่ือสารของ องคก์ ารโทรศพั ทห์ รือการส่ือสารแห่งประเทศไทยเสียก่อน เพราะจะเป็นการสง่ ขอ้ มลู ผ่านสายโทรศพั ทใ์ นการ ตดิ ต่อสื่อสารกนั โดยปกตมิ ีอตั ราการสง่ ขอ้ มลู ท่ีต่าและมีโอกาสเกิดขอ้ ผิดพลาด การส่งขอ้ มลู อาจใชอ้ ปุ กรณใ์ น การสื่อสาร เช่น โมเด็ม (Modem) มาช่วย 2.องคป์ ระกอบของเครอื ข่าย ระบบเครือข่ายโดยท่วั ไปจะประกอบดว้ ยสว่ นสาคญั คือ อปุ กรณเ์ ครือขา่ ย (Hardware) ซอฟแวร์ สาหรบั เครือข่าย (Software) และตวั กลางนาขอ้ มลู (Media) สาหรบั เช่ือมต่อคอมพิวเตอรเ์ ขา้ เป็นเครือข่าย โดยคอมพิวเตอรห์ รืออปุ กรณแ์ ต่ละตวั ท่อี ยใู่ นเครือข่ายจะเรียกกนั ว่า โหนด (Node) 2.1 อปุ กรณท์ ่ีใช้ในระบบเครอื ข่าย 1. โมเด็ม (Modem) ภาพท3ี่ .4 โมเดม็ โมเดม็ เป็นฮารด์ แวรท์ ่ที าหนา้ ท่แี ปลงสญั ญาณแอนะล็อกใหเ้ ป็นสญั ญาณดิจิตลั เม่ือขอ้ มลู ถกู สง่ มายงั ผรู้ บั ละแปลงสญั ญาณดิจติ ลั ใหเ้ ป็นแอนะล็อก เม่ือตอ้ งการสง่ ขอ้ มลู ไปบนช่องสอื่ สาร กระบวนการท่ีโมเด็ม แปลงสญั ญาณดจิ ิตลั ใหเ้ ป็นสญั ญาณแอนะล็อก เรียกว่า มอดเู ลชนั (Modulation) โมเดม็ ทาหนา้ ท่ี มอดเู ล เตอร์ (Modulator) กระบวนการท่โี มเด็มแปลงสญั ญาณแอนะลอ็ ก ใหเ้ ป็นสญั ญาณดิจิตลั เรยี กว่า ดีมอดเู ลชนั (Demodulation) โมเดม็ หนา้ ท่ี ดมี อดเู ลเตอร์ (Demodulator)โมเด็มท่ใี ชก้ นั อย่างแพรห่ ลายในปัจจุบนั มี 2 ประเภทโมเด็กในปัจจุบนั ทางานเป็นทงั้ โมเด็มและ เคร่ืองโทรสาร เราเรยี กวา่ Faxmodem

2. การด์ เครือข่าย (Network Adapter) หรือ การด์ LAN ภาพท่3ี .5 การด์ เครือข่าย เป็นอปุ กรณท์ าหนา้ ท่สี ่ือสารระหว่างเครื่องตา่ งกนั ไดไ้ ม่จาเป็นตอ้ งเป็นรุ่นหรือย่หี อ้ เดียวกนั แตห่ ากซอื้ พรอ้ มๆกนั กแ็ นะนาใหซ้ ือ้ รุน่ และย่หี อ้ เดยี วกนั จะดีกว่า และควรเป็น การด์ แบบ PCI เพราะสามารถสง่ ขอ้ มลู ได้ เรว็ กว่าแบบ ISAและเมนบอรด์ รุน่ ใหม่ๆมกั จะไม่มี Slot ISA ควรเป็นการด์ ท่มี ี ความเรว็ เป็น 100 Mbps ซง่ึ จะมี ราคามากกว่าการด์ แบบ 10 Mbps ไม่มากนกั แต่สง่ ขอมลู ไดเ้ รว็ กว่า นอกจากนคี้ ณุ ควรคาหนงึ ถงึ ขวั้ ต่อหรือ คอนเน็กเตอรข์ องการด์ ดว้ ยโดยท่วั ไปคอนเนก็ เตอร์ ของการด์ LAN จะมีหลายแบบ เช่น BNC , RJ-45 เป็น ตน้ ซง่ึ คอนเน็กเตอรแ์ ตล่ ะแบบก็จะใชส้ ายท่แี ตกต่างกนั 3. เกตเวย์ (Gateway) ภาพท่ี3.6 เกตเวย์ เกตเวย์ เป็นอปุ กรณอ์ เิ ล็กทรอนกิ สอ์ กี อยา่ งหนง่ึ ท่ีช่วยในการสือ่ สารขอ้ มลู คอมพวิ เตอรห์ นา้ ท่หี ลกั คือ ช่วยใหเ้ ครือข่ายคอมพวิ เตอร์ 2 เครือขา่ ยหรือมากกว่า ซง่ึ มลี กั ษณะไมเ่ หมอื นกนั สามารถติดต่อสอ่ื สารกนั ได้ เหมือนเป็นเครือขา่ ยเดยี วกนั

4. เราเตอร์ (Router) ภาพที่3.7 เราเตอร์ เราเตอรเ์ ป็นอปุ กรณใ์ นระบบเครือข่ายท่ที าหนา้ ท่เี ป็นตวั เช่ือมโยงใหเ้ ครือข่ายท่มี ีขนาดหรือมาตรฐาน ในการสง่ ขอ้ มลู ตา่ งกนั สามารถติดต่อแลกเปลยี่ นขอ้ มลู ระหว่างกนั ได้ เราเตอรจ์ ะทางานอยชู่ นั้ Network หนา้ ท่ขี องเราเตอรก์ ็คือ ปรบั โปรโตคอล (Protocol) (โปรโตคอลเป็นมาตรฐานในการส่ือสารขอ้ มลู บนเครือข่าย คอมพิวเตอร)์ ท่ตี ่างกนั ใหส้ ามารถสือ่ สารกนั ได้ 5. บรดิ จ์ (Bridge) ภาพท3ี่ .8 บรดิ จ์ บรดิ จม์ ลี กั ษณะคลา้ ยเครื่องขยายสญั ญาณ บรดิ จจ์ ะทางานอยใู่ นชนั้ Data Link บริดจท์ างานคลา้ ย เครื่องตรวจตาแหนง่ ของขอ้ มลู โดยบริดจจ์ ะรบั ขอ้ มลู จากตน้ ทางและสง่ ใหก้ บั ปลายทาง โดยท่บี ริดจจ์ ะไม่มี การแกไ้ ขหรือเปลี่ยนแปลงใดๆแกข่ อ้ มลู บรดิ จท์ าใหก้ ารเช่ือมต่อระหว่างเครอื ข่ายมีประสิทธิภาพลดการชนกนั ของขอ้ มลู ลง บรดิ จจ์ ึงเป็นสะพานสาหรบั ขอ้ มลู สองเครอื ข่าย

6. รพี ตี เตอร์ (Repeater) ภาพที่3.9 รีพีตเตอร์ รีพตี เตอร์ เป็นเคร่ืองทบทวนสญั ญาณขอ้ มลู ในการสง่ สญั ญาณขอ้ มลู ในระยะทางไกลๆสาหรบั สญั ญาณแอนะล็อกจะตอ้ งมีการขยายสญั ญาณขอ้ มลู ท่ีเี รม่ิ เบาบางลงเน่ืองจากระยะทาง และสาหรบั สญั ญาณดิจิตลั ก็จะตอ้ งมีการทบทวนสญั ญาณเพ่อื ปอ้ งกนั การขาดหายของสญั ญาณเน่ืองจากการสง่ ระยะ ทางไกลๆ เช่นกนั รีพีตเตอรจ์ ะทางานอยู่ในชนั้ Physical 7. สายสัญญาณ เป็นสายสาหรบั เช่ือมต่อเคร่ืองคอมพิวเตอรต์ า่ งๆในระบบเขา้ ดว้ ยกนั หากเป็นระบบท่ีมจี านวนเครอ่ื ง มากกว่า 2 เคร่ืองกจ็ ะตอ้ งต่อผา่ นฮบั อีกทีหนง่ึ โดยสายสญั ญาณสาหรบั เช่ือมต่อเคร่อื งในระบบเครือข่าย จะมี อยู่ 2 ประเภท คือ ภาพท3ี่ .10 สายCoax

- สาย Coax มีลกั ษณะเป็นสายกลม คลา้ ยสายโทรทศั น์ สว่ นมากจะเป็นสดี าสายชนิดนจี้ ะใชก้ บั การด์ LAN ท่ใี ชค้ อนเนก็ เตอรแ์ บบ BNC สามารถสง่ สญั ญาณไดไ้ กลประมาณ 200 เมตร สายประเภทนจี้ ะตอ้ งใชต้ วั T Connector สาหรบั เช่ือมต่อสายสญั ญาณกบั การด์ LAN ตา่ งๆในระบบ และตอ้ งใชต้ วั Terminator ขนาด 50 โอหม์ สาหรบั ปิดหวั และทา้ ยของสาย ภาพที่3.11 สายUTP - สาย UTP (Unshied Twisted Pair) เป็นสายสาหรบั การด์ LAN ท่ใี ชค้ อนเน็กเตอรแ์ บบ RJ-45 สามารถสง่ สญั ญาณไดไ้ กล ประมาณ 100 เมตร หากคณุ ใขส้ ายแบบนจี้ ะตอ้ งเลือกประเภทของสายอกี โดยท่วั ไปนิยมใชก้ นั 2 รุน่ คือ CAT 3 กบั CAT5 ซ่งึ แบบ CAT3 จะมคี วามเรว็ ในการสง่ สญั ญาณ10 Mbps และแบบ CAT 5 จะมีความเรว็ ในการสง่ ขอ้ มลู ท่ี 100 Mbps แนะนาว่าควรเลอื กแบบ CAT 5 เพ่อื การอพั เกรด ในภายหลงั จะไดไ้ ม่ตอ้ งเดินสายใหม่ ในการใชง้ านสายนี้ สาย 1 เสน้ จะตอ้ งใชต้ วั RJ - 45 Connector จานวน 2 ตวั เพ่ือเป็นตวั เช่ือมตอ่ ระหวา่ งสายสญั ญาณจากการด์ LAN ไปยงั ฮบั หรือเครื่องอ่ืน เช่นเดียวกบั สายโทรศพั ท์ ในกรณีเป็นการเช่ือมต่อเครื่อง 2 เคร่ืองสามารถใชต้ ่อผา่ นสายเพยี งเสน้ เดยี ไดแ้ ต่ถา้ มากกวา่ 2 เครอ่ื ง กจ็ าเป็นตอ้ งตอ่ ผ่านฮบั 8. ฮบั (HUB) ภาพท่ี3.12 ฮบั

เป็นอปุ กรณช์ ่วยกระจ่ายสญั ญาณไปยงั เคร่ืองตา่ งๆท่ีอยใู่ นระบบ หากเป็นระบบเครือข่ายท่มี ี 2 เครื่อง ก็ไมจ่ าเป็นตอ้ งใชฮ้ บั สามารถใชส้ ายสญั ญาณเช่ือมต่อ ถึงกนั ไดโ้ ดยตรง แต่หากเป็นระบบท่มี ีมากกว่า 2 เครื่อง จาเป็นตอ้ งมีฮบั เพ่ือทาหนา้ ท่ีเป็นตวั กลาง ในการเลือกซอื้ ฮบั ควรเลือกฮบั ท่มี คี วามเรว็ เท่ากบั ความเร็ว ของ การด์ เชน่ การด์ มีความเร็ว 100 Mbps กค็ วรเลอื กใชฮ้ บั ท่มี ีความเรว็ เป็น 100 Mbps ดว้ ย ควรเป็นฮบั ท่มี ี จานวนพอรต์ สาหรบั ตอ่ สายท่เี พียงพอกบั เครอ่ื งใชใ้ นระบบ หากจานวนพอรต์ ตอ่ สายไม่เพยี งพอกส็ ามารถต่อ พว่ งได้ แนะนาวา่ ควรเลือกซือ้ ฮบั ท่สี ามารถตอ่ พ่วงได้ เพ่ือรองรบั การขยายตวั ในอนาคต 3.ข้อจากดั ของระบบเครอื ขา่ ย 1) ลงทุนสูงและจดั การยุ่งยาก การเช่อื มตอ่ ระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ และการจดั การระบบ เครือข่าย ตอ้ งใชเ้ ทคโนโลยที ่ีย่งุ ยากซบั ซอ้ น ตอ้ งอาศยั ผทู้ ่ีมีความรูค้ วามชานาญ และมีประสบการณส์ งู จึงตอ้ ง ใชง้ บประมาณ การเรม่ิ ตน้ ลงทนุ สงู มาก อีกทงั้ เทคโนโลยีของเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ เปลีย่ นแปลงไปเรว็ มาก จาเป็นตอ้ งมงี บประมาณ เพ่ือปรบั ปรุงระบบใหท้ นั สมยั อยเู่ สมอ 2) การแบง่ ทรัพยากรกนั ใช้ อาจไมส่ ามารถใชท้ รพั ยากรนนั้ ๆ ไดท้ นั ทที นั ใด เพราะหากมีการเรียกใช้ ทรพั ยากรเดยี วกนั จากคอมพิวเตอร์ 2 เครื่องพรอ้ มกนั เชน่ การใชเ้ ครอื่ งพมิ พโ์ ดยเครื่องพมิ พน์ นั้ มกี ารใชง้ าน จากคอมพิวเตอรต์ วั อ่นื อย่กู อ่ นหนา้ แลว้ งานพิมพข์ องเราก็จะตอ้ งเขา้ ควิ รอการทางาน 3) ขาดแคลนซอฟตแ์ วรป์ ระยกุ ต์ ระบบเครือขา่ ยปัจจบุ นั ยงั ขาดแคลนซอฟตแ์ วรป์ ระยกุ ต์ ดา้ นต่าง ๆ ทางานภายใตส้ ภาพแวดลอ้ ม แบบเครอื ข่ายอย่มู าก เพราะการพฒั นา ตอ้ งใชค้ วามรูค้ วามชานาญสงู ตอ้ งใช้ เวลาในการพฒั นา จึงจะสามารถสรา้ งซอฟตแ์ วรป์ ระยกุ ตใ์ ชง้ านดา้ นต่าง ๆ ได้ 4) การรักษาความปลอดภัย ในระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ ยงั ขาดความปลอดภยั ในดา้ นการรกั ษา ขอ้ มลู อยมู่ าก มีโอกาสท่จี ะถกู ผอู้ ่นื แอบเขา้ มาเอาขอ้ มลู ไดจ้ ากหลาย ๆท่ี หรืออาจมีขอ้ มลู สญู หายได้ ในขณะ ติดตอ่ ส่ือสาร เน่อื งจากมขี ่าวสารในระบบอยมู่ าก 5) ความเร็วในการรับส่งขอ้ มลู ตา่ ในระบบเครอื ข่ายระยะไกล เช่น อนิ เทอรเ์ น็ต การเรียกใชข้ อ้ มลู ใน ไฟลผ์ า่ นระบบเครื่อขา่ ยนนั้ จะมีความเรว็ ท่ชี า้ กว่าการเรียกใชข้ อ้ มลู กบั ฮารด์ ดิสกใ์ นเครอ่ื งของตน ตวั กลางนาท่ี ใช้ ในการนาสญั ญาณ ยงั มอี ตั ราความเรว็ ในการรบั สง่ ขอ้ มลู ต่า เม่ือเทียบกบั การสอ่ื สารดว้ ยโทรศพั ท์ หรือ โทรทศั น์ โดยเฉพาะขอ้ มลู ท่เี ป็นภาพน่ิงและภาพเคล่อื นไหว เพราะไฟลม์ ขี นาดใหญ่มาก

4. การทางานของเครือขา่ ยในคอมพวิ เตอร์ โดยท่วั ไปการจดั แบง่ หนา้ ท่ีการทางานของคอมพิวเตอรใ์ นระบบเครือข่ายจะมี 2 แบบใหญ่ๆ คือ เครอื ข่ายแบบ Peer-to-Peer เครอื ข่ายแบบนีจ้ ะเกบ็ ไฟลแ์ ละการเช่ือมต่อกบั อปุ กรณต์ า่ งๆ ไวท้ ่เี คร่ืองคอมพวิ เตอรข์ องผใู้ ชแ้ ต่ละคน โดยไมม่ คี อมพวิ เตอรส์ ว่ นกลางท่ีทาหนา้ ท่นี ี้ เรียกไดว้ ่าตา่ งคนต่างเก็บ ต่างคนตา่ งใช้ แต่ผใู้ ชใ้ นเครือข่าย สามารถเรยี กใชไ้ ฟลจ์ ากคอมพิวเตอรเ์ คร่ืองอ่นื ได้ ถา้ คอมพวิ เตอรเ์ ครอ่ื งนนั้ ทาการแชรไ์ ฟลเ์ หล่านนั้ ไว้ เครือขา่ ย แบบ Peer-to-Peer นเี้ หมาะสาหรบั องคก์ รขนาดเลก็ ท่มี ีคอมพวิ เตอรเ์ ช่ือมตอ่ กนั ไม่เกิน 10 เครื่อง เน่ืองจาก ติดตงั้ งา่ ย ราคาไม่แพง และการดแู ลไมย่ ่งุ ยากนกั แต่ถา้ คอมพิวเตอรใ์ นเครือข่ายมีมากกวา่ 10 เครอ่ื งขึน้ ไป ควรจะใชเ้ ครอื ขา่ ยแบบอ่ืนดีกวา่ เครอื ขา่ ยแบบ Server-Based ระบบเครอื ข่ายแบบนจี้ ะมคี อมพิวเตอรห์ ลกั อย่หู นงึ่ เครอ่ื ง เรียกว่า เซริ ฟ์ เวอร์ (server) หรือเคร่ืองแมข่ า่ ย ทาหนา้ ท่เี ก็บขอ้ มลู โปรแกรม และแชรไ์ ฟลห์ รอื โปรแกรมนนั้ ใหก้ บั เคร่ืองลกู ขา่ ย อีกทงั้ ยงั ทาหนา้ ท่ีประมวลผล และสง่ ผลลพั ธท์ ่ไี ดไ้ ปใหเ้ คร่ืองลกู ข่าย ซ่งึ เป็นเสมือนเครื่องใหบ้ รกิ ารเครอื่ งคอมพวิ เตอรอ์ ่นื ในเครือข่ายท่รี อ้ งขอ เขา้ มา รวมทงั้ เป็นยงั ผจู้ ดั การดแู ลการจราจรในระบบเครือขา่ ยทงั้ หมด เคร่อื งคอมพิวเตอรอ์ ่นื ๆ ในเครือข่าย จะ สามารถเขา้ ใชง้ านไฟลต์ ่าง ๆ ในเซริ ฟ์ เวอรไ์ ด้ แตไ่ ม่สามารถเขา้ ใชง้ านไฟลใ์ นเครื่องอ่นื ๆ ได้ น่นั คือการ ตดิ ต่อกนั ระหว่างเคร่ืองตา่ งๆ จะตอ้ งผ่านเคร่ืองเซิรฟ์ เวอร์ เครื่องผใู้ ชจ้ ะทาการประมวลผลในงานของตนเทา่ นนั้ ไม่มหี นา้ ท่ใี นการใหบ้ รกิ ารกบั เครื่องอ่นื ๆ ในระบบ เซิรฟ์ เวอรจ์ ะตอ้ งมีหนว่ ยความจาสารอง (harddisk) ขนาด ใหญ่เพ่อื เกบ็ ขอ้ มลู ทงั้ หมด และควรเป็นเครื่องท่ีมสี มรรถนะสงู ชนิดของเซิรฟ์ เวอรม์ ีได้ 2 รูปแบบคือ

1. Dedicated server หมายถงึ เซิรฟ์ เวอรท์ ่ที าหนา้ ท่ีบรกิ ารอย่างเดียวเท่านนั้ ไม่สามารถนาไปใชใ้ น งานท่วั ๆ ไปได้ ขอ้ ดีคือทาใหร้ ะบบมีเสถียรภาพและมปี ระสทิ ธิภาพสงู ขอ้ เสยี คือไมส่ ามารถใชง้ านเครื่อง เซิรฟ์ เวอร์ ซ่งึ มรี าคาค่อนขา้ งสงู ได้ 2. Non-dedicated server หมายถึง เซิรฟ์ เวอรท์ ่สี ามารถใชง้ านไดต้ ามปกตเิ หมือนเครือ่ งลกู ข่าย ซ่งึ มี ขอ้ เสียท่สี าคญั คือประสทิ ธิภาพของเครือข่ายจะลดลง ทาใหว้ ธิ ีนไี้ ม่เป็นท่นี ยิ มในการใชง้ าน

สรุปทา้ ยบทท3่ี

อินเตอรเ์ น็ตและบรกิ ารออนไลน์ บทท่ี 4 • ความหมายของอนิ เตอรเ์ นต็ อินเทอรเ์ น็ต คอื ระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอรข์ นาดใหญ่ท่สี ดุ ของโลก โดยจะเป็นการเช่ือมต่อเครอ่ื ง คอมพวิ เตอรห์ ลายๆ เคร่ืองจากท่วั โลกมาเช่ือมต่อเขา้ ดว้ ยกนั ซ่งึ ชว่ ยใหส้ ามารถตดิ ต่อสอ่ื สารและ แลกเปล่ียนขอ้ มลู ระหว่างกนั ไดท้ ่วั โลก ในการติดตอ่ กนั ระหวา่ งเครื่องคอมพวิ เตอร์ จาเป็นตอ้ งมกี ารระบวุ า่ สง่ มาจากไหน สง่ ไปใหใ้ ครซ่งึ ตอ้ งมีการระบุ ช่อื เครื่อง (คลา้ ยกบั เลขท่บี า้ น) ในอนิ เทอรเ์ นต็ ใชข้ อ้ ตกลงใน การติดตอ่ ท่เี รียกว่า TCP/IP (ขอ้ ตกลงท่ีทาใหค้ อมพิวเตอรต์ ิดต่อกนั ได)้ ซ่งึ จะใชส้ ิ่งท่เี รียกค่า “ไอพี- แอดเดรส” (IP-Address) ในการระบชุ ่ือเคร่ืองจะไม่มเี บอรท์ ่ซี า้ กนั ได้ อินเทอรเ์ น็ต ระบบการเช่อื มตอ่ ของอนิ เทอรเ์ นต็ • โปรโตคอล (กติกาบนอนิ เตอรเ์ น็ต) การทางานต่างๆ ในอนิ เทอรเ์ น็ตจะสอดคลอ้ งกนั ไดก้ ็ตอ้ งมกี ตกิ าท่ที กุ เครื่อง ทกุ โปรแกรม รบั รู้ และทาตามเป็นแบบหรือมาตรฐานเดยี วกนั ท่วั โลก ซง่ึ บนอนิ เทอรเ์ น็ตมกี ตกิ าเหลา่ นมี้ ากมาย สาหรบั แตล่ ะเรื่อง เรียกว่า “โปรโตคอล” (Protocol)

• ISP คอื อะไร ISP หรือ Internet Service Provider เป็นหนว่ ยงานท่ใี หบ้ รกิ ารเช่ือมตอ่ เขา้ กบั เครือขา่ ย อินเทอรเ์ น็ต หรือพดู อีกนยั หนง่ึ คอื ทาหนา้ ท่เี สมอื นเป็นประตเู ปิดการเช่ือมต่อใหบ้ คุ คลหรอื องคก์ รสามารถ ใชง้ านอินเทอรเ์ น็ตได้ สาหรบั ในประเทศไทยมีหน่วยงานท่ใี หบ้ รกิ ารดา้ นนีอ้ ยู่ 2 ประเภทดว้ ยกนั คือ ผู้ ใหบ้ รกิ ารอนิ เทอรเ์ น็ตเชิงพาณิชย์ (Commercial ISP) และผใู้ หบ้ รกิ ารอินเทอรเ์ น็ตสาหรบั สถาบนั การศกึ ษา การวิจยั และหนว่ ยงาน ของรฐั (non-commercial ISP) ซ่งึ ปัจจบุ นั ประเทศไทยมผี ใู้ หบ้ รกิ ารอินเทอรเ์ น็ตมากกว่า 20 ราย ดงั ตวั อยา่ งในตารางตอ่ ไปนี้

• บรกิ ารออนไลน์ บริการออนไลนใ์ นรูปแบบตา่ งๆ บนอนิ เตอรเ์ น็ตนนั้ มีมากมาย เชน่ บริการดา้ นอีเมล์ การเผยแพรแ่ ละ รบั ชมไฟลว์ ดิ ีโอ การสื่อสารบนสงั คมออนไลนต์ า่ งๆ บรกิ ารทีวีออนไลน์ และบรกิ ารประมวลผลแบบคลาวด์ (Cloud Computing) เป็นตน้ บริการเหล่านที้ าใหเ้ ราไดใ้ ชป้ ระโยชนจ์ ากเทคโนโลยดี า้ น คอมพิวเตอรแ์ ละการสื่อสารไดอ้ ย่างเตม็ ท่ี โซเชยี ลเน็ตเวริ ค์ หรอื Social Network คือเครือข่ายสงั คมออนไลน์ หรอื การท่ผี ใู้ ชง้ าน อินเตอรเ์ น็ตคนหนึง่ เช่ือมโยงกบั เพ่ือนอีกนบั สิบ รวมไปถึงเพ่อื นของเพ่อื นอีกนบั รอ้ ย ผา่ นผใู้ หบ้ ริการดา้ น โซเชียลเน็ตเวิรค์ (Social Network) บนอินเตอรเ์ น็ต เชน่ Facebook, Blogger, Hi5, Twitter หรือ Tagged เป็นตน้ (บางเวบ็ ไซตท์ ่ีกลา่ วถึงในตวั อยา่ ง ปัจจบุ นั นไี้ ดเ้ สื่อมความนยิ มแลว้ ) การเช่อื มโยงดงั กลา่ ว ทาใหเ้ กดิ เครอื ข่ายขนึ้ เช่น เราสามารถรูจ้ กั เพ่ือนของเพ่อื นเราได้ เป็นทอดๆ ต่อไป เรื่อย ทาใหเ้ กิดสงั คมเสมือนจรงิ ขึน้ มา สามารถสรา้ งคอนเน็คช่นั ใหม่ๆ ไดง้ ่าย และเม่ือเราแชร์ (Share) ขอ้ ความหรืออะไรกต็ ามลงไปในเครือข่าย ทกุ คนในเครอื ข่ายกส็ ามารถรบั รูไ้ ดพ้ รอ้ มกนั และ สามารถตอบสนองต่อสงิ่ ท่เี ราแชรไ์ ด้ เช่น แสดงความคิดเห็น (Comment) กดไลค์ (Like) ซง่ึ อาจจะแตกต่างกนั ออกไปตามแตล่ ะผใู้ หบ้ ริการ ความโดดเดน่ ในเรือ่ งความงา่ ยของโซเชียลเน็ตเวริ ค์ (Social Network) ทาใหธ้ ุรกิจ และนกั การตลาดสนใจท่ีจะใชเ้ ป็นเคร่ืองมือในการประชาสมั พนั ธ์ สินคา้ และบรกิ าร

• สรุปทา้ ยบท อินเทอรเ์ น็ตเป็นเครือข่ายการติดต่อสื่อสารท่ใี หญ่ท่สี ดุ มีการเช่ือมต่อเหมือนรา่ งแหท่แี ผไ่ ปท่วั จงึ มี จดุ เช่ือมต่อเขา้ มาไดม้ ากมายโดยผา่ นเครอ่ื งท่ีเช่ือมต่ออยเู่ ดิม การเช่ือมต่ออินเทอรเ์ น็ตจะมีหลายวธิ ี เช่น ใชอ้ ินเทอรเ์ น็ตความแรว็ สงู แบบ ADSL เช่ือมต่อผ่านดาวเทียม และเช่อื มต่อผ่านเครือขา่ ยโทรศพั ทเ์ ครื่อน ท่ี เป็นตน้ โดยการทากิจกรรมบนอินเทอรเ์ น็ตจะมกี ติกาในการใชง้ านท่ีรียกว่า โปรโตคอล ซ่งึ ทกุ เคร่ืองและ ทกุ โปรแกรมตอ้ งรบั รูแ้ ละทาตามแบบมาตรฐานเดียวกนั ท่วั โลก

ขอ้ มลู และการจดั การขอ้ มลู บทท่ี 5 • ความหมายของขอ้ มลู ในปัจจุบนั การแข่งขนั ทางธรุ กิจตอ้ งอาศยั ขอ้ มลู เป็นหลกั จงึ มกี ารนาเทคโนโลยมี าช่วยจดั การขอ้ มลู อย่าง มาก ดงั จะเห็นไดจ้ ากการแข่งขนั การใหบ้ รกิ ารของธนาคารพาณิชย์ การใชข้ อ้ มลู ในการตดั สินใจลงทนุ ซอื้ ขาย หลกั ทรพั ย์ ขอ้ มลู เป็นหวั ใจของการดาเนนิ งานเป็นแหลง่ ความรูท้ ่ใี ชป้ ระกอบการตดั สินใจ บรษิ ัทหรือองคก์ าร จึงดาเนินการอย่างจรงิ จงั ใหไ้ ดม้ าซง่ึ ขอ้ มลู และปกป้องดแู ลขอ้ มลู ของตนเป็นอย่างดี เพราะขอ้ มลู เป็นสิง่ มีค่ามี ราคา การโจรกรรมขอ้ มลู โดยใชเ้ ทคโนโลยใี หม่ ๆ จึงเป็นปัญหาสาคญั ท่เี กิดขนึ้ ดงั ท่ีปรากฎเป็นขา่ วทงั้ ใน ประเทศและตา่ งประเทศ ขอ้ มลู (data) คือ ขอ้ เทจ็ จรงิ หรือเหตกุ ารณท์ ่เี ก่ียวขอ้ งกบั สิง่ ตา่ งๆ เชน่ คน สตั ว์ สงิ่ ของ สถานท่ี ฯลฯ ซง่ึ อาจจะอย่ใู นรูปแบบต่าง ๆ เชน่ ภาพ เสยี ง วีดีโอ ขอ้ มลู จึงเป็นเรือ่ งท่เี กี่ยวกบั เหตกุ ารณข์ องสง่ิ ตา่ ง ๆ ท่เี กิดขนึ้ อยา่ งต่อเน่ือง มกี ารรวบรวมขอ้ มลู อย่างเป็นระบบและตอ่ เน่อื ง ดงั จะเห็นจากกระบวนการการเลือกตงั้ ท่ีผา่ นมา หลายพรรคการเมอื งมีการนาเทคโนโลยีมารวบรวมขอ้ มลู หาวิธีการท่จี ะใหไ้ ดข้ อ้ มลู อย่างรวดเร็ว และเม่อื สถานการณห์ รือเหตกุ ารณบ์ างอย่างผนั แปรขนึ้ การเตรยี มการหรอื การแกส้ ถานการณจ์ ะดาเนนิ การไดอ้ ย่าง ทนั ทว่ งที • คณุ สมบตั ิของขอ้ มลู ท่ดี ี การจดั เก็บขอ้ มลู จาเป็นตอ้ งมคี วามพยายามและตงั้ ใจดาเนนิ การ หรือกลา่ วไดว้ ่าการไดม้ าซ่งึ ขอ้ มลู ท่จี ะ นามาใชป้ ระโยชน์ องคก์ ารจาเป็นตอ้ งลงทนุ ทงั้ ในดา้ นตวั ขอ้ มลู เคร่อื งจกั ร และอปุ กรณ์ ตลอดจนการพฒั นา บคุ ลากรขนึ้ มารองรบั ระบบเพ่อื ใหใ้ ชง้ านอย่างมีประสิทธิภาพ การจดั การระบบขอ้ มลู จงึ ตอ้ งคานึงถึงปัญหา เหลา่ นี้ และพยายามมองปัญหาแบบท่เี ป็นจรงิ สามารถดาเนนิ การได้ ใหป้ ระสิทธิผลคมุ้ ค่ากบั การลงทนุ ดงั นนั้ การดาเนนิ การเพ่อื ใหไ้ ดม้ าซ่งึ สารสนเทศท่ีดี ขอ้ มลู จะตอ้ งมีคณุ สมบตั ิขนั้ พืน้ ฐาน ดงั นี้

1) ความถกู ตอ้ ง หากมกี ารเก็บรวบรวมขอ้ มลู แลว้ ขอ้ มลู เหลา่ นนั้ เช่ือถือไม่ไดจ้ ะทาใหเ้ กิดผลเสยี อย่างมาก ผใู้ ชจ้ ะไมก่ ลา้ อา้ งอิงหรือนาเอาไปใชป้ ระโยชน์ ซง่ึ เป็นเหตใุ หก้ ารตดั สนิ ใจของผบู้ รหิ ารขาดความแม่นยา และอาจมโี อกาส ผิดพลาดได้ โครงสรา้ งขอ้ มลู ท่อี อกแบบตอ้ งคานึงถึงกรรมวธิ ี การดาเนินงานเพ่อื ใหไ้ ดค้ วามถกู ตอ้ งแมน่ ยามาก ท่สี ดุ โดยปกติความผิดพลาดของสารสนเทศสว่ นใหญ่ มาจากขอ้ มลู ท่ไี มม่ คี วามถกู ตอ้ ง ซ่งึ อาจมีสาเหตมุ า จาก คนหรือเครื่องจกั ร การออกแบบระบบจงึ ตอ้ งคานงึ ถึงในเร่ืองนี้ 2) ความรวดเรว็ และเป็นปัจจบุ นั การไดม้ าของขอ้ มลู จาเป็นตอ้ งใหท้ นั ต่อความตอ้ งการของผใู้ ช้ มีการตอบสนองต่อผใู้ ชไ้ ดเ้ รว็ ตีความหมายสารสนเทศไดท้ นั ต่อเหตกุ ารณห์ รือความตอ้ งการ มีการออกแบบระบบการเรยี กคน้ และรายงาน ตามความตอ้ งการของผใู้ ช้ 3) ความสมบรู ณ์ ความสมบรู ณข์ องสารสนเทศขนึ้ กบั การรวบรวมขอ้ มลู และวิธีการทางปฎิบตั ิดว้ ย ในการดาเนนิ การจดั ทา สารสนเทศตอ้ งสารวจ และสอบถามความตอ้ งการใชข้ อ้ มลู เพ่อื ใหไ้ ดข้ อ้ มลู ท่มี ีความสมบรู ณใ์ นระดบั หนงึ่ ท่ี เหมาะสม 4) ความชดั เจนและกะทดั รดั การจดั เกบ็ ขอ้ มลู จานวนมากจะตอ้ งใชพ้ นื้ ท่ใี นการจดั เก็บขอ้ มลู มากจงึ จาเป็นตอ้ งออกแบบโครงสรา้ ง ขอ้ มลู ใหก้ ะทดั รดั ส่อื ความหมายได้ มีการใชร้ หสั หรือยน่ ย่อขอ้ มลู ใหเ้ หมาะสมเพ่อื ท่จี ะจดั เกบ็ เขา้ ไวใ้ นระบบ คอมพิวเตอร์ 5) ความสอดคลอ้ ง ความตอ้ งการเป็นเร่ืองท่ีสาคญั ดงั นนั้ จึงตอ้ งมกี ารสารวจเพ่อื หาความตอ้ งการของหน่วยงานและองคก์ าร ดสู ภาพการใชข้ อ้ มลู ความลึกหรือความกวา้ งของขอบเขตของขอ้ มลู ท่สี อดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการ

การทาขอ้ มลู ใหเ้ ป็นสารสนเทศท่จี ะเป็นประโยชนต์ ่อการใชง้ าน จาเป็นตอ้ งอาศยั เทคโนโลยเี ขา้ มาชว่ ยใน การดาเนนิ การ เรม่ิ ตงั้ แตก่ ารรวบรวมและตรวจสอบขอ้ มลู การดาเนนิ การประมวลผลขอ้ มลู ใหก้ ลายเป็น สารสนเทศ และการดแู ลรกั ษาสารสนเทศเพ่อื การใชง้ าน • การแบ่งลาดบั ชนั้ ของการจดั การขอ้ มลู ในการจดั การขอ้ มลู จะมีการแบง่ ขอ้ มลู ออกเป็นลาดบั ชนั้ เพ่อื งา่ ยต่อการเรยี กใชแ้ ละประมวลผล ลาดบั ชนั้ ขอ้ มลู พนื้ ฐานท่คี วรทราบมีดงั ตอ่ ไปนี้ บิต (Bit = Binary Digit) เป็นลาดบั ชนั้ ของหนว่ ยขอ้ มลู ท่ีเล็กท่สี ดุ ดงั ท่ีทราบกนั ดแี ลว้ ว่าขอ้ มลู ท่ีจะทางานรว่ มกบั คอมพวิ เตอรไ์ ดน้ นั้ จะตอ้ งเอามาแปลงใหอ้ ยใู่ นรูปของเลขฐานสองเสยี ก่อนคอมพวิ เตอรจ์ งึ จะเขา้ ใจและทางานตามท่ีตอ้ งการได้ เม่อื แปลงแลว้ จะไดต้ วั เลขแทนสถานะเปิดและปิด ของสญั ญาณไฟฟา้ ท่ีเรยี กว่า บิต เพียง 2 คา่ เทา่ นนั้ คือ บิต 0 และบิต 1 ไบต์ (Byte) เม่อื นาบิตมารวมกนั หลายๆบิต จะไดห้ น่วยขอ้ มลู กลมุ่ ใหม่ท่เี รียกว่า ไบต์ (Byte) ซง่ึ จานวนของบิตท่ไี ด้ นนั้ แต่ละกลมุ่ อาจมีมากหรือนอ้ ยบา้ ง ทงั้ นีข้ นึ้ อยกู่ บั ชนิดของรหสั ท่ีใชเ้ ก็บ แต่โดยปกติกบั การใชง้ านในรหสั แอ สกีท่วั ไปจะไดก้ ลมุ่ ของบิต 8 บติ ดว้ ยกนั ซง่ึ นิยมมาแทนเป็นรหสั ของตวั อกั ษร บางครงั้ จึงนิยมเรยี กขอ้ มลู 1 ไบตว์ ่าเป็น 1 ตวั อกั ษร ฟีลด์ หรอื เขตของขอ้ มลู (Field) ประกอบดว้ ยกลมุ่ ของตวั อกั ษรหรือไบตต์ งั้ แต่ 1 ตวั ขนึ้ ไปมาประกอบกนั เป็นหน่วยขอ้ มลู ท่ใี หญ่ขนึ้ แลว้ แสดงลกั ษณะหรือความหมายอย่างใดอย่างหน่ึง ยกตวั อย่างเขตขอ้ มลู เก่ียวกบั พนกั งาน เชน่ รหสั พนกั งาน ช่ือ นามสกลุ เงนิ เดือน ตาแหน่ง

เรคคอรด์ (Record) เป็นกลมุ่ ของเขตขอ้ มลู หรือฟีลดท์ ่มี ีความสมั พนั ธก์ นั และนามาจดั เก็บรวมกนั เป็นหน่วยใหม่ท่ีใหญ่ขนึ้ เพียงหน่วยเดียว ปกติในการจดั การขอ้ มลู ใดมกั ประกอบดว้ ยเรคคอรด์ ทงั้ นีข้ นึ้ อย่กู บั ขนาดของขอ้ มลู เป็นหลกั ไฟล์ หรือแฟม้ ตารางขอ้ มลู (File) ไฟล์ หรอื แฟม้ ขอ้ มลู เป็นการนาเอาขอ้ มลู ทงั้ หมดหลายๆเรคคอรด์ ท่ีตอ้ งการจดั เก็บมาเรียงอยใู่ นรูปแบบ ของแฟ้มตารางขอ้ มลู เดียวกนั เชน่ แฟ้มตารางขอ้ มลู เกี่ยวกบั คะแนนนกั ศกึ ษาวชิ าเทคโนโลยสี ารสนเทศ อาจ ประกอบดว้ ยเรคคอรด์ ของนกั ศกึ ษาหลายๆคนท่ีเก็บขอ้ มลู เกี่ยวกบั รหสั นกั ศกึ ษา ช่อื นามสกลุ และคะแนนท่ี ได้ • แฟ้มขอ้ มลู 1. แฟม้ ขอ้ มลู หลกั (Master File) เป็นแฟ้มท่ีเก็บขอ้ มลู อย่างถาวร แฟม้ นจี้ ะไมค่ ่อยมีการ เปลีย่ นแปลงขอ้ มลู บ่อยนกั เพราะการปรบั ปรุงขอ้ มลู จะกระทาจากแฟ้มรายการ (Transaction File) ดงั นนั้ ขอ้ มลู ท่เี ก็บอยใู่ นแฟม้ ขอ้ มลู หลกั จะเป็นขอ้ มลู ท่ที นั สมยั (Up to date) อย่เู สมอ สามารถนาไป อา้ งอิงได้ เชน่ แฟม้ ขอ้ มลู พนกั งาน แฟม้ รายการสนิ คา้ แฟ้มขอ้ มลู นกั ศกึ ษา แฟม้ ขอ้ มลู ภาควิชา 2. แฟ้มรายการ (Transaction File) เป็นแฟ้มขอ้ มลู ช่วั คราว ท่ีรวบรวมการเปล่ียนแปลง ของ แฟ้มขอ้ มลู หลกั หรือทาหนา้ ท่ีรายงานการเปล่ยี นแปลงของแฟม้ ขอ้ มลู หลกั มีการเก็บเป็นรายการย่อย ๆ โดย อาจจดั เรียงขอ้ มลู ใหเ้ หมือนแฟม้ ขอ้ มลู หลกั เพ่อื นาไปปรบั ปรุงแฟม้ ขอ้ มลู หลกั ใหท้ นั สมยั เม่อื ปฏบิ ตั ิงานเสรจ็ สิน้ ก็จะถกู ลบทงิ้ โดยอตั โนมตั ิ สว่ นใหญ่จะเก็บขอ้ มลู ท่ีใชใ้ นธรุ กจิ ประจาวนั เช่น แฟ้มขอ้ มลู รายการขายสนิ คา้ ประจาวนั รายการฝากถอนเงนิ ฯลฯ 3. แฟ้มดชั นี (Index File) เป็นแฟ้มขอ้ มลู ท่ถี กู สรา้ งขนึ้ เพ่ือชว่ ยในการประมวลผลขอ้ มลู ให้ รวดเรว็ ยิ่งขนึ้ โดยสว่ นใหญ่ถูกสรา้ งมาจากแฟม้ ขอ้ มลู หลกั คือ เป็นแฟม้ ดชั นีของแฟ้มขอ้ มลู หลกั น่นั เอง เพ่อื ชว่ ยในการคน้ หาขอ้ มลู ในแฟ้มขอ้ มลู หลกั ใหร้ วดเร็วยงิ่ ขนึ้ แฟ้มดชั นีเป็นแฟม้ ขอ้ มลู ท่ีผ่านการจดั เรียงแลว้ โดย

การจดั เรียงตาม คยี ห์ ลกั ของแฟ้มขอ้ มลู หลกั โดยปกตแิ ลว้ แฟม้ ดชั นีประกอบดว้ ย ฟิลด์ 2 ฟิลดด์ ว้ ยกนั คือ ฟิลด์ ท่เี ป็นคียห์ ลกั ของแฟม้ ขอ้ มลู หลกั และ ฟิลดท์ ่เี กบ็ ตาแหน่งระเบียนของคียห์ ลกั ในแฟ้มขอ้ มลู หลกั 4. แฟ้มงาน (Work File) เป็นแฟม้ ขอ้ มลู ท่ถี กู สรา้ งในระหว่างการทางานของโปรแกรมระบบงาน เม่อื สนิ้ สดุ การทางานของโปรแกรม แฟ้มขอ้ มลู ปะเภทนจี้ ะถกู ลบทงิ้ ทนั ที เช่น Temp File ท่ถี กู สรา้ งโดย ระบบวนิ โดว์ เป็นตน้ 5. แฟม้ รายงาน (Report File) เป็นแฟม้ ขอ้ มลู ท่ใี ชส้ าหรบั รายงานผลออกทางจอภาพ (Monitor) หรือทางเคร่ืองพิมพ์ (Printer) ซ่งึ เราสามารถจดั รูปแบบของรายงานไดต้ ามตอ้ งการ 6. แฟ้มสารอง (Backup File) เป็นแฟ้มขอ้ มลู ท่ีคดั ลอกขอ้ มลู จากแฟ้มขอ้ มลู หลกั เพ่ือสารอง เก็บไวเ้ ม่อื เกิดปัญหากบั แฟ้มขอ้ มลู หลกั กส็ ามารถนาแฟ้มสารองกลบั มาใชง้ านได้ ถือว่าเป็นแฟ้มท่มี ี ความสาคญั มากประเภทหนึ่ง • สรุปทา้ ยบท ขอ้ มลู สาหลบั การประมวลผลดว้ ยคอมพิวเตอรน์ นั้ อาจไดม้ าจากแหลง่ ขอ้ มลู ภายในหรอื ภายนอกองคก์ รซง่ึ ควรมคี ณุ สมบตั พิ ืน้ ฐานประกอบดว้ ย ความถกู ตอ้ ง มีความเป็นปัจจบุ นั ตรงตามความตอ้ งการ มีความสมบรู ณ์ และสามารถตรวจสอบได้ ทงั้ นีใ้ นการจดั การกบั ขอ้ มลู ดว้ ยคอมพิวเตอร์ จะจดั แบ่งขอ้ มลู ออกเป็นลาดบั ชนั้ เพ่อื งา่ ยต่อการเรียกใชข้ อ้ มลู จานวนมากท่เี ก่ียวขอ้ งสมั พนั ธก์ นั จะถกู เก็บรวบรวมไวท้ ่เี ดียวกนั เรยี กว่า ฐานขอ้ มลู ซ่งึ ช่วยใหก้ ารประมวลผลมีความสะดวกและงา่ ยยงิ่ ขึน้

บทที6่ การวิเคราะห์และพฒั นาระบบ 6.1 ความหมายของระบบ (System) ประกอบด้วยบคุ ลากร เครอื่ งมือ วัสดุ วิธีการ การจดั การ ซึง่ ท้ังหมดนีจ้ ะตอ้ งมีระบบในกาจดั การเพอ่ื ให้ บรรลจุ ุดประสงค์เดยี วกนั คาวา่ \"ระบบ\" เป็นคาทม่ี ีการเก่ยี วข้องกับการทางานและหนว่ ยงานและนิยมใชก้ ัน มาก เชน่ ระบบธุรกิจ (Business System) ระบบสารสนเทศ (Management Information System) ระบบการเรยี นการสอน (Instructional System) ระบบเครอื ข่ายคอมพิวเตอร์ (Computer Network System) เป็นตน้ เมอื่ ทาการศึกษาระบบใดระบบหนง่ึ นกั วิเคราะห์ระบบ จะตอ้ งเขา้ ใจการทางานของระบบนนั้ ใหด้ ี โดยการศกึ ษาว่า ระบบทาอะไร (What) ทาโดยใคร (Who) ทา เม่อื ไร (When) และทาอย่างไร (How) นักวิเคราะหร์ ะบบ (System Analyst หรอื SA) ซง่ึ ไดแ้ ก่ บคุ คลที่มหี นา้ ที่วเิ คราะห์และออกแบบระบบจะต้องเขา้ ใจการทางานของระบบนนั้ ๆ ว่าเป็นอยา่ งไรและอะไร คือความต้องการของระบบไดม้ ผี ้ทู ่ีให้ความหมายและคาอธิบาย ของคาว่า “ระบบ” ไวห้ ลายท่านดว้ ยกนั เชน่ บานาธี (Banathy. 1968) ใหค้ วามหมายของระบบว่าเป็นการรวบรวมสง่ิ ต่าง ๆ ทงั้ หลายท่ีมนษุ ย์ได้ ออกแบบ และคิดสรา้ งสรรค์ขนึ้ มา เพือ่ จัดดาเนินการให้บรรลผุ ลตามเป้าหมายท่ีวางไว้กูด (Good. 1973) ใหค้ วามหมายของระบบวา่ หมายถึง การจดั การสว่ นตา่ งๆ ทกุ ส่วนใหเ้ ป็นระเบยี บโดยแสดงความสมั พนั ธ์ซึง่ กันและกันของส่วนต่าง ๆ และความสัมพนั ธข์ องแตล่ ะสว่ นกบั ส่วนทงั้ หมดอยา่ งชดั เจนซมพรวี ิโว (Semprevivo. 1976) อธิบายว่า ระบบ คือ องคป์ ระกอบต่าง ๆ ทที่ างานเกีย่ วโยงสมั พันธ์กันเพื่อให้ เกดิ ผลอย่างใดอย่างหนง่ึ กล่าวไดว้ ่า ระบบคอื การปฏสิ ัมพันธข์ ององค์ประกอบทัง้ หลายในการปฏิบ้ตหิ น้าที่ และการดาเนนิ งานดงั นนั้ สามารถสรุปได้วา่ ระบบ หมายถงึ การทางานรว่ มกันของสว่ นประกอบแตล่ ะสว่ น อยา่ งมีความสัมพันธ์กันอย่างตอ่ เนอ่ื งเพอ่ื นาไปสู่ความสาเร็จตามเปา้ หมายทีไ่ ด้วางไว้

6.2 นกั วิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบ • หนา้ ที่ของนกั วเิ คราะหแ์ ละออกแบบระบบ หน้าทีข่ องนักวเิ คราะห์และออกแบบระบบ คอื วิเคราะห์ และออกแบบระบบงานตามความต้องการของ หวั หน้า โครงการ ผใู้ ช้ และเจ้าของระบบ ดงั นั้นสิ่งท่ีนกั วิเคราะห์ระบบตอ้ งการคือข้อเท็จจริง(Fact) ทง้ั หมด ของระบบงานน้นั ๆ ขอ้ เท็จจริงในทนี่ ี้ไม่ได้หมายถงึ เฉพาะข้อมลู (Data) และขั้นตอนการทางาน (Process)เทา่ นัน้ แตไ่ ดค้ รอบคลุมถงึ ทกุ สิง่ ที่ประกอบกนั ขนึ้ มาเป็นระบบงานนน้ั ๆ ท้งั ทเี่ กดิ ขนึ้ กอ่ น และหลงั จากการผ่านข้นั ตอนการทางานต่างๆ เง่อื นไขการดาเนินการทางธุรกจิ (Business Rules หรอื Business Conditions) และสภาพแวดล้อมทางกายภาพตา่ งๆ (Environment) ทมี่ ีหรอื อาจมผี ลกระทบในการดาเนินการโดยนกั วเิ คราะห์ระบบนาข้อเทจ็ จรงิ เหล่าน้นั มาเป็นขอ้ มลู ประกอบการจดั ทาโครงการรวมถึงวิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบดว้ ยดังน้นั หน้าทอี่ ีกอย่างหน่ึงที่ นกั วเิ คราะหร์ ะบบจะต้องดาเนนิ การ เพอ่ื ให้ไดข้ อ้ เทจ็ จรงิ (Fact) ดังกล่าวคอื “การเก็บรวบรวมข้อเท็จจรงิ และ สารสนเทศท้ังหมดของระบบ (Fact-Finding and Information Gathering)” Fact-Finding เป็นกระบวนการหรอื กรรมวธิ ใี นการเก็บรวบรวมขอ้ เทจ็ จรงิ ทง้ั หมดของระบบงานที่ ตอ้ งการพัฒนา ได้แก่ความสัมพันธข์ องขอ้ มูลในระบบงาน ข้นั ตอนการทางานของระบบงาน ความต้องการของ

เจา้ ของ ระบบงาน รวมทั้งสว่ นประกอบตา่ งๆ ที่มคี วามสมั พนั ธแ์ ละมีผลกระทบกบั ระบบงานน้ัน โดย ทาการคน้ ควา้ วิจยั สัมภาษณบ์ คุ คล จดั ทาแบบสอบถาม ตวั อย่าง เอกสาร เป็นต้น วิธีการตา่ งๆ เหล่านจี้ ดั เป็น ทฤษฎีแบบดง้ั เดิมท่ียงั ไดร้ ับความนิยมและนามาใช้ในการเก็บรวบรวมข้อเท็จจริงของระบบอยู่อย่างตอ่ เน่ือง 6.3 คณุ สมบตั ิของนักวเิ คราะหร์ ะบบ คุณสมบัติของนักวิเคราะหร์ ะบบ ผ้ทู ี่จะทาหนา้ ทีเ่ ป็นนักวเิ คราะห์ระบบได้จะตอ้ งมีคณุ สมบตั ิดงั ต่อไปน้ี 1. ความรูท้ างด้านการเขียนโปรแกรม เพื่อจะไดส้ อื่ สารกับโปรแกรมเมอร์ได้อย่างมีประสิทธภิ าพ นกั วเิ คราะหจ์ ะตอ้ งเข้าใจวา่ ส่ิงใดท่ีจะเขยี นโปรแกรมได้ หรือเขยี นไม่ได้ 2. นักวิเคราะห์ระบบเปรียบเทียบเหมือนผจู้ ัดการทัว่ ไป จะเป็นผ้ทู ตี่ ดั สินใจในการกาหนดออกแบบ ระบบทัง้ หมด 3. นกั วิเคราะหร์ ะบบจะต้องเป็นผู้ทใี่ หค้ าแนะนาดา้ นเทคนคิ ท่ีควรจะเป็นใหแ้ ก่โปรแกรมเมอร์ ผ้อู อกแบบรายงานแบบตา่ ง ๆ และวิศวกร

4. นกวเิ คราะหร์ ะบบจะตอ้ งเข้าใจระบบที่จะทาการออกแบบและคนที่อย่ใู นระบบนั้น 5. นักวเิ คราะหร์ ะบบจะตอ้ งเป็นผู้ที่ทาหน้าทเี่ ป็นสอื่ กลางหรอื ลา่ มระหวา่ งนักธรุ กิจ ผู้ต้องการให้ ออกแบบระบบกับโปรแกรมเมอร์หรือผู้ใช้ระบบ 6. นักวเิ คราะห์ระบบควรจะมคี วามรทู้ างด้านภาษาช้นั สูง (High-Level Language) อย่างนอ้ ย 1 ภาษาหรือความรทู้ างด้าน Fourth Generation Prototyping Language 7. นักวิเคราะห์ระบบจะเป็นผู้ทีต่ ิดตามประมวลผลระบบที่ออกแบบและตดิ ตง้ั วา่ ไดร้ ับผลตาม วัตถปุ ระสงคท์ ่วี างไวต้ ง้ั แต่ตน้ หรือเปล่า รวมทั้งการประเมนิ ออกมาเป็นตัวเลขเพอ่ื ชแ้ี จงให้ผู้ทอี่ อกแบบระบบ เข้าใจ 8. นักวเิ คราะห์ระบบควรจะมีมนษุ ยสมั พันธ์ทด่ี ี เนื่องจากนักวิเคราะหร์ ะบบจะต้องเกี่ยวขอ้ งกับคนใน ทุกระดบั ในองคก์ ร รวมถงึ ระบบปฏบิ ตั ิการ ช่างเทคนิค พนกั งานบัญชี เลขานุการ พนักงานธุรการ ซึง่ เป็นส่วนท่ี มคี วามสาคัญทสี ุf 9. นักวิเคราะห์ระบบทดี่ ี ควรจะมปี ระสบการณ์ทางดา้ นการออกแบบระบบพอสมควร โดยในช่วงแรก อาจจะเร่ิมต้นจากการเป็นโปรแกรมเมอร์ และการออกแบบเลก็ ๆ นอ้ ย ๆ ในระบบ เช่น การออกแบบรายงาน งา่ ย ๆ การออกแบบหนา้ จอ (Screen Design) เป็นต้น

6.4 วงจรการพฒั นาระบบ งานพฒั นาระบบสารสนเทศจะมกี ิจกรรมและขั้นตอนต่าง ๆ มากมาย รวมถงึ ความซับซ้อนของระบบงาน ดงั น้นั การมีแนวทางทีเ่ ป็นลาดับข้ันตอน ทสี่ ่งผลต่อมาตรฐานของระบบงานจึงเป็นสิ่งท่ีนักวิเคราะหร์ ะบบ ตอ้ งการ เพอ่ื ส่งผลให้งานวิเคราะห์ระบบเป็นไปในทิศทางเดียวกัน มขี ้นั ตอนลาดับกจิ กรรมทตี่ อ้ งทาอย่าง ชดั เจนในแตล่ ะข้นั ตอน จึงเกิด “วงจรพัฒนาระบบ” ขนึ้ มา วงจรพัฒนาระบบ(System Development Life Cycle : SDLC) วงจรการพฒั นาระบบ หรอื มกั เรียกสนั้ ๆ ว่า SDLC เป็นวงจรท่แี สดงถงึ กิจกรรมตา่ งๆ ท่เี ป็นลาดบั ขั้นตอน ในการพัฒนาระบบ ซ่งึ SDLC ประกอบด้วยกจิ กรรม 7 ระยะดว้ ยกัน ดังนี้ 1. การกาหนดปัญหา 2. การวเิ คราะห์ 3. การออกแบบ 4. การพัฒนา 5. การทดสอบ 6. การนาระบบไปใช้ 7. การบารงุ รกั ษา

ระยะที่ 1 การกาหนดปัญหา นักวเิ คราะหร์ ะบบจะต้องศึกษาเพอ่ื ค้นหาปัญหา ขอ้ เท็จจริงท่แี ท้จรงิ ซึ่งหากปญั หาที่ค้นพบ มใิ ช่ปญั หาท่ี แทจ้ รงิ ระบบงานทพี่ ัฒนาขนึ้ มากจ็ ะตอบสนองการใชง้ านไม่ครบถ้วน ปัญหาหนึง่ ของระบบงานที่ใช้ในปจั จุบันคือ โปรแกรมท่ีใชง้ านในระบบงานเดิมเหล่านั้นถูกนามาใชง้ าน ในระยะเวลาท่เี นิ่นนานอาจเป็นโปรแกรมทีเ่ ขียนขนึ้ มาเพื่อตดิ ตามผลงานใดงานหนง่ึ โดยเฉพาะเทา่ นนั้ ไม่ได้ เช่ือมโยงถงึ กนั เป็นระบบ ดงั นัน้ นกั วิเคราะหร์ ะบบจงึ ตอ้ งมองเหน็ ปญั หาทเี่ กิดขนึ้ ในทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กับระบบงานทีจ่ ะพฒั นา แลว้ ดาเนินการแกไ้ ขปญั หา ซึง่ อาจมแี นวทางหลายแนวทาง และคัดเลอื กแนวทาง ทด่ี ที สี่ ดุ เพ่ือนามาใชใ้ นการแก้ปัญหาในคร้งั นี้ อย่างไรกต็ าม แนวทางท่ีดีทส่ี ุดอาจไมถ่ ูกเลือกเพื่อมาใช้งาน ท้งั น้เี นอ่ื งจากแนวทางทด่ี ีท่ีสุด สว่ นใหญ่ตอ้ ง ใช้งบประมาณสูง ดงั นัน้ แนวทางทีด่ ที ่ีสดุ ในทนี่ ี้คงไมใ่ ชร่ ะบบที่ต้องใชง้ บประมาณแพงลบิ ล่วิ แต่เป็นแนวทาง ท่ีเหมาะสมสาหรบั การแกไ้ ขในสถานการณ์นน้ั ๆ เป็นหลักสาคัญ ท่ตี ง้ั อยูบ่ นพน้ื ฐานของงบประมาณคา่ ใช้จ่าย และเวลาทีจ่ ากัด อยา่ งไรก็ตามในขน้ั ตอนการกาหนดปญั หานี้ หากเป็นโครงการขนาดใหญอ่ าจเรียกขนั้ ตอนน้ี ว่า ข้ันตอนการศึกษาความเป็นไปได้

สรุปขนั้ ตอนของระยะการกาหนดปัญหา 1. รบั ร้สู ภาพของปัญหาท่เี กดิ ขนึ้ 2. ค้นหาต้นเหตุของปัญหา รวบรวมปัญหาของระบบงานเดมิ 3. ศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการพัฒนาระบบ 4. จัดเตรยี มทีมงานและกาหนดเวลาในการทาโครงการ 5. ลงมือดาเนินการ ระยะที่ 2 การวเิ คราะห์ การวเิ คราะห์ จะตอ้ งรวบรวมข้อมลู ความตอ้ งการ (Requirements) ต่างๆ มาใหม้ ากทสี่ ุด ซง่ึ การสืบคน้ ความต้องการของผู้ใชส้ ามารถดาเนินการได้จากการรวบรวมเอกสารการสัมภาษณ์ การออกแบบ สอบถาม และการสงั เกตการณ์บนสภาพแวดลอ้ มการทางานจรงิ เมอื่ ไดน้ าความต้องการมาผ่านการวิเคราะห์เพื่อสรุปเป็นข้อกาหนดทชี่ ดั เจนแล้ว ขนั้ ตอนต่อไปของ นักวิเคราะหร์ ะบบกค็ อื การนาขอ้ กาหนดเหล่าน้ันไปพฒั นาเป็นความตอ้ งการของระบบใหมด่ ว้ ยการพัฒนา เป็นแบบจาลองขนึ้ มา ซ่งึ ไดแ้ ก่ แบบจาลองกระบวนการ (Data Flow Diagram) และแบบจาลองข้อมูล (Data Model) เป็นตน้ สรุปขัน้ ตอนของระยะการวเิ คราะห์ 1. วเิ คราะหร์ ะบบงานปัจจบุ ัน

2. รวบรวมความตอ้ งการ และกาหนดความตอ้ งการของระบบใหม่ 3. วเิ คราะห์ความตอ้ งการเพ่ือสรปุ เป็นข้อกาหนด 4. สรา้ งแผนภาพ DFD และแผนภาพ E-R ระยะท่ี 3 การออกแบบ เป็นระยะที่นาผลลพั ธท์ ีไ่ ดจ้ ากการวิเคราะห์ ทเี่ ป็นแบบจาลองเชิงตรรกะมาพฒั นาเป็นแบบจาลองเชงิ กายภาพ โดยแบบจาลองเชงิ ตรรกะทีไ่ ดจ้ ากขน้ั ตอนการวิเคราะห์ มงุ่ เน้นว่ามีอะไรท่ีตอ้ งทาในระบบในขณะท่ี แบบจาลองเชงิ กายภาพจะนาแบบจาลองเชิงตรรกะมาพฒั นา ต่อดว้ ยการมงุ่ เนน้ ว่าระบบดาเนินการอย่างไร เพอ่ื ให้เกดิ ผลตามต้องการ งานออกแบบระบบประกอบด้วยงานออกแบบสถาปัตยกรรมระบบท่ีเกี่ยวข้องกับ ฮารด์ แวร์ ซอฟตแ์ วร์ และระบบ เครอื ขา่ ย การออกแบบรายงาน การออกแบบหนา้ จออินพุตข้อมลู การ ออกแบบผงั งานระบบ การออกแบบฐานขอ้ มูล และการออกแบบโปรแกรม เป็นตน้ สรุปขนั้ ตอนของระยะการออกแบบ 1. พจิ ารณาแนวทางในการพัฒนาระบ 2. ออกแบบสถาปัตยกรรมระบบ 3. ออกแบบรายงาน 4. ออกแบบหน้าจออินพตุ ขอ้ มูล 5. ออกแบบผงั งานระบบ 6. ออกแบบฐานข้อมูล 7. การสร้างตน้ แบบ 8. การออกแบบโปรแกรม

ระยะที่ 4 การพฒั นา เป็นระยะท่ีเกี่ยวข้องกับการพัฒนาโปรแกรม โดยทีมงานโปรแกรมเมอรจ์ ะตอ้ งพฒั นาโปรแกรมตามท่ี นักวเิ คราะหร์ ะบบไดอ้ อกแบบไว้ การเขียนชุดคาส่ังเพอื่ สร้างเป็นระบบงานทางคอมพิวเตอรข์ นึ้ มา โดย โปรแกรมเมอร์สามารถนาเคร่ืองมอื เข้ามาช่วยในการพัฒนาโปรแกรมได้เพือ่ ชว่ ยใหร้ ะบบงานพัฒนาไดเ้ ร็วขนึ้ และมคี ุณภาพ สรุปขนั้ ตอนของระยะการพัฒนา 1. พัฒนาโปรแกรม 2. เลอื กภาษาโปรแกรมที่เหมาะสม 3. สามารถนาเครือ่ งมือมาชว่ ยพัฒนาโปรแกรมได 4. สรา้ งเอกสารประกอบโปรแกรม ระยะท่ี 5 การทดสอบ เมือ่ โปรแกรมไดพ้ ฒั นาขนึ้ มาแล้ว ยังไมส่ ามารถนาระบบไปใช้งานได้ทันทจี าเป็นตอ้ งดาเนินการทดสอบ ระบบก่อนท่จี ะนาไปใช้งานจริงเสมอ ควรมีการทดสอบขอ้ มลู เบื้องตน้ ก่อน ดว้ ยการสรา้ งขอ้ มลู จาลองขนึ้ มา เพ่อื ใชต้ รวจสอบการทางานของระบบงาน หากพบขอ้ ผดิ พลาดกป็ รับปรงุ แกไ้ ขให้ถูกต้อง การทดสอบระบบจะ มีการตรวจสอบไวยากรณข์ องภาษาเขียน และตรวจสอบว่าระบบตรงกับความตอ้ งการของผ้ใู ช้หรอื ไม่ สรุปขนั้ ตอนของระยะการทดสอบ 1. ทดสอบไวยากรณ์ภาษาคอมพิวเตอร์ 2. ทดสอบความถูกต้องของผลลพั ธ์ทไี่ ด้ 3. ทดสอบวา่ ระบบทีพ่ ฒั นาตรงตามความต้องการของผูใ้ ช้หรือไม่

ระยะท่ี 6 การนาระบบไปใช้ เมอ่ื ดาเนินการทดสอบระบบจนมัน่ ใจว่าระบบที่ไดร้ ับการทดสอบนั้นพร้อมท่ีจะนาไปตดิ ตงั้ เพือ่ ใชง้ าน บนสถานการณจ์ ริง ข้นั ตอนการนาระบบไปใช้งานอาจเกดิ ปญั หา จากการทรี่ ะบบท่ีพฒั นาใหม่ไมส่ ามารถ นาไปใชง้ านแทนระบบงานเดิมได้ทนั ที จงึ มคี วามจาเป็นตอ้ งแปลงขอ้ มลู ระบบเดิมใหอ้ ยู่ในรูปแบบท่ีระบบใหม่ สามารถนาไปใช้งานได้เสียก่อน หรอื อาจพบข้อผิดพลาดท่ไี มค่ าดคิดเมื่อนาไปใชใ้ นสถานการณจ์ รงิ ครนั้ เมอ่ื ระบบสามารถรนั ไดจ้ นเป็นที่น่าพอใจท้ังสองฝ่าย ก็จะตอ้ งจดั ทาเอกสารคู่มือระบบ รวมถึงการฝึกอบรมผ้ใู ช้ สรุปขั้นตอนของระยะการนาระบบไปใช้ 1. ศึกษาสภาพแวดล้อมของพนื้ ทก่ี อ่ นทีจ่ ะนาระบบไปติดตง้ั 2. ติดตั้งระบบใหเ้ ป็นไปปตามสถาปัตยกรรมที่ออกแบบไว้ 3. จดั ทาคมู่ อื ระบบ 4. ฝึกอบรมผใู้ ช้ 5. ดาเนนิ การใช้ระบบงานใหม่ 6. ประเมินผลการใช้งานของระบบใหม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook