Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลโครงการการประชุมสัมมนาเครือข่ายการจัดการความรู้ ครั้งที่ 12

รายงานผลโครงการการประชุมสัมมนาเครือข่ายการจัดการความรู้ ครั้งที่ 12

Published by taweelap_s, 2019-07-21 22:17:07

Description: รายงานผลโครงการการประชุมสัมมนาเครือข่ายการจัดการความรู้ ครั้งที่ 12 (KM12 RMUT+2)

Keywords: KM rmut

Search

Read the Text Version

1

คำนำ โครงการประชุมสัมมนาเครือข่ายการจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สถาบันการ พลศกึ ษา และสถาบันบณั ฑติ พฒั นศลิ ป์ ครัง้ ที่ 12 “การจดั การความรูส้ ู่มหาวทิ ยาลยั นวตั กรรม” (Knowledge Management to be Innovative University) ระหว่างวันที่ 25 – 28 กุมภาพันธ์ 2562 ณ โรงแรมเอเชีย แอร์พอร์ท จังหวัดปทุมธานี เป็นกิจกรรมที่สนับสนุนการดาเนินงานร่วมกันของสถาบันในเครือข่ายการจัดการ ความรู้ ที่จัดต่อเน่ืองในทุกปี การดาเนินการโครงการดังกล่าวมีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาบุคลากรระหว่าง เครือข่ายการจัดการความรู้และผู้สนใจ โดยการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวปฏิบัติท่ีดีและปัจจัย ความสาเร็จ ใช้ในการพัฒนาการทางานของบุคลากรให้มีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึน เช่น การเผยแพร่องค์ความรู้ ของเครือข่ายการจัดการความรู้สู่สังคม และเพื่อเป็นแนวทางพัฒนามหาวิทยาลัย/สถาบัน ในเครือข่าย มุ่งสู่ องค์กรแห่งการเรียนรู้ โดยในปี พ.ศ. 2562 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ได้รับเป็นเจ้าภาพในการ ดาเนนิ งาน รายงานผลการดาเนินงานโครงการฉบบั น้ี ประกอบดว้ ยการรายงานจานวนผู้เขา้ รว่ มโครงการ การสรปุ การบรรยายพิเศษและการบรรยายทางวิชาการ การประกวดแนวปฏิบัติท่ีดีของกลุ่มอาจารย์/บุคลากรสาย สนบั สนนุ และกลมุ่ นกั ศึกษา การแลกเปลีย่ นเรียนรแู้ นวปฏบิ ตั ทิ ี่ดี (ชมุ ชนนักปฏบิ ัติจานวน 7 CoP) งบประมาณ ในการดาเนินงาน การประเมนิ ความพงึ พอใจของผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ขอขอบคุณรองศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ป่ินปฐมรัฐ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และรองศาสตราจารย์ ดร.สิรี ชัยเสรี ท่ีให้ความอนุเคราะห์ เป็นวิทยากรบรรยาย ผู้บริหารของสถาบันในเครือข่ายการจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สถาบันการพลศึกษา และสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ ทุกแห่งท่ีเห็นความสาคัญและอนุญาตให้ผู้บริหาร อาจารย์ บคุ ลากร นกั ศกึ ษา เข้ารว่ มโครงการ และให้ความร่วมมอื ในการสนบั สนนุ การจัดโครงการเปน็ อย่างดี สานักประกันคณุ ภาพการศึกษา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี มนี าคม 2562 2

สำรบัญ หน้ำ บทนำ 1 จำนวนผเู้ ขำ้ รว่ มโครงกำร 5 กำรดำเนินกจิ กรรมในโครงกำร 6 - พธิ เี ปิด 6 - การบรรยายพเิ ศษ / การบรรยายทางวิชาการ 13 - การประกวดแนวปฏบิ ตั ิทด่ี ี 13 - กลมุ่ อาจารย์/บุคลากรสายสนับสนนุ 13 - กลุ่มนักศกึ ษา 17 - การแลกเปล่ียนเรยี นรู้แนวปฏบิ ัตทิ ีด่ ี 22 - CoP 1 การเรยี นการสอนเพื่อพัฒนาบณั ฑิต : การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning 22 เพอื่ พัฒนาบณั ฑิตนักนวตั กรรม - CoP 2 งานวิจยั และงานสร้างสรรค์ : การสร้างงานวิจัยเชงิ นวัตกรรมเพ่ือนาไปใช้ 22 ในการพัฒนาประเทศ - CoP 3 การบรกิ ารวชิ าการ : บรกิ ารวชิ าการเสริมสร้างชุมชนนวัตกรรม 23 - CoP 4 การทานบุ ารงุ ศิลปวฒั นธรรม : นวัตกรรมสรา้ งสรรคส์ ูค่ วามย่งั ยนื ทางวฒั นธรรม 34 - CoP 5 การบรหิ ารจดั การ : การพฒั นาการบริหารจัดการกบั การสรา้ งฐานวัฒนธรรมองค์กร 41 - CoP 6 การประกันคณุ ภาพการศึกษา : การประยุกตน์ วัตกรรมสกู่ ารประกันคณุ ภาพการศึกษา 47 - CoP 7 การพฒั นานกั ศกึ ษา : กิจกรรมเสรมิ หลักสตู รเพ่ือพฒั นาบัณฑิตนักสร้างสรรค์นวตั กรรม 52 - พธิ ีปดิ 59 งบประมำณในกำรดำเนนิ งำน 62 ผลกำรประเมนิ ควำมพึงพอใจของผูเ้ ข้ำร่วมโครงกำร 63 ภำคผนวก 73 - โครงการ 76 - กาหนดการ 78 - คากล่าวรายงาน/คากลา่ วเปดิ /คากลา่ วปิด 82 - คาส่ังมหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล 87 - คาสง่ั มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี 94 - รายชอ่ื ผลงานท่ีสง่ เข้าประกวดแนวปฏบิ ัติทด่ี ี “การจดั การความรสู้ ู่มหาวิทยาลยั นวตั กรรม” 3

บทนำ เครอื ข่ายการจดั การความรู้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ได้เรมิ่ ดาเนินการตั้งแต่ พ.ศ. 2549 และ ลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) ฉบับแรกเมื่อวันท่ี 6 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552 โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลมีเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการในการพัฒนาบุคลากร เพ่ิม สมรรถนะ การทางานโดยใช้การจัดการความรู้เป็นเคร่ืองมือ อันจะน่าไปสู่ความสาเร็จขององค์กรและเป็น องค์กรแห่งการเรยี นรู้ (Learning Organization) โดยมีกรอบและแนวทางความร่วมมือ คอื 1) ร่วมกันจัดกิจกรรมการจัดการความรู้ การสร้างและแสวงหาความรู้ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้และ การสรา้ งคลงั ความรู้ 2) รว่ มกนั บริหารจดั การงบประมาณเพื่อใชใ้ นการดาเนนิ กจิ กรรมและพัฒนาระบบของเครือข่าย 3) ร่วมกันรวบรวม ตรวจสอบ ปรับปรุง จัดเก็บและยืนยันการเผยแพร่องค์ความรู้ที่มีความพร้อมใน การเผยแพร่สู่สาธารณะในระบบคลังความรูช้ ุมชนผา่ นเว็บไซต์ 4) ร่วมกันรวบรวมฐานข้อมูลความเชี่ยวชาญของบุคลากรภายในมหาวิทยาลัย/สถาบัน และองค์กร เครือข่ายของแต่ละมหาวิทยาลัย เพ่ือใช้ประโยชน์ในด้านการแลกเปล่ียนความรู้ทางวิชาการ งานวิจั ย การบริการวิชาการ และทานุบารุงศลิ ปวฒั นธรรมและสิง่ แวดล้อมผ่านเวบ็ ไซต์ของเครอื ขา่ ยฯ 5) ร่วมกันประชาสมั พันธ์ เผยแพร่ และจัดกจิ กรรมเพื่อการใชป้ ระโยชน์จากองคค์ วามรู้ และฐานข้อมูล ที่ไดจ้ ากการดาเนนิ การ พ.ศ. 2535 มีสถาบันเข้าร่วมเป็นเครือข่ายท่ีนอกเหนือจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล อีก 2 แห่ง จึงได้เปลี่ยนชื่อเป็น “เครือข่ายการจัดการความรู้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สถาบัน การพลศึกษา และสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ (RMUT KM+2)” โดยลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU) เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2556 และใช้มาจนถึงปัจจุบัน เครือข่ายมีการจัดกิจกรรมเพื่อสนับสนุนการ ดาเนินการของเครือข่ายโดยหมุนเวียนการเป็นเจ้าภาพ เครือข่ายได้มีการลงนามความร่วมมือใหม่อีกคร้ัง เนื่องจากมีการเปลี่ยนแปลงผู้บริหารของแต่ละหน่วยงาน ในวันท่ี 24 ธันวาคม พ.ศ. 2561 กิจกรรมดังกล่าวมี การจดั การอย่างต่อเน่ืองเป็นประจาทุกปีการศึกษา โดยในปีการศกึ ษา 2561 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล ธัญบุรเี ปน็ เจา้ ภาพหลักในการจดั กิจกรรมครง้ั น้ี ระหวา่ งวนั ท่ี 25 – 28 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2562 ณ โรงแรมเอเชยี แอรพ์ อร์ท จังหวดั ปทุมธานี ในนามเจ้าภาพหลัก ปีการศึกษา 2561 ขอขอบพระคณุ ทุกหน่วยงานในเครือข่ายท่ี ร่วมดาเนินกจิ กรรมดังกล่าวใหส้ าเร็จลลุ ่วงไปด้วยดี 4

บันทกึ ขอ้ ตกลงควำมรว่ มมือทำงวิชำกำร ด้ำนกำรจดั กำรควำมรู้ เครือข่ำยมหำวทิ ยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคล สถำบนั กำรพลศึกษำและ สถำบันบณั ฑติ พัฒนศิลป์ บันทึกข้อตกลงฉบับนี้ จัดทาข้ึนเพื่อแสดงความร่วมมือทางวิชาการในการจัดการความรู้ระหว่าง เครือขา่ ยมหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล สถาบนั การพลศกึ ษาและสถาบันบณั ฑิตพัฒนศิลป์ วัตถุประสงค์ เพ่ือให้มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สถาบันการพลศึกษาและสถาบันบัณฑิต พัฒนศิลป์ มีเครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการในการพัฒนาบุคลากรเพ่ือเพ่ิมสมรรถนะการทางานร่วมกัน โดยใช้การจัดการความรู้เป็นเคร่ืองมือเพื่อนาไปสู่ความสาเร็จขององค์กรและการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization) 1. กรอบและแนวทางความรว่ มมอื 1.1 รว่ มกันจดั กจิ กรรมการจดั การความรู้ การสรา้ งและแสวงหาความรู้ การแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ และ การสรา้ งคลงั ความรู้ 1.2 ร่วมกันบริหารจัดการงบประมาณเพื่อใช้ในการดาเนินกิจกรรมและการพัฒนาระบบเครือข่าย การจัดการความรู้ 1.3 ร่วมกนั รวบรวม ตรวจสอบ ปรบั ปรุง จัดเก็บ และยืนยนั การเผยแพร่องค์ความรทู้ ่ีมีความพร้อม โดยการเผยแพรส่ สู่ าธารณะในระบบคลังความร้ชู ุมชนผา่ นเว็บไซต์ของเครือข่ายฯ 1.4 ร่วมกันรวบรวมฐานข้อมูลความเช่ียวชาญของบุคลากรภายในมหาวิทยาลัย/สถาบัน และ องค์กรเครือข่ายของแต่ละมหาวิทยาลัย/สถาบัน เพ่ือใช้ประโยชน์ในด้านการแลกเปลี่ยนความรู้ทางวิชาการ งานวจิ ัย การบริการวชิ าการ และการทานบุ ารงุ ศลิ ปวฒั นธรรมและสิ่งแวดล้อมผ่านเว็บไซต์ของเครือขา่ ยฯ 1.5 ร่วมกันประขาสัมพันธ์ เผยแพร่ และจัดกิจกรรมเพื่อการใช้ประโยชน์จากองค์ความรู้ และ ฐานข้อมลู ที่ได้จากการดาเนินการ 2. ให้มีคณะกรรมการบริหารจัดการความรู้ ซ่ึงประกอบด้วยผู้เก่ียวข้องจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคล สถาบนั การพลศึกษา และสถาบันบัณฑิตพฒั นศิลป์ ทาหน้าที่บรหิ ารจัดการตามบันทึกข้อตกลงฉบับ นี้ 3. ระยะเวลาความร่วมมือมีผลต้ังแต่วันที่ลงนามความร่วมมือเป็นต้นไป การส้ินสุดความร่วมมือ หาก ฝ่ายใดฝ่ายหนงึ่ ต้องการยกเลกิ ตอ้ งแจง้ เปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษรใหท้ ุกฝา่ ยทราบทัว่ กนั อน่ึง ข้อตกลงความร่วมมืออาจมีการปรับปรุงเปล่ียนแปลงหรือเพิ่มเติมได้ตามความเหมาะสม โดยความเห็นชอบจากสมาชิกเครือข่ายทุกแห่ง โดยการทาเป็นบันทึกข้อตกลงเพิ่มเติมแนบท้ายและให้เป็น สว่ นหนึ่งของข้อตกลงฉบบั นี้ 5

วันที่ 24 เดือน ธันวำคม พ.ศ. 2561 6

ในปีการศึกษา 2561 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ได้รับมอบหมายให้เป็นเ จ้าภาพ จดั โครงการประชุมสัมมนาเครือข่ายการจดั การความรู้ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล สถาบนั การพลศึกษา และสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ คร้ังที่ 12 “การจัดการความรู้สู่มหาวิทยาลัยนวัตกรรม” ระหว่างวันที่ 25 – 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2562 ณ โรงแรมเอเชีย แอร์พอร์ท จังหวัดปทุมธานี สถาบันอุดมศึกษาจะก้าวไปสู่การบรรลุ วัตถุประสงค์ พันธกิจ เป้าหมาย และวิสัยทัศน์ได้จะต้องมีการดาเนินการบริหารจัดการองค์ความรู้ท่ีวิเคราะห์ แล้วว่ามีความจาเป็นต่อการขับเคล่ือนสถาบันให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามประเด็นยุทธศาสตร์ท่ีกาหนดขึ้น สถาบันการศึกษาจึงต้องเตรียมการรองรบั การจัดการศึกษาเพื่อผลิตบัณฑิต ที่มีความพร้อมในการเปลี่ยนแปลง นี้เพอ่ื กา้ วเข้าส่มู หาวิทยาลยั นวัตกรรม วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพื่อพัฒนาบุคลากรระหว่างเครือข่ายการจัดการความรู้และผู้สนใจ โดยการถ่ายทอดและ แลกเปล่ียนเรียนรู้แนวปฏิบัติที่ดีและปัจจัยความสาเร็จ เพื่อใช้ในการพัฒนาการทางานของบุคลากรให้มี ประสทิ ธภิ าพมากยงิ่ ข้นึ 2. เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้ของเครอื ข่ายการจดั การความรสู้ สู่ ังคม 3. เพ่ือเปน็ แนวทางพัฒนามหาวิทยาลัย/สถาบัน ในเครอื ขา่ ยมงุ่ สู่องคก์ รแห่งการเรียนรู้ กิจกรรม 1. การบรรยายพิเศษ “มหาวทิ ยาลยั นวตั กรรม” 2. การบรรยายทางวิชาการ เร่ือง การจดั การความรสู้ มู่ หาวทิ ยาลัยนวัตกรรม 3. การประกวดแนวปฏิบัติท่ีดี “การจัดการความรู้สู่มหาวิทยาลัยนวัตกรรม” ของอาจารย์/บุคลากร สายสนบั สนุนและนักศกึ ษา 4. การแลกเปล่ียนเรียนรู้แนวปฏิบัติที่ดี “ชุมชนนักปฏิบัติ” จานวน 7 ชุมชนนักปฏิบัติ (CoP) ประกอบด้วย CoP 1 การเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาบัณฑิต : การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning เพื่อ พฒั นาบัณฑิตนกั นวตั กรรม CoP 2 งานวิจัยและงานสร้างสรรค์ : การสร้างงานวิจัยเชิงนวัตกรรม เพื่อนาไปใช้ในการพัฒนา ประเทศ CoP 3 การบรกิ ารวชิ าการ : บรกิ ารวิชาการเสริมสรา้ งชุมชนนวตั กรรม CoP 4 การทานุบารงุ ศิลปวฒั นธรรม : นวัตกรรมสร้างสรรคส์ ู่ความยั่งยืนทางวัฒนธรรม CoP 5 การบริหารจดั การ : การพฒั นาการบรหิ ารจดั การกบั การสร้างฐานวัฒนธรรมองคก์ ร CoP 6 การประกนั คุณภาพการศกึ ษา : การประยุกตน์ วตั กรรมสูก่ ารประกนั คุณภาพ การศึกษา CoP 7 การพฒั นานักศึกษา : กิจกรรมเสรมิ หลกั สูตรเพ่อื พฒั นาบัณฑิตนักสร้างสรรคน์ วัตกรรม 5. นิทรรศการ “การจัดการความรู้สู่มหาวิทยาลัยนวัตกรรม” โปสเตอร์แนวปฏิบัติท่ีดี และ การแสดงผลงานนวัตกรรมจากชุมชน และมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 7

จำนวนผเู้ ข้ำรว่ มโครงกำร ผู้เข้าร่วมโครงการประกอบด้วยสมาชิกเครือข่ายการจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สถาบันการพลศึกษา และสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ บุคลากร นักศึกษา และผู้สนใจ จานวน 414 คน โดยมี รายละเอียดดังน้ี ตำรำงท่ี 1 จานวนผเู้ ขา้ รว่ มโครงการฯ จำนวนผเู้ ข้ำรว่ มโครงกำร สถำบนั บุคลำกร นกั ศึกษำ รวม 24 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรงุ เทพ 24 - 37 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก 88 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี 37 - 25 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 32 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลรตั นโกสินทร์ 88 - 24 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลลา้ นนา 38 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวชิ ยั 25 - 21 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภมู ิ 30 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน 32 - 43 สถาบันการพลศึกษา 50 สถาบนั บัณฑติ พฒั นศิลป์ 24 - 2 สถาบนั อื่นๆ 414 38 - รวมท้ังสน้ิ 21 - 25 5 43 - 37 13 2- 396 18 8

กำรดำเนนิ กิจกรรมในโครงกำรฯ พิธเี ปิด การแสดงตอ้ นรบั โดย นักศกึ ษาคณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี กล่าวรายงานวัตถุประสงค์การจัดโครงการ โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สิริแข พงษ์สวัสด์ิ รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและประกันคุณภาพการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เป็นผู้กล่าว รายงาน 9

พิธีเปิด โดยรองศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ปิ่นปฐมรัฐ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ธญั บุรี เปน็ ประธานเปิดโครงการ 10

การมอบโล่ ให้กบั สถาบนั เครอื ขา่ ยท่ีเข้าร่วมโครงการ โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ป่นิ ปฐมรฐั 11

12

กำรบรรยำยพิเศษ การบรรยายพิเศษหัวข้อ“RMUTT Innovative University มหาวิทยาลัยนวัตกรรมขับเคลื่อน เศรษฐกิจของประเทศ” โดย รองศาสตราจารย์ ดร.ประเสริฐ ป่ินปฐมรัฐ อธิการบดีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลธัญบุรี โดยท่านอธิการบดีได้สรุปผลการดาเนินงานท่ีผ่านมา และแผนการดาเนินการในอีก 5 ปี ขา้ งหน้า ของมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. ผลงานของมหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี ดา้ นบณั ฑิตนกั ปฏิบัตมิ ืออาชพี มดี ังน้ี - บัณฑิตท่ีประกอบอาชีพอิสระ หรือสร้างงานด้วยตนเอง หรือ Start up ภายใน 1 ปี หลงั สาเร็จการศึกษา 296 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 9.02 - บณั ฑิตท่ีไดง้ านทาในกลุม่ อุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศ ร้อยละ 81.42 - บัณฑิตระดับปริญญาตรีศึกษาต่อ หรือมีงานทาในต่างประเทศ หรือทางานในองค์กร/สถาน ประกอบการขา้ มชาติ หรือนานาชาติ ในประเทศ ร้อยละ 4.38 - บณั ฑิตได้รับอตั ราค่าจา้ งเกนิ กว่ามาตรฐาน รอ้ ยละ 38.59 - ความพึงพอใจของสถานประกอบการ/นายจ้างในด้านคุณภาพของบัณฑิตนักปฏิบัติ มอื อาชีพ ร้อยละ 86.20 2. ผลงานดา้ นหลกั สูตรการเรียนการสอนของมหาวิทยาลยั มดี งั น้คี อื - 2.1 พัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ และนักศึกษาสอบผ่านสมรรถนะวิชาชีพตามหลักสูตร ร้อยละ 93.15 - 2.2 พัฒนาหลักสูตรบัณฑิตพันธ์ุใหม่ หลักสูตรโครงการบัณฑิตพันธ์ุใหม่ และกาลังคนท่ีมี สมรรถนะเพือ่ ตอบโจทยภ์ าคการผลติ ตามนโยบายการปฏิรปู การอุดมศึกษาไทย จานวน 8 หลกั สูตร - 2.3 พัฒนาหลักสูตรที่หลากหลายและทันสมัยรองรับความต้องการของกลุ่มเป้าหมายใหม่ เช่น หลักสูตรการจดั การโลจสิ ตกิ และซพั พลายเชนต์ หลักสตู รนวัตกรรมผลิตภัณฑส์ ขุ ภาพ 3. มหาวิทยาลัยฯ ต้องเปลี่ยนแปลงเนื่องจากนโยบายของรัฐบาล (Thai Economy 4.0) จาก “ทามากได้น้อย” (สินค้า อุตสาหกรรม การขายสินค้า) เป็น “ทาน้อยได้มาก” (นวัตกรรม เทคโนโลยีการ ให้บริการ) ซึ่งมหาวิทยาลัยพบว่ารายได้หลักจากนักศึกษามีแนวโน้มลดลง มหาวิทยาลัยควรเปลี่ยนเป้าหมาย เพือ่ ความอยรู่ อดของมหาวิทยาลัย ดังนี้ - จดั ฝึกอบรม ระยะสัน้ และระบบ Credit Bank ทดแทนรายได้ทล่ี ดลง - การต้งั ศนู ย์ COE เพือ่ หางานจากภายนอก (เปล่ยี นจากเด็กเลี้ยงครู สคู่ รเู ลีย้ งเดก็ และสร้าง นักนวตั กร ดว้ ยระบบ On the Job Training แบบผ้ชู ว่ ยนักวจิ ัย) - งานวิจยั จะต้องสร้าง Prototype ให้มากขึ้น - หลักสตู ร ต้องสอนให้นักศกึ ษาเป็นผู้ประกอบการ และมีการพัฒนานักศึกษาด้าน Soft Skill เช่น ภาษาตา่ งประเทศ และ IT เป็นต้น 4. ภายใน 5 ปีข้างหน้ามหาวิทยาลัยฯ จะมุ่งเน้นการผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติมืออาชีพสู่การสร้างนวัตกร เพือ่ ประเทศไทยก้าวขา้ มกบั ดักประเทศทีม่ รี ายได้ปานกลาง และลดความเหลอ่ื มลา้ ภายในประเทศลดลง 5. มหาวิทยาลัยจะมุ่งเน้นการผลิตบัณฑิตท่ีเป็น Premium ซึ่งต้องปรับตัวให้บัณฑิต 1 คนสามารถ ทางานได้หลายอย่าง รวมถึงต้องมี Soft Skill ต่างๆ เพ่ิมเติม และต้ังเป้าหมายว่าบัณฑิตควรได้รับเงินเดือน เร่มิ ตน้ ไมต่ ่ากว่า 25,000 บาท หรอื บณั ฑติ สามารถทางานตา่ งประเทศได้เพ่ิมขึ้น 6. มหาวิทยาลัยฯ มีเป้าหมายในการพัฒนาการศึกษา พัฒนานวัตกรรมเฉพาะทาง และสร้างนวัตกรสู่ ภาคอุตสาหกรรมให้มากข้ึน ผู้บริหาร อาจารย์ควรปรับเปล่ียนแนวความคิดจากเดิม “ใช้เงินไปสร้างงาน” เปลี่ยนเป็น “การสร้างงานไปแลกเงิน” และการสร้างนวัตกรรมจาเป็นต้องทางานร่วมกันทั้งภายในและ 13

ภายนอกมหาวิทยาลัย มีการทางานข้ามสายงาน ข้ามมหาวิทยาลัย และงานวิจัยตอบโจทย์ภาคอุตสาหกรรม รวมทงั้ ทาให้อตุ สาหกรรมไทยแข่งขนั ในตลาดโลกได้ กำรบรรยำยทำงวชิ ำกำร การบรรยายทางวิชาการ โดยวิทยากรรับเชิญ หัวข้อ “การจัดการความรู้สู่มหาวิทยาลัยนวัตกรรม” โดยรองศาสตราจารย์ ดร.สิรี ชยั เสรี รองอธกิ ารบดีฝา่ ยวจิ ัย มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ 1. มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ มีการจัดการความรู้ และการปฏิบัติ ดังน้ี - มหาวทิ ยาลยั มเี ครอื ขา่ ยงานวจิ ัยท่ัวโลก - มหาวิทยาลัยทราบว่านักวิจัยเก่งเร่ืองใดบ้าง และใช้ประโยชน์จากความเช่ียวชาญของ อาจารย์ - มหาวทิ ยาลยั นาระบบฐานขอ้ มลู https://research.ku.ac.th/forest/ (KU Forest) ซึง่ เก็บ ข้อมูลงานวิจัยต้ังแต่เร่ิมก่อตั้งมหาวิทยาลัยจนถึงปัจจุบัน โดยมีการวิเคราะห์ด้วยระบบ AI ข้อมูลวิจัยระดับ สถาบัน จนถึงระดบั บคุ คล ทาให้ผูบ้ รหิ ารทราบวา่ นกั วิจัยเชี่ยวชาญด้านใด หาทุนวิจยั ซ้ือเครอ่ื งมอื จานวนเท่าใด หรือข้อมูลการตีพิมพ์ของนักวิจัยแต่ละบุคคลได้ พร้อมกับบอกว่านักวิจัยท่านน้ันทางานร่วมกับใครบ้าง โดยใช้ ฐานข้อมูลมาเป็นเครอ่ื งมือกากับติดตามงาน - วัฒนธรรมองค์กรของมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ เน้นความเป็นเลิศด้านการบริการวิชาการ แกส่ งั คม โดยใชน้ โยบาย “ยงิ่ เปิดยิง่ ได้ ย่งิ หวงยง่ิ จน” - การไม่ใหง้ บประมาณ สร้างแรงกดดันใหก้ ับอาจารยอ์ อกไปหางบประมาณภายนอก 14

2. การจัดการความรู้ (KM) มผี ลต่อนวตั กรรม (Innovation) ก็ตอ่ เมื่อ - มกี ารใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ - กจิ กรรมความรู้ (Knowledge Activity) ซงึ่ ผบู้ รหิ ารระดับสูงของหนว่ ยงาน จะต้องทราบว่า ขุมทรัพย์ของมหาวิทยาลัยคืออะไร จึงนาไปทาให้เกิดการสร้างเงิน นอกเหนือไปกว่านั้นต้องมีความร่วมมือทั้ง ภายในและภายนอกมหาวทิ ยาลยั และจะต้องเป็นการทางานขา้ มศาสตรจ์ ึงประสบผลสาเรจ็ - ปกตินักวิจัยมีความเป็นอิสระสูงมาก จึงไม่สามารถทาให้เกิดผลกระทบที่ชัดเจนได้ ซ่ึงสิ่งที่ วิทยากรเน้นคือ การขาดการ Collaboration โดย Research Manager ซ่ึงรู้เทคโนโลยีจริง มีความสามารถท่ี จะส่อื สารกับนักวิจัยทัง้ หมดในทีมได้ และจะต้องทราบวา่ ควรเลอื กนักวจิ ยั ท่านใดมาทางานเร่ืองใด จงึ จะให้งาน ชน้ิ นน้ั สาเร็จลลุ ว่ ง - การถา่ ยทอดองค์ความรทู้ เ่ี หมาะสมกับนักวิจัย มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ แนะนาใหใ้ ช้การ Coaching และ Mentoring (ไม่ควรใช้การอบรม หรือการทา Workshop) อีกท้ังต้องคานึงว่านักวิจัยเป็น ศิลปิน ดงั น้ันถ้าไมช่ อบจะไม่แชรค์ วามร้ใู ห้คนอื่น แต่ถ้าเป็นผู้ทรี่ ักหรอื ชอบ เชน่ ลกู ศิษย์ เป็นตน้ จะแชร์ความรู้ ให้ท้ังหมด 15

กำรประกวดแนวปฏิบัติทดี่ ี การประกวดแนวปฏบิ ัติท่ีดี “การจัดการความรู้สูม่ หาวิทยาลัยนวตั กรรม” กลุ่มอาจารย์/บุคลากรสาย สนบั สนุน มีจานวนผลงานท่ีส่งเขา้ ร่วมประกวด จานวน 201 ผลงาน จาแนกเปน็ ประเภทบทความ จานวน 115 ผลงาน และประเภทโปสเตอร์ จานวน 86 ผลงาน โดยประเภทบทความมีผลงานท่ีผ่านเข้าสู่รอบการนาเสนอ จานวน 15 ผลงาน รายละเอียดของการส่งผลงานและรายชื่อผลงานท่ีผ่านเข้ารอบการนาเสนอ ดังตาราง ต่อไปน้ี ตำรำงท่ี 2 จานวนการส่งผลงานและผลงานที่ผ่านเขา้ รอบการนาเสนอ กลมุ่ อาจารย์ จำนวนผลงำน ลำดบั สถำบัน ประเภทบทควำม ประเภทโปสเตอร์ สง่ เข้ำ ผ่ำน ส่งเข้ำ ผำ่ น ประกวด เข้ำรอบ ประกวด เข้ำรอบ 1 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ 7 1 44 2 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลตะวนั ออก - - 22 3 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี 12 3 12 12 4 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร 5 1 5 5 5 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์ 2 - 2 2 6 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลล้านนา 7 1 99 7 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรีวชิ ัย 32 2 15 15 8 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสวุ รรณภูมิ 5 1 44 9 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน 13 1 10 10 10 สถาบันการพลศึกษา 7 1 77 11 สถาบนั บณั ฑติ พฒั นศลิ ป์ 18 3 12 12 12 มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ 4 - 22 13 มหาวทิ ยาลัยราชภฏั พระนครศรอี ยธุ ยา 2 1 22 14 วทิ ยาลัยเซาธอ์ ีสท์บางกอก 1 - -- รวม 115 15 86 86 ตำรำงที่ 3 รายช่อื ผลงานทีผ่ ่านเข้ารอบการนาเสนอ ประเภทบทความ กล่มุ อาจารย์ ลำดับ ชอื่ ผลงำน เจ้ำของผลงำน สังกดั 1. การพฒั นาระบบฐานข้อมูลดา้ นประกนั ชนิตา ไกรเพชร สถาบนั การพลศกึ ษา คุณภาพการศึกษาภายใน : IPA QA สขุ เสนอ รตั นรังสิกุล Online เพ็ชร ห้อยตะขบ 2 การจัดการเรียนรู้: การบูรณาการการเรยี น วนั ทนยี ์ เขตต์กรณ์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี การสอนสู่ยุคไทยแลนด์ 4.0 ราชมงคลธญั บุรี 16

ลำดับ ชือ่ ผลงำน เจ้ำของผลงำน สงั กัด 3 การประยุกต์กระบวนการวิจัยส่กู าร จรยิ า ตะลังวทิ ย์ สถาบนั บณั ฑิตพฒั นศิลป์ พัฒนาการเรยี นการสอน 4 แนวทางการเสนอหวั ข้อวจิ ยั /สร้างสรรค์ให้ ชัญญาภัค แกว้ ไทรทว้ ม สถาบันบณั ฑติ พฒั นศลิ ป์ ได้รับทนุ 5 การสรา้ งความร่วมมือด้านการจดั การ นฤศร มงั กรศิลา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี ความร้สู มู่ หาวิทยาลัยนวัตกรรม ราชมงคลพระนคร 6 เทคนคิ การเขยี นขอ้ เสนอโครงการวจิ ยั เพือ่ โสภดิ า วศิ าลศกั ดิ์กุล ขอรบั ทุนสนบั สนุนจากงบประมาณแผน่ ดิน อรวลั ภ์ อปุ ถมั ภานนท์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี และงบภายนอกอ่ืนๆ ราชมงคลธญั บรุ ี 7 การจัดการความรเู้ พื่อพฒั นาระบบทะเบียน นชุ เนตร นาคะพันธ์ หนังสือราชการออนไลน์ : MT-Document กัญญา ผันแปรจติ ต์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี ราชมงคลศรวี ชิ ัย 8 แนวทางการพฒั นาการเขา้ สูต่ าแหนง่ ทาง สุภาพร ขนุ ทอง วิชาการของอาจารย์คณะศิลปศาสตร์ พรประเสรฐิ ทพิ ย์เสวต มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ ชฎาจนั ทร์ โชคนริ ันดรชยั ราชมงคลกรุงเทพ 9 ระบบการสั่งซื้อวสั ดุอุปกรณส์ านักงาน วีรภทั ร กนั แก้ว มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี ออนไลน์ จริ วฒั น์ แกว้ รากมุข ราชมงคลลา้ นนา ศรินยา โพธ์ินอก มหาวิทยาลัยราชภฏั 10 เทคนิคการจดั ทาวารสารวชิ าการเพื่อรองรับ เลิศชาย สถิตพนาวงศ์ พระนครศรอี ยุธยา การเขา้ สู่ฐาน TCI สจุ ิตกลั ยา มฤครฐั อนิ แปลงสขุ รักษ์ แซเ่ จี่ย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี 11 แนวปฏิบัติทีด่ ีสาหรับการยกระดบั บณั ฑิต สรุ นิ ทร์ ออ่ นนอ้ ม ราชมงคลอสี าน นกั ปฎิบตั ิสนู่ กั นวัตกรรมเพ่อื เปน็ กาลังของ สุจติ รา อ่นุ เรือน แผ่นดนิ ชดาษา เนนิ พลกรัง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี จริ าภา พร้อมสนั เทยี ะ ราชมงคลสุวรรณภมู ิ 12 การพัฒนาศกั ยภาพผปู้ ระกอบการโอทอป นฤมล ตงั้ สุณาวรรณ ดว้ ยวทิ ย์สร้างอาชพี ในพืน้ ทีจ่ ังหวัดชัยนาท ณัฏฐ์ สิรวิ รรธนานนท์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี กิตติ บุญเลศิ นิรันดร์ ราชมงคลธญั บรุ ี 13 โครงการพฒั นาศักยภาพทางธุรกิจสาหรับ ชยั ยพล ธงชยัสรุ ัชต์กลู วสิ าหกจิ ชมุ ชนหมู่ 7 ต.บงึ กาสาม อ.หนอง สลติ ตา สารบิ ตุ ร มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี เสอื จ.ปทมุ ธานี ต่อยอดสู่การบรู ณาการ ราชมงคลศรีวิชยั การเรียนรู้แบบ WIL สมบูรณ ประสงคจนั ทร พลชยั ขาวนวล สถาบนั บณั ฑิตพฒั นศิลป์ 14 การพัฒนาและการขยายผลเทคโนโลยเี ตา นชุ ลี ทิพยมณฑา ประหยัดพลงั งานในชมุ ชน ลุ่มน้าทะเลสาบ กติ ติชยั รัตนพนั ธ์ สงขลา 15 การผลิตโพนเพ่ือธรุ กิจชมุ ชน 17

ผลงานกลุ่มอาจารย์/บุคลากรสายสนับสนุนท่ีได้รับรางวัล มีจานวนทั้งสิ้น 11 รางวัล แบ่งเป็น ประเภทบทความ จานวน 6 รางวลั และประเภทโปสเตอร์ จานวน 5 รางวลั โดยมรี ายละเอยี ดดังตารางน้ี ตำรำงท่ี 4 รายชื่อผลงานที่ได้รบั รางวัลประเภทบทความ กลมุ่ อาจารย์ ประเภทรำงวัล ช่อื ผลงำน เจำ้ ของผลงำน สังกัด มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี บทควำมดีเด่น โครงการพฒั นาศกั ยภาพ สลิตตา สารบิ ตุ ร ราชมงคลธญั บรุ ี เหรียญทอง ทางธรุ กิจสาหรบั วิสาหกจิ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี เงินรำงวลั 6,000 บำท ชุมชนหมู่ 7 ต.บงึ กาสาม ราชมงคลสุวรรณภมู ิ พรอ้ มโล่รำงวัลและ อ.หนองเสือ จ.ปทุมธานี มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลล้านนา เกยี รติบัตร ต่อยอดสู่การบูรณาการ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี การเรียนร้แู บบ WIL ราชมงคลพระนคร บทควำมดีเดน่ การพัฒนาศกั ยภาพ ณฏั ฐ์ สริ ิวรรธนานนท์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลอีสาน เหรยี ญเงนิ ผปู้ ระกอบการโอทอปด้วย กติ ติ บุญเลศิ นิรันดร์ สถาบนั บณั ฑิตพฒั นศลิ ป์ เงนิ รำงวลั 5,000 บำท วิทยส์ ร้างอาชีพในพื้นท่ี ชัยยพล ธงชยัสุรัชตก์ ลู พร้อมโลร่ ำงวัลและ จังหวัดชยั นาท เกยี รตบิ ัตร บทควำมดเี ดน่ ระบบการสัง่ ซ้ือวัสดอุ ุปกรณ์ วีรภัทร กันแก้ว เหรียญทองแดง สานักงานออนไลน์ จิรวัฒน์ แกว้ รากมุข เงินรำงวัล 4,000 บำท พร้อมโล่รำงวลั และ เกียรตบิ ตั ร บทควำมดเี ดน่ การสรา้ งความร่วมมือด้าน นฤศร มงั กรศิลา รำงวัลชมเชย การจดั การความรู้สู่ เงินรำงวัล 3,000 บำท มหาวทิ ยาลัยนวตั กรรม พรอ้ มเกียรตบิ ตั ร แนวปฏิบัติทดี่ ีสาหรบั การ สุรนิ ทร์ อ่อนน้อม (3 รำงวัล) ยกระดบั บัณฑิตนักปฏิบตั ิสู่ สุจิตรา อ่นุ เรอื น นกั นวตั กรรมเพ่ือเป็นกาลัง ชดาษา เนินพลกรัง ของแผน่ ดิน จริ าภา พร้อมสนั เทียะ นฤมล ตั้งสณุ าวรรณ การผลิตโพนเพื่อธรุ กจิ กิตติชยั รตั นพันธ์ ชมุ ชน 18

ตำรำงท่ี 5 รายช่ือผลงานที่ได้รับรางวลั ประเภทโปสเตอร์ กลุม่ อาจารย์ ประเภทรำงวลั ช่อื ผลงำน เจ้ำของผลงำน สงั กัด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี โปสเตอร์ การพัฒนาระบบจดั ตาราง กลุ วรรธน์ ธงก่งิ ราชมงคลอสี าน รำงวลั ชนะเลิศ การเรยี นการสอน : สานกั เวณิกา ตบั กลาง มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี เงนิ รำงวัล 4,000 บำท ศึกษาทัว่ ไป ราชมงคลอสี าน พรอ้ มเกียรติบตั ร มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี ราชมงคลตะวนั ออก โปสเตอร์ การบรหิ ารหลกั สูตรเพื่อ เอกชยั แซ่จึง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี รำงวัลรองชนะเลิศ สง่ เสรมิ กจิ กรรม Startup ราชมงคลอีสาน อนั ดับ 1 เงินรำงวัล 3,000 บำท พร้อมเกียรติบัตร โปสเตอร์ การเพ่ิมประสิทธภิ าพในการ ธญั ณัฐ คาศรี รำงวัลรองชนะเลิศ ปฏิบตั งิ าน CPC อันดบั 2 เงนิ รำงวัล 2,500 บำท พรอ้ มเกียรติบัตร โปสเตอร์ การพัฒนาบัณฑิตนักปฏิบตั ิ เพชรไพรรนิ อุปปิง รำงวลั ชมเชย สคู่ วามเปน็ เลศิ โดยผา่ นศนู ย์ และคณะ เงินรำงวัล 1,500 บำท บณั ฑิตนักปฏิบัตเิ พ่ือกา้ วสู่ พรอ้ มเกียรตบิ ตั ร การเปน็ มหาวทิ ยาลัย (2 รำงวลั ) นวตั กรรม 19

ประเภทรำงวลั ช่ือผลงำน เจ้ำของผลงำน สังกดั รตั นาภรณ์ สารภี แนวปฏิบตั ิทด่ี ใี นการจดั เก็บ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี สื่อมัลตมิ ีเดีย เพอ่ื ให้บรกิ าร ราชมงคลล้านนา สบื คน้ ภายในองค์กร ของ สถาบนั ถา่ ยทอดเทคโนโลยสี ู่ ชุมชน มหาวิทยาลัย เทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา กลุ่มนักศึกษา มีจานวนผลงานท่ีส่งเข้าร่วมประกวด จานวน 16 ผลงาน จาแนกเป็นประเภท บทความ จานวน 9 ผลงาน และประเภทโปสเตอร์ จานวน 7 ผลงาน โดยประเภทบทความมผี ลงานท่ีผา่ นเข้าสู่ รอบการนาเสนอ จานวน 9 ผลงาน รายละเอียดของการสง่ ผลงานและรายชื่อผลงานทีผ่ ่านเขา้ รอบการนาเสนอ ดังตารางต่อไปน้ี ตำรำงที่ 6 จานวนการสง่ ผลงานและผลงานท่ีผ่านเข้ารอบ กล่มุ นักศกึ ษา จำนวนผลงำน ลำดบั สถำบัน ประเภทบทควำม ประเภทโปสเตอร์ สง่ เข้ำ ผ่ำน สง่ เขำ้ ผ่ำน ประกวด เข้ำรอบ ประกวด เขำ้ รอบ 1 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ - - -- 2 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก - - 11 3 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี - - -- 4 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลพระนคร 1 1 1 1 20

ลำดบั สถำบัน จำนวนผลงำน ประเภทบทควำม ประเภทโปสเตอร์ 5 มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสนิ ทร์ ส่งเขำ้ ผ่ำน ส่งเข้ำ ผ่ำน 6 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ประกวด เข้ำรอบ ประกวด เขำ้ รอบ 7 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย - - -- 8 มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภมู ิ 9 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน - - -- 10 สถาบันการพลศกึ ษา 11 สถาบนั บณั ฑิตพฒั นศลิ ป์ - - -- 12 มหาวิทยาลัยกรงุ เทพ - - -- รวม 1 1 11 - - -- 6 6 44 11 -- 9 9 77 ตำรำงท่ี 7 รายชอื่ ผลงานทผี่ ่านเข้ารอบนาเสนอ ประเภทบทความ กลุ่มนักศกึ ษา ลำดบั ชื่อผลงำน เจ้ำของผลงำน สังกดั มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี 1. โครงการถ่ายทอดความรู้ด้านการออกแบบ ณฐั ณิชา สวนทอง ราชมงคลพระนคร เชงิ บรู ณาการสกู่ ารขับเคลื่อนเศรษฐกิจ วัชรพล สนุ นทรราช มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี ชมุ ชนดว้ ยเทคโนโลยีทางการออกแบบ ศิรวชั ร์ พัฒคมุ้ ราชมงคลอสี าน 2 การถา่ ยทอดการจดั การความรู้ท่ดี ีของศูนย์ เกศินี เวยสาร สถาบนั บัณฑิตพฒั นศลิ ป บณั ฑติ นักปฏบิ ัตสิ ู่ธรุ กิจชมุ ชน วรี ญา จอ้ ยจ๊ดี สถาบันบณั ฑิตพัฒนศลิ ป สถาบันบัณฑิตพัฒนศลิ ป อภิญญา ไชยราช สถาบนั บณั ฑติ พัฒนศลิ ป ชมภนู ชุ พทุ ธนาวงค์ เพชรไพรริน อุปปิง วิมลใย เทอื กตาถา ฐานิตย์ เกษร วิมลสริ ิ มสุ กิ า โสภดิ า สมั ปตั ตกิ ร 3 รบั งานในขณะเรียนอยางไร เพือ่ ไม่ให้ ทพิ กา ศรดี าว กระทบตอ่ ความรูดานวิชาการ จิดาภา ผลเลขา เปรมฤทยั โกงขุนทด 4 การสอนดนตรีไทยใหกับชมุ ชน “โรงเรยี น เจนจริ า นามโคตร วดั โปงแรด” พรพรรณ สขุ ถาวร 5 เทคนคิ การสร้างแรงบนั ดาลใจการ นพดล ไทรแก้ว สร้างสรรคผ์ ลงานศลิ ปะ และคณะ 6 เทคนคิ การตบี ทของนาฏศลิ ปไทย ณฐั พร แกวจนั ทร เบญจา กาจาย 21

ลำดบั ช่ือผลงำน เจำ้ ของผลงำน สังกัด ชลธิชา กฤษณมติ ร สถาบนั บณั ฑติ พัฒนศลิ ป 7 แนวทางการเตรียมตัวนักศึกษา ประสบการณ์การณวชิ าชพี ครูสอดคลองกับ และคณะ สถาบนั บณั ฑติ พัฒนศิลป การเรยี นรูใน ศตวรรษที่ 21 ของนักศึกษา มหาวทิ ยาลัยกรุงเทพ วทิ ยาลยั นาฏศิลป์ ทรงพล หนอกระโทก พงษพัฒน เหมราช 8 การจดั การกลอนลาของหมอลาสมชาย เงินล้าน Bui Thi Khen (นักศึกษา ป.โท) 9 พฤติกรรมการรับชมละครไทยออนไลน์ของ วยั รนุ่ เวยี ดนาม ผลงานกลุ่มนักศึกษาที่ได้รับรางวัล มีจานวนทั้งส้ิน 12 รางวัล แบ่งเป็นประเภทบทความ จานวน 6 รางวัล และประเภทโปสเตอร์ จานวน 6 รางวลั โดยมรี ายละเอียดดงั ตารางน้ี ตำรำงท่ี 8 รายช่ือผลงานทไี่ ด้รบั รางวลั ประเภทบทความ กล่มุ นักศกึ ษา ประเภทรำงวัล ชอื่ ผลงำน เจ้ำของผลงำน สงั กัด สถาบันบัณฑติ พัฒนศิลป บทควำมดเี ด่น เทคนิคการตบี ทของนาฏ ณฐั พร แกวจันทร เหรียญทอง ศิลปไทย เบญจา กาจาย เงินรำงวัล 3,500 บำท พร้อมโล่รำงวลั และ เกียรติบัตร บทควำมดเี ดน่ การจดั การกลอนลาของ ทรงพล หนอกระโทก สถาบนั บณั ฑติ พัฒนศลิ ป เหรยี ญเงิน หมอลาสมชายเงินลาน พงษพฒั น เหมราช เงินรำงวลั 3,000 บำท พร้อมโลร่ ำงวัลและ เกยี รตบิ ัตร บทควำมดเี ด่น การถ่ายทอดการจดั การ เกศนิ ี เวยสาร มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี เหรยี ญทองแดง ความรู้ท่ดี ขี องศนู ย์บณั ฑิต วรี ญา จ้อยจ๊ดี ราชมงคลอสี าน เงินรำงวลั 2,500 บำท นักปฏบิ ตั ิสู่ธุรกจิ ชุมชน อภิญญา ไชยราช พรอ้ มโลร่ ำงวลั และ ชมภูนุช พทุ ธนาวงค์ เนตรนภา ลีทอง เกียรติบตั ร เพชรไพรรนิ อุปปงิ วิมลใย เทือกตาถา ฐานิตย์ เกษร วิมลสริ ิ มุสิกา โสภิดา สัมปตั ติกร สาวิตรี บุตรศรี 22

ประเภทรำงวลั ช่อื ผลงำน เจำ้ ของผลงำน สงั กัด มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี บทควำมดีเด่น 1. โครงการถ่ายทอดความรู้ ณัฐณชิ า สวนทอง ราชมงคลพระนคร รำงวลั ชมเชย ดา้ นการออกแบบเชิงบรู ณา วัชรพล สุนนทรราช สถาบันบัณฑิตพฒั นศิลป เงนิ รำงวลั 2,000 บำท การสู่การขับเคล่ือน ศริ วชั ร์ พัฒค้มุ สถาบันบัณฑิตพฒั นศิลป พร้อมเกียรติบัตร เศรษฐกจิ ชมุ ชนด้วย (3 รำงวัล) เทคโนโลยที างการออกแบบ 2. การสอนดนตรไี ทยให้กับ เจนจริ า นามโคตร ชุมชน “โรงเรียนวัดโปง่ พรพรรณ สุขถาวร แรด” 3. เทคนิคการสรา้ งแรง นพดล ไทรแก้ว บนั ดาลใจการสรา้ งสรรค์ อธชิ า คงเล็ก ผลงานศลิ ปะ 23

ตำรำงที่ 9 รายชอื่ ผลงานท่ีไดร้ บั รางวัลประเภทโปสเตอร์ กลมุ่ นักศกึ ษา ประเภทรำงวัล ชอ่ื ผลงำน เจ้ำของผลงำน สังกดั มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี โปสเตอร์ โครงการถ่ายทอดความรู้ด้าน ณฐั ณชิ า สวนทอง ราชมงคลพระนคร รำงวลั ชนะเลิศ การออกแบบเชิงบรู ณาการสู่ วชั รพล สนุ นทรราช สถาบนั บัณฑติ พฒั นศิลป เงนิ รำงวัล 2,500 บำท การขบั เคล่อื นนเศรษฐกจิ ศิรวัชร์ พัฒคมุ้ สถาบนั บัณฑิตพัฒนศิลป พรอ้ มเกยี รตบิ ัตร ชมุ ชนดว้ ยเทคโนโลยที างการ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยี ออกแบบ ราชมงคลอสี าน โปสเตอร์ เทคนคิ การตบี ทของนาฏศลิ ป ณัฐพร แกวจนั ทร สถาบนั บัณฑิตพัฒนศิลป สถาบนั บัณฑิตพัฒนศลิ ป รำงวัลรองชนะเลศิ ไทย เบญจา กาจาย อนั ดบั 1 เงนิ รำงวลั 2,000 บำท พรอ้ มเกียรตบิ ัตร โปสเตอร์ รับงานในขณะเรยี นอยางไร ทพิ กา ศรีดาว รำงวัลรองชนะเลศิ เพือ่ ไมใหกระทบต่อความรู้ จิดาภา ผลเลขา อันดับ 2 ด้านวชิ าการ เปรมฤทัย โกงขุนทด เงินรำงวัล 1,500 บำท พรอ้ มเกียรตบิ ัตร โปสเตอร์ การถ่ายทอดการจัดการ เกศินี เวยสาร รำงวัลชมเชย ความรู้ทดี่ ีของศนู ยบ์ ัณฑิตนกั เนตรนภา ลีทอง เงนิ รำงวัล 1,000 บำท ปฏิบัตสิ ู่ธรุ กจิ ชุมชน สาวติ รี บุตรศรี พร้อมเกยี รตบิ ัตร และคณะ (3 รำงวลั ) การสอนดนตรไี ทยใหกับ เจนจิรา นามโคตร ชุมชน “โรงเรยี นวดั โปง่ แรด” พรพรรณ สุขถาวร เทคนคิ การสร้างแรงบนั ดาลใจ นพดล ไทรแก้ว การสร้างสรรคผ์ ลงานศิลปะ อธชิ า คงเลก็ 24

กำรแลกเปลีย่ นเรยี นรู้แนวปฏบิ ัตทิ ด่ี ี โครงกำรประชุมสัมมนำเครือขำ่ ยกำรจดั กำรควำมรู้ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยรี ำชมงคล สถำบนั กำร พลศึกษำ และสถำบนั บัณฑิตพฒั นศลิ ป์ คร้ังที่ 12 โดยแบ่งเปน็ 7 ชุมชนนกั ปฏิบัติ (CoP 1-7) CoP 1 กำรเรียนกำรสอนเพ่ือพัฒนำบัณฑิต : กำรจัดกำรเรียนรู้แบบ Active Learning เพื่อ พัฒนำบัณฑติ นักนวตั กรรม โดยมี มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศรีวิชัย และสถาบนั บณั ฑติ พฒั นศิลป์ เปน็ ผู้รับผิดชอบ การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning เพ่ือพัฒนาบัณฑิตนักนวัตกรรม โดยกระบวนการจัดการ เรียนรูท้ ่ีผเู้ รียนเป็นผไู้ ดล้ งมือกระทาเอง เรียนรจู้ ากโจทย์จริง อยูห่ น้างาน ได้เผชญิ ปญั หาและได้ใช้กระบวนการ คิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ในสิ่งที่ได้เรียนรู้ นามาแก้ไขปัญหา และประยุกต์ใช้ทักษะวิชาชีพร่วมกับผู้สอน หรือ ผู้เช่ียวชาญในวิชาชีพ เพ่ือเป็นการส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาบัณฑิตนักนวัตกรรมโดยใช้เทคนิคการสอนใน รูปแบบตา่ ง ๆ เชน่ เทคนิคการสอนแบบ CDIO เทคนคิ การคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ (Critical Thinking) เทคนิค การเรียนรู้แบบสืบหาความรู้ (Inquiry-based Learning) เทคนิคการจัดการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-based Learning) เทคนิคการใช้ส่ือสังคม (Social Media) และเครือข่ายสังคม (Social Networking) มาใชใ้ นการเรียนการสอน เปน็ ต้น ปัจจัยท่ีส่งผลทาให้เกิดความสาเร็จ คือ แนวความคิดและวิสัยทัศน์ของผู้บริหารท่ีส่งเสริมการจัดการ เรียนรู้แบบ Active Learning และการเปล่ียนแปลงทัศนคติของอาจารย์ผู้สอน ให้กลายเป็นผู้นากระบวนการ (Facilitator) หรือนักออกแบบการเรียนรู้ อีกท้ังอาจารย์ผู้สอนต้องทาหน้าที่เป็นพี่เล้ียง (Coach) ท่ีดี ในส่วน ของผู้เรียน จะต้องต้ังใจเรียน พยายามคิดอย่างสร้างสรรค์ หรือลงมือทาด้วยตนเอง พร้อมท้ังสิ่งสนับสนุนการ เรียนรู้ที่มีความพร้อม เช่น เครื่องมือ ส่ือการสอน ห้องเรียน/ห้องปฏิบัติการ เป็นต้น เพื่อประกอบเข้าด้วยกัน จึงจะทาใหเ้ กดิ กระบวนการผลิตบัณฑติ นกั นวตั กรรม ปัญหา อุปสรรค ส่วนใหญ่เกิดจากอาจารย์สูงวัย ไม่ชอบเทคโนโลยี หรือไม่ชอบการเปล่ียนแปลง ดังน้ันต้องมีการฝึกอบรม และสร้างความรู้ให้กับอาจารย์เหล่าน้ี สาหรับเด็กไทยมีคิดแตกต่างจากเด็กต่างชาติ เนอื่ งจากเดก็ ต่างชาติถูกบ่มเพาะความคดิ สรา้ งสรรค์มาตงั้ แต่เด็ก จึงมีทกั ษะการนาเสนอ อย่างไรก็ตามเด็กไทย มจี ติ ใจทช่ี อบชว่ ยเหลอื ผ้อู ื่น แตข่ าดความกล้าแสดงออก CoP 2 งำนวิจัยและงำนสร้ำงสรรค์ : กำรสร้ำงงำนวิจัยเชิงนวัตกรรม เพ่ือนำไปใช้ในกำรพัฒนำ ประเทศ โดยมี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร เป็นผู้รับผดิ ชอบ การสร้างงานวิจัยเชิงนวัตกรรมเพื่อนาไปใช้ในการพัฒนาประเทศ ที่เกิดจากการดาเนินการท่ีมี ขั้นตอน เช่น ข้ันตอนการออกแบบนวัตกรรม หรือคิดสร้างสิ่งใหม่ๆ ขั้นตอนการสร้างและพัฒนานวัตกรรม ข้ันตอนการตรวจสอบคุณภาพนวัตกรรม ข้ันตอนการนานวัตกรรมไปทดลองใช้งานให้เกิดผลกระทบ หรือ ผลประโยชนต์ ่อสังคม ซึ่งไม่จาเป็นจะต้องเป็นเชิงพาณิชยเ์ ท่านั้น และขั้นตอนการประเมินผล เป็นต้น โดยผ่าน เครื่องมือการจัดการความรู้ (KM Tools) เช่น ชุมชนนักปฏิบัติ (Communities of Practice หรือ CoP) การ ทบทวนสรุปบทเรียน (After Action Review หรือ AAR) ระบบเพื่อนช่วยเพื่อน (Peer Assist) การเรียนรู้โดย การปฏิบัติ (Action Learning) ระบบพ่ีเล้ียง (Mentoring) การเรียนรู้จากบทเรียนที่ผ่านมา (Lesson- Learned) การศึกษาดูงาน (Study Tour) ทีมข้ามสายงาน (Cross-Functional Team) ระบบการสอนงาน (Coaching) และระบบฐานความรู้ (Knowledge Bases) ปัจจัยทีส่ ่งผลทาให้เกิดความสาเร็จ คือ ความมุ่งมั่น การทางานเปน็ ทมี การยอมรับฟังความเห็นของคนรอบขา้ ง 25

CoP 3 กำรบริกำรวิชำกำร : บริกำรวิชำกำรเสริมสร้ำงชุมชนนวัตกรรม โดยมี มหำวิทยำลัย เทคโนโลยรี ำชมงคลอสี ำน เป็นผ้รู ับผิดชอบ บรกิ ารวิชาการเสรมิ สร้างชมุ ชนนวตั กรรม โดยนาการบริการวิชาการที่มรี ะบบ กลไก กระบวนการ ทส่ี ง่ เสริมและสนบั สนุน การนานวตั กรรมส่ชู ุมชนเพอ่ื เสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ชมุ ชนและสงั คมอย่างยงั่ ยืน กระบวนการดาเนินงานของบริการวิชาการเสริมสร้างชุมชนนวัตกรรม ประกอบด้วย การสารวจ ความต้องการของชุมชน การประชุมวางแผนร่วมกัน การออกแบบผลิตภัณฑ์ การเตรียมขั้นตอนการให้ความรู้ การถ่ายทอดเทคโนโลยีให้กับชุมชน การติดตามผลการดาเนินงานของชุมชน การติดตามผลการดาเนินงาน และนามาสรุปผล และรว่ มประชุมวางแผน เพื่อหาแนวทางการพฒั นาและดาเนนิ การตอ่ ไป ปจั จัยความสาเรจ็ คอื การนาผลจากการลงพ้นื ทีช่ ุมชน มาบูรณาการกบั การเรยี นการสอน และการ วิจัย การบริการวิชาการจะต้องมาจากความต้องการของชุมชน จึงจะได้ผลลัพธ์ และความร่วมมือที่ดีกับชุมชน 26

การนาความรู้จากหลากหลายสาขาวิชามาบูรณาการเป็นศาสตร์ท่ีเหมาะสม ควรสร้างทีมงาน เช่น ทีมบริหาร โครงการ ทีมผเู้ ช่ียวชาญในการให้คาปรกึ ษา ทมี ตดิ ตามและประเมินผล ทีมท่ปี รกึ ษา และทีมผลติ ส่อื -มัลติมีเดีย เป็นต้น นอกจากน้ันควรมีการประเมินความเส่ียง เพื่อลดปัญหา และทาให้งานเป็นไปตามขอบเขต และกรอบ เวลาท่ีกาหนด ประเด็นปัญหา และแนวทางแก้ไข คือ ทีมงานจะต้องสารวจสภาพแวดล้อม ฤดูกาลให้เหมาะสมกับ การลงพื้นที่ และจะต้องพิจารณาความเหมาะสมในการนาวัสดุ และอุปกรณ์ เพ่ือนามาถ่ายทอดเทคโนโลยีแก่ ชุมชน ประโยชน์ท่ีได้รับ ชุมชนเป้าหมายได้รับความรู้ด้านการตลาด ซึ่งทาให้เกิดการพ่ึงพาตนเอง และ โฆษณาประชาสัมพันธ์สินค้านวัตกรรมของตนเองได้ ในส่วนของการบริการวิชาการแบบ Social Lab ทาให้ นักศึกษามกี ารเรยี นร้แู ละแลกเปล่ียนความรรู้ ่วมกันกบั ชมุ ชน นักศกึ ษา และคณาจารย์ 27

28

29

30

31

32

33

CoP 4 กำรทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม : นวัตกรรมสร้ำงสรรค์สู่ควำมย่ังยืนทำงวัฒนธรรม โดยมี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ เป็นผรู้ ับผิดชอบ นวัตกรรมสร้างสรรค์สู่ความยั่งยืนทางวัฒนธรรม การสร้างสรรค์ผลงา นทางวัฒนธรรมด้วย แนวความคิด การปฏบิ ตั ิ หรือสง่ิ ประดิษฐ์ใหมๆ่ ที่ยงั ไม่เคยมีมากอ่ นหรือเปน็ การพัฒนาดดั แปลงจากของเดิมให้ ทันสมัยและได้ผลดีย่ิงขึ้น การประยุกต์ใช้ความรู้และผลงานวิจัยทางวัฒนธรรม รวมไปถึงการสร้างความ แตกต่างและแปลกใหม่ การสร้างมูลค่าเพิ่ม เพื่อให้ชุมชน สังคม และทุนทางวัฒนธรรมเกิดความม่ันคง ม่ังคั่ง และยัง่ ยนื ตลอดไป ปัจจยั ความสาเรจ็ คอื การบรู ณาการเคร่ืองมือในการจดั การความรูท้ ี่หลากหลาย เชน่ ทีมข้ามสายงาน (Cross- Functional Team) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Forum) การเรียนรู้จากบทเรียนท่ีผ่านมา เป็นการดาเนนิ การโครงการดา้ นทานบุ ารงุ ศลิ ปวฒั นธรรมอยา่ งต่อเนื่อง และนาบทเรียนจากการดาเนินการในปี ท่ีผ่านมา มาพัฒนาและถ่ายทอดสาหรับการดาเนินการในคร้ังต่อไป การศึกษาเรียนรู้และรวบรวมภูมิปัญญา จากแหล่งผู้รู้โดยตรง โดยวิธีการเล่าเร่ือง การสอน การศึกษาดูงาน สาหรับบางสถาบัน มีการพัฒนาลาน วฒั นธรรม เพ่อื จดั ทาเปน็ แผ่นบันทึกข้อมูล หนงั สอื เผยแพร่โครงการส่งเสริมอนุรกั ษ์คุณค่าภูมิปัญญา คุณธรรม จริยธรรม ศิลปวัฒนธรรม กฬี าไทย และกฬี าพื้นบ้าน ประเด็นปัญหา และแนวทางแก้ไข คือ การสืบสานประเพณี ศิลปวัฒนธรรมที่กาลังจะสูญหายไป และการ พัฒนาทุนทางวัฒนธรรมท่ีอยู่ในท้องถ่ิน โดยการสร้างแหล่งเรียนรู้วัฒนธรรม เพื่อทาให้ประเพณี ศิลปวัฒนธรรมไมส่ ูญหาย 34

35

36

37

38

39

40

CoP 5 กำรบริหำรจัดกำร : กำรพัฒนำกำรบริหำรจัดกำรกับกำรสร้ำงฐำนวัฒนธรรมองค์กร โดยมี มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลลา้ นนา เป็นผ้รู ับผิดชอบ การพัฒนาการบริหารจัดการกับการสร้างฐานวัฒนธรรมองค์กรภายใต้ระบบบริหารจัดการตามหลัก ธรรมาภิบาล จะตอ้ งมีการปรับกระบวนการทีม่ ปี ระสิทธภิ าพ สิ่งท่สี าคัญคือ - การบริการทดี่ ี เพอื่ พัฒนางานบรกิ ารในสายสนับสนนุ ให้เกิดความพึงพอใจในการใหบ้ ริหารของ องคก์ ร - การเพิ่มประสทิ ธิภาพการปฏิบตั ิงาน (คณุ ภาพของงาน) ปัจจัยความสาเร็จ คือ การปรับจิตใจและความนึกคิดของตนเอง โดยใช้หลักธรรม (ศีล 5 และพรหมวิหาร 4) มาเป็นส่วนประกอบเพ่ือให้ควบคุมอารมณ์ความรู้สึก เมื่อตนเองสามารถควบคุมจิตใจได้ดีแล้ว การทางาน ร่วมกบั ผู้อื่นกจ็ ะดีขึน้ และควรทางานแบบมสี ่วนรว่ ม มกี ารแลกเปล่ียนเรียนรู้ พบปะ และพูดคยุ ทาความเข้าใจ ไม่ให้มีปัญหาติดค้าง หากเป็นผู้บริหาร ควรใช้หลักธรรมาภิบาลมาบริหารหน่วยงาน เม่ือมีงานแล้วทุกคน ร่วมมือร่วมใจกันทางาน มีเป้าหมายเดียวกัน จะดาเนินงานไปได้ด้วยดี การทางานที่จะเพิ่มแรงจูงใจในการ พัฒนาศักยภาพ อาจมีการให้รางวัลเพื่อเป็นขวัญและกาลังใจ เกิดแรงบันดาลใจในการปฏิบัติงาน และปัจจุบนั ควรนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) เข้ามาช่วยบริหารจัดการในการปฏิบัติงานให้เกิดความรวดเร็ว มี ประสิทธิภาพมากข้ึน โดยการลดขั้นตอนในการปฏิบัติงาน เช่น เปิดจุดบริการแบบเบ็ดเสร็จ เป็นต้น เพื่อเพ่ิม ประสิทธภิ าพในการปฏบิ ัตงิ าน 41

42

43

44

45

46

CoP 6 กำรประกนั คุณภำพกำรศึกษำ : กำรประยุกต์นวตั กรรมสู่กำรประกนั คณุ ภำพกำรศึกษำ โดย มี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลกรุงเทพ เปน็ ผู้รบั ผิดชอบ การประยกุ ต์นวัตกรรมสู่การประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา โดยการนาแนวทาง วธิ กี าร เคร่ืองมอื หรอื อ่ืนๆ ท่ีใหม่หรือแตกต่างจากการที่เคยปฏิบัติ มาประยุกต์ใช้กับการดาเนินงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษา เพ่ือลดการใช้ทรัพยากร และเวลาในการดาเนินงาน รวมถึงเพ่ิมประสิทธิภาพในการส่ือสารกับบุคลากรท่ี เกี่ยวขอ้ งดา้ นการประกนั คณุ ภาพการศึกษาภายในองคก์ ร ปัจจัยความสาเร็จ คือ การประยุกต์ใช้ Google Application เช่น การสร้างเว็บไซต์ การใช้ SAR Online การคานวณคะแนนผลการประเมิน ด้วย Google Sheet และการเก็บข้อมูลด้วย Google Drive เป็น ต้น เพื่อการจัดการข้อมูลสารสนเทศและเพ่ิมประสิทธิภาพในงานประกันคุณภาพการศึกษา เพ่ิมความสะดวก รวดเร็วในด้านของการส่งต่อและทางานร่วมกันของหน่วยงาน การกาหนดวิธีการใหม่ IDEA มาใช้ในการ บรหิ ารงานประกนั คุณภาพการศึกษา และแนวปฏบิ ัติทด่ี ใี นการเผยแพร่หลักสตู รที่มคี ุณภาพและมาตรฐานตาม กรอบมาตรฐานคณุ วฒุ ริ ะดบั อุดมศึกษาแหง่ ชาติ (TQR : Thai Qualifications Register) ประโยชน์ท่ีได้รับ คือ การลดเวลาการทางาน การลดการใช้กระดาษ ความง่ายต่อการค้นหา และ เขา้ ถงึ ข้อมูล รวมถงึ การทางานรว่ มกนั ไดท้ กุ ท่ี ทกุ เวลา 47

48

49

50