หน้า 88 | การจดั การความรสู้ ู่มหาวิทยาลัยนวัตกรรม การจดั การความรูเ้ พอ่ื ลดสถิตกิ ารไม่ย่ืนขอสาเร็จการศึกษา ของนกั ศกึ ษามหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา ระวสิ ดุ า นารี1,* สมพินจิ เหมืองทอง1 ภณั ฑิรา สุขนา1 เอมอจั ฉริยา พีรทตั สุวรรณ1 สุจติ รา ประพฤติเป็น1 จักรพงษ์ คงดี1 1งานทะเบยี นและประมวลผล สานักสง่ เสรมิ วชิ าการและงานทะเบยี น มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอสี าน นครราชสมี า *[email protected] บทสรุป การจัดการความรู้เพื่อให้ความรู้และสร้างความเข้าใจถึงข้อบังคับของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคล อีสาน เรอื่ งการสาเร็จการศึกษาและการยื่นขอสาเร็จการศึกษาผ่านระบบบริการการศึกษา โดยการ จัดเก็บข้อมูล จานวนนักศึกษาที่ย่ืนสาเร็จการศึกษา และวิเคราะห์หาสาเหตุเพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหา การไม่ย่ืนขอสาเร็จ การศึกษา ซ่ึงการจัดการความรู้ทาให้ได้แนวทางท่ีดีที่สุดคือการจัดอบรมให้กับนักศึกษา ที่คาดว่าจะสาเร็จการศึกษา ผลที่ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้พบว่าในช่วงปีการศึกษา 2558–2560 จานวน นักศกึ ษายื่นขอสาเร็จการศกึ ษา ลา่ ช้ามแี นวโนม้ ลดลง ท้ังน้ีการนาระบบเทคโนโลยที ่ที ันสมัยมาใชเ้ ป็นเครื่องมือ ในการสื่อสาร ทาให้เกิดความสะดวก รวดเร็ว ง่ายต่อการติดตาม และลดปัญหาการยื่นขอสาเร็จการศึกษา ล่าชา้ ที่เกดิ ข้ึนอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ คาสาคัญ ขอ้ บงั คบั มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน การยน่ื ขอสาเร็จการศกึ ษา ระบบบรกิ ารการศึกษา
การประชุมสัมมนาเครอื ขา่ ยการจัดการความรู้ คร้ังท่ี 12 | หนา้ 89 การพฒั นาระบบฐานขอ้ มลู การบรหิ ารงานสหกจิ ศกึ ษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน Database System Development of Cooperative Education Management for Rajamangala University of Technology Isan ผศ.ดร.สมพนิ จิ เหมืองทอง1 ศตวรรษ ศรีชาติ2 1สานักสง่ เสริมวชิ าการและงานทะเบยี น มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน 2ศนู ยส์ หกจิ ศกึ ษา สานกั สง่ เสรมิ วชิ าการและงานทะเบยี น มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน [email protected] [email protected] บทสรปุ การจัดการความรู้เพื่อพัฒนาระบบฐานข้อมูลสหกิจศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน มีวัตถปุ ระสงค์เพ่ือเพิ่มประสทิ ธิภาพการทางานและอานวยความสะดวกแก่เจ้าหน้าท่ี นักศึกษาสหกิจ อาจารย์ นิเทศ และสถานประกอบการ ซึ่งเน้ือหาหลักประกอบด้วยการจัดการข้อมูลและ การรายงานข้อมูลการ ดาเนินงานสหกิจศึกษา โดยการจัดการความรู้ในครัง้ น้ไี ด้ทาการวิเคราะห์และ ออกแบบระบบฐานข้อมูลสหกิจ ตามข้ันตอนและการวิธีพัฒนาระบบสารสนเทศ ซ่ึงแบบจาลองระบบ แบ่งออกเป็น 8 ส่วน ได้แก่ ขอ้ มูลสหกิจ ศกึ ษาทั้งหลักสูตรภาษาไทยและนานาชาติ ข้อมูลการจัดการศึกษา ข้อมูลรายช่ือคณาจารย์นิเทศสหกิจ ข้อมูล องค์กรผู้ใช้บัณฑิตที่เข้าร่วมโครงการสหกิจศึกษา ท้ังในประเทศและต่างประเทศ ข้อมูลการพัฒนาคณาจารย์ นเิ ทศ ข้อมูลนักศึกษาที่ลงทะเบียนและ ปฏิบตั ิงานในรายวิชาสหกจิ ศึกษา ขอ้ มูลการพัฒนาบคุ ลากรด้านสหกิจ ศึกษา และข้อมูลภาวะการมี งานทา รวมถึงข้อมูลการทางานด้านสหกิจอื่นๆ ผลการดาเนินงานพบว่า ระบบ ฐานขอ้ มูลเพ่ือการบริหารงานสหกิจศึกษาที่พัฒนาข้ึนนี้ สามารถเปน็ เคร่ืองมือช่วยแก้ปัญหาการบริหารจัดการ ข้อมูลและการรายงานข้อมูลการดาเนินงาน สหกิจศึกษาแบบเดิม อีกท้ังระบบมีขีดความสามารถตอบสนอง ต่อความต้องการของผู้ใช้งานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ซ่ึงได้รับความพึงพอใจจากการประเมินโดยผู้บริหาร อาจารย์ เจ้าหน้าที่ นักศึกษา และ ประชาชนทั่วไป ในระดับดีมากร้อยละ 83.84 ทั้งน้ีผลสัมฤทธ์ิของการ จดั การความรู้น้ี สานักงานคณะกรรมการอุดมศึกษายังได้ร่วมกาหนดให้เป็นแนวปฏิบัติ เร่ืองการนาขอ้ มูลและ สารสนเทศเพอื่ การรายงานขอ้ มลู การดาเนนิ งานและการบริหารงานสหกิจศึกษาระดบั ประเทศต่อไป คาสาคญั การจัดการความรู้ ระบบฐานขอ้ มูล สหกิจศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน
หน้า 90 | การจดั การความรสู้ ู่มหาวิทยาลัยนวตั กรรม การสร้างสรรค์ส่ือการเรยี นการสอนพิณอย่างย่ังยืน The Creating a Sustainable Phin Teaching Media นายโยธนิ พลเขต ครวู ทิ ยฐานะ ชานาญการพิเศษ วทิ ยาลยั นาฏศลิ ปรอยเอ็ด [email protected] บทสรปุ การสรางสรรคสื่อการเรียนการสอนพิณอยางยั่งยืน พิณเปนเคร่ืองดนตรีพื้นบานอีสานประเภท เครื่องดีดท่ีมีความ ไพเราะ และมีความโดดเดนคือเปนเคร่ืองดนตรีท่ีดาเนินทานองหลัก และมีเทคนิคลีลา ทส่ี นกุ สนานเราใจ จะเหน็ ไดจากบทบาท หนาทข่ี องพณิ ท่ีมีอยูในวงดนตรีพน้ื บานประเภทตางๆ เชน วงโปงลาง วงกลองยาวประยุกต วงดนตรีหมอลา หรือแมกระท่ังวง พิณท่ีมีพิณเปนเครื่องดนตรีหลัก เปนตน ดังนั้นองค ความรูและเทคนิคในการบรรเลงพิณใหมีความไพเราะ จึงเปนความรูท่ีควร ศึกษาเพ่ือจัดทาหรือสรางสรรค เปนสื่อการเรียนการสอนพิณอยางยั่งยืน ใหคงอยูสืบไป วัตถุประสงคในการจัดการความรูใน คร้ังนี้เพ่ือศึกษา กระบวนการและสรางสรรคสื่อการเรียนการสอนพิณอยางย่ังยืน ดาเนินการจัดเก็บขอมูลโดยการสัมภาษณ และ สังเกตแบบมีสวนรวม ผลการดาเนินงานการสรางสรรคสื่อการเรียนการสอนพิณอยางยั่งยืน ทาใหคนพบ เทคนิควิธีการบรรเลง พิณและผู เขารวมโครงการศึกษาส่ือการเรียนการสอนพิณอย างยั่งยืน มีความรู ความเขาใจสามารถปฏิบัติพิณไดตามตนแบบ สวนความไพเราะของการบรรเลงอยูในระดับดีและปานกลาง เนื่องจากปจจัยสาคัญคือการศึกษาส่ือการเรียนการสอนพิณอยาง ย่ังยืนใหประสบความสาเร็จไดนั้น ผูศึกษา จะตองใชเวลาในการศึกษาและปฏิบัติ ผลจากการสรางส่ือการเรียนการสอนพิณ ดังกลาว สามารถเปน แนวทางในการนาผลไปปรับใชในการเรียนการสอนเพือ่ พฒั นาผูเรยี นใหมศี ักยภาพในระดบั สงู ขึน้ คาสาคญั การสรางสรรคส่ือการเรียนการสอน พิณ ย่ังยืน
การประชมุ สัมมนาเครือข่ายการจดั การความรู้ คร้งั ที่ 12 | หน้า 91 การประยุกต์กระบวนการวจิ ัยสู่การพฒั นาการเรยี นการสอน Application of research processes to teaching and learning development นางสาวจริยา ตะลังวิทย อาจารยคณะศลิ ปศึกษา สถาบนั บัณฑิตพัฒนศลิ ป [email protected] บทสรปุ ในการแลกเปล่ียนองคความรูของคณะศิลปศึกษา ประจาปงบประมาณ พ.ศ. 2561 คณะกรรมการ จัดการองคความรูดานการวิจัย คณะศิลปศึกษาไดมีการประชุมและหาขอสรุปใน การแลกเปลี่ยนองคความรู เร่ือง การประยุกตกระบวนการวิจัย สูการพัฒนาการเรียนการสอน โดยมผี ลของการจัดการความรูในประเด็น ตางๆ ดงั น้ี การสารวจปญหาทเ่ี กิดข้นึ ในชั้นเรยี นดวยกระบวนการวิจยั ผูสอนสารวจหองเรียนเพ่ือหาประเด็น ในการวิจัย โดยสารวจผูเรียนรายบุคคล ทดสอบ ถาม-ตอบ สังเกตแบบมีสวนรวม และสัมภาษณแบบเจาะจง เพื่อเก็บขอมูลในภาพรวม จากนั้นนา ขอมูลมาวิเคราะหสาเหตุ เพ่ือหาแนวทางในการแกไข โดยศึกษาวิธีการ แกปญหาที่หลากหลายให เหมาะสมกับบริบทของผูเรียนและชั้นเรียน นอกจากน้ีผูสอนตองตรวจสอบ ความถนัดของตนเอง เพื่อวางแผนการดาเนินการวิจัยหรือการจัดรูปแบบการเรียนการสอนให เหมาะสมกับ ผูเรียนและ ความถนัดของผูสอน แลวจึงทาการทบทวนวรรณกรรมที่เก่ียวของเพื่อพจิ ารณาแนวทางในการนา กระบวนการวิจัยมาปรับใช สราง Research design เพื่อกาหนดวิธีการในการทาการวิจัยและ สรางกรอบ แนวคิดในการวจิ ัย ท่ีสาคญั ผูสอนตองทากระบวนการ PAOR โดยทากระบวนการ PAOR อยางนอย 2 รอบ การวางแผนในการแกไขปญหาตามกระบวนการวิจัย จัดการสอนแบบ Active learning เพื่อให ผูเรียนมีสวนรวมในการเรียน ผูสอนตองสราง ความสงสัยใหผูเรียน เพ่ือเปนแรงขับในการคนควาหาคาตอบ แนะนาวิธีการที่จะใหไดมาซึ่งขอมูล ท่ีตองการ ฝกฝนใหผูเรียนวิเคราะหขอมูล ประเมินและพิจารณาวาควร เชื่อขอมูลจากแหลง ความรูใด มีการจัดทาส่ือที่ชวยใหผูเรียนสามารถเขาใจเนื้อหาของเรื่องที่สอนไดชัดเจน และใชการ วัดและประเมินผลโดยใหเพื่อนในหองชวยกันประเมินรวม หรือใชการประเมินแบบรอบดาน การใชกระบวนการวิจัยในการจดั การเรียนการสอน ผูสอนควรสอดแทรกกระบวนการวจิ ยั ใหแกผูเรียน เพอื่ ให ฝกฝนทักษะการคิดวิเคราะห สังเคราะห การเขาถึงแหลงขอมูลและการประมวลผลขอมูล ฝกฝนผูเรียนให สามารถสอบถาม สังเกต และสัมภาษณบุคคล รวมถึงการศึกษาคนควาเอกสาร ตารา เพื่อศึกษารายละเอียด ของ เนื้อหาท่ีตองการ ใหผูเรียนลงพื้นที่จริง สารวจ ศึกษา และทดลองสัมภาษณแหลงขอมูลท่ีตองการ การกากบั และตดิ ตามผล การประเมินผล ติดตามผลผูเรียน ควรใชการสังเกต โดยผูสอนจะตองเปนนักสังเกต และ นักวิจัยที่ดี มีการเฝาติดตามและบันทึกขอมูลอยางเปนระบบ ควบคุมกระบวนการวิจัยและการ จัดการ เรียนการสอน ใชวิธกี ารเชิงระบบ เพ่อื เปนแนวทางในการดาเนินการและวเิ คราะห ตรวจสอบ นากระบวนการ PDCA มาใชเพอื่ พัฒนาใหเกิดประสทิ ธิภาพสูงสดุ คาสาคญั การวิจัย การเรียนการสอน วธิ กี ารเชงิ ระบบ PDCA PAO
หน้า 92 | การจัดการความรสู้ ู่มหาวทิ ยาลัยนวัตกรรม การใช้ Facebook กับการเรยี นการสอน Using Facebook with teaching อัญชนั เพง็ สุข AnchanPengsook วทิ ยาลยั นาฏศิลปลพบุรี บทสรปุ ปจจบุ ันขณะเรยี นผูเรียนสวนใหญใชโทรศัพทมอื ถือตลอดเวลา จนทาใหขาดความสนใจ ในการเรียนรู ครูผูสอนจึง ตองหาวิธีท่ีจะนาเทคโนโลยีมาใชเพ่ือดึงดูดความสนใจของผูเรียน จากการศึกษาเอกสาร ตารา และการเขา รบั การอบรมดานการเรียนการสอน การจดั การเรียน การสอนในศตวรรษท่ี 21 เนนการเรียนรูโดย ใช้ Active learning ผูเรียนมีสวนรวมและลงมือปฏิบัติ ดวยตนเอง คณะผูจัดทาเลือกที่จะนา Facebook มาใชในการเรียนการสอน เพ่ือกระตุนใหผูเรียน สนใจและเกิดการเรียนรูมากย่ิงขึ้นวิธีดาเนินงานเริ่มจากการ สารวจขอมูลการใช Facebook ของครูผูสอนจากสถานศึกษาตางๆ นาขอมูลมาสรุปเปนรูปแบบการใช Facebook กับการเรียน การสอนไดแกการเช็คช่ือ ,การมอบหมายงาน ,การติดตามการสงงาน ,การนาเสนอ เน้อื หา/ความรู , การแลกเปลีย่ นความคดิ เห็น และการแจงผลการเรยี น นา ขอมูลที่ได มาจดั ทาแบบสัมภาษณ และดาเนนิ การสัมภาษณผูชวยศาสตราจารย รฐั สภา แกนแกว มหาวิทยาลัยศรีปทุมซึ่งเปน ผูเช่ียวชาญดานน้ี หลังจากน้ันนาขอมูลมาจัดทาคูมือการใช Facebook กับการเรียนการสอน เผยแพรใหครูของวิทยาลัย นาฏศิลปลพบุรี นาไป ทดลองใชในการสอนในระดับมัธยมศึกษาตอนตน , ตอนปลาย และอุดมศกึ ษา จานวน 13 รายวิชา เปาหมาย คือ ครูที่อายุมากและไมชานาญการ ใชเทคโนโลยี มีการ ประเมินผลการใชคูมือ โดยการประชุมกลุมยอย ครูผูสอนสรุปไดวาคูมือการใช Facebook กับการเรียนการสอนท่ีจัดทาข้ึนสามารถ ใชเปนแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนและชวยใหผูเรียนมีความสนใจ กระตือรือรนและ มคี วามสุขในการเรียน คาสาคัญ Facebook การเรียนการสอน
การประชุมสัมมนาเครอื ข่ายการจดั การความรู้ ครงั้ ท่ี 12 | หนา้ 93 เทคนิคการสรา้ งสรรค์ผ้าพระบฏนครศรธี รรมราช นายชเู กยี รติ สุทิน วิทยาลยั ช่างศลิ ปนครศรีธรรมราช [email protected] บทสรุป การสร้างสรรค์ผ้าพระบฏนครศรีธรรมราช มีวัตถุประสงค์เพื่อใช้ในพิธีแห่ผ้าข้ึนธาตุ เป็นการ นา ผ้าพระบฏท่ีสร้างสรรค์ขึ้นห่มพระบรมธาตุเจดีย์นครศรีธรรมราช ซึ่งเป็นประเพณีสาคัญ ที่มีมาอย่างยาวนาน ในจังหวดั นครศรีธรรมราช โดยมีการแห่ผา้ และนาผา้ ข้ึนหม่ พระบรมธาตุในวัน สาคัญทางพทุ ธศาสนา ในวนั ขึ้น 15 ค่า เดือน 3 คือวันมาฆบูชา และวันข้ึน 15 ค่า เดือน 6 ซึ่งเป็นวันวิสาขบูชา ในทุกปีประชาชนจานวนมาก ท้ังชาวไทยและชาวต่างชาติเดินทางมาร่วมพิธีแห่ผ้าขึ้นธาตุ ณ วัดพระมหาธาตุวรมหาวิหาร กันอย่างคับคั่ง ผ้าพระบฏนครศรีธรรมราชส่วนใหญ่นิยม ใช้ผ้าขาวขนาดยาวเขียนเป็นภาพจิตรกรรมไทย เร่ืองราวเกี่ยวกับ พทุ ธประวัติ หรอื ทศชาตชิ าดก เพื่อนาไปห่มองค์พระบรมธาตุเจดีย์ ถวายเป็นพุทธบูชา การจัดการความรู้เรอื่ ง เทคนิคการสร้างสรรค์ผ้าพระบฏนครศรีธรรมราช เป็นการจัดกระบวนการการจัดการความรู้ แบ่งปันความรู้ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันของผู้เช่ียวชาญด้าน การสร้างสรรค์ผ้าพระบฏในจังหวัดนครศรีธรรมราช มีการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกันเก่ียวกับ เทคนิคการสร้างสรรค์ผ้าพระบฏ ซ่ึงจัดเป็นภูมิปัญญาท้องถ่ินที่มีการ ดาเนินการกนั มาอย่าง ต่อเนื่องและยาวนานในทุกปี อันเกดิ ประโยชน์ในการดารงรักษาไว้ซึ่งภูมิปัญญาท้องถิ่น และ เผยแพร่ภูมิปัญญาอันทรงคุณค่าแก่ผู้สนใจได้ใช้เป็นแนวทางในการสืบทอดในการสร้างสรรค์ ผ้าพระบฏ เพ่ือส่งเสริมการท่องเที่ยวจังหวัดนครศรีธรรมราช และเกิดประโยชน์ในการเรียนรู้ด้าน ศิลปวัฒนธรรมแก่ นกั เรียน นักศึกษา และผู้สนใจ คาสาคญั การสร้างสรรค์ ผ้าพระบฏ
หน้า 94 | การจัดการความร้สู ู่มหาวทิ ยาลัยนวัตกรรม วถิ ีค่าย วถิ ีศลิ ปนิ นางสาวณัฐหทัย พงศพทิ ักษ ภาควชิ าดุริยางคศิลป คณะศิลปนาฏดรุ ิยางค สถาบนั บณั ฑิตพัฒนศลิ ป เบอรโทรศัพทมือถือ 089-1973994 เบอรโทรสาร 02-2250197 [email protected] บทสรปุ ความถูกตองของเนื้อหา วิธีการบรรเลงในการพัฒนาทักษะเพ่ือคุณภาพในการบรรเลง จะตองไดรับ การควบคุมอยางเครงครัดจากผูถายทอดและผานการตรวจสอบจากผูเช่ียวชาญ KM เร่ืองน้ีเนนการศกึษา แนวลึก ไดแกการฝกฝนคนควาของแตละคนใหเชี่ยวชาญ ชานาญ แตกฉาน ในฐานะนักปฏิบัติทุกคน จาเปน ตองศึกษาทางแนวกวางควบคูกันไปดวยการศึกษาตามแนวกวางน้หี มายถึงการศกึ ษาใหรูใหทราบ ถึงวิทยาการ สาขาอ่ืน ๆ ตลอดจนความรูรอบตัวเกี่ยวกับสภาวะและวิวัฒนาการของสังคมในทุกแงมุม เพื่อชวยใหมองเห็น ใหเขาใจปญหาตางๆ อยางชัดเจนและสามารถนาวิชาการดานของตน ประสานเขากับวิชา ดานอื่นๆ ไดโดย สอดคลองถูกตองและเหมาะสม กระบวนการถายทอดดนตรีไทยท่ีเปนเอกลักษณของศิลปนตนแบบทางดาน ดนตรีไทยเพื่อเปนการ อนุรักษ สืบทอด และพัฒนาเปนการรอยเรียงใหเกิดสายใยในการเชื่อมตอกันของ ศิลปนจากรุนสูรุน วิชาชีพ ดนตรีไทยจะพัฒนาไปไกลแคไหน แตรากเหงาของดนตรีไทยท้ังหมดยังคงอยู และสามารถบอกเลาได ตลอดเวลาผลงานและกระบวนการถายทอดของศิลปนแตละทานจะถูกจารึกไวใน บทความนี้ความสาคัญอีก ประการหน่ึงก็เพ่ือสรางโมเดลแบบฝกจากครูตนแบบ ใหนักดนตรีไทยรุนตอ ๆ ไป ไดนาไปเรียนรู ทาความ เขาใจเพื่อสามารถนาองคความรูทั้งหมดไปวิเคราะห สังเคราะห เพ่ือหาแนวทาง ทเี่ หมาะสมกับผูเรียน นาไป ประยุกตใชใหเหมาะสมกบั เทคนิคกระบวนการถายทอดของตนเอง ดังน้ันไมวาจะ อนุรักษของเกา หรือ พัฒนาตอยอด สรางสรรคนวัตกรรมใหม ทั้งสองสิ่งน้ีลวนแลวแตมีความสาคัญ และเปนส่ิงท่ีมีคากบั วงการ ดนตรีไทยทงั้ สิ้น เขาใจของเดิมสรางสรรคส่งิ ใหมกเ็ พ่อื ปรับใหเขากับสังคม คน และ วัฒนธรรมในปจจบุ ัน คาสาคัญ collective learning (การเรียนรูรวมกนั ) เน้อื หา Content ผูถายทอด Knowledge transfer ผูเช่ยี วชาญ expert นกั ศกึ ษาหรอื ผูเรยี น learner
การประชุมสัมมนาเครอื ขา่ ยการจัดการความรู้ คร้ังท่ี 12 | หนา้ 95 การสอนวชิ าชีพเคร่ืองสายไทยในศตวรรษที่ 21 Knowledge management in Thai stringed vocational teachingin the 21st century นางสาววชั รมณฑ คงขนุ เทยี น Miss Watcharamon Kongkhunthian ครู วทิ ยาลัยนาฏศิลป [email protected] บทสรุปผูบรหิ าร การจัดการความรู เรื่อง การสอนวิชาชีพเครื่องสายไทยในศตวรรษที่ 21 วิทยาลัยนาฏศิลปในสาย การสอนระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานมีวัถุประสงค เพ่ือรวบรวมองคความรูและการ ระดมความคิดเพื่อหา ประเด็นหัวขอ หลักที่จะดาเนินการจัดการความรู เพ่ือเผยแพรองคความรู จากการแลกเปลยี่ นเรียนรูเก่ียวกับ แนวทางการปฏิบัติและกิจกรรมการสอนวิชาชีพเคร่ืองสายไทย ในศตวรรษท่ี 21 โดยกลุมเปาหมายในครั้งนี้ คือ ครูกลุ่มสาระการเรียนรูเคร่ืองสายไทย ภาควิชาดุริยางคไทย วิทยาลัยนาฏศิลป จานวน 11 คน มีวิธีการ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการ สัมภาษณแบบสนทนากลุม ระดมความคิด และการแลกเปล่ียนเรียนรู เปน กลุมใหญ 2 ครั้ง คร้ังละประมาณ 60 นาที และทาการสัมภาษณแบบเจาะลึกเปนรายคน คนละ 2 – 3 คร้ัง เพอ่ื คนหาแนวคิด การวางแผน และแนวทางการปฏิบัตกิ ิจกรรมการเรียนการสอน เพ่ือนาขอมูลมาแลกเปลี่ยน เรียนรู สรปุ วิเคราะหเน้อื หา และนาเสนอผลการจัดการเรียนรู โดยผาน กระบวนการดาเนินการจัดการความรู 7 ขั้นตอน มีประธานจะเปนผูดาเนินการ โดยมีเลขานุการ เปนผูจดบันทึก คณะกรรมการการจัดการความรู ดานการเรียนการสอน รวมกันหาขอสรุป นาเสนอในการประชุมเพื่อใหบุคลากรสามารถแลกเปลี่ยนเรียนรู จดั เวทีแลกเปล่ียนเรียนรูตาม ภาควิชาตางๆ เพื่อใหครูอาจารย ไดนาไปใชประโยชน นอกจากน้ีนาองคความรู เผยแพร ใน Blog KM ของวิทยาลัย และจัดนิทรรศการในสัปดาหวิชาการของวิทยาลยั นาฏศิลป หลังจากนั้น คณะกรรมการจัดทาองคความรูในรูปแบบของเอกสาร โดยมีกระบวนการในการเผยแพรองค ความรูไปสูครู และบคุ ลากรทางการศึกษาในภาควชิ าตางๆ ในวทิ ยาลยั นาฏศลิ ปหลากหลายชองทาง เชน การประชุมสัมมนา การเผยแพรในระบบเอกสารทางราชการผานบันทึกราชการ การเผยแพรผานเว็บไซด บอรดประชาสัมพันธ และชองทางอ่ืนๆ ของวิทยาลัยนาฏศิลป เพื่องายตอการสืบคน ศึกษาคนควา และการใหขอเสนอแนะตางๆ และนาผลจากการนาองคความรูไปใช มาแกไข ปรับปรุงองคความรูเดิมตามขอเสนอแนะตางๆ เพ่ือใหมีความ ชดั เจน และมีความ สมบูรณขององคความรู และจัดทาบัญชีผูนาองคความรูไปใชแลวประสบผลสาเร็จตอไป คาสาคญั การสอนวิชาชีพเครื่องสายไทย การสอนในศตวรรษท่ี 21 ดุริยางคไทย
หนา้ 96 | การจดั การความรสู้ ู่มหาวทิ ยาลัยนวัตกรรม การผลติ โพนเพอื่ ธรุ กิจชมุ ชน นายกิตติชัย รัตนพนั ธ วทิ ยาลยั นาฏศิลปพัทลุง สถาบนั บณั ฑติ พัฒนศิลป กระทรวงวฒั นธรรม การจดั การความรูดาน ทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมภูมิปญญาทองถน่ิ เบอรโทรศัพทมอื ถอื 089-8788002 [email protected] บทสรุปผูบริหาร การจัดการความรูท่ีตอบสนองยุทธศาสตรของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป เพ่ือมุงสูงานสรางสรรคและ นวัตกรรม ผลการดาเนินกิจกรรมพบวา สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป มีคลังความรู ประกอบดวย 4 ดานหลัก ๆ ดังน้ี คือ ดานการเรียนการสอน ดานการวิจัย ดานทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมภูมิปญญาทองถิ่น และดาน สนับสนุน ในสวนขององคความรูดานทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถ่ิน ท่ีสามารถตอบสนอง ยุทธศาสตรของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป มี 3 ประการคือ 1) การรวบรวมองคความรูและพัฒนา คลังความรู ของศิลปนแหงชาติและครูภูมิปญญาทองถิ่น 2) การนาองคความรูทางวัฒนธรรม (ดานดนตรี นาฏศิลป และ ทัศนศิลป) เพ่ือนาไปสูการใชประโยชนเชิงพาณิชย และ 3) การนาองคความรูทางวัฒนธรรม (ดานดนตรี นาฏศิลป และทศั นศิลป) เพ่ือตอยอด งานศลิ ป เปนเอกลกั ษณและอัตลกั ษณของทองถ่นิ รวมท้ังเปนผลิตภณั ฑ ทางวัฒนธรรม สาหรับประเด็นความรูท่ีเลือกมาจัดทา โครงการการจัดการความรูในปงบประมาณ 2561 คือ การรวบรวมองคความรูและพัฒนาคลังความรูของศิลปนแหงชาติและครู ภูมิปญญาทองถ่ิน ซึ่งตอบสนอง ยุทธศาสตรที่ 3 สรางสรรค ตอ ยอดงานศิลปเพื่อเปนเอกลักษณ อัตลักษณของทองถิ่น รวมทั้ง ผลิตภัณฑ บริการทางวัฒนธรรม ในประเด็น กลยุทธท่ี 1 กระตุน สงเสริมใหมีการสรางสรรค ตอยอดงานศิลปและเปน ผลิตภัณฑทางวัฒนธรรม โดยการจัดกิจกรรมและจัดงบประมาณสนับสนุน วิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง สถาบัน บัณฑิตพัฒนศิลป กระทรวงวัฒนธรรม เปนหนวยงานสังกัดสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป ในสวนภูมิภาคมีพ้ืนท่ี รับผิดชอบหลักในการจัดการเรียนการสอน พรอมท้ังอนุรักษ เผยแพรศิลปวัฒนธรรม ดานนาฏศิลป ดนตรี และทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมภูมิปญญาทองถิ่นภาคใต ในพ้ืนท่ี 7 จังหวัด คือ พัทลุง สงขลา สตูล ตรัง ยะลา ปตตานี และนราธิวาส ศิลปวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของชาวพัทลุงมีความโดดเดน มีเอกลักษณเฉพาะตัว มีความเปนมายาวนานจนถึงปจจุบัน โดยเฉพาะประเพณีแขงโพน-ลากพระ ท่ีเปนเอกลักษณทางวัฒนธรรม ของชาวพัทลุง โพนถือเปนศิลปวัฒนธรรมทางดานดนตรี อยางหนึ่ง ในอดีตแตเดิมน้ันโพนมีบทบาทเกี่ยวกับ พระพุทธศาสนา ในดานการบอกเวลาปฏิบัติกิจตาง ๆ ของพระสงฆ และ เปนอาณัติสัญญาณบอกเหตุราย หรือขาวสารใหชาวบานรู แตในปจจุบันโพนไดเขามามีบทบาททางสังคมและมีอิทธิพลตอการ ดารงชีวิตของ ชาวพัทลุงมากข้นึ
การประชมุ สัมมนาเครือขา่ ยการจัดการความรู้ คร้งั ท่ี 12 | หนา้ 97 การเก็บรวบรวมองคความรู เร่ืองการผลิตโพนเพ่ือธุรกิจชุมชน ของคณะกรรมการจัดการความรู ดานทานุบารุง ศิลปวัฒนธรรมภูมิปญญาทองถ่ิน วิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง ไดดาเนินการจัดเก็บองคความรู ตามกระบวนการการจัดการความรูอยาง เปนระบบ ผลผลิตที่เกิดจากการดาเนินโครงการจัดการความรู ประจาปงบประมาณ พ.ศ. 2561 เรื่องการผลิตโพนเพ่ือธุรกิจชุมชน โดย KM Team ดานภูมิปญญาทองถิ่น วิทยาลัยนาฏศิลปพัทลุง ที่ไดดาเนินการจัดเก็บองคความรูตามกระบวนการจัดการความรู ท้ัง 7 ขั้นตอน กอใหเกิดองคความรูใหม คือรายละเอียดขั้นตอนการผลิตโพน จานวน 22 ขั้นตอน มาตรฐานคุณลักษณะ ของโพน จานวน 3 ขนาด ไดแก 1) โพนขนาดเล็ก ตัวหุนโพนมีความยาวประมาณ 60 เซนติเมตร ขนาด หนากลองมเี สนผาศูนยกลาง ประมาณ 35-40 เซนติเมตร 2) โพนขนาดกลาง ตัวหุนโพนมีความยาวประมาณ 70 เซนติเมตร ขนาดหนากลองมีเสนผาศูนยกลาง ประมาณ 40-49 เซนติเมตร และ 3) โพนขนาดใหญ ตัวหุนโพนมีความยาวประมาณ 80 เซนติเมตร ขนาดหนากลองมีเสนผาศูนยกลาง ต้ังแต 50 เซนติเมตร ขึ้นไป ผลจากการจัดการความรูไดนาไปใชพัฒนาการผลิตโพนภายในชุมชน ตลอดจนสถานศึกษาในสังกัดกระทรวง ศึกษาธิการทั่วประเทศ สามารถนารายละเอียดมาตรฐานคุณลักษณะของโพน ไปใช ประกอบการกาหนด คุณลักษณะและรายละเอียดเครื่องดนตรี พื้นบานภาคใต เพ่ือจัดซื้อจัดจางครุภัณฑสาหรับสถานศึกษา สงผล ใหผูผลิตโพนและผูมีสวนเก่ียวของกับการผลิตโพนภายในชุมชน มีรายไดเพิ่มสูงขึ้น และสถาบันบัณฑิตพัฒน ศิลป มีระบบการจดั การความรูไปพรอม ๆ กับการพฒั นาศกั ยภาพการเรียนรูของ บุคลากรของสถาบนั บัณฑิต พัฒนศิลป รวมทั้งจะสามารถปรับตัวและยืนหยัดอยูภายใตสังคมเศรษฐกิจฐานความรู (KnowledgeBased Economy and Society - KBS) หรือ KM 4.0 ซึ่งเปนสังคมที่ต้ังอยูบนพื้นฐานของการใชความรูและภูมิป ญญาของคนใน องคกรเพือ่ มงุ สูงานสรางสรรคและนวัตกรรมไดอยางสงางาม คาสาคัญ โพน ธรุ กิจชุมชน
หน้า 98 | การจดั การความรสู้ ู่มหาวิทยาลัยนวตั กรรม การจดั การงานศิลป์เพ่อื ธรุ กจิ ชมุ ชนบ้านตะปอนใหญ่ จ.จันทบุรี The art knowledge management for local business of Ban Tapon Yai, Chanthaburi 1วาท่รี อยตรีชชู าติ สรอยสงั วาลย 2นางนา้ ทิพย สรอยสังวาลย 1,2ครูชานาญการพเิ ศษ วทิ ยาลัยนาฏศิลปจนั ทบุรี [email protected] [email protected] บทสรุป องคความรูดานทานุบารงุ ศิลปวัฒนธรรมภูมปิ ญญาทองถ่นิ เปนพันธกิจหนึ่งทส่ี าคญั ของ วิทยาลัยนาฏ ศิลปจันทบุรี การดาเนินงานสามารถตอบสนองยุทธศาสตรของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป ในยุทธศาสตรท่ี 3 อนุรักษ พัฒนา สืบสานและเผยแพรศิลปวัฒนธรรม แนวทางหน่ึง จากหลายๆ แนวทาง คือการดาเนินงาน มกี ารลงพ้ืนที่และรวมกับภูมปิ ญญาทองถิ่นทาการศึกษา ศิลปวัฒนธรรมภูมปิ ญญาทองถ่นิ และดาเนินการถอด เปนองคความรูรวมกัน ซ่ึงจะสะทอนคุณคาท่ี เปนเอกลักษณ อัตลักษณของงานศิลปที่สามารถตอบสนอง นโยบายดวยการพัฒนาศักยภาพของ ภูมปิ ญญาทองถิ่นและสนับสนุนการจัดการงานศิลปเพื่อธุรกิจชุมชนเพ่ือ นาไปใชประโยชนตอองคกร ทั้งภายในและภายนอก วทิ ยาลยั นาฏศิลปจันทบุรีมนี โยบายในการดาเนนิ งานการ จดั การความรูดานทานบุ ารงุ ศิลปวฒั นธรรมภูมิปญญาทองถน่ิ อยางเปนระบบ เพอ่ื สงเสริมและพัฒนาการให บริการทาง วิชาการที่หลากหลายแกชุมชนในทองถ่ินและสอดคลองกับความตองการของชุมชนดวย ชุมชน บานตะปอนใหญ จ.จันทบุรี เปนชุมชนแบบอยางท่ีมีความโดดเดนเร่ืองการทานุบารุง ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปญญาทองถิ่น และชุมชนบานตะปอนใหญ จ.จันทบุรี สามารถนาภูมิปญญา ศิลปวัฒนธรรมทองถิ่นมา ผลักดันสูธุรกิจของชุมชนไดเปนอยางดี เปนท่ียอมรับท้ังในระดับจังหวัด และในระดับชาติ วิทยาลัยนาฏศิลป จนั ทบรุ ี จงึ ใหความสาคัญในการจัดการความรู(Knowledge Management : KM) เรอื่ ง “การจัดการงานศิลป เพือ่ ธุรกิจชุมชนบานตะปอนใหญ จ.จนั ทบุรี” ผลการดาเนนิ การการจัดการความรูเรอ่ื งการจัดการงานศิลปเพื่อ ธุรกิจชุมชนบานตะปอนใหญ จ.จันทบุรี เปนแนวทางในการใหบริการเร่ืองทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม ภมู ปิ ญญาทองถิน่ กบั การสราง ธรุ กจิ ของชมุ ชนตางๆ ที่หลากหลายไดในโอกาสตอไป คาสาคญั ธุรกิจชมุ ชน การจัดการงานศิลป ชมุ ชนบานตะปอนใหญ
การประชุมสมั มนาเครอื ข่ายการจัดการความรู้ คร้ังท่ี 12 | หนา้ 99 เทคนิคการเขียนรายงานการสรา้ งสรรคผ์ ลงานศลิ ปะ นางจฬุ าลกั ษณ์ สทุ ิน วิทยาลยั ชา่ งศิลปนครศรธี รรมราช การจดั การความรดู้ ้าน การวิจยั การสร้างสรรค์ [email protected] บทสรุป การสรา้ งสรรคผ์ ลงานวชิ าการด้านศิลปะ เป็นการทางานสรา้ งสรรคศ์ ิลปะท่ีเน้นผลดา้ น การปฏิบตั เิ ป็น หลัก โดยให้ความสาคัญทั้งในส่วนของกระบวนการปฏิบัติ การทดลองในขณะ ปฏิบัติ และผลของการศึกษา ทดลองท่ีได้ทาการบันทึกข้อมูลอย่างเป็นระบบ การทางานสร้างสรรค์ โดยการปฏิบัติเป็นเครื่องมือท่ีนาไปสู่ ความรู้ใหม่ ทั้งนี้อาจเน้นถึงความรู้ท่ีได้จากกระบวนการ ศึกษาและสร้างสรรค์ ที่แสดงออกด้วยความเป็น เอกลักษณ์เฉพาะของผลงาน (Originality) เป็น การพัฒนาความรู้ในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ โดยผลสรุปที่ ได้คืองานสร้างสรรค์ทางศิลปะ เป็น การศึกษาหรือการค้นคว้าอย่างมีระบบด้วยวิธีการเพื่อให้ได้มาซ่ึงข้อมูล คาตอบ หรือข้อสรุปท่ีจะ นาไปสู่ความก้าวหน้าทางวิชาการ หรือการนาความก้าวหน้าทางวิชาการไป ประยุกต์ใช้ในการ สร้างสรรค์ผลงาน ซึ่งกระบวนการดังกล่าวเกิดประโยชน์ในการนาไปใช้เพ่ือพัฒนาด้าน การศึกษา การสร้างนวัตกรรมใหม่ การสร้างสรรค์หรืออนุรักษ์ด้านศิลปวัฒนธรรม หรือการพัฒนาผลงานใน ลกั ษณะงานสรา้ งสรรคท์ างศิลปะเพือ่ ขอตาแหน่งทางวิชาการ เป็นตน้ คาสาคัญ การเขียนรายงาน การสร้างสรรคผ์ ลงานศิลปะ
หน้า 100 | การจัดการความรู้สมู่ หาวิทยาลยั นวัตกรรม รูปแบบการจดั การเรยี นรดู้ นตรีไทยระดบั ประถมศกึ ษาสชู่ ุมชน THE MODEL OF LEARNING MANAGEMENT IN THAI MUSIC FOR ELEMENTARY EDUCATION TO THE COMMUNITY นางธนนั ญภา บุญมาเสมอ วิทยาลัยนาฏศลิ ปจนั ทบุรี หน่วยงาน สถาบนั บัณฑิตพัฒนศิลป์ กระทรวงวฒั นธรรม เบอรโ์ ทรสาร 039 313214 โทร. 089 2458589 [email protected] บทสรุป รูปแบบการจัดการเรียนรู้ดนตรีไทยระดับประถมศึกษาสู่ชุมชน เป็นการจัดเก็บองค์ความรู้ด้านการ สอนดนตรีไทย จากครูผู้สอนที่มีประสบการณ์และทักษะการสอนนักเรียนในระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 – 6 โดยจัดทาเป็นแบบฝึกทักษะปฏิบัติเครื่องดนตรีไทยเบื้องต้น ซอด้วง ซออู้ ขลุ่ย และจะเข้ เพ่ือนาไปใช้เป็น แนวทางในการสอนดนตรีไทย สาหรับนักศึกษาของวิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุรี ระดับชั้นปริญญาตรีปีท่ี 4 – 5 ในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียนและ ฝึกประสบการณ์สอนในสถานศึกษา รวมท้ังครูผู้สอนดนตรี ไทยในโรงเรียนและผู้ท่ีสนใจท่ัวไป การนาแบบฝึกทักษะปฏิบัติ เคร่ืองดนตรีไทยเบ้ืองต้นไปใช้ ทาให้ผู้เรียนมี พื้นฐานการปฏิบัติดนตรีไทยท่ีถูกต้องอย่างเป็นขั้นตอนตามหลักการสอน มีความ เข้าใจและมีพัฒนาการ ทางการเรียนดนตรไี ทยอยา่ งรวดเร็ว คาสาคญั การจัดการเรียนรู้ ดนตรไี ทย ระดับประถมศึกษา ชมุ ชน
การประชมุ สัมมนาเครือขา่ ยการจัดการความรู้ ครั้งท่ี 12 | หนา้ 101 การจดั การความรู้สูช่ ุมชนดว้ ยวงมโหรีอีสาน The Knowledge for Community by Mahoree Ensemble นายโยธิน พลเขต นายสุทธพิ งษ นามประสพ บทสรุป การจัดการความรูสูชุมชนดวยวงมโหรีอีสานคณะ KM Teamไดเห็นความสาคัญของวงมโหรี อีสาน เน่ืองจากวงมโหรีอีสานถือเปนองคความรูทอี่ ยูในตัวบุคคล โดยเฉพาะบทเพลงในวงมโหรีอีสาน ของนายคาตา หมื่นบุญมีความสาคญั และนาสนใจดังกลาวมาขางตน คณะ KM Teamเลง็ เห็น ความสาคัญของวงมโหรีอีสาน ท่ียังมีการบรรเลงอยูในจังหวัดรอยเอ็ดจึงสนใจศึกษาเร่ืองดังกลาว โดยมีวัตถุประสงคคือ 1) เพื่อจัดเก็บองค ความรูในวงมโหรีอีสาน 2) เพ่ือถายทอดองคความรูดานวง มโหรีอีสานสูชุมชน ในดานขอมูลตางๆท่ีเกี่ยวกับ มโหรีอีสาน บทเพลง รูปแบบการแสดง พิธีกรรม ความเชื่อ รวมีทง้ บทบาทความสัมพันธของวงมโหรีอีสานกับ สังคม ดวยเหตุผลดงั กลาวนี้จงึ เปนแรง บันดาลใจใหคณะ KM Teamทาการศึกษาคนควาเร่อื งวงมโหรีอีสานบา นเทียมแข อาเภอจตุรพักตร พิมาน จังหวัดรอยเอ็ด เลือกศึกษาเฉพาะวงมโหรีอีสานบานเทียมแขน้ี ซ่ึงเปนวง มโหรีท่ีมีช่ือเสียงใน ทองถิ่น และยังเปนที่รูจักของสังคม และจังหวัดรอยเอ็ด คณะ KM Teamไดเล็งเห็นถึง ความสาคัญ และตองการอนุรกั ษเชิดชูศลิ ปวฒั นธรรมทองถิน่ ใหเปนท่ีรูจักแพรหลาย จึงนาองคความรูดังกลาว ไป เผยแพรใหแก นักเรียน นักศึกษา และเยาวชนหรือผูท่ีมีความสนใจดานวงมโหรีอีสานในเขตจังหวัด รอย เอ็ดพรอมทั้งทาหนังสือราชการขอความอนุเคราะหใหนาองคความรู เร่ืองการจัดการความรูสู ชุมชนดวยวง มโหรีอีสานไปใชในทาวงมโหรีในชุมชน และจัดพิมพเน้ือหาเผยแพรทางเว็บไซตเพื่อให หนวยงานราชการ บุคลากรของวิทยาลัย นักเรียน นักศึกษา ประชาชนท่ัวไป ตลอดจนผูที่สนใจมา ศึกษาวงมโหรีอีสาน การนา องคความรูดานวงมโหรีอีสานไปเผยแพรน้ัน เปนการสงเสริมสืบสาน ศิลปวัฒนธรรมและเปนประโยชน สาหรับผูที่จะศกึ ษาคนควา ข้อมูลเกี่ยวกบั เร่ืองวงมโหรีอีสานสบื ตอไป คาสาคญั วงมโหรอี ีสาน
หนา้ 102 | การจดั การความรู้สู่มหาวทิ ยาลยั นวัตกรรม การจดั การเรยี นการสอนเพ่ือพฒั นาใหน้ ักเรยี น นักศกึ ษามวี ินัย Teaching Management to Develop the Student Discipline 1มณี เทพาชมภู 2ดวงเดือน แสงเมอื ง ครู วิทยาลัยนาฏศิลปสพุ รรณบรุ ี [email protected] [email protected] บทสรปุ การจัดการความรู เร่ือง การจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาให นักเรียน นักศึกษามีวินัย มีวัตถุประสงค 1) เพื่อศึกษาสภาพ และปญหาการดาเนินงานเสริมสรางความมีวินัยในตนเองของนักเรียน นกั ศกึ ษา วทิ ยาลัยนาฏศลิ ปสุพรรณบรุ ี 2) เพื่อนาเสนอแนวทางการดาเนนิ งานเสริมสรางความมีวนิ ยั ในตนเอง ของนักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุรี กลุมเปาหมายในการจัดการความรูเปนครู อาจารย วทิ ยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุรี เคร่ืองมือที่ใชเกบ็ รวบรวมขอมูล ไดแก แบบสอบถามเกี่ยวกับสภาพ และปญหา การดาเนินงานเสริมสรางความมีวินัยในตนเองของนักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยนาฏศิลป สุพรรณบุรี 4 ดาน ประกอบดวย ดานการกาหนดนโยบายแนวทางการดาเนนิ งาน ดานการจัด สภาพแวดลอม ดานนิเทศการสอน และดานการจัดกิจกรรมนักเรียน วิเคราะหขอมูลดวยสถิติ คารอยละ (Percentage) คาเฉลี่ย (Mean) และ คาเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) นอกจากนี้ไดใช วิธีการสัมภาษณ และการสนทนากลุม เพ่ือนาเสนอแนวทางการดาเนินงานเสริมสรางความมวี ินัยในตนเอง ของนักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยนาฏศิลป สุพรรณบุรี เพื่อใหไดมาซ่ึงแนวทางการจัดการเรียนการสอนเพ่ือ พัฒนาใหนักเรียน นักศึกษามีวินัย ผลการ จัดการความรูปรากฏดังน้ี 1. สภาพ และปญหาการดาเนินงานเสริมสรางความมีวินัยในตนเองของนักเรียน นักศึกษา วิทยาลัยนาฏศลิปสุพรรณบุรี ดานการกาหนดนโยบายแนวทางการดาเนินงาน ดานการจัดสภาพ แวดลอม ดานนิเทศการสอน และดานการจัดกิจกรรมนักเรียน มีการดาเนินการอยูในระดับมาก 2. แนว ทางการดาเนินงานเสริมสรางความมวี ินัยในตนเองของนักเรียน นกั ศึกษาวิทยาลัยนาฏศิลปสุพรรณบุรี สรุปได ดังน้ี ดานกาหนดนโยบายและแนวทางการดาเนินงาน 1) วิทยาลัยควรมกี าร กาหนดนโยบายและแนวทางการ ดาเนินงานเพื่อพัฒนาใหนักเรียนนักศึกษามีวินัย ในเรื่องตาง ๆ เชน ใหครูกวดขันเรื่องความประพฤติ อบรม ความประพฤตกิ อนเขาช้นั เรยี น ใหครูสงั เกตติดตามความประพฤตินักเรียน นักศึกษา ท้ังในและนอกหองเรียน 2) ใหครูท่ีปรึกษาสนับสนุนนักเรียน นักศึกษาที่มีความ ประพฤติดีได เปนแบบอยางกับเพ่ือน ๆ หรือจัด กิจกรรมเสนอขาว คนดี มีวินัย 3) ชื่นชมนักเรียน นักศึกษาท่ีประพฤติดี มีวินัย เปนแบบอยางแกเพื่อนในช้ัน เรียน 4) ครูประพฤติตนเปนแบบอยางที่ดีใหแก นักเรียน นักศึกษาในดานความมีวินัย เชน แตงกายเรียบรอย ถูกระเบียบตามที่สถานศึกษากาหนด เขาสอนตรงเวลา เลิกสอนตรงเวลา รับผิดชอบตอหนาที่ที่ไดรับ มอบหมาย 5) วทิ ยาลยั ตองจดั ทาคูมือ ระเบยี บปฏบิ ตั ิของวิทยาลัยและประกาศใชเปนขอปฏบิ ัติอยางเครงครัด
การประชุมสัมมนาเครือข่ายการจดั การความรู้ คร้ังท่ี 12 | หนา้ 103 ดานการจัดสภาพแวดลอม 1) สรางสภาพแวดลอมที่สงเสริมดานความมีวินัยใหแกนักเรียน นักศึกษา เชน ให ครูกวดขันเร่ืองความ สะอาด ความเปนระเบียบเรียบรอยของอาคารเรียน อาคารประกอบ และบริเวณ วิทยาลัย 2) จดั สภาพแวดลอมในหองเรยี นใหมีบรรยากาศที่เสริมสรางความมีวนิ ัย เชน ดูแลรักษาความสะอาด พื้นหอง จัดโตะเกาอี้ใหเปนแถวอยางมีระเบียบ วัสดุอุปกรณตาง ๆ จัดวางอยางเรียบรอย สวยงาม ดานการนิเทศการสอน 1) อบรมความประพฤตินักเรียน นักศึกษา สอดแทรกไปกับเนื้อหาวิชาที่สอน 2) การจัดการเรียนการสอนท่ีมุงเนนใหผูเรียนไดเห็นประโยชนของการมีวินัยในตนเองและนาไปใชใน ชวี ิตประจาวนั 3) ใชคาพูด แสดงพฤติกรรมในทางบวก และใชเหตุผลในการเสริมสรางความมีวนิ ยั แก นักเรียน นักศึกษา และไมเปรยี บเทียบพฤติกรรมของแตละคน ดานการจัดกิจกรรมนักเรียน นักศกึ ษา 1) การสรางกฎ ระเบยี บรวมกันระหวางครกู ับนักเรียนในชั้นเรียน เปนการฝกใหรูจักกฎระเบียบของการอยู รวมกันในสังคม 2) ควรใหมีการมอบประกาศเกียรตบิ ัตรหรือรางวัลแกนักเรียนทม่ี ีความประพฤติดี จัดประกวดเลานิทาน แตงคา ขวัญ บทกลอน เรียงความ หรอื การแสดงท่ีสงเสริมความมีวินัย อีกทั้ง สนับสนนใุ หผูปกครองมสี วนรวมในการ เสริมสรางความมีวินัยของนักเรียน นักศึกษา 3) จัดกิจกรรมอบรม คุณธรรมจริยธรรมดานความมีวินัยใหแก นกั เรยี น นักศึกษา 4) จดั กิจกรรมทเ่ี สริมสรางความมีวนิ ัยใหแก นักเรียน นกั ศึกษา สรางแกนนาในการใหความ รแู ละฝกปฏิบัตดิ านความมวี ินยั ในแตละรุน คาสาคัญ การจัดการเรยี นการสอน วนิ ัย
หนา้ 104 | การจดั การความรู้สู่มหาวิทยาลยั นวัตกรรม โขนสด จังหวัดลพบรุ ี นางนนั ทวัน ณ กาฬสนิ ธุ วิทยาลยั นาฏศิลปลพบรุ ี สถาบนั บณั ฑิตพัฒนศิลป เบอรโทรศัพทมอื ถือ 0994149553 [email protected] บทสรุป การจัดการความรู เร่ือง โขนสด จังหวัดลพบรุ ี เปนการจดั การความรูดานภูมิปญญาทองถ่ิน จัดทาขึ้น โดยวิทยาลัยนาฏศิลปลพบุรี มีวัตถุประสงคเพ่ือ อนุรักษ สืบสาน และเผยแพรโดยรวบรวมองค ความรูท่ีมีอยู จากภูมิปญญาทองถิ่นท่ีมีความเช่ียวชาญและมีประสบการณดานการแสดงโขนสดมาพัฒนา อยางเปนระบบ เพื่อใหบุคลากรทุกคนในองคกรสามารถเขาถึงความรู และพัฒนาตนเองใหเปนผูรู ปฏิบัติงานไดอยางมี ประสิทธิภาพ ในกระบวนการจัดการความรูเร่ืองโขนสด จังหวัดลพบุรีน้ันไดการ แตงตั้งคณะกรรมการ การจัดการความรู ประจาปงบประมาณ 2561 ซ่ึงมีหนาท่ีในการดาเนินงานใหเกิด กิจกรรมตามกระบวนการ จัดการความรู โดยเรมิ่ จากการจดั ประชุมเพอ่ื คนหาประเด็นความรูท่ีมี ความสาคัญตอหนวยงาน ตามประเด็น ของยุทธศาสตรสถาบัน ในการดาเนินการจัดทาแผนการเรียนรู ได กาหนดกิจกรรมและผูรับผิดชอบ โดยจัด ดาเนินกิจกรรมตามขั้นตอนดังน้ี 1. การคนหาความรู 2. การ สรางและแสวงหาความรู3.การจัดการความรูให เปนระบบ 4. การประมวลและกล่ันกรองความรู 5.การแบงปนและแลกเปลี่ยนความรู 6. การเขาถึงความรู 7. การเรียนรู ซึ่งคณะทางานไดไปศึกษาการ แสดงโขนสด จังหวัดลพบุรี ณ โรงเรียนวัดโพธ์ิเกาตน จังหวัด ลพบุรโี ดยการสัมภาษณจากภูมปิ ญญาทองถ่ินและนานักเรยี นเขารบั การถายทอด โดยรวมฝกหัดการแสดงโขน สดอยางเปนข้ันตอนและนาเสนอ แสดงใหนักเรียน นักศึกษาไดชมในชวงชว่ั โมงซอมเสริมและพักกลางวนั และ จัดต้ังชมรมโขนสดเพื่อเปน การอนุรักษ สืบสานการแสดง คณะทางานนาขอมูลที่ไดจากการสัมภาษณมาวิ เคราะหขอมูล เพ่ือจัดทา เปนเอกสารทางวิชาการ และวิดีทัศนเพื่อเผยแพรทางเว็บไซดของวิทยาลัยและเผย แพรตามสถานศึกษา ในจังหวัดลพบุรี เม่ือการดาเนินกาจัดการรความรูเสร็จส้ินทุกกระบวนการ วิทยาลัยฯ ไดสนบั สนนุ โดยการให นักเรียน นักศกึ ษาฝกฝนการแสดงโขนสด โดยจัดตงั้ ชมรมโขนสดข้นึ ในการจัดการเรยี น การสอนเพื่อให นักเรียน นักศึกษาไดมีความรูทางดานวิชาการและวิชาปฏิบัติใหเกิดทักษะในการแสดงและ นาการแสดง โขนสด จังหวัดลพบุรี มาเผยแพรตอสาธารณชน นับไดวาเปนการนาองคความรูดานภูมิปญญาท องถ่ินที่ แสดงถึงอัตลักษณอยางมีคุณคาสูสังคมและเปนเอกลักษณของจังหวัดลพบุรีซึ่งสอดคลองกับ วัตถุประสงค หลักที่วิทยาลัยนั้นเปนแหลงเรียนรู ดานนาฏศิลป ดุริยางคศิลป และคีตศิลปที่มีมาตรฐาน จนเปนที่ ยอมรบั ในระดับทองถนิ่ และระดบั ชาติสบื ไป คาสาคญั โขนสด จังหวัดลพบรุ ี
การประชุมสัมมนาเครือข่ายการจัดการความรู้ คร้งั ที่ 12 | หนา้ 105 การปรบั วงมโหรีเครอื่ งเดย่ี วเพ่ือการประกวด The Improvement for Mahoree Khrueang Deaw in Music Competition สารศิ า ประทปี ชวง Sarisa Prateepchuang ผูชวยอธกิ ารบดี สถาบันบัณฑิตพฒั นศิลป [email protected] บทสรปุ การจัดการองคความรูเรื่อง “การปรับวงมโหรีเคร่ืองเดี่ยวเพื่อการประกวด” มีวัตถุประสงคเพ่ือเก็บ รวบรวม องคความรูเก่ียวกับการปรับวงมโหรีเครื่องเดี่ยวเพื่อการประกวด และ (2) เพ่ือเผยแพรองคความรู จากการ แลกเปลี่ยนเรียนรูเกี่ยวกับการปรับวงมโหรีเครื่องเดี่ยวเพ่ือการประกวด มีวิธีการเก็บรวบรวมขอมูล โดยการ สัมภาษณแบบสนทนากลุม สัมภาษณแบบเจาะลึก เพ่ือคนหาแนวทางในการปรับวงมโหรีเครื่องเดี่ยว เพื่อการประกวด จากครูภาควิชาดุริยางคไทย วิทยาลัยนาฏศิลป จานวน 10 คน ซึ่งเปนบุคคลท่ีมีความรู มีประสบการณในการปรับวง ดนตรีไทย นาขอมูลท่ีไดมาแลกเปล่ียนเรียนรู สรุปวิเคราะหเน้ือหา นาเสนอผล การจัดการเรียนรู โดยผาน กระบวนการดาเนินการจัดการความรู 7 ข้ันตอน พบวา องคประกอบในการปรับ วงมโหรีเครื่องเดี่ยว ไดแก (1) ผูปรับวงและครูผูฝกสอน เปนผูท่ีมีความรูรอบ มีประสบการณในการปรับวง ดนตรี (2) นักดนตรี ตองมีสติปญญาใน การจดจาเพลง มีความแมนยาในทานองเพลงและการบรรเลง (3) นักรอง เปนผูท่ีมีีน้าเสียงใสกังวาน ไมแหบเครือ มี แกวเสียง รูจักทางในการบรรเลงของเคร่ืองดนตรี (4) เคร่ืองดนตรี ตองมีระดับเสียงท่ีสอดคลองเหมาะสม ไดรับการ เทียบเสียงใหไดระดับเสียงีท่ถูกตองตาม ระดับเสียงที่ใชในการบรรเลงมโหรี (5) การฝกซอม มีท้ังการแยกฝกซอม เฉพาะเครื่องดนตรีและการฝกซอม รวมวง และ (6) การบรรเลงบนเวทีตองบรรเลงใหมีแนวเพลงมีความสีม่าเสมอ ไมสะดุดในทานองและจังหวะ สานวนกลอนของเพลงมีความสอดคลองกัน นอกจากนี้ ไดจัดทาองคความรูในรูปแบบ ของเอกสาร เผยแพร องคความรูไปสูครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาในภาควชิ าตาง ๆ และวิทยาลยั นาฏศิลปะทวั่ ประเทศ คาสาคัญ การปรบั วง วงมโหรีเครือ่ งเดย่ี ว การประกวดดนตรไี ทย
หนา้ 106 | การจดั การความรู้ส่มู หาวทิ ยาลยั นวตั กรรม เทคนคิ การเขยี นงานวจิ ัยทางด้านนาฏศิลป์ไทย Technique to write the research about Thai Dramatic Arts นางเกษร เอมโอด ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ วทิ ยาลัยนาฏศลิ ปสโุ ขทัย สถาบันบณั ฑิตพฒั นศิลป บทสรปุ การจดั การความรูเรื่อง “เทคนิคการเขยี นงานวิจัยทางดานนาฏศลิ ปไทย” เปนการจัดการความรูดาน การวิจัย จัดทาขึ้นโดยวิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัย เพ่ือจัดทาคูมือการเขียน งานวิจัย เรื่อง เทคนิคการเขียน งานวิจัยทางดานนาฏศิลปไทย สาหรับเปนแนวทางใหแกบุคลากร นักศึกษาทางสาขานาฏศิลปไทย ใน กระบวนการการจัดการความรู เร่ือง เทคนิคการเขียนงานวิจัยทางดานนาฏศิลปไทย วิทยาลัยนาฏศิลปสโุ ขทัย ดาเนินการแตงตั้งคณะกรรมการการจัดการความรู ประจาปงบประมาณ พ.ศ. 2561 ซึ่งมีหนาที่ในการ ดาเนนิ งานใหเกิดกิจกรรมตามกระบวนการการจดั การความรู โดย เรมิ่ ตั้งแตจดั ประชมุ เพื่อคนหาประเดน็ ความ รูท่ีมีความสาคัญตอหนวยงานตามประเด็น ยุทธศาสตรและดาเนินการจัดทาแผนการจัดการความรู กาหนด กจิ กรรม ผูรบั ผิดชอบกิจกรรม จากน้ันจึงแตงต้งั บุคลากรภาควิชานาฏศิลปที่สาเร็จการศึกษาในระดับปริญญา โท และมี ประสบการณในการเขียนงานวิจัย เปนคณะกรรมการการจัดการความรูดานการวิจัย เร่ืองเทคนิค การเขียนงานวิจัยทางดานนาฏศิลปไทย เพ่ือรวมแลกเปล่ียนเรียนรู โดยมีคณะกรรมการการ จัดการความรู ดาเนินการใหเปนไปตามข้ันตอนตั้งแตการแสวงหาความรู การจัดการความรูใหเปน ระบบ การประมวลและ กล่ันกรองความรู นาขอมูลท่ีผานการประมวลและกล่ันกรองแลวมาจัดทา เปนคูมือการเขียนงานวิจัย เร่ือง เทคนิคการเขียนงานวิจัยดานนาฏศิลปไทย เมื่อดาเนินการจัดทาเปนคูมือเทคนิคการเขียนงานวิจัยทางดาน นาฏศลิ ปไทยเปนที่ เรียบรอย คณะกรรมการการจัดการความรูนาคมู ือเผยแพรใหแกบุคลากรภาควิชานาฏศิลป วิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัยและนักศึกษาในระดับปริญญาตรี ที่กาลังเรียนรายวิชาที่มีเนื้อหา เกี่ยวของ กับการเขียนงานวิจัย นอกจากนั้นคณะกรรมการการจัดการความรูจัดทา facebook ให ความรูแกบุคลากร นักศึกษาท่ีมีขอสงสัยไดซักถามโตตอบกันโดยมีคณะกรรมการคอยตอบขอ สงสัย และพัฒนานักวิจัยรุนใหม่ ผานระบบ E-learning คาสาคัญ เทคนิคการเขียน วจิ ยั ดานนาฏศลิ ปไทย
การประชุมสัมมนาเครือข่ายการจดั การความรู้ คร้ังที่ 12 | หน้า 107 เพลงขอทานจังหวัดสโุ ขทัย Sukhothai Beggar Songs นางเกษร เอมโอด ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ วิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทยั สถาบันบัณฑติ พฒั นศลิ ป บทสรปุ การจัดการความรูเรื่อง “เพลงขอทานจังหวัดสุโขทยั ” เปนการจดั การความรูดานภูมิ ปญญาทองถิ่น จัดทาข้ึนโดยวิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัย โดยมีวัตถุประสงคเพื่อรวบรวมองคความรู เร่ืองเพลงขอทานจังหวัด สุโขทัย เพื่ออนุรักษ สืบสาน และเผยแพรเพลงขอทานของจังหวัดสุโขทัย โดยจัดทาเปนแผนที่ผูรูและ ผูเช่ียวชาญ ในกระบวนการการจัดการความรู เรื่อง เพลงขอทานจังหวัดสุโขทัย วิทยาลัยนาฏศิลป สุโขทัย ดาเนินการแต งต้ังคณะกรรมการการจัดการความรู ประจาป งบประมาณ พ.ศ. 2561 ซึ่งมี หน าท่ี ในการดาเนินงานใหเกิดกิจกรรมตามกระบวนการการจัดการความรู โดยเร่ิมต้ังแตจัด ประชุมเพื่อคนหา ประเด็นความรูท่ีมีความสาคัญตอหนวยงานตามประเด็นยุทธศาสตรและ ดาเนินการจัดทาแผนการจัดการ ความรู กาหนดกิจกรรม ผูรับผิดชอบกิจกรรม จากน้ันจึงแตงตั้ง บุคลากรภาควิชาดุริยางคศิลปของวิทยาลัย ท่ีมีความรู เกี่ยวกับเพลงขอทานเป นคณะกรรมการ การจัดการความรู ดานภูมิปญญาท องถิ่น เร่ือง เพลงขอทานจังหวัดสุโขทัย เพ่อื ดาเนินกิจกรรมใน ข้ันตอนการแสวงหาความรู การจัดการความรูใหเปนระบบ การประมวลและกลน่ั กรองความรู การแบงปนแลกเปลี่ยนความรู โดยเขาไปศึกษาวิธีการรองเพลงขอทานจาก ครูภูมิปญญาทองถิ่น ตลอดจนบนั ทึกเสียงการรองเพลงขอทานของครูภูมิปญญาทองถิน่ นาเพลงท่ีไดมาจัดใหเปน หมวดหมู ดาเนนิ การจัดทาเปนโนตเพลง และเปน CD เพลง ซ่ึงมกี ารตรวจสอบความถูกตองกอน เผยแพร เม่ือการดาเนินการจัดการความรูเสร็จสิ้นทุกกระบวนการแลว วิทยาลัยไดนาขอมูลที่ได จัดทาเปน แผนที่ผูรูและผูเช่ียวชาญ เผยแพรทางเว็บไซดของวิทยาลัยนาฏศิลปสุโขทัย เพื่อเปน ฐานขอมูลใหบุคลากร และผูสนใจเขาถึงแหลงขอมูลไดสะดวก รวดเร็ว และเปดชมรมเพลงขอทาน ใหแกนักเรียนท่ีสนใจเพ่ืออนุรักษ สืบสานเพลงขอทานจังหวดั สุโขทัย คาสาคญั เพลงขอทาน จังหวดั สโุ ขทัย
หนา้ 108 | การจดั การความรู้สู่มหาวิทยาลยั นวตั กรรม การถ่ายทอดทา่ รา โขนลงิ ของคุณครวู โิ รจน์ อยสู่ วัสดิ์ นางสาวนนั ทนา สาธิตสมมนต คณะศิลปศึกษา สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป การจดั การความรูดาน ทานุบารงุ ศลิ ปวัฒนธรรมภูมิปญญาทองถนิ่ เบอรโทรศัพทมือถือ 091-4426959 [email protected] บทสรุปผูบรหิ าร การจัดการความรูเรื่อง“การถายทอดทารา โขนลิงของคุณครูวิโรจน อยูสวัสด์ิ” จัดทาข้ึนภายใต ประเด็น ยุทธศาสตรการพัฒนาการจัดการศึกษาดานนาฏศิลป ดุริยางคศิลปและคีตศิลป ใหมีคุณภาพและ มาตรฐานเปนท่ี ยอมรบั ระดบั ชาติ โดยมวี ัตถุประสงคเพื่อรวบรวมองคความรูของผูเชย่ี วชาญดานนาฏศลิ ปไทย ของคณะศิลปศึกษา สถาบันบณั ฑิตพัฒนศิลป เพื่อจัดทารูปเลมขอมูลเกี่ยวกับเทคนคิ กลวิธีการถายทอดทารา ของผูเชี่ยวชาญดาน นาฏศิลปไทย คณะศิลปศึกษา สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป เห็นคุณคาและความสาคัญของ องคความรูเก่ียวกับ การ ถายทอดทาราโขนลงิ ของคณุ ครวู ิโรจน อยูสวัสดิ์ จงึ คนหาประเด็นความรูดงั กลาวเพื่อ นาไปสูการจัดการเรียนการ สอนเพื่อพัฒนาคุณภาพของผูเรียนใหมีความรูความสามารถตามเกณฑมาตรฐาน จึงดาเนินการจดั ทาองคความรู เร่อื ง “การถายทอดทาราโขนลิงของคุณครูวโิ รจน อยูสวัสดิ์ ” นข้ี ึ้น การจัดการ ความรูเรื่อง“การถายทอดทารา โขนลิงของคุณครูวิโรจน อยูสวัสด์ิ” เปนการรวบรวมเทคนิค กลวิธีการถาย ทอดทาราของผูเช่ยี วชาญดานนาฏศิลปไทยคุณครู วโิ รจน อยูสวสั ด์ิ ต้ังแตการคดั เลือกผูเรียนใหเปน ตวั ลงิ หลัก ทั่วไปในการสอนกระบวนการถายทอดทาราและกลวิธีในการถายทอดทาราของครูวิโรจน อยูสวัสดิ์ ในการ ดาเนินการจัดการความรูเรื่อง“การถายทอดทารา โขนลิงของคุณครูวิโรจน อยูสวัสดิ์” เม่ือ กล่ันกรองความรู แลว จะจัดทาเปนเอกสารเผยแพรขอมูลความรูจากการจัดการความรูจัดทาเปนเอกสาร ประกอบการสอนแก คณาจารยและบุคลากรในภาควิชารวมทั้ง เผยแพรแกวิทยาลัยนาฏศิลปทุกแหง ที่มีการเรียน การสอน เกี่ยวกับดานนาฏศิลปรวมทั้งเผยแพรขอมูลความรูในรูปแบบของส่ืออิเล็กทรอนิคส Ebook ทางเว็บไซต คณะภาควชิ าฯเฟสบุคของภาควิชาฯเฟสบุคของคณะตลอดจนเว็บไซตของสถาบันฯเผยแพรใหแกบคุ ลากรและ บคุ คลทั่วไปทมี่ คี วามสนใจ คาสาคญั การถายทอดทารา
การประชมุ สัมมนาเครอื ขา่ ยการจดั การความรู้ ครงั้ ท่ี 12 | หน้า 109 แนวทางการเสนอหัวข้อวจิ ัย/สร้างสรรค์ใหไ้ ด้รบั ทนุ Good practice for proposing topics for research / creation to receive scholarships นางสาวชัญญาภคั แกวไทรทวม นกั วชิ าการศึกษาปฏบิ ัติการ สถานทที่ างาน ฝายวิจยั และนวตั กรรม สถาบันบัณฑติ พฒั นศิลป [email protected] บทสรุป ฝายวิจัยและนวัตกรรม สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป ไดตระหนักถึงความสาคัญของการเสนอหัวขอวิจัย และการรับรูประโยชนท่ีไดจากการเสนอหัวขอและโครงการวิจัยที่ดี มีคุณภาพ เพ่ือเปนการเพ่ิมโอกาสในการ ขอรับทุนสนับสนุนการวิจัยจากแหลงทุนและสามารถพัฒนางานวิจัยที่ตนถนัดไดอยางเต็มที่ คณะกรรมการ จัดการความรูของฝายวิจัยและนวัตกรรม จึงไดดาเนินการจัดเก็บองคความรู เร่ือง แนวทางการเสนอหัวขอ วิจัย/สรางสรรคใหไดรับทุน เพ่ือเปนการสรางความรูความเขาใจในการเขียนขอเสนอโครงการวิจัยท่ีถูกตอง และสามารถพัฒนาโครงการวิจัยใหสอดคลองกับวัตถุประสงคของแหลงทุนตางๆ มากย่ิงข้ึน โดยการเสวนา แลกเปลี่ยนเรียนรูระหวางคณะกรรมการจัดการความรูของฝายวจิ ัยและนวัตกรรม กับผูทรงคุณวุฒิผูทไ่ี ดรับทุน สนับสนุนการวิจัยจากสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป หรือหนวยงานท่ีเก่ียวของเพื่อสรุปเปนเอกสารทางวิชาการ จากการแสวงหาความรูโดยคณะกรรมการจัดการความรู ของฝายวจิ ัยและนวัตกรรม สามารถสรุปเปนประเด็น องคความรู เรื่อง แนวทางการเสนอหัวขอวิจัย/สรางสรรคใหไดรับทุน ไดดังน้ี 1. การเลือกประเด็นหรือหัวขอ วิจัย 2. รปู แบบของโครงรางวิจัย 3. ความเปนมาและความสาคัญของปญหาการวจิ ัย 4. วตั ถุประสงคการวิจัย 5. กรอบแนวคิดการวิจัยและตวั แปรท่ีเราจะศึกษาตองชัดเจน 6. การทบทวนวรรณกรรมและงานวจิ ยั ท่เี ก่ียวของ 7. วิธีการดาเนินการวิจัย 8. การกาหนดงบประมาณวจิ ยั 9. การนาไปใชประโยชน คาสาคญั ขอเสนอโครงการวิจยั แหลงทุน
หน้า 110 | การจดั การความรู้สู่มหาวิทยาลัยนวตั กรรม รบั งานในขณะเรียนอย่างไร เพอ่ื ไม่ใหก้ ระทบต่อความรู้ด้านวิชาการ How to get a job while studying to do not affect academic knowledge 1นางสาวทิพกา ศรีดาว 2นางสาวจิดาภา ผลเลขา 1นกั ศกึ ษา สาขานาฏศลิ ปไทยศกึ ษา คณะศิลปศึกษา สถาบันบัณฑิตพฒั นศิลป 2นกั ศึกษา สาขาดนตรีคีตศิลปไทยศึกษา คณะศิลปศึกษา สถาบนั บณัฑติ พัฒนศิลป บทสรุป ในการแลกเปลี่ยนองคความรูของคณะศิลปศึกษาในครั้งน้ี คณะกรรมการจัดการองค ความรู ของนักศึกษาคณะศิลปศึกษา ไดมีการประชุมและหาขอสรุปในการแลกเปลี่ยนองคความรู เรื่อง รับงาน ในขณะเรียนอยางไรเพื่อไมใหกระทบตอความรูดานวิชาการ โดยมีผลของการจัดการ ความรูในประเด็นตางๆ ดังน้ี การพิจารณากอนการรับงานแสดง การรับงานแสดงของสถาบัน กอนไปซอมหรือไปแสดงควรมีการ ขอความชวยเหลือจาก เพ่ือนในการจัดเก็บเอกสารที่ไดรับในคาบเรียน หากเปนงานแสดงสวนตัว ควรเลือก รับงานเฉพาะ วันเสาร อาทิตย วันหยุดนักขัตฤกษ หรือชวงตอนเย็นของวันจันทร-ศุกร และเมื่อรับงานแสดง แลว ควรวางแผนในการจัดการเน้ือหาหรอื ภาระงานในรายวิชาที่ไมไดเขาเรียน หากมงี านท่ี จะตองสง จะตอง วางแผนวาจะกลับถึงที่พักเวลาใด ใชเวลาในการทางานเทาไหร เพื่อใหสามารถ ทางานสงทันเวลา นอกจากนี้ ควรหลกี เลย่ี งการรับงานแสดงในชวงของการสอบ และพยายามเขา หองเรยี นใหบอยคร้งั ที่สุด การบริหารจัดการระหวางงานแสดง ในการแสดงแตละครั้ง หากเปนการแสดงท่ีมีการหยุดพัก ระหวางแสดงควรนาเอกสาร ประกอบการสอน ภาระงานที่ไดรับมอบหมายในชั้นเรียนมาทาดวยทุกคร้ัง และ โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งหากตองไปแสดงในชวงของการสอบ ก็ควรทบทวนเน้ือหาอยูเสมอ การแสดงท่ีตองมีการ เดิน ทางไกล ระหวางเดนิ ทางสามารถทบทวนเน้อื หาในรายวชิ าตางๆ ได แนวทางการปฏิบัติตนหลงั งานแสดง เมื่อแสดงเสร็จควรรีบกลับท่ีพักใหเร็วท่ีสุด และควรทางานที่ตองสงใหเสร็จกอนเขานอน หรือหากไมสามารถ ทาได ก็ควรรบี ตืน่ ตอนเชาเพือ่ มาสถาบนั ใหเพอื่ นๆ แนะนา การทบทวน บทเรียน หลังรับงานแสดงควรกลับมา ทบทวนเนื้อหาทุกคร้ัง และหากมีขอสงสัยก็ควรบันทึกไว และไปสอบถามกับอาจารยผูสอน ในชวงท่ีรับงาน หากเปนชวงเวลาท่ีมีการสอบภาคปฏิบัติ หลัง กลับจากทางานควรกลับมาฝกซอม โดยศึกษาจากวีดีโอท้ังใน YouTube และจากที่ฝากเพ่ือนๆ บันทึกไวในช้นั เรยี น ในสวนของการสอบทฤษฎี ควรวางแผนการอานหนงั สือ ไวกอนลวงหนา ประมาณ 2-3 อาทิตย และควรสรุปเนื้อหาสาคัญตางๆ ไว เพื่อจะไดนาไปอานทบทวนใน ระหวาง การแสดง คาสาคญั การรับงานแสดง การเรยี นรูดานวิชาการ
การประชมุ สัมมนาเครอื ข่ายการจัดการความรู้ คร้งั ท่ี 12 | หน้า 111 การสอนดนตรีไทยใหก้ บั ชุมชน “โรงเรียนวัดโปง่ แรด” TEACHING THAI MUSICFORCOMMUNITY “WATPONGRAD SCHOOL” 1นางสาวเจนจริ า นามโคตร 2นางสาวพรพรรณ สขุ ถาวร 3นางธนนั ญภา บญุ มาเสมอ 4นางสาวธนพตั ธรรมเจรญิ พงศ 1,2นกั ศึกษาปริญญาตรีชัน้ ปที่ 4 3,4อาจารยท่ปี รึกษา [email protected] [email protected] สถาบนั การศึกษา วิทยาลัยนาฏศลิปจันทบีรุ หนวยงาน สถาบันบณั ฑติ พัฒนศลิ ปกระทรวงวฒั นธรรม เบอร โทรสาร 039 313214 โทร. 1086 1095439 2063 1971749 3089 2458589 4089 1548590 บทสรปุ การสอนดนตรีไทยใหกับชุมชน “โรงเรยี นวดั โปง่ แรด” เปนการดาเนินกิจกรรมการสอนดนตรีไทยของ นักศึกษาปริญญา ตรีช้ันปที่ 4 สาขาวิชาดนตรีคีตศิลปไทยศึกษา วิทยาลัยนาฏศิลปจันทบุรีจานวน 14 คน ที่ไดรับการส่ังสมและบมเพาะจากการ เรียนในหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต (ครู 5 ป) ตามอัตลักษณของ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป“มืออาชีพงานศิลป” รูปแบบของ กิจกรรมเปนการสอนดนตรีไทยและจดั การบรรเลง รวมวงแสดงผลงานในระดับปฐมวัยและประถมศึกษาป ท่ ี 1 -6 โรงเรียนวัด โป งแรดจานวน 45 คน เคร่ืองดนตรีที่สอน ไดแก กลองยาว ซอดวง ซออู ขลุย ขิม จะเข ระนาดเอก ระนาดทุม และฆองวงใหญ กิจกรรมจัดขึ้นในระหวางวันท่ี1 กันยายน - 2 ตุลาคม 2561 กิจกรรมการสอนแบงเปน 3 รูปแบบไดแก 1) การสอนดนตรีไทย สาหรับเด็กปฐมวัย2) การสอนดนตรีไทยเบื้องตนสาหรับเด็กประถมศึกษา 3) การสอน ดนตรีไทยสาหรับเด็กประถมศึกษาท่ีผาน การฝกปฏิบัติเบ้ืองตนเรียนมาแลวองคความรูที่ได คือ แนวทางการ จัดกิจกรรมการสอนดนตรีไทย แนวทางการสอนดนตรีไทย ในระดับปฐมวัยและประถมศึกษา และ แบบฝกปฏบิ ัตทิ ักษะดนตรีไทยตามรูปแบบการสอน จากการจดั กิจกรรมสอนดนตรีไทย สงผลให 1. นักศึกษา ไดรับประสบการณตรงในการทางาน เสริมสรางทักษะการสอนสามารถพัฒนาวิธีการสอนใหเหมาะสมตาม ศักยภาพของผูเรียน ทาใหมีทักษะการสอนดนตรีไทยอยางครูมืออาชีพ 2.สรางสรรคส่ือการสอนเครื่องดนตรี ผลไม เงาะ มังคุดทุเรียน สาหรับเดก็ ปฐมวยั 3.นักเรียนโรงเรียนวัดโปงแรดท่ีเขารวมทุกคนสามารถเลนดนตรี ไทยได 1 ช้ิน 4. สรางความยั่งยืนดานศิลปวัฒนธรรมดนตรีไทยใหกับชุมชนกลุมเปาหมายนกั เรียนในโรงเรียน วดั โปงแรด คาสาคัญ การสอน ดนตรีไทย ชมุ ชนโรงเรียนวดั โปงแรด
หน้า 112 | การจดั การความรู้สมู่ หาวทิ ยาลยั นวตั กรรม เทคนิคการสรา้ งแรงบนั ดาลใจการสร้างสรรคผ์ ลงานศิลปะ นายนพดล ไทรแกว้ และคณะ วทิ ยาลยั ช่างศลิ ปนครศรีธรรมราช [email protected] บทสรุป การสร้างสรรค์ผลงานศิลปะของนักศึกษา มีท่ีมาที่แตกต่างกันออกไป โดยการสร้างสรรค์ ผลงานเกิด จากแรงบันดาลใจอนั เป็นแรงผลักดันให้เกดิ การสร้างสรรค์ผลงานออกมาในงานศิลปะ ในการเรียนรายวิชาต่าง ๆ เช่น จิตรกรรม องค์ประกอบศิลป์ วาดเส้น ภาพพิมพ์ และศิลปะไทย เป็นต้น ซ่ึงแรงบันดาลใจ ในการ สร้างสรรค์ผลงานเกิดข้ึนจากหลายกรณี เช่น แรงบันดาลใจจาก ธรรมชาติ แรงบันดาลใจจากส่ิงที่มนุษย์ สร้างข้ึนที่อยู่แวดล้อมรอบตัวเรา เช่น ถนน อาคาร ชุมชน สังคม ความเชื่อ ความคิด วัฒนธรรม ประเพณี ผลงานศิลปะตัวอย่างที่ศิลปินสร้างข้ึน ประสบการณ์ในอดีต เทคโนโลยี วัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ตลอดจน จินตนาการ และความรู้สึกของ ผู้สร้างสรรค์ เป็นต้น แรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะ จึงมีความสาคัญในการเรียน รายวิชาศิลปะ มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ผลงานของนักศึกษา แรงบันดาลใจ อาจเกิดจาก ประสบการณ์ในอดีต ส่ิงแวดล้อมรอบตัว สังคม ที่ผู้เรียนได้สัมผัส อย่างไรก็ตามการสร้างสรรค์ ผลงานศิลปะ นักศึกษาจาเป็นต้องศึกษาค้นคว้า หาข้อมูลเชิงลึก เพื่อท่ีจะนาเสนอข้อมูลในรูปแบบ ผลงาน ศลิ ปะอันสะท้อนออกมาให้ปรากฏในผลงานศิลปะของตน ซึ่งหากนกั ศึกษาไมม่ ีแรงบันดาล ใจในการสร้างสรรค์ ผลงานจะส่งผลให้การทางานไม่ประสบความสาเรจ็ หรือไม่สามารถสร้างสรรค์ ผลงานได้ ส่งผลตอ่ ผลการเรียน และความสาเร็จในการเรียน การจัดการความรู้เร่ือง เทคนิคการสร้างแรงบันดาลใจในการสร้างสรรค์ผลงาน ศิลปะ เป็น การจัดกระบวนการการจัดการความรู้ แบง่ ปันความรู้ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันของนักศึกษา วิทยาลัยช่างศิลปนครศรีธรรมราช ทม่ี ีผลงานศิลปะเป็นที่ยอมรับ ได้รับรางวัลในการประกวด ระดับชาติ และ นักศึกษาผู้มีผลการเรยี นสูงสุดในช้ันเรียน จัดเป็นกระบวนการท่ีม่งุ พัฒนา กระบวนการทางความคดิ ของผู้เรียน สามารถพัฒนาความคิด การนาเสนอข้อมูล ผู้เรียนได้ใช้ ความคิดเชิงเหตุผล วิเคราะห์ วิจารณ์ แลกเปล่ียน เรียนรู้ระหว่างกัน ซึ่งเกิดประโยชน์แก่นักศึกษา ด้านการสื่อสาร การส่ือความท่ีดี ช่วยให้สามารถเข้าร่วม กิจกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถเผยแพร่ข้อมูลที่เป็นประโยชน์แก่นักศึกษาในวิทยาลัย และผู้สนใจ จากภายนอก เพ่ือเสริมจดุ แข็ง ลดจดุ ออ่ น และชว่ ยสรา้ งลกั ษณะนิสยั การค้นคว้าหาข้อมูลเพื่อสรา้ งแรงบนั ดาล ใจในการ สรา้ งสรรคผ์ ลงานศลิ ปะ ให้กับนกั ศึกษา ตลอดจนนิสยั ใฝ่รูใ้ ฝเ่ รียนตลอดชวี ิต คาสาคญั Inspiration Creation Works of Art
การประชมุ สัมมนาเครือขา่ ยการจดั การความรู้ คร้ังที่ 12 | หน้า 113 เทคนิคการตบี ทของนาฏศิลป์ไทย 1นางสาวณฐั พร แกวจนั ทร 2นางสาวเบญจา กาจาย วิทยาลัยนาฏศลิ ปสุโขทัย การจัดการความรูดาน การจดั การความรูสาหรับนกั ศึกษา โทรศัพทมอื ถือ 10911529025 20913822559 [email protected] [email protected] บทสรปุ การจัดการความรูเร่ือง เทคนิคการตีบทของนาฏศิลปไทย จัดทาขึ้นภายใตประเด็นยุทธศาสตร การพัฒนาการการจัดการการศึกษาดานนาฏศิลป ดุริยางคศิลปและคีตศิลป ใหมีคุณภาพและเปนมาตรฐาน เปนที่ยอมรับระดับชาติ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อรวบรวมเทคนิคการตีบทของนาฏศิลปไทยเพื่อจัดทาคูมือ การสอน และเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน จากวัตถุประสงคดังกลาววิทยาลยั นาฏศลิ ปสุโขทัยไดมอบหมายให คณะกรรมการการจัดการความรูดาเนินการแตงตั้งคณะอนุกรรมการการจัดการความรูดานการเรียนการสอน เพื่อประชุมหาคลังความรูวาความรูใดบางที่มีความสาคัญตอเทคนิคการตีบทของนาฏศิลปไทย จัดใหมีการ แลกเปล่ียนความรู นาองคความรูีท่ไดมาจัดเปนหมวดหมู และนาความรูปรับปรุงภาษาใหอานแลวเขาใจงาย นาองคความรทู ่ีผานการประมวลผลและกล่ันกรองแลวมาจัดเปนคูมือการสอนและใหบุคลากรนาไปใช ในการเรียนการสอน การจัดการความรูเรื่อง เทคนิคการตีบทของนาฏศิลปไทย เปนการรวบรวมเทคนิคการตี บทของ ครูผูสอน ตง้ั แตพนื้ ฐานองคประกอบของนาฏศิลป ไดแก นาฏยศพั ท ภาษาทานาฏศิลป แมทา แมบท ใหญ จารีตนาฏศิลปไทย ในการดาเนินการจัดการความรูเร่ือง เทคนิคการตีบทของนาฏศิลปไทย เมื่อ กล่ันกรองความรูแลวจึง จัดทาเปนคูมือเทคนิคการตีบทของนาฏศิลปไทยและสรางเพจ facebook ใชช่ือวา “ทิงนองนอย” ท่ีมีภาพใน รูปแบบ info graphic เปนความรูท่ีสามารถเผยแพรและเขาถึงไดงาย ครูและ โรงเรียนตางๆสามารถนาความรู ไปใชในการเรียนการสอนใหเกิดประโยชนได และเพ่ือเปนการพัฒนาการจัด การศึกษา วิทยาลัยนาฏศิลป สุโขทัยจะดาเนินการจัดการความรูเก่ียวกับเทคนิคการสอนในแขนงตางๆ ใหครู ผูสอนไดนาองคความรูไป พัฒนาการสอนและพัฒนาคณุ ภาพผูเรยี นตอไป คาสาคัญ เทคนิคการตบี ท นาฏศลิ ป์ไทย
หนา้ 114 | การจัดการความรู้สู่มหาวิทยาลัยนวัตกรรม แนวทางการเตรียมตัวนกั ศกึ ษาฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพครสู อดคล้องกับการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 ของนักศกึ ษาวิทยาลยั นาฏศลิ ป ชลธชิ า กฤษณมิตร และคณะ ฝ่ายอดุ มศกึ ษาคณะทางาน การจดั การความรู้ในส่วนของนักศกึ ษา บทสรุปผูบรหิ าร การจัดการความรูเรื่องแนวทางการเตรียมตัวนักศึกษาฝกประสบการณวิชาชีพครูสอดคลองกับการ เรียนรูในศตวรรษท่ี 21 ของนักศึกษาวิทยาลัยนาฏศิลป โดยมีวัตถุประสงค เพื่อใหนักศึกษาปริญญาตรีช้ันปท่ี 1-4 มีการเตรียมตัวในการฝกประสบการณวิชาชีพครูในระดับปริญญาตรีช้ันปท่ี 5 และเพื่อลดปญหาในการ ฝกประสบการณวิชาชีพครูในระดับปริญญาตรีช้ันปที่ 5 เพื่อใหผลการฝกมีประสิทธิผล และประสิทธิภาพ ตามนโยบายของฝายการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาและเพื่อใหนักศึกษามีคุณลักษณะตามวัตถุประสงคของ หลักสูตร โดยกลุมเปาหมายในครัง้ น้ี คือ นกั ศึกษาปริญญาตรชี นั้ ปท่ี 1-4 วทิ ยาลยั นาฏศิลป คาสาคัญ แนวทางการเตรยี มตวั นกั ศกึ ษาฝกประสบการณวชิ าชีพครู การเรียนรูในศตวรรษที่ 21
การประชุมสมั มนาเครอื ข่ายการจัดการความรู้ ครั้งที่ 12 | หนา้ 115 การจัดการกลอนลาของหมอลาสมชาย เงินล้าน The Knowledge Klonlam of Molam Somchai Ngernlan นายทรงพล หนอกระโทก นายพงษพฒั น เหมราช บทสรุป การจัดการกลอนลาของหมอลาสมชาย เงินลาน คณะ KM Team ไดเห็นความสาคัญในดาน กลอนลา เนื่องจากการแสดงหมอลาถือเปนองคความรูที่อยูในตัวบุคคล โดยเฉพะกลอนลาของหมอลา สมชาย เงินลาน เปนกลอนลาท่ีมีเน้ือหาเกี่ยวกับความรูดานประวัติศาสตร ดานพุทธศาสนา ดาน ศีลธรรม และคณุธรรม จริยธรรม และปจจุบันหมอลาสมชาย เงินลานทานอยูในวัยชรามากแลวหากไม มีการบันทึกหรือจัดเก็บขอมูล ความรูเหลาน้ันอาจจะสูญหายไปพรอมกับตัวบุคคลได โดยมี วัตถุประสงคคือ 1) เพือ่ จดั เก็บกลอนลาของหมอ ลาสมชาย เงินลาน 2) เพ่ือถายทอดองคความรูดาน กลอนลาของหมอลาสมชาย เงินลาน การถายทอดองค ความรูดานกลอนลาของหมอลาสมชาย เงินลาน ไดนาองคความรูไปเผยแพรใหแก นกั เรียน นกั ศึกษา และ เยาวชนหรอื ผูทีม่ ีความสนใจดาน หมอลาในเขตจังหวดั รอยเอด็ พรอมทั้งทาหนังสือราชการขอความอนุเคราะห ใหนาองคความรู เร่ืองการ จัดการกลอนลาของหมอลาสมชาย เงินลาน ไปใชในการฝกหัดหมอลา และจัดพมิ พ เผยแพรทาง เว็บไซตเพ่ือใหหนวยงานราชการ บุคลากรของวิทยาลัย นักเรียน นักศึกษา หมอลา ตลอดจน ผูท่ีสนใจ มาศึกษาการลาของหมอลาสมชาย เงินลาน การท่ีไดนาองคความรูดานการจัดการกลอนลาของหมอ ลา สมชาย เงนิ ลานไปเผยแพรและศึกษา เปนการสงเสริมและสบื สานศิลปวฒั นธรรมใหคงอยูสืบไป คาสาคญั กลอนลา หมอลา
หน้า 116 | การจัดการความรู้สู่มหาวิทยาลยั นวัตกรรม รปู แบบการส่งเสรมิ การเรียนรแู้ บบมสี ่วนร่วม เพื่อพัฒนาศกั ยภาพส่กู ารเปน็ ผู้ฝกึ สอนกีฬาระดับชาติ Participatory Learning Promotion Model for Developing Potentials to Become National Coaches อเนชา เพยี รทอง ศริ นิ ภา เพียรทอง อาจารยป์ ระจาสาขาพลศึกษาและสขุ ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตชลบรุ ี 111 ม.1 ต.หนองไมแ้ ดง อ.เมือง จ.ชลบุรี 20000 โทรศพั ท์ 083-0297939 [email protected] บทสรปุ รูปแบบการส่งเสริมการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม เพ่ือพัฒนาศักยภาพสู่การเป็นผู้ฝึกสอนกีฬา ระดับชาติ เป็นกระบวนการพัฒนาผู้เรียนในสาขาวิชาพลศึกษาและสุขศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนในกลุ่ม วิชาเอกพลศึกษา (วิชาทักษะและการสอนกีฬา) กรณีศึกษารายวิชาทักษะและการสอนกีฬาฟันดาบ โดยใช้การจัดการความรู้ใน การดาเนินงาน ภายใต้กระบวนการการสนทนากลุ่ม (Focus group) ของ ผู้สอนในกลุ่มวิชาทักษะและการ สอนกีฬาของคณะศึกษาศาสตร์ สถาบนั การพลศึกษา วทิ ยาเขต ชลบุรี และการมีส่วนร่วมในการดาเนนิ งานกับ สมาคมกีฬาฟันดาบสมัครเล่นแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ของสมเด็จพระบรมโอรสาธริ าช สยามกุฎราช กมุ าร (THAILAND FENCING FEDERATION: TFF) โดยในการจัดการเรยี นการสอนใช้หลักสูตรแบบมีส่วนรว่ ม จากการสงั เคราะห์ เอกสารจากรายละเอียดของหลกั สตู รศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าพลศึกษาและสขุ ศึกษา ฉบับ ปรับปรุง 2556 (มคอ.2) รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.3) และหลักสูตรการฝึกอบรมผู้ฝึกสอนกีฬา ฟันดาบสากลระดับชาติของสมาคมฟันดาบสมัครเล่นแห่งประเทศไทยฯ หลังจากการเรียนการสอน ตาม หลักสูตรแบบมีส่วนร่วมแล้ว นกั ศึกษาได้รับการทดสอบตามแบบทดสอบของรายวิชาทกั ษะและ การสอนกีฬา ฟันดาบ และแบบทดสอบของสมาคมฟันดาบสมัครเล่นแห่งประเทศไทยฯ ซ่ึงนักศึกษา ผ่านการทดสอบร้อยละ 100 ตามแบบทดสอบทง้ั 2 รายการ และได้รบั ใบรบั รองคณุ สมบัติ (certificate) ขน้ึ ทะเบียนเป็นผฝู้ กึ สอนกีฬา ฟันดาบระดับชาติจากสมาคมฟันดาบสมัครเล่นแห่ง ประเทศไทย รวมท้ังได้รับการขึ้นบัญชีรายช่ือเป็นผู้ ฝกึ สอนกฬี าระดับชาตใิ นระบบฐานขอ้ มลู ของการกฬี าแห่งประเทศไทย (กกท.) คาสาคญั รปู แบบการสง่ เสรมิ การเรียนร้แู บบมสี ่วนรว่ ม ผูฝ้ ึกสอนกีฬาระดบั ชาติ
การประชมุ สมั มนาเครอื ขา่ ยการจัดการความรู้ ครัง้ ที่ 12 | หน้า 117 เทคนิคการเขียนบทความวจิ ัย Research Article Writing Technique 1ชวนชม อาษา 2นวเนตร สังข์สมบูรณ์ 1Chuanchom Arsa 2Nawanate Sangsomboon 1,2อาจารย์ สถาบันการพลศึกษา วทิ ยาเขตอ่างทอง [email protected] [email protected] บทสรุป สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตอ่างทอง เป็นสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่มี พันธกิจในการ สร้างสรรค์และพัฒนาบุคลากรในด้านการจัดการศึกษา การเป็นแหล่งเรียนรู้ที่ สาคัญของท้องถิ่น และอีก ประการหน่ึงท่ีสาคัญ คือ การวิจัย ซึ่งถือเป็นพันธกิจที่สาคัญต่อการ พัฒนานักศึกษา และองค์กรให้มีคุณภาพ ท้ังนี้วิทยาเขตอ่างทองได้เห็นความสาคัญของการจัดการ ความรู้ที่มีอยู่ในตัวบุคคลของบุคลากรท่ีมีคุณภาพใน การทาผลงานวิจัย โดยมุ่งหวังให้นา ผลงานวิจัยไปนาเสนอและตีพิมพ์เผยแพร่ได้มากย่ิงข้ึน จึงได้จัดกิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรดู้ า้ น วจิ ัย เรอ่ื ง เทคนิคการเขยี นบทความวิจัย เพื่อเป็นแนวปฏิบัตทิ ่ีดใี ห้บคุ ลากรนาไปใชก้ าร พัฒนา ศักยภาพของผลงานวิจัย ด้วยการเชิญวิทยากรให้ความรู้ด้านงานวิจัยเพ่ิมเติมและสร้าง กระบวนการ กลุ่มทาให้บุคลากรได้เล่าประสบการณ์เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ และดาเนินการจด บันทึก วิเคราะห์ และ สงั เคราะห์ข้อมูล จนได้เทคนิคการเขียนบทความวิจัย ต้ังแต่การเริ่มต้นใน การเขียนบทความวิจัย และเทคนิค การเขียนบทความวิจัย ซ่ึงแบ่งออกเป็นรายข้อ ได้แก่ การกาหนดโครงสร้างของต้นฉบับบทความวิจัย การกาหนดโครงสร้างของแต่ละหน้า และการ เขียนบทความวิจัย ซึ่งบุคลากรได้นาเทคนิคดังกล่าวไปใช้ ในการเขียนบทความวิจัยได้ถูกต้อง และ นาไปตีพิมพ์ในวารสาร รวมถึงการนาเสนอในการประชุมวิชาการ ท้ังในระดับชาติ และนานาชาติ อีกทั้งส่งเสริมให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการเขียนบทความวิจัยร่วมกับ คณาจารย์ผสู้ อนเพอ่ื เป็น การพัฒนานักศึกษาได้อีกทางหนงึ่ ด้วย คาสาคญั เทคนิค การเขียน บทความวิจัย
หน้า 118 | การจดั การความรู้สมู่ หาวทิ ยาลัยนวัตกรรม ระบบการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนกีฬาจังหวดั สพุ รรณบุรี INTERNAL QUALITY ASSURANCE SYSTEM IN SUPHANBURI SPORT SCHOOL นางสาวเสาวลี แจ้งใจดี1 ดร.พรเทพ เมืองแมน2 Miss. Saowalee Jaengjaidee1 Dr.Pornthep Muangman2 1ครูชานาญการพิเศษ โรงเรยี นกีฬาจงั หวัดสพุ รรณบุรี 2ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั กรุงเทพธนบุรี [email protected] [email protected] บทคัดย่อ การวจิ ัยนม้ี ีวตั ถุประสงค์เพื่อ (1) ศกึ ษาสภาพและปญั หาในการดาเนินงานการประกันคณุ ภาพ ภายใน ของโรงเรียนกีฬาจังหวัดสุพรรณบุรี (2) ออกแบบและพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน ของโรงเรียน กีฬาจังหวัดสุพรรณบุรี และ (3) รับรองระบบการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนกีฬา จังหวัดสุพรรณบุรี โดยดาเนินการ 6 ขน้ั ตอน คือขั้นตอนท่ี 1 ศึกษาเอกสารและงานวิจัยท่ีเกีย่ วข้องกับ ระบบการประกันคุณภาพ ภายใน ขั้นตอนท่ี 2 ศึกษาสภาพและปัญหาในการดาเนินงานระบบประกัน คุณภาพภายในของโรงเรียนกีฬา จังหวัดสุพรรณบุรี โดยสอบถามความคิดเห็นของผู้อานวยการ รองผู้อานวยการ และบุคลากรโรงเรียนกีฬา จังหวัดสุพรรณบุรี จานวน 85 คน ข้ันตอนท่ี 3 ศึกษาแนวทาง ในการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน ของโรงเรียนกีฬาจังหวัดสุพรรณบุรี โดยการอภิปรายกลุ่ม ผู้ทรงคุณวุฒิจานวน 10 คน ขั้นตอนที่ 4 ยกร่าง แบบจาลองระบบการประกนั คุณภาพภายในของโรงเรยี น กฬี าจงั หวดั สุพรรณบรุ ี โดยการประชมุ เชิงปฏิบตั ิการ ผู้อานวยการ รองผู้อานวยการ และบุคลากร จานวน 18 คน ขั้นตอนท่ี 5 ประเมินความเหมาะสมของ แบบจาลองระบบการประกันคุณภาพภายใน ของโรงเรยี นกฬี าจังหวัดสพุ รรณบรุ โี ดยผู้ทรงคุณวุฒิจานวน 5 คน ข้ันตอนท่ี 6 การรับรองแบบจาลอง ระบบการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนกีฬาจังหวัดสุพรรณบุรี โดย การอภิปรายกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ จานวน 7 คน ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการดาเนินงานการประกันคุณภาพ ภายในของโรงเรียนกีฬาจังหวัดสุพรรณบุรี มีการ ดาเนนิ งานมากท่ีสุดในเรื่องการจัดทาสรุปรายงานและจัดทา รายงานประจาปี ส่วนภาพรวมปัญหาเก่ียวกับ การดาเนินการประกันคุณภาพภายในอยู่ในระดับมาก ปัญหา ที่พบมากท่ีสุดคือ การจัดทาแผนพัฒนา การจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ และเป้าหมาย 2. ระบบการประกนั คุณภาพภายในของโรงเรียนกีฬาจังหวัดสพุ รรณบุรี ประกอบด้วย การเตรียม ความพร้อม ก่อนการประกนั คุณภาพด้วย SBM, RBM, TQM การดาเนนิ งานระบบการประกนั คุณภาพ ภายในของโรงเรยี น กีฬาจังหวัดสุพรรณบุรี ได้แก่ การกาหนดมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน/การจัดทา แผนพัฒนาการจัด การศึกษาของโรงเรียน/การจัดระบบบริหารและสารสนเทศภายในของโรงเรียน/การ ติดตามตรวจสอบ
การประชุมสัมมนาเครอื ข่ายการจัดการความรู้ คร้งั ท่ี 12 | หนา้ 119 คุณภาพการศึกษาของโรงเรียน/การประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษา ของโรงเรียน/การจัดทา รายงานประจาปีของโรงเรียน/การพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง 3. ผลการรับรองแบบจาลองระบบ ผู้ทรงคุณวุฒิให้การรับรองว่าแบบจาลองระบบการประกนั คณุ ภาพภายในของโรงเรียนกีฬาจังหวัดสุพรรณบุรี ทพี่ ัฒนาข้ึนมคี วามถูกต้อง มีความเหมาะสม มีความ เป็นประโยชน์และมีความเป็นไปได้ในการนามาปฏิบัติใน ระดบั ดีมาก คาสาคัญ ระบบการประกนั คณุ ภาพ SBM RBM TQM
หน้า 120 | การจดั การความรู้สู่มหาวทิ ยาลัยนวตั กรรม การพัฒนาระบบฐานขอ้ มลู ด้านการประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายใน สถาบันการพลศกึ ษา : IPE QA Online Development in Data Base System of Internal Educational Quality Assurance, Institute of Physical Education: IPE QA Online ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ชนติ า ไกรเพชร นางสุขเสนอ รัตนรงั สกิ ลุ นายเพ็ชร ห้อยตะขบ สถาบนั การพลศึกษา 333 หมู่ 1 ต.หนองไม้แดง อ.เมือง จ.ชลบรุ ี เบอร์โทรศัพท์ 038-054211 เบอรโ์ ทรสาร 038-054223 บทสรปุ การจัดการความรเู้ ร่ือง การพัฒนาระบบฐานขอ้ มูลด้านการประกนั คุณภาพการศกึ ษา ภายใน สถาบัน การพลศึกษา : IPE QA Online จดั ทาขน้ึ เพอ่ื แกป้ ัญหาในการดาเนนิ งาน การประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน ของสถาบันการพลศึกษา ให้มีคุณภาพมากขึ้นและสอดคล้อง กับโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการของสถาบัน การพลศึกษา วิธีดาเนินงานการจัดการความรู้ เป็นการดาเนินงานตามขั้นตอนและกระบวนการจัดการ ความรู้ โดยเริ่มจากการวิเคราะหส์ ภาพ และปัญหาท่ีเกิดขึ้นจากการดาเนนิ งานการประกัน คุณภาพการศึกษา ภายใน ท่ีเกิดข้ึนในปัจจุบัน และสารวจความต้องการในการจัดการองค์ความรู้ มาสู่กระบวนการพฒั นาความรู้ การถ่ายทอดความรู้ ใหก้ ับบุคลากรกลุ่มเป้าหมาย และการ แบ่งปันความรใู้ ห้กับกลุ่มเป้าหมาย และผู้เกี่ยวข้อง ทุกฝ่าย ผลการดาเนินงาน พบว่า สถาบันการพลศึกษาได้พัฒนาระบบ IPE QA Online : ระบบฐานข้อมูล ด้านการประเมินคุณภาพการศึกษา ระบบ IPE QA Online เป็นระบบท่ีใช้ในการจัดทา รายงานการประเมิน ตนเอง การประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับหลักสูตร คณะ วิทยาเขต และสถาบัน และสังเคราะห์ผล การดาเนินงานในภาพรวมของสถาบันการพลศึกษาเข้าระบบ CHE QA Online ที่ถูกต้องและรวดเร็วมากข้ึน ทั้งนี้จากที่สถาบันการพลศึกษาได้พัฒนาระบบ IPE QA Online : ระบบฐานข้อมูลด้าน การประเมินคุณภาพ การศกึ ษาและได้ใช้ดาเนินงานการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายในผ่าน ระบบดงั กล่าวตั้งแต่ปีการศึกษา 2558 2559 และ 2560 พบว่า ทาใหผ้ ลการดาเนนิ งานมีความ สะดวก รวดเรว็ ถูกตอ้ งและประหยัดเวลามากขึ้น คาสาคญั ระบบฐานข้อมลู ประกนั คุณภาพการศึกษา สถาบนั การพลศกึ ษา
การประชมุ สัมมนาเครอื ข่ายการจดั การความรู้ คร้ังที่ 12 | หน้า 121 การพัฒนานวตั กรรมทางศาสตร์การกฬี า โดยใช้วธิ ีการจัดการความรู้เป็นฐาน Knowledge Management Approach Based Development of Innovation in Sports ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พชั รี ทองคาพานิช1 ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์พวงแกว้ วิวฒั น์เจษฎาวุฒิ2 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อธิวัฒน์ ดอกไม้ขาว3 ปติ ิโชค จนั ทรห์ นองไทร4 รถั ญา สรี อด5 ผู้ช่วยอธกิ ารบดฝี า่ ยวจิ ยั และประกันคุณภาพการศึกษา1 ผชู้ ่วยอธิการบดฝี ่ายวชิ าการ2 อาจารย์ประจาสาขาวิทยาศาสตรก์ ารออกกาลงั กายและกีฬา3 ผู้ชว่ ยอธกิ ารบดฝี ่ายวเิ ทศนส์ ัมพันธ์4 อาจารย์ประจาสาขาวิทยาศาสตรส์ ุขภาพ5 สถาบันการพลศกึ ษา วิทยาเขตสพุ รรณบุรี 1 หมู่ 4 ตาบลรว้ั ใหญ่ อาเภอเมือง จงั หวัดสุพรรณบุรี บทสรปุ การพัฒนานวัตกรรมทางศาสตร์การกีฬา โดยใช้วิธีการจัดการความรู้เป็นฐาน มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษากระบวนการพัฒนานวัตกรรมทางศาสตร์การกีฬา โดยใช้วิธีการจัดการความรู้เป็นฐาน และ สร้างนวัตกรรมทางศาสตร์การกีฬา โดยใช้กระบวนการจัดการความรู้ 7 ข้ันตอน เป็นเคร่ืองมือในการ พัฒนา คร้ังน้ี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาเพื่อการพัฒนานวัตกรรม เป็นนักศึกษา และอาจารย์ คณะวิทยาศาสตร์ การกีฬาและสุขภาพ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสุพรรณบุรี ผลการศึกษา พบว่า กระบวนการพัฒนา นวัตกรรมทางศาสตร์การกีฬา โดยใช้วิธีการจัดการความรู้เป็นฐาน ประกอบด้วย 5 ข้ันตอน ได้แก่ ข้ันการ ออกแบบนวัตกรรม ข้ันการสร้างและพัฒนานวัตกรรม ขั้นตรวจสอบคุณภาพ นวัตกรรม ขั้นการนานวัตกรรม ไปทดลองใช้ และข้ันการประเมินผล จากผลการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า การพัฒนานวัตกรรมทางศาสตร์การ กฬี า โดยใช้วิธีการจดั การ ความรูเ้ ป็นฐานสามารถพฒั นาการจัดการเรยี นการสอน เพ่อื ให้นกั ศกึ ษาและอาจารย์ ได้เกิดกระบวนการคิด วิเคราะห์ แก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ ส่งผลให้มีนักศึกษา และอาจารย์ คณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและ และสุขภาพ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสุพรรณบุรี ได้ผลิตนวัตกรรมทาง วทิ ยาศาสตร์การกฬี า ช่ือผลงาน Move of Life ภายใต้สโลแกน“แค่ขยับ ชีวิตก็เปลี่ยน”และได้รับรางวัลรอง ชนะเลิศอันดับ 2 สาขาวิทยาศาสตร์การกีฬา ในการประกวดนวัตกรรมแห่งประเทศไทย คร้ังท่ี 18 ระดับประเทศ ในงาน นวัตกรรมแห่งชาติ ปี พ.ศ. 2561 จากสมาคมวิทยาศาสตร์แห่งประเทศไทยในพระบรม ราชูปถัมภ์ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สานักนวัตกรรมแห่งชาติ อีกท้ัง ได้นานวัตกรรม Move of Life ไปศึกษาเพือ่ ทาวิจยั ในการพัฒนาศักยภาพนกั กีฬา โดยทาวจิ ยั เรอ่ื ง การฝกึ ด้วยนวตั กรรม Move of Life ท่ีมีผลต่อความคล่องแคล่วว่องไวของนักกีฬาตะกร้อหญิง สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสุพรรณบุรี ซ่ึงการ วิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาความคล่องแคล่วว่องไวของนักกีฬาตะกร้อหญิง สถาบันการ พลศึกษา วิทยาเขตสุพรรณบุรี โดยจัดโปรแกรมการฝึกความคล่องแคล่วว่องไวด้วยนวัตกรรม Move of Life ให้กับ
หน้า 122 | การจัดการความรู้สมู่ หาวทิ ยาลยั นวัตกรรม นักกีฬาตะกร้อหญิง จานวน 12 คน เป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ ๆ ละ 3 วัน และใช้แบบทดสอบความ คล่องแคล่ววอ่ งไว (Semo Test) วัดผลท้ังก่อนและหลงั การฝกึ ผลการศึกษา พบวา่ หลงั การฝึกดว้ ย นวัตกรรม Move of Life ด้วยโปรแกรมการฝึกความคล่องแคลว่ ว่องไว นกั กีฬาตะกร้อหญงิ สถาบันการ พลศึกษา วิทยา เขตสุพรรณบุรี มีความคล่องแคล่วว่องไวที่ดีข้ึน อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 ท้ังน้ี ผลท่ีได้จาก การศึกษาการพัฒนานวัตกรรมทางศาสตร์การกีฬา โดยใช้วิธีการจัดการความรู้ เป็นฐาน สามารถ นาไป ประยุกต์ใชก้ ับการจดั การเรียนการสอนและการพัฒนางานวจิ ัยเพื่อสร้างสรรค์ นวตั กรรมทางศาสตร์การกีฬาที่ มีประสทิ ธภิ าพ อันจะนาไปสกู่ ารพฒั นาการจดั การศึกษาใหม้ คี ุณภาพย่ิงขึน้ คาสาคญั นวตั กรรมทางศาสตรก์ ารกีฬา การจัดการความรู้เปน็ ฐาน
การประชุมสมั มนาเครอื ข่ายการจัดการความรู้ คร้งั ที่ 12 | หนา้ 123 การทางานเป็นทมี ของบคุ ลากรสายสนับสนุน สถาบนั การพลศกึ ษา วิทยาเขตกรงุ เทพ Title Supportive Personnel Teamwork at Institute of Physical Education Bangkok Campus 1วิทยา อินทรพ์ งษ์พนั ธ์ุ 2ปญั ญา สมบตั นิ ิมิตร 1,2ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ คณะศิลปศาสตร์ สถาบันการพลศกึ ษา วทิ ยาเขตกรงุ เทพ [email protected] [email protected] บทสรุป การที่องค์กรจะบรรลุตามวิสัยทัศน์ที่ต้ังเป้าหมายไว้ องค์ประกอบท่ีสาคัญท่ีสุดคือบุคลากรใน องค์กร แต่ด้วยความท้าทายในการทางานรอบด้านเฉกเช่นในปัจจุบันคนในองค์กรที่ต่างคนต่างคิด และตีางทาตาม พันธกิจของตน อาจไม่เพียงพอที่จะนาพาองค์กรให้ประสบความสาเร็จตามที่มุ่งหวังไว้ การสร้างแนวคิด การทางานเป็นทีม การนาความสามารถเฉพาะบุคคลมาร่วมกันสรา้ งสรรค์ผลงาน ร่วมกัน จะก่อให้เกดิ งานท่ีมี ประสิทธิภาพมากกว่าการทางานเฉพาะกลุ่ม บทความน้ีได้นากิจกรรม นันทนาการ การเดินแรลลี่ และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศมาเป็นเคร่ืองมือในการพัฒนาการทางาน เป็นทีม เพื่อให้บุคลากรได้ตระหนักถึงการ ทางานร่วมกัน แลกเปล่ียนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน นา ความสามารถของตนมาผสมผสาน และเสริมศักยภาพกับ เพ่ือนร่วมทีมผ่านกิจกรรมที่สร้างสรรค์โดย สาขาการท่องเท่ียวและนันทนาการ คณะศิลปศาสตร์ โดยนา กระบวนตามหลักการการจัดการความรู้ และวงจรการควบคุมคุณภาพ (Deming cycle) มาเปน็ กรอบแนวคิด ในการดาเนินกิจกรรม เพ่ือถอด บทเรียนในการส่งเสริมการทางานเป็นทีมของบุคลากรในองค์กร อันจะนาพา องค์กรประสบ ความสาเร็จตามท่มี งุ่ หวังไว้
หน้า 124 | การจดั การความรู้สมู่ หาวิทยาลยั นวตั กรรม การพัฒนากระบวนการออกแบบและสร้างเครือ่ งมือทดสอบการทรงตัวรปู ตัววาย โดยใช้การจดั การความรเู้ ปน็ ฐาน Knowledge Management Approach Based Development for Procedures of Designing and Constructing Y-Balance Test ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อนุชิตร แท้สงู เนิน1 ดร.ศราวธุ ไทยสงวนวรกลุ 2 รองคณบดีคณะศกึ ษาศาสตร์1 อาจารย์ประจาคณะศึกษาศาสตร์2 สถาบนั การพลศกึ ษา วทิ ยาเขตสพุ รรณบรุ ี 1 หมู่ 4 ตาบลร้วั ใหญ่ อาเภอเมือง จังหวดั สพุ รรณบุรี บทสรุป การทรงตัว เป็นความสามารถท่ีสาคัญของมนุษย์ การทรงตัวที่ดีจะทาให้สามารถทากิจกรรมต่างๆ ไดอ้ ย่างราบรื่น ผ้ทู ่มี ีการทรงตัวทด่ี ีจะส่งผลใหม้ บี คุ ลิกภาพทด่ี ี เชน่ เดินไดอ้ ย่างสง่างาม นอกจากน้ันคนท่ีมกี าร ทรงตวั ดีจะไม่ล้มงา่ ย สามารถชว่ ยลดความเสี่ยงในการบาดเจ็บขณะเลน่ กีฬา สาหรบั ในผู้สงู อายุ การทรงตวั ที่ดี จะช่วยป้องกันการหกล้มได้ อีกทั้งการพัฒนาการทรงตัวยังสามารถ พัฒนาการทางานของระบบประสาท ช่วยให้ร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง รวมทั้งการออกกาลังกายเพื่อ พัฒนาการทรงตัว ยังเป็นการฝึกสมาธิไปด้วย ช่วยให้ผู้ฝึกได้มีสภาพอารมณ์ท่ีจิตใจที่สงบเยือกเย็น หนึ่งในปัจจัยการพัฒนาการทรงตัว คือ การทดสอบวัด สมรรถภาพการทรงตัว ซึ่งวิธีการวัดการทรงตัว ที่ได้รับการยอมรับมากในเร่ืองความเท่ียงตรง ความเช่ือมั่น และประสิทธิภาพ คือเครื่องมือทดสอบ การทรงตัวรูปตัววาย แต่ในปัจจุบัน เครื่องมือน้ีต้องนาเข้าจาก ต่างประเทศ และมีราคาแพงมาก ทาให้ ต้องสูญเสียเงินเป็นจานวนมาก แม้ว่าจะมีเคร่ืองมือที่จัดทาขึ้นเพ่ือใช้ ทดแทนเครื่องมือนี้ในประเทศ ไทยอยู่บ้างแล้ว แต่เครื่องมือดังกล่าวยังมีความคลาดเคล่ือน และไม่สามาร ถ นาไปใช้ในพื้นท่ีต่าง ๆ ตามความต้องการ ดังนั้น การพัฒนากระบวนการออกแบบและสร้างเคร่ืองมือทดสอบ การทรงตัวรูป ตัววายท่ีสามารถใช้วัสดุเหลือใช้ท่ีมีในประเทศไทยให้มีประสิทธิภาพ จึงเป็นเร่ืองที่น่าสนใจและ มปี ระโยชน์อย่างย่ิง ผู้เสนอบทความในฐานะผู้สอนพลศึกษา จงึ มีแนวคิดในการพัฒนากระบวนการ ออกแบบและ สร้างเคร่ืองมือทดสอบการทรงตัวรูปตัววายโดยใช้การจัดการความรู้เป็นฐาน จากผลการพัฒนาโดยใช้การจัดการ ความรู้ พบว่า มี 5 กระบวนการที่สาคัญสาหรับการออกแบบและสรา้ ง เคร่ืองมอื ทดสอบการทรงตัวรูปวาย คาสาคญั เครื่องมือทดสอบการทรงตวั รูปตัววาย การจดั การความร้เู ป็นฐาน
การประชมุ สัมมนาเครือข่ายการจดั การความรู้ คร้ังที่ 12 | หนา้ 125 แนวทางการจดกั ารเหมืองข้อมูลด้วย Google Sheets สาหรับการออกแบบและกาหนดยทุ ธศาสตร์องคก์ ร Data Mining Management Guidelines by Google Sheet for Designing and Formulating Corporate Strategies พรพรรณ วรี ะปรียากรู ผู้อานวยการสานักยุทธศาสตร์และติดตามประเมินผล/อาจารย์ผู้สอน วิทยาลัยเซาธ์อสี ท์บางกอก บางนา กทมฯ [email protected] บทสรปุ สถานศึกษาระดับอุดมศึกษา เป็นอีกแหล่งข้อมูลปริมาณมากและหลากหลาย ท่ีต้องได้รับการจัดการ วิธีการจัดการข้อมูลกระทาได้หลายหลายวิธี สาหรับวิทยาลัยเซาธ์อีสท์บางกอก ได้จัดทาเหมืองข้อมูลด้วย Google Sheet เพ่อื ออกแบบและกาหนดยุทธศาสตร์ของวทิ ยาลัยโดย ดาเนินการเชิงกระบวนการ 3 แนวทาง ได้แก่ 1) การหาความรู้ในฐานข้อมูลที่อยู่ในรูปไฟล์ต่างๆ เช่น Word หรือ Excel และ PDF สู่การออกแบบ ตัวแปรหรือชดุ ความรู้ใน Google Sheet 2) การจัดการเหมอื งขอ้ มลู ด้วย Google Sheets ที่ใช้ “กระบวนการ ออกแบบการวเิ คราะห์ขอ้ มูล” และสตู รเฉพาะท่ีจาเป็น เชน่ ผลรวม คา่ เฉลย่ี คา่ ความสมั พนั ธ์ 3) การออกแบบ และ กาหนดยุทธศาสตร์องค์กร 4 มิติเพ่ือการใช้ฐานข้อมูลของผู้บริหารในเชิงพยากรณ์ ทงั้ ในมิตกิ ารวิเคราะห์ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความคุ้มค่า และความย่ังยืน การประยุกต์ใช้นี้นามาสู่ ข้อเสนอเชิงทฤษฎีท่ีว่า ทุกสถานศึกษาระดับอุดมศึกษา สามารถออกแบบและกาหนดยุทธศาสตร์ การบริหารฯ ด้วย Google Sheet 2 ชีทหลัก แต่แนวทางการจัดการเหมืองข้อมูลจะต้องไม่ แตกต่างจากประสบการณ์หรือความคุ้นชินในการ จัดการกบั ขอ้ มลู ต่างๆ แบบเดมิ ๆ ของ ผเู้ ก่ียวขอ้ ง คาสาคญั แนวทางการจัดการ เหมอื งข้อมูล Google Sheet ยทุ ธศาสตรอ์ งค์กร
หน้า 126 | การจดั การความรู้ส่มู หาวทิ ยาลยั นวตั กรรม การจัดการความรู้โดยใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์สาหรบั การทางาน Knowledge Management using Social Network for Work 1อาไพ แจง้ บญุ 2พิชญ์ วมิ กุ ตะลพ 3วรเศรษฐ สวุ รรณิก สานักบรกิ ารคอมพิวเตอร์ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ [email protected] [email protected] [email protected] บทสรุป บทความเสนอวิธีการนาเครือข่ายสังคมออนไลน์สาหรับการทางานท่ีช่ือ Workplace ไปใช้ในการ จัดการ ความรู้ในงานธุรการ วัตถุประสงค์ของงานน้ีคือเพ่ือให้บุคลากรสามารถทางานแทนกันได้ เพ่ือให้บรรลุ เป้าหมาย ดังกล่าว การจัดการความรู้ต้องเข้าใจได้ง่ายและไม่เป็นภาระในการทางาน เรานาเสนอแนวทาง ปฏิบัติท่ีดีในการ จัดการความรู้โดยใช้ Workplace จากผลการปฏิบัติงาน เราสรุปได้เป็นโมเดล Post-Share- Learn คาสาคญั knowledge management social network facility management
การประชมุ สมั มนาเครือขา่ ยการจดั การความรู้ ครั้งท่ี 12 | หนา้ 127 เทคนคิ การจัดทาวารสารวิชาการเพ่อื รองรบั การเขา้ สู่ฐาน TCI Phranakhon Si Ayutthaya Rajabhat University Research Journal management technique based on TCI standard ศรินยา โพธิน์ อก1 เลศิ ชาย สถติ ยพ์ นาวงศ์2 สุจติ กลั ยา มฤครฐั อินแปลง3 สขุ รักษ์ แซเ่ จี่ย4 สถาบันวิจยั และพฒั นา1 คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี2,3,4 มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรอี ยธุ ยา [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] บทสรุป การดาเนินการจัดการความรู้นี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือสร้างความรู้ความเข้าใจและให้แนวทางในเทคนิค การจัด จัดทาวารสารวิชาการราชภัฏกรุงเก่าเพ่ือรองรับการเข้าสู่ฐาน TCI ที่ชัดเจนและเป็นรูปธรรมมากขึ้น เพ่ือให้เป็นองค์กร แห่งการเรียนรู้ โดยใช้บุคลากรของสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครศรีอยุธยา จานวน 13 คน โดยดาเนินการจัดประชุมแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่างบุคลากรภายใน หน่วยงาน 8 ครั้ง โดย บุคลากรของสถาบันวิจัย และพัฒนาได้พูดคุย แลกเปล่ียนเรียนรู้ ด้านประสบการณ์ เทคนิคการจัดทาวารสารวิชาการเพื่อรองรับการเข้าสู่ฐาน TCI ซึ่งแต่ละคนได้นาเสนอวิธีการปฏิบัติเฉพาะตัว ท่ีทาให้การประสานงานของตนประสบความสาเร็จ หรือไม่สาเร็จ ซ่ึงผลการดาเนินงานพบว่าความรู้ท่ีได้จาก ความรู้ท่ีฝังในตัวบุคคล หรือความรู้ท่ีเห็นชัดแจ้ง ถูกจัดรวบรวมให้เป็น ระบบ และถูกนามาวิเคราะห์สรุปเพื่อ สร้างเป็นเทคนิคจัดทาวารสารเพื่อรองรับการเข้าสู่ฐาน TCI โดย มีขั้นตอนดังน้ี คือ 1. การเลือก กองบรรณาธิการผู้ทรงคุณวฒุ ิ 2. การกาหนดรูปแบบเล่มวารสาร 3. การคัดเลอื กบทความที่มี คุณภาพเพ่อื ลง ตีพิมพ์ในวารสาร 4. เกณฑ์อายุวารสารของฐาน TCI 5. การประชาสัมพันธ์วารสารเพื่อให้เป็นที่รู้จัก 6. การเก็บหลักฐานเพ่ือเตรียมรับการตรวจสอบจาก TCI ซ่ึงจากผลการจัดการเรียนรู้พบว่าปัจจุบันบุคลากร ภายใน หน่วยงานสามารถปฏิบัติงานแทนเจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบได้ทุกท่าน และทาให้ระบบการจัดทาวารสาร มปี ระสิทธิภาพ และผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ คุณภาพวารสารเข้าสู่ฐาน TCI กลุ่ม 2 นอกจากนนั้ หน่วยงานระดับ คณะ และสถาบันของ มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา ได้ นาความรู้ไปใช้เพื่อเตรียมจัดทา วารสารวิชาการเพ่ือรองรับการเขา้ สู่ฐาน TCI ซ่งึ พบวา่ วารสารวิทยาการจดั การปริทัศน์ สาขามนษุ ยศาสตรแ์ ละ สงั คมศาสตรไ์ ดผ้ า่ นเกณฑ์การประเมนิ คุณภาพ วารสารเข้าสู่ฐาน TCI กลมุ่ 2 เช่นเดยี วกนั คาสาคญั วารสารวิชาการ ดชั นอี ้างองิ วารสารไทย ความร้ฝู ังลกึ ความรภู้ ายนอก การจัดการความรู้
หนา้ 128 | การจดั การความรู้สู่มหาวิทยาลยั นวตั กรรม เทคนิคการจดั ประชุมวิชาการระดับชาติ Knowledge Management on Thai National Conference Management สจุ ติ รา งามบญุ ปลอด1 กมลวรรณ วรรณธนัง2 สุจติ กลั ยา มฤครฐั อนิ แปลง3 สขุ รักษ์ แซเ่ จ่ยี 4 สถาบนั วิจัยและพัฒนา1 คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์2 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี3,4 มหาวิทยาลยั ราชภัฏพระนครศรีอยุธยา [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] บทสรุป การดาเนินการจัดการความรู้นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจและให้แนวทางในเทคนิค การจัด ประชุมวิชาการระดับชาติ ให้ชัดเจนและเป็นรูปธรรมมากข้ึน เพื่อให้สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลยั ราชภัฏ พระนครศรอี ยธุ ยาเป็นองค์กรแห่งการเรยี นรู้ บุคลากรของสถาบันวจิ ยั และพัฒนา จานวน 13 คน จึงได้ดาเนินการจัด ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างบุคลากรภายในหน่วยงานจานวน 8 ครั้ง โดยมี หัวข้อในการประชุมแลกเปล่ียน เรียนรู้ ในด้านประสบการณเ์ ทคนิคการจดั ประชมุ วชิ าการระดับชาติ ซ่ึงแต่ละ คนได้นาเสนอวิธีการปฏิบัตเิ ฉพาะตัว ที่ ทาให้การจัดประชุมวิชาการประสบความสาเร็จ ซึ่งผลการดาเนินงาน พบว่าความรู้ที่ได้จากการดาเนินการจัดความรู้ เทคนิคการจัดประชุมวิชาการระดับชาติ บุคลากรได้รับความรู้ และความเข้าใจ ข้ันตอนเทคนิคการจัดประชุมวิชาการ ระดับชาติ จากความรู้ที่ฝังในตัวบุคคล หรือความรู้ท่ี เห็นชัดแจ้ง ได้แก่ 1. การเขียนโครงการการจัดประชุมวิชาการ ระดับชาติ 2. การวางแผนการดาเนินงาน 3.การจัดทาเว็บไซต์ของการประชุมวิชาการระดับชาติ 4. การ ประชาสัมพันธ์ 5. การลงทะเบียน 6. การเลือก ผู้ทรงคุณวุฒิบรรยายพิเศษและประเมินคุณภาพบทความ 7. การติดต่อ ประสานงาน 8. การดาเนินงานด้าน งบประมาณ 9. การจัดรูปแบบงาน 10. การจัดสถานท่กี ารประชุมและโรงแรม 11. การจดั อาหารและเครอ่ื งด่ืม ซึ่งจากผลการจัดการเรียนรู้พบว่าปัจจุบันบุคลากรภายในหน่วยงานสามารถ ปฏิบัติงานแทนเจ้าหน้าท่ี ผู้รับผิดชอบได้ทุกท่าน ช่วยสนับสนุนการตัดสินใจและวางแผนดาเนินงานให้ประสบ ความสาเร็จ รวดเร็ว เน่ืองจากมีแหล่งรวบรวมความรู้ที่น่าเชื่อถือ และทาให้ระบบการจัดประชุมวิชาการระดับชาติมี ประสิทธิภาพ และสาเร็จบรรลุตามเป้าหมายท่ีต้ังไว้ เช่น การจัดประชมุ วิชาการระดบั ชาติ “ราชภฏั กรุงเก่า” ประจาปี พ.ศ. 2561 ในระหว่างวันที่ 13 – 14 ธันวาคม 2561 พบข้อผิดพลาดจากการปฏิบัติงานน้อย แต่ในกรณีท่ีมี ขอ้ ผดิ พลาดกส็ ามารถหาวิธแี กไ้ ขไดท้ ันท่วงที จึงทาให้การประชมุ วิชาการระดบั ชาติลลุ ่วงไปด้วยดี คาสาคัญ ประชุมวิชาการระดบั ชาติ ประชมุ วชิ าการระดับนานาชาติ การจดั การความรู้ การจัดรปู แบบงานประชมุ วิชาการ การประชาสมั พนั ธ์
การประชุมสมั มนาเครือขา่ ยการจัดการความรู้ ครั้งที่ 12 | หนา้ 129 พฤติกรรมการรบั ชมละครไทยออนไลน์ของวยั รุ่นเวยี ดนาม The online Thai drama viewing behavior of Vietnamese youth Bui Thi Khen มหาวทิ ยาลยั กรุงเทพ เบอร์โทรศัพทม์ ือถือ: 0997 136 281 [email protected] บทสรุป การศึกษาเร่ือง พฤติกรรมการรับชมละครไทยออนไลน์ของวัยรุ่นเวียดนาม มี วัตถุประสงค์ 1) เพ่ือ ศกึ ษาด้านประชากรศาสตร์ ไดแ้ ก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และ รายได้ต่อเดือนของวัยรุ่นในประเทศ เวียดนาม 2) เพ่ือศึกษาพฤติกรรมการรับชมละครไทย ออนไลน์ของวัยรุ่นในประเทศเวียดนาม 3) เพื่อศึกษา ความพึงพอใจในการรับชมละครไทย ออนไลน์ของวัยรุ่นในประเทศเวียดนาม 4) เพ่ือเปรียบเทียบความ แตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของ ปัจจัยทางด้านประชากรศาสตร์กับพฤติกรรมการรับชมละครไทยออนไลน์ของ วัยรุ่นเวียดนาม 5) เพ่ือเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างค่าเฉล่ียของปัจจยัทางด้านประชากรศาสตร์กับ ความพึง พอใจในการรบัชมละครไทยออนไลน์ของวัยรุ่นเวียดนาม เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้แบบ สอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือ วัยรุ่นเวียดนามท่ีรับชม ละครไทย ออนไลน์ จานวน 400 คน ซึ่งมีการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถ่ี ค่าร้อยละ ส่วนเบ่ียงเบน มาตรฐาน ในขณะท่ีการทดสอบสมมติฐานใช้ทดสอบความแตกต่างระหวางคาเฉลี่ย โดยใช้ T-test การเปรียบเทียบความแปรปรวนระหว่างกลุ่มใช้สถิติ One -Way ANOVA และการ ทดสอบความแตกต่าง ระหวางค่าเฉล่ียเป็นราย ตามวิธีของ Scheffe และ LSD ผลการศึกษา พบว่า ลักษณะทางประชากรของ กลุ่มตวั อยา่ งทแี่ ตกตา่ งกันจะมีพฤติกรรมการรับชมละครไทย ออนไลน์ท่แี ตกตา่ งกนั คาสาคญั พฤติกรรมการรับชมละคร วยั รุ่นเวียดนาม ละครไทยออนไลน์
หนา้ 130 | การจัดการความรู้สมู่ หาวทิ ยาลัยนวัตกรรม แนวปฏิบัตทิ ด่ี ใี นการใหบ้ ริการส่ือหนงั สือองคค์ วามร้ดู ิจิทัล ของสถาบนั ถา่ ยทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้ นนา Best Practice for e-book online services of RMUTL mini-book knowledge Collections, CommunityTechnology Transfer Center (CTTC),Rajamangala Universityof Technology Lanna (RMUTL) 1น.ส.รตั นาภรณ์ สารภี 2วา่ ทีร่ .ต.รชั ต์พงษ์ หอชยั รตั น์ 3น.ส.ทิน อ่อนนวล 4นายพิษณุ พรมพราย 1Rattanaporn Sarapee 2Ratchapong Horchairat 3Tin Onnual 4Pisanu Prompri 1นกั เอกสารสนเทศ 2,3เจ้าหน้าทีบ่ ริหารงานทัว่ ไป 4นกั วิชาการโสตทศั นศึกษา สถาบนั ถ่ายทอดเทคโนโลยสี ู่ชมุ ชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลลา้ นนา [email protected] [email protected] [email protected] 4 [email protected] บทสรุป สถาบนั ถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลล้านนา ต้องการการเผยแพร่สื่อ องค์ความรู้ทางออนไลน์ในรูปแบบของสื่อดิจิทัลทดแทนรูปเล่ม สามารถเพิ่มช่องทางการให้บริการถึงผู้ใช้ใน สามารถเขา้ ถึงได้หลายช่องทางผ่านเครือข่าย โดยดาเนนิ งานตามขั้นตอนกระบวนการจัดการความรู้ 7 ข้ันตอน ดังน้ีคือ 1. บ่งชี้ความรู้ กาหนดหัวข้อท่ีควรทราบ ได้แก่ ความรู้ท่ัวไปเกี่ยวกับ e-book เทคโนโลยีการจัดเก็บ ไฟล์บนเครือข่ายและแหล่งให้บริการฝากไฟล์ออนไลน์ พฤติกรรมการอ่านและช่องทางการเข้าถึงแหล่งข้อมูล ของกลุ่มผู้ใช้บริการเป้าหมาย 2. สร้างและแสวงหาความรู้ ผ่านการจัดกิจกรรมแลกเปล่ียนเรียนรู้ระหว่าง ผเู้ ชี่ยวชาญและผู้ปฏิบัติงานในสถาบันฯ แล้วนาความรู้ทีไ่ ด้ไปประยุกต์กับงานท่ีได้รับมอบหมาย 3. จัดความรู้ ให้เป็นระบบ โดยสามารถแบ่งความรู้ออกเป็น 3 ส่วน คือ การเตรียมไฟล์ดิจิทัล การกาหนดแหล่งฝากไฟล์ และการประชาสัมพันธ์สื่อองค์ความรู้ผ่าน Social media 4. ประมวลและกลั่นกรองความรู้ สรุปผลการ ดาเนินงานเป็นลายลักษณ์อักษรในรูปแบบคู่มือการจัดปฏิบัติงาน 5. เข้าถึงความรู้ โดยจัดเก็บไฟล์คู่มือฯ เผยแพร่ท่ีเว็บไซต์การจัดการองค์ความรู้ของสถาบันฯ ให้สามารถเข้าถึงได้ทั้งจากภายในและนอกหน่วยงาน 6. แบ่งปนั แลกเปลีย่ นเรียนรู้ 2 แบบ คือ เผยแพร่พร้อมบทความออนไลนบ์ นเว็บไซต์และระบบพเ่ี ลี้ยงสอนงาน 7. การเรียนรู้ ผู้ปฏิบัติงานสามารถใช้ความรู้ท่ีได้มาประยุกต์ใช้เพ่ิมประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานงานบริการ ส่ือองค์ความรู้ได้อย่างราบร่ืน รวมถึงมีแนวโน้มของจานวนการใช้งานเพิ่มมากขึ้น ไม่จากัดเวลา สถานท่ี จานวนการเข้าถงึ และไม่จาเปน็ ต้องจดั สรรงบประมาณเพมิ่ เตมิ คาสาคัญ บริการสอ่ื องค์ความรูด้ จิ ิทัล กระบวนการจดั การความรู้ e-book online services knowledge management process
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143