Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Abstract Book

Abstract Book

Published by taweelap_s, 2019-07-25 21:23:26

Description: Abstract Book KM12

Keywords: KM12

Search

Read the Text Version

หน้า 38 | การจัดการความรสู้ ู่มหาวทิ ยาลยั นวัตกรรม การพัฒนาระบบบริหารจัดการขอ้ มลู สารสนเทศด้านการประกนั คณุ ภาพ โดยใช้ระบบ SMART QUALITY ASSURANCE (SQA) The development of quality management information system using SMART QUALITY ASSURANCE (SQA) นางสาวสิริอร ตระกูลเมฆี (Sirion Trakulmakee) เจาหนาที่หนวยประกันคุณภาพ คณะครศุ าสตรอตุ สาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ิชยั [email protected] บทสรปุ แนวปฏิบัติในการพัฒนาระบบบริหารจัดการขอมูลสารสนเทศดานการประกันคุณภาพ โดยใชระบบ SMART QUALITY ASSURANCE (SQA) ซึ่งเปนแนวปฏิบัติท่ีใชสาหรับสนับสนุน ดานขอมูลใหกับบุคลากร จะตองมีหนาท่ีรับผิดชอบดานการประกันคุณภาพของคณะครศุ าสตร อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี และเพ่ือให เปนศูนยกลางขอมูลสารสนเทศใหสามารถเขาถึงขอมูลท่ี มีคุณภาพ สะดวก รวดเร็ว ถูกตอง และตรวจสอบได ผลลัพธจากการใช SQA ยังสามารถนาไปใช ใหเกิดประโยชนในการพัฒนาระบบการบริหารดานประกัน คณุ ภาพการศึกษาทีม่ คี ุณภาพตอไป. คาสาคัญ การพฒั นาระบบ ขอมลู สารสนเทศ การประกันคณุ ภาพ

การประชุมสัมมนาเครือขา่ ยการจดั การความรู้ ครงั้ ท่ี 12 | หน้า 39 การพฒั นาผลติ ภัณฑจ์ ากตาลโตนดของชุมชนตาบลบางเขยี ด อาเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา โดยใชเ้ คร่อื งมือการจดั การความรู้ Product development of Palmyra palm (Borassus flabellifer L.) of Bangkeiad community Singhanakhon district Songkhla province by using knowledge management tools นพดล โพชกาเหนิด1* โกสินทร์ ทปี รกั ษพันธ์2 สปุ ราณี วนุ่ศรี3 ธญั วลัย รัศธนันกจิ จ์4 ณิชา ประสงค์จนั ทร์5 1,5ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ สาขาศึกษาทัว่ ไป คณะศลิปศาสตร์ 2,3,4อาจารย์สาขาศึกษาทว่ั ไป คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศรีวชิ ยั [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] บทสรุป การพัฒนาผลิตภัณฑ์จากตาลโตนดของชุมชนตาบลบางเขียด อาเภอสิงหนคร จังหวัด สงขลา ดว้ ยระบบวงจรบรหิ ารงานคุณภาพ ซึ่งมีกระบวนการเริ่มจากการวางแผน การปฏบิ ัติ การ ตรวจสอบ และการ ปรับปรุงแก้ไขและพัฒนา โดยใช้เครื่องมือการจัดการความรู้ เช่น เวทีเสวนา แหล่งผู้รู้ในองค์กร เพ่ือนช่วย เพ่ือน การสอนงาน การเรียนรู้โดยการปฏิบัติ และการสร้าง นวัตกรรม เป็นต้น ซ่ึงผลการดาเนินงานสาเร็จ ลุล่วงไปด้วยดี ชุมชนตาบลบางเขียดสามารถนาองค์ ความรู้ท่ีได้มาบูรณาการเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์จาก ตาลโตนดในรูปแบบใหม่ทเี่ ป็นเอกลักษณ์ของ ชุมชนทัง้ ประเภทอาหาร ได้แก่ คุกกตี้ าลโตนด คพั เค้กตาลโตนด และบัตเตอร์เค้กตาลโตนด สาหรับประเภทของใช้ ได้แก่ สบู่ตาลโตนด สบู่ใยตาลโตนด และสบู่ถ่านตาลโตนด โดยสามารถ สร้างรายได้ให้แก่ชุมชนได้อย่างต่อเนื่อง จนสามารถดาเนินการจัดต้ังเป็นกลุ่มวิสาหกิจโอทอป ผลิตภณั ฑ์ชุมชนบางเขียด เลขทะเบียน 901500072 และมีการวางแผนเพื่อพัฒนาผลิตภณั ฑ์ ใหม่ๆ เพื่อสร้าง ความยั่งยืนให้แก่ชุมชนต่อไป นอกจากนน้ั ยังสามารถใช้ชุมชนเป็นฐานการเรียนรู้ ให้แก่นักศึกษามหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลศรีวชิ ยั และชุมชนลุ่มน้ าทะเลสาบสงขลาทสี่ นใจ ไดอ้ ีกดว้ ย คาสาคัญ ตาลโตนด ตาบลบางเขยี ด เคร่ืองมือการจดั การความรู้

หนา้ 40 | การจดั การความรู้สู่มหาวิทยาลยั นวตั กรรม การประยุกตใ์ ช้การจดั การความร้ตู ่อการสรา้ งกิจกรรมอนรุ ักษ์และฟื้นฟกู ารละเล่นพ้ืนบา้ น สาหรับกลุ่มเยาวชนในรายวิชาศกึ ษาทว่ั ไปของนักศกึ ษาระดับปรญิ ญาตรี Application of knowledge management to the creation and conservation activities of folk games for youth groups in general education courses for undergraduate students ดร.จริ วิชญ์ พรรณรตั น์ (Jirawitt Phannarat)1 อาจารยป์ วีณ์กร สุรบรรณ์ (Paweekorn Suraban)2 นางสาวธนฎั ฐา นิลสวุรรณ (Thanutta Nilsuwan)3 1,2อาจารย์ประจาคณะศลิ ปศาสตร์ 3เจา้ หนา้ ที่ประชาสัมพันธ์ คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ิชยั [email protected] [email protected] [email protected] บทสรปุ การประยุกต์ใช้การจัดการความรู้ต่อการสร้างกิจกรรมอนุรักษ์และฟื้นฟูการละเล่นพื้นบ้าน สาหรับ กลุ่ม เยาวชนท่ีเป็นส่วนหน่ึงในรายวิชาศึกษาท่ัวไปของนักศึกษาระดับปริญญาตรีของคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัยนาความรู้ในเรื่องการจัดการความรู้โดยเลือกใช้เครื่องมือจัดการ ความรู้ (KM Tool) คือชุมชนนักปฎิบัติ (Community of Pratice-Cop) โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือเยาวชนใน โรงเรียนเนอ่ื งด้วยใน ปัจจุบนั ที่ความรู้เร่ืองการละเล่นพน้ื บ้านเปน็ วฒั นธรรมท่ีกาลังจะสูญหายจากอทิ ธิพลของ ความเป็นสังคม ทันสมยั จงึ ทาให้กจิ กรรมการอนุรกั ษ์และฟน้ื ฟูการละเล่นพน้ื บ้านสาหรับกล่มุ เยาวชนจึงเกดิ ขึ้น ผลท่ีไดร้ ับเปน็ ประโยชน์ต่อองคก์ รผ้จู ัดกจิ กรรมกล่มุ เปา้ หมายและสังคมต่อไป คาสาคญั การประยกุ ต์ การจัดการความรู้ การอนุรักษ์และฟ้นื ฟู การละเล่นพ้นื บา้ น

การประชมุ สมั มนาเครอื ข่ายการจดั การความรู้ คร้ังท่ี 12 | หน้า 41 การพัฒนาสื่อการเรียนการสอนวิชาชีวติ กับเศรษฐกิจพอเพยี งเพื่อสรา้ งเสรมิ การเรยี นรู้ บนพื้นฐานแนวคิดหอ้ งเรียนกลบั ด้าน กิติศักดิ์ ชมุ ทอง1 เอกราช มลวิ รรณ์2 วิลาสินี สุขกา3 1ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ คณะศลิ ปศาสตร์ 2,3อาจารย์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศรีวชิ ัย [email protected] [email protected] [email protected] บทสรุป วิชาชีวติ กับเศรษฐกิจพอเพียง นักศึกษาให้ความสนใจลงทะเบยี นอย่างต่อเน่ืองและมีห้องเรยี นเพม่ิ ข้ึน ทกุ ปี ช่วงแรกของการจัดการเรียนการสอน เน้นการบรรยายเนื้อหาวิชาแต่ละบทเรียนโดยผู้สอน ส่งผลให้เกิด การบรรยาย เน้ือหาีซ้า เพราะความรู้มีอยู่แต่เฉพาะในตัวผู้สอน หากนักศึกษาขาดเรียน ผู้สอนไม่สามารถ ปฏิบัติหน้าที่สอน เวลา เรียนตรงกับวันหยุดราชการ เป็นต้น นักศึกษาก็จะไม่ได้รับความรู้ เหล่าน้ีต่างเป็น บทเรยี นส้าคัญท่ีผลกั ดนั ให้ผสู้ อนนา้ แนวคดิ ห้องเรียนกลบั ด้านมาใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอนใหด้ ยี ิ่งขึน้ ดว้ ย การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน รวมทั้งส้ิน 4 ส่ือการเรียนการสอนซ่ึงต่างมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยส้าคัญ ได้แก่ ต้าราเรียน (Textbook) ส่ือพาวเวอร์พ้อย (PowerPoint) ระบบการจัดการเรียนรู้ (Learning Management System : LMS) และวิดีโอช่วยสอน (Video Assisted Instruction : VAI ) ครอบคลุมเนื้อหา ครบทง้ั 10 บทเรยี น โดยอาศยั 5 เครือ่ งมือการจดั การความรูเ้ ปน็ กลไก ในการขับเคลอื่ น ซงึ่ ปรากฏผล ท่ไี ด้รับ หลายประการ เช่น นักศึกษามีสื่อการเรียนการสอนหลากหลาย ซ่ึงนักศึกษา สามารถใช้เพ่ือเรียนรู้เน้ือหาวิชา ดว้ ยตนเองจากส่ือการเรยี นการสอนมาตรฐานเดียวกันทั้ง 10 บทเรยี น การพัฒนา ตนเองของทีมงานข้ามสาย งาน รวมถึงผู้สอนได้ปรับบทบาทเป็นผู้อ้านวยการเรียนรู้หรือ ผู้ช้ีแนะตามกรอบความคิด เพ่ือการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21 นอกจากน้ีส่ือดังกล่าวยังส่งผลที่สร้างคุณค่าตามมา ดังเช่นเกิดประโยชน์กับนักศึกษา ที่มี พฒั นาการเรียนรู้ช้ากว่านักศึกษาปกติท่ัวไป เป็นส่ือการเรียนรู้ตามอัธยาศัยให้กับบุคคลหรือหน่วยงานที่สนใจ ตลอดจนมีคณุ ค่าต่อการเปน็ ฐานข้อมูลในการพัฒนาตนเองทางด้านการเรียนการสอนใหด้ ยี ่ิงข้นึ ในโอกาสต่อไป คาสาคญั สอ่ื การเรยี นการสอน แนวคดิ ห้องเรียนกลบั ดา้ น

หน้า 42 | การจดั การความรู้สู่มหาวิทยาลยั นวัตกรรม เพือ่ นชว่ ยเพอื่ นจัดการความรสู้ ู่ความเข้าใจในเร่ืองอนุพันธ์ Peer Assist Knowledge Management toward the Understanding in Derivative นางสาวมาริสา เส็นเหมาะ (Marisa Senmoh)1 นางสาวสมิหลา คีรีศรี (Samila Kirisri)2 1,2อาจารย์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศรีวิชยั สงขลา [email protected] [email protected] บทสรุป รายวิชาคณิตศาสตร์ 1 ถือเป็นวิชาบังคับสาหรับนักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยรี าชมงคลศรีวิชัย สงขลา และเป็นพ้ืนฐานในการเรียนคณติ ศาสตร์ตัวอ่นื ๆ ท่ี สูงข้นึ ไป จากการสอน ในหัวข้อเร่ืองการหาอนุพันธ์โดยการจัดการเรียนการสอนภาคบรรยายเพียง อย่างเดียว พบว่านักศึกษาขาด ความรูค้ วามเข้าใจเร่ืองฟังก์ชันส่งผลใหข้ าดความรู้ความเข้าใจหัวข้อ การหาอนุพันธ์เช่นกัน คณะผู้จัดทาได้นา แนวทางการจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีการสอนภาค บรรยายควบคู่ไปกับการจัดการองค์ความรู้ใหม่ใน รูปแบบเพ่ือนช่วยเพ่ือน โดยส่งเสริมให้เพ่ือนกลุ่มท่ีมี ความรู้เร่ืองฟังก์ชันสูงกว่าช่วยแนะนาเพ่ือนกลุ่มที่มี ความรู้น้อยกว่า และมีการทบทวนสรุปบทเรียน โดยอาจารย์ผู้สอน ผลการเปรียบเทียบ พบว่า การจัดการ เรียนการสอนด้วยวิธีการสอนภาคบรรยายควบคู่ไปกับ การจัดการองค์ความรู้ใหม่ในรูปแบบเพ่ือนช่วยเพ่ือน ทาให้ผลการเรียนในหัวข้อการหาอนุพันธ์ของ นักศึกษาดีขึ้น และสามารถใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียน การสอนหัวข้ออืน่ ๆ เพอ่ื เพ่ิมประสิทธิ ภาพในการเรยี นการสอนในรายวชิ าคณติ ศาสตร์ คาสาคญั อนุพันธ์ ฟังก์ชนั เพื่อนช่วยเพื่อน การทบทวนสรุปบทเรยี น

การประชมุ สัมมนาเครอื ขา่ ยการจัดการความรู้ คร้งั ท่ี 12 | หน้า 43 การใช้การจดั การความรูใ้ นการสรา้ งสร้างแนวปฏิบัตทิ ่ีดีต่อการเรยี นการสอน ในรายวิชาคณติ ศาสตร์ 1 The Use of Knowledge Management in Developing the Best Practice in Teaching Mathematics 1 วีระชยั ทา่ ดี1 จิรภัทร ภขู่ วญั ทอง2 1อาจารย์ คณะศลิ ปศาสตร์ 2ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศรีวิชัย จ.สงขลา [email protected] [email protected] บทสรุป วิชาคณิตศาสตร์ 1 จัดเป็นวิชาบังคับสาหรับนักศึกษาคณะวิศวกรรมศาสตร์ชั้นปีที่ 1 ทุกสาขาวิชา โดยมวี ัตถุประสงคห์ ลักคือการสร้างพืน้ ฐานทางการคดิ วเิ คราะห์ และการคานวณ ให้แกต่ ัวผู้เรียน เพื่อสามารถ นาความรู้ไปต่อยอดในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ขั้นสูง และวิชาด้าน การวิเคราะห์และคานวณที่บรรจุไว้ใน หลักสูตรของแต่ละสาขาวิชา ปัญหาท่ีเกิดข้ึนจากหลาย ๆ ภาคการศึกษาผ่านมาคือ นักศึกษาชั้นปีท่ี 1 ส่วน ใหญ่เรยี นวิชานี้ดว้ ยความกังวล และไมม่ ี ความสุข ซง่ึ อาจจะมาจากเหตปุ ัจจยั หลาย ๆ อย่าง แต่ปจั จัยทถ่ี อื เป็น ประเด็นสาคัญที่นักศึกษา ส่วนใหญ่กล่าวถึงมากที่สุดคือ นักศึกษาไม่คุ้นกับรูปแบบการเรียนการสอนใน ระดับอุดมศึกษา ดังน้ันอาจารย์ผู้สอนทุกท่านท่ีทาหน้าที่สอนวิชาคณิตศาสตร์ 1 จึงร่วมมือกันแก้ปัญหาที่ สะท้อน มาจากความคิดเห็นของนักศึกษา โดยใช้แนวทางการจัดการความรู้ (Knowledge Management) โดยใช้ทั้งความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) และความรู้ท่ีฝังอยู่ในตัวคน (Tacit Knowledge) พร้อมทั้ง เลือกใช้เครื่องมีอการจัดการความรู้ (KM Tools) อันได้แก่ ชุมชน นักปฏิบัติ (Communities of Practice หรือ CoP) การทบทวนสรุปบทเรียน (After action review หรือ AAR) เพื่อหาแนวปฏิบัติที่ดี (Best Practice) ตอ่ การเรียนการสอนในวิชา คณติ ศาสตร์ 1 ซ่งึ ส่งผลต่อความพงึ พอใจและความสุขของนักศกึ ษาท่ีมี ต่อแนวปฏิบัติที่ดี อีกทั้งยัง เป็นการเพ่ิมผลสัมฤทธิ์ในการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ 1 ของนักศึกษา โดยพบว่า นักศึกษาผ่าน ประเมินในรายวิชานี้ไปได้มากกว่าร้อยละ 80 ซ่ึงสูงกว่าทุก ๆ ภาคการศึกษาท่ีผ่านมา แนวปฏิบัติที่ดีนี้อาจจะเป็นแนวทางสาหรับอาจารย์ผู้สอนที่สนใจ สามารถนาไปปรับใช้ กับการเรียนการสอน วิชาอนื่ ๆ ทีม่ ลี กั ษณะวิชาคลา้ ยคลึงกันตามความเหมาะสม เพอ่ื กอ่ ให้เกดิ ประโยชน์สูงสดุ ของผเู้ รยี น คาสาคัญ แนวปฏิบตั ทิ ่ีดี คณติ ศาสตร์ 1

หนา้ 44 | การจัดการความรสู้ ู่มหาวิทยาลัยนวัตกรรม กระบวนการพัฒนา T E A M Model : กลไกบนั ได 4 ขั้น ส่กู ารจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดหอ้ งเรียนกลบั ดา้ น The Development Process TEAM Model : the four steps of reverse classroom concept for learning management กติ ิศักด์ิ ชุมทอง1 เอกราช มะลวิ รรณ์2 1ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ คณะศลิ ปศาสตร์ 2อาจารย์ คณะศิลปะศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรวี ชิ ัย [email protected] [email protected] บทสรปุ วิชาชีวิตกับเศรษฐกิจพอเพียงเป็นรายวิชาที่นักศึกษาให้ความสนใจลงทะเบียนอย่างต่อเน่ืองทุกปี การจัดการ เรียนการสอนในช่วงแรก เน้นการบรรยายเนื้อหาวิชาแต่ละบทเรียนโดยผู้สอน ส่งผลให้เกิดการ บรรยายเน้ือหาีซ้าตาม จานวนกลุ่มเรียนท่ีเปิดสอน เพราะความรู้มีอย่แู ต่เฉพาะในตวั ผู้สอน หากนักศึกษาขาด เรยี น ผู้สอนไม่สามารถปฏบิ ตั ิ หนา้ ท่สี อน เวลาเรยี นตรงกบั วนั หยุดราชการ นักศึกษาจะไมไ่ ด้รบั ความรู้ เหลา่ น้ี ต่างเป็นบทเรียนส้าคัญท่ีผลักดันให้ ผู้สอนน้าแนวคิดห้องเรียนกลับด้านมาใช้พัฒนาจัดการเรียนการสอนให้ดี ขึน้ โดยอาศัย 5 เคร่อื งมือในการจัดการ ความรู้ ส่งผลใหม้ ีสื่อการสอน 4 ชนิด คือ ตาราเรียน สื่อพาวเวอรพ์ ้อย ระบบการจัดการเรียนรู้ (LMS) และวิดีโอช่วยสอน ให้นักศึกษาใช้เพ่ือเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยมีการติดตาม ประเมินผลด้วยเคร่ืองมือที่หลากหลาย เช่น ท้าแบบฝึกหัดท้ายบท ทดสอบก่อนเรียนในระบบ LMS แบบทดสอบย่อยอัตนัย หรือตอบคาถามนาทางเพื่อเข้าใจเนื้อหาในบทเรียน เม่ือได้ ฐานความรู้ที่เพียงพอต่อ การเรียนรู้ที่บ้าน ผู้สอนจึงกลับดา้ นจัดการเรียนเชงิ รุกทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียนใน ลักษณะแบ่งทีมท้า กิจกรรม เช่น แข่งขันถามตอบความรู้ประจ้าบทเรียน แข่งขันตอบคา้ ถามโดยใช้โปรแกรม Kahoot เขียนแผน ท่ีความคิด เขียนแผนที่การใช้ที่ดินขนาดเล็กตามหลักทฤษฎีใหม่ โมเดลโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด้าริ หรือการเรียนรู้โดยใช้โครงการเป็นฐาน ท้ังนี้การจัดการเรียนการสอนท่ีมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องดังกล่าว ส่งผลให้ ผู้สอนค้นพบรูปแบบการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนที่เรียกว่า “T E A M Model : กลไกบันได 4 ขน้ั สู่การ จัดการเรยี นรู้ตามแนวคิดห้องเรยี นกลับดา้ น” รูปแบบน้ีสามารถสรา้ งความพงึ พอใจและผลสมั ฤทธ์ิ ในการเรียนให้กับ นกั ศึกษาในระดบั ท่ีสูงขึ้น นอกจากนีย้ ังส่งผลต่อการสร้างคุณคา่ ตามมาดงั เชน่ เกิดประโยชน์ กับนักศึกษาที่มีพัฒนาการ เรียนรู้ช้ากว่านักศึกษาปกติทั่วไป เป็นสื่อการเรียนรู้ตามอัธยาศัยให้กับบุคคลหรือ หน่วยงานท่ีสนใจ ตลอดจนมีคุณค่า ต่อการเป็นฐานข้อมูลในการพัฒนาตนเองทางด้านการเรียนการสอนให้ดี ยิ่งขึ้นในโอกาสตอ่ ไป คาสาคัญ การจัดการเรียนรู้ แนวคิดหอ้ งเรียนกลับด้าน

การประชุมสัมมนาเครอื ข่ายการจัดการความรู้ ครง้ั ที่ 12 | หนา้ 45 การประยกุ ต์ใชแ้ นวคดิ การจัดการความรู้ ผ่านโครงการคหกรรมศาสตรจ์ ิตอาสา แบ่งปนั เพอื่ นอ้ ง สรา้ งฝนั สู่ชมุ ชน Knowledge Management Apply for Project: Volunteer Project of Home Economics นนั ทิพย์ หาสิน (Nanthip Hasin)1 ฉตั รดาว ไชยหล่อ (Chatdow Chailor)2 1อาจารย์ คณะศลิ ปศาสตร์ 2อาจารย์ คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรวี ิชัย [email protected] [email protected] บทสรุป โครงการจิตอาสาคหกรรมศาสตร์ แบ่งปันน้องสู่ชุมชน เป็นโครงการที่จัดข้ึน เพื่อฝึกให้ นักศึกษา ได้ คานึงถึงประโยชน์ของส่วนรวมเป็นที่ต้ัง นักศึกษาหลักสูตรธุรกิจคหกรรมศาสตร์ เป็น หลักสูตรฯ ที่จัดการ เรียนการสอนแบบบูรณาการกับการทากิจกรรมกับต่อสังคม ท้ังด้านบริการ วิชาการ ด้านทานุบารุง ศิลปวัฒนธรรม นักศึกษาจานวนไม่น้อยท่ีละเลยกับการทางานเพ่ือ ส่วนรวม ขาดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ด้านจิตอาสาและจิตสาธารณะ ส่งผลให้การทากิจกรรม ต่างๆ ของหลักสูตรฯ ขาดคนช่วยงาน งานท่ีได้รับ มอบหมายเกิดความล่าช้า เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ทางทีมอาจารย์ผู้สอนได้นาแนวทางการจัด กิจกรรมการ เรียนการสอน โดยประยุกต์ใช้แนวทางการจัดการความรู้ ผ่านโครงการคหกรรมศาสตร์จิตอาสา แบ่งปันเพื่อน้อง สร้างฝันสู่ชุมชน หลังจากการแนวทางการจัดการความรู้ ผ่านการจัดโครงการ ดังกล่าว ซึง่ ทา ให้นกั ศกึ ษาเกดิ ความรว่ มมอื ในการทากจิ กรรมอาสามากขึน้ คาสาคญั การประยุกต์ใช้การจัดการความรู้ โครงการจติ อาสา

หนา้ 46 | การจดั การความรูส้ ู่มหาวิทยาลยั นวัตกรรม กิจกรรม การแข่งขนั STEM เพื่อพัฒนาทกั ษะด้านอาชีพ Activities STEM for TVET Competition นภารัตน์ เกษตรสมบรู ณ์1 อดิศกั ดิ์ จิตภษู า2 1อาจารย์ สาขาเทคโนโลยีปโิ ตรเลยี ม คณะครศุ าสตร์อตุ สาหกรรมและเทคโนโลยี 2ผชู้ ว่ ยศาสตาจารย์ สาขาศึกษาทวั่ ไป คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ชิ ยั [email protected] บทสรุป กิจกรรมการแข่งขัน STEM for TVET เป็นกิจกรรมท่ีจัดข้ึนเพ่ือเน้นการนาความรู้ เก่ียวกับ สะเต็ม ศึกษาไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริงและเป็นประโยชน์ต่อการดาเนิน ชีวิตและการทางาน โดย วัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมทักษะความรู้ด้านสะเต็ม ศึกษา (STEM Education) ให้แก่ นักศึกษา เพ่ือให้นักศึกษาได้ใช้ความรู้และความสามารถที่ได้ จากการศึกษามาใช้ให้เกิดประโยชน์ ในการ ปฏิบัติงานจริง เพื่อให้นักศึกษาได้รับประสบการณ์ นอกเหนือจากการศึกษาในห้องเรียน เพื่อสร้าง ความสัมพันธ์อันดีระหว่างวิทยาลัยในเครือข่าย ของศูนย์การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพศรีวิชัย นอกจากนี้ กิจกรรมดังกล่าวยังสร้างความ ร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยกับหน่วยงานภายนอก โดยระยะเวลาดาเนินการ ของกิจกรรมจัดข้ึน ระหว่างวันที่ 30-31 ตุลาคม พ.ศ. 2561 ณ โรงแรมราชมังคลา สงขลาเมอร์เมด อาเภอ เมือง จังหวัดสงขลา ผู้เข้าร่วมกิจกรรมคือนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จานวน 12 วิทยาลัย ทง้ั หมด 48 คน จากการจัดกจิ กรรมพบวา่ ผเู้ ข้าแข่งขนั ไดเ้ รียนรูถ้ งึ การยอมรับและการ รบั ฟังความคิดเห็นจาก ผู้อื่น ได้เรียนรู้ถึงการทางานร่วมกับผู้อ่ืน ได้ความรู้ประสบการณ์และได้ เรียนรู้การแก้ไขปัญหาท่ีเกิดข้ึน ได้ สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างวทิ ยาลัยในเครือข่ายฯผู้เขา้ รว่ ม กิจกรรมสามารถนาความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้ใน การแข่งขนั อื่นๆได้ คาสาคญั สะเต็มศกึ ษา การพฒั นาทักษะดา้ นอาชีพ ประกาศนยี บัตรวิชาชพี

การประชมุ สมั มนาเครือข่ายการจดั การความรู้ คร้ังท่ี 12 | หน้า 47 การจดั กจิ กรรมการเรียนรใู้ นวชิ ามนุษยสัมพนั ธแ์ ละการพัฒนาบคุ ลิกภาพดว้ ยกระบวนการเรียนรู้ ตามแนวจิตตปัญญาศกึ ษา เพ่ือสร้างเสริมการทางานเปน็ ทมี และการจัดกจิ กรรมจิตสาธารณะ Learning Management in Human Relations and Personality Development subject through the Learning Process of Contemplative Education for Team Work and Public Mind’s Activity วรรษวดี แกว้ ประพนั ธ์1 วไิ ลลักษณ์ เกตุแก้ว2 สมเกยี รติ อินทรักษ์3 Asst.Prof. Wassawadee Kaewprapun1 Asst.Prof. Wilailak Khetkhaw2 Asst.Prof. Somkiat Intaruksa3 1,2,3ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรีวชิ ัย [email protected] [email protected] [email protected] บทสรปุ การจัดการเรยี นร้ใู นปจั จุบนั มงุ่ เน้นให้ผเู้ รียนมีสว่ นรว่ ม เพอื่ พฒั นาทกั ษะในการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 ควบคู่ กับการพัฒนาการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นการพัฒนาพ้ืนฐานจิตใจ และเป็นกระบวนทัศน์ใหม่ที่เป็นองค์รวม ซ่ึงเน้นส่งเสริม ศักยภาพมนุษย์ โดยเน้นการเข้าถึงความจริง ความงาม และความดีที่จะช่วยนาพาสังคมไปสู่ ความสุขที่แท้จริง ประกอบกับการพัฒนาการเรียนรู้ที่เป็นกระแสหลักของสังคมปัจจุบัน มิได้เป็นกระบวนการ เรียนร้ทู ่สี ามารถตอบโจทย์ ปญั หาสงั คมได้อย่างแทจ้ ริง ดังนนั้ กระแสความต่นื ตัวและสนใจแนวคดิ จติ ตปัญญา ศึกษา (Contemplative Education) และการเรียนรู้ เพ่ือการเปลี่ยนแปลง (Transformative Learning) จงึ ได้เกิดขึ้นในสังคมในวงกวา้ งขึ้น กระบวนการเรียนรู้ตามแนว จิตตปัญญาศึกษา เปน็ กระบวนการเรียนรดู้ ้วย ใจอย่างใคร่ครวญ เพือ่ เน้นการพัฒนาด้านในของผู้เรียนอย่างแท้จริง ช่วยให้เกิดการตระหนกั รู้ถึงคุณค่าของส่ิง ตา่ งๆ โดยปราศจากอัคติ เกิดความรักความเมตตา อ่อนน้อมต่อธรรมชาติ มี จติ สานึกที่ดีต่อส่วนรวม สามารถ เช่ือมโยงศาสตรต์ ่างๆ มาประยกุ ตใ์ ชก้ ับตนเอง และการทางานเป็นทีมในองค์กรได้ อย่างมีความสุข คาสาคัญ Contemplative Educatio Dialogue Human Relations and Personality Development Public Mind Activity and Deep Listening

หนา้ 48 | การจัดการความรู้สู่มหาวทิ ยาลัยนวตั กรรม แนวปฏบิ ตั ิทดี่ ีการจดั การเรยี นรู้วิชาแหลง่ พลังงานทางเลือก : พลังงานชีวมวล จากห้องเรียนสู่ปฏิบัตกิ าร Best practice, learning management of Alternative Energy Sources : “Biomass Energy” from classrooms to operations พลชยั ขาวนวล1 สมบูรณ ประสงคจนั ทร2 นุชลี ทพิ ยมณฑา3 1,2,3อาจารย มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรีวิชยั [email protected] [email protected] [email protected] บทสรุป สาหรับวิชาแหลงพลังงานทางเลือก หัวขอพลังงานชีวมวล น้ัน ไดเนนการจัดการเรียนรู เพื่อปลูกฝัง ทักษะการเรียนรูในศตวรรษท่ี 21 โดยเริ่มตนจากการสอนทฤษฎีโดยพื้นฐานใน หองเรียน จากนั้นทาการ มอบหมายช้ินงานรายกลุม เชน การออกแบบและประกอบเตาชีวมวลซ่ึงเปนเทคโนโลยีพลังงานชีวมวลท่ี ตนทุนต่า ใชงานไดจริง และประกอบจากวัสดุเหลือใชในทองถิ่น พรอมท้ังคลิปเชิงสารคดี เพ่ือมานาเสนอ หนาช้ันเรียน และนานักศึกษาออกสูภาคสนามเพื่อสาธิต การประยุกตใชเทคโนโลยีพลังงานชีวมวล (เตาชีว มวล) และวัดผลจากการปฏิบัติการและขอสอบ ขอเขียนเชิงสรางสรรค ซ่ึงผลจากการจัดการเรียนรูดวยวิธี ดังกลาวจะสงผลใหนักศึกษาไดฝกการ ทางานเปนทีม การใชเทคโนโลยี การนาเสนอผลงาน การแกปญหาตาง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้น การ ถายทอดเทคโนโลยี เปนตน และจะสงผลใหเกิดงานวิจัยเพื่อพัฒนาเตาชีวมวล เกิดการ บริการ วิชาการนาเตาชีวมวลมาถายทอด และนาเตาชีวมวลไปสาธิตทาขนมทองถิ่นตามเทศกาลเพ่ือเปน การสงเสริมการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม นอกจากนี้สามารถนาเตาชีวมวลท่ีไดรับการพัฒนาจาก งานวิจัยไป จดอนสุ ิทธิบตั รได คาสาคัญ ทักษะการเรียนรูในศตวรรษที่ 21 การจัดการเรยี นรู พลงั งานชวี มวล

การประชุมสัมมนาเครอื ขา่ ยการจดั การความรู้ ครั้งท่ี 12 | หนา้ 49 การจัดการความรเู้ พ่ือพฒั นาระบบทะเบียนหนงั สอืราชการออนไลน์ : MT-Document Knowledge management for on-line official letter registration system development นุชเนตร นาคะพันธ์1 กญั ญา ผันแปรจติ ต์2 พรประเสริฐ ทพิ ยเ์ สวต3 สุภาพร ขนุ ทอง4 1,2เจ้าหน้าทบี่ ริหารงานท่วั ไป สานักงานคณบดี 3หัวหน้างานสารสนเทศ สานักงานคณบดี 4หวั หน้าสานกั งานคณบดี คณะเทคโนโลยกี ารจัดการ มทร.ศรีวชิ ยั [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] บทสรุป ระบบทะเบียนหนังสือราชการออนไลน์ : MT-Document เป็นระบบ การดาเนินงานด้านงาน สาร บรรณของคณะเทคโนโลยกี ารจัดการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย มีการดาเนนิ การดา้ น งานสาร บรรณเชน่ เดียวกับหน่วยอื่น โดยยึดถือหลักปฏิบัติงานตามระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีวา่ ด้วยงาน สารบรรณ พ .ศ. 2526 และ ระเบียบสานักนายกรฐั มนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2548 ทแ่ี ก้ไขเพิ่มเตมิ ให้ เหมาะ กับสถานการณ์ในปัจจุบันที่มีการปฏิบัติงานด้วยระบบงานสารบรรณ อิเล็กทรอนิกส์ และ พระราชบญั ญัตวิ า่ ดว้ ยการกระทาผิดเก่ียวกบั คอมพิวเตอร์ พ .ศ.2550 นามาใช้ ประกอบในการ ปฏบิ ตั ิงานสาร บรรณ ซึ่งคณะเทคโนโลยีการจัดการ โดยหัวหน้างานสารสนเทศ ได้รับ งบประมาณจากคณะเทคโนโลยีการ จัดการ ดาเนินโครงการวิจัย เร่ือง “การพัฒนาระบบรับ-ส่งหนังสือ ทางราชการออนไลน์” คณะเทคโนโลยี การจัดการ มทร.ศรีวิชัย จากผลการดาเนินวิจัยทาให้ทราบถึง ปัญหาการดาเนินงานด้านสารบรรณ และ แนวทางการแก้ไขปญั หา ซึ่งได้นาข้อมูลมาจดั ทาเป็นระบบ รบั - สง่ หนังสอื ทางราชการออนไลน์ ขึน้ มาเพ่ือใช้ งานภายในหน่วยงาน โดยระบบดังกล่าวได้ใช้ กระบวนการของการจัดการความรมู้ าประยุกตใ์ ช้ โดยเริม่ ตั้งแต่ การนาผลการวิจัยมาพัฒนาระบบ การจัด ประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเจ้าหน้าที่งานสารบรรณในฐานะ ผู้ใชง้ านระบบ มกี ารประชมุ แลกเปลีย่ น เรียนร้รู ่วมกบั ผู้บรหิ าร เพื่อทราบความต้องการในการใช้ระบบเพ่ือประกอบการตัดสินใจ หลังจากน้ัน ได้นา ข้อมูลท้ังหมดปรับปรุงพัฒนาระบบอีกครั้งและนามาจัดเก็บเป็นขุมความรู้จัดทาคู่มือการดาเนินงาน ระบบ ทะเบียนหนังสือราชการออนไลน์ (MT-Document) เพ่ือเป็นการพัฒนางานในคณะเทคโนโลยีการ จัดการ ให้เจ้าหน้าที่งานสารบรรณ คณะเทคโนโลยีการจัดการนาไปใช้คู่กับระบบ เพ่ือทดสอบปัญหาของ ระบบ และได้มีการ จัดประชุมแลกเปลี่ยนปัญหาที่ได้จากการใช้ระบบออนไลน์ เพื่อพัฒนาปรับปรุงแก้ไข นอกจากน้ี คณะผู้จัดทายังได้นากระบวนการจัดการความรู้มาเป็นเคร่ืองมือในการสกัดความรู้จาก เจ้าหน้าที่ งานสารบรรณในคณะอ่ืนๆ ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ท้ัง 14 หน่วยงาน และ 3 วิทยาเขต

หนา้ 50 | การจดั การความรสู้ ู่มหาวทิ ยาลัยนวตั กรรม มาเล่าปัญหาของทางานสารบรรณ เพื่อนามาปรับปรุงการพัฒนาระบบทะเบียนหนังสือ ออนไลน์ให้มี ประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึนอีกด้วย ระบบทะเบียนหนงั สือราชการออนไลน์ (MT-Document) เป็นงานสารบรรณ อิเล็กทรอนิกส์ เก่ียวข้องกับการจัดเก็บ พิมพ์บันทึกภายใน หนังสือภายนอก ค้นหาและประกาศคาสั่งและ ระเบียบต่างๆ การจัดการหนังสือรับภายใน การจัดการหนังสือรับภายนอก การจัดการประกาศและคาสั่ง จัดการรับส่งเอกสารตามโครงสร้างบุคลากร การแสดงรายชื่อผู้เปิดอ่าน/ไม่เปิดอ่านเอกสาร การจัดการคลัง เอกสาร การจัดประเภทแบบฟอร์มเอกสารการจัดเก็บแบบฟอร์มเอกสาร สามารถตรวจสอบการเปิดอ่าน หรอื ไม่เปิดอา่ น เป็นต้น ถือเป็นการนาเทคโนโลยีสารสนเทศ มาชว่ ยสนบั สนุนการตัดสนิ ใจผู้บริหาร และ การ ปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ พร้อมเสริมสร้างภาพลักษณ์ใหม่ ที่ทันสมัยให้องค์กร การเข้าใช้งานระบบ หนังสือ ราชการ สามารถเข้าใชง้ านโดยการคลิกที่ลิงค์เข้าผ่าน URLโดย พิมพ์ URLดังนี้ http://172.17.88.201/document คาสาคญั การจดั การความรู้ ระบบทะเบียนหนังสอื ราชการออนไลน์ นวตั กรรม

การประชมุ สัมมนาเครือขา่ ยการจดั การความรู้ ครงั้ ท่ี 12 | หน้า 51 การประยกุ ต์ใช้แนวคิดของ Management Cockpit ในการบรหิ ารงาน สาหรบั การติดตามเอกสารการ ประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน และตวั ช้ีวดั ระดบั เป้าประสงค์ ดว้ ย Google Application คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ิชัย Application of Management Cockpit concepts in administration for tracking internal quality assurance documents and target level indicators with Googlesheet Faculty of Engineering; Rajamangala University of Technology Srivijaya พรเพ็ญ จนั ทรา1* เพญ็ พักตร แกลวทนงค2 จรี าวรรณ จิตรวิจารณ3 ภัทราภรณ เพช็ รจารสั 4 Pornpen Jantra1* Penpak Gleawtanong2 Jirawan Jitwijan3 Pattraporn Petchamrat4 เจาหนาทบี่ รหิ ารงานท่ัวไป คณะวิศวกรรมศาสตร [email protected]* บทสรุป การพัฒนาคุณภาพงานน้ีมีวัตถุประสงค เพื่อปรับปรุงกระบวนการสาหรับการติดตามเอกสารการ ประกัน คุณภาพการศึกษาภายในและตัวช้ีวัดระดับเปาประสงค ของคณะวิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคล ศรีวิชัย โดยการประยุกตใชแนวคิดของManagement Cockpit ในการบริหารงานรวม กับความสามารถของGoogle Applicationโดยเลือกวิธีการดาเนินงานตามแนวทางของ PDCA รวมกับ เคร่ืองมือคุณภาพอื่นๆ เชน Lean, Kaizen, E.C.R.S, KM,Just-in-time เปนตน พรอมท้ังทาการทดลองผล จากการพัฒนาคุณภาพงานแบบกลุมเดียว โดยทดสอบ การดาเนินงานกอนและหลัง ผานกิจกรรมการจัดการ ความรูภายใตกิจกรรมการจดั ประชุม “KM สายสนับสนุน คณะวศิ วกรรมศาสตร”และการสนทนากลุม (Focus Group) กอเกิดการมีสวนรวมของทุกคน ทุกฝายในองคกร เพื่อรวมระดมสมอง (Brainstorming) รับฟงความ คิดเห็นและขอเสนอแนะตางๆเพือ่ เปนแนวทางสูการวางแผนการ ดาเนินการ การคนหาสาเหตุของปญหา และ นาไปสูกระบวนการประเมินความคิดสาหรับการปรับปรุงกระบวนการ ปฏิบัติงานใหมีประสิทธิภาพสูงขึ้นอย างตอเนื่อง ผลการพัฒนาคุณภาพงานพบวาการประยุกตใชแนวคิดของ Management Cockpit ในการ บริหารงาน รวมกับความสามารถของ Google Application โดยเลือกวิธีการดาเนินงานตามแนวทางของ PDCA รวมกับ เครื่องมือคุณภาพอื่นๆ ชวยลดความเส่ียงในการตัดสินใจของผูบริหาร โดยข้ันตอนการ ปฏิบัติงาน การติดตามเอกสารในภาพรวมลดลงรอยละ 50.00 รอบระยะเวลาในการปฏิบัติงานลดลงรอยละ 50.06 และ ประสิทธิภาพของกระบวนการเพ่ิมขึ้นรอยละ 49.43 และเม่ือพิจารณารายประเด็นพบวาการ ติดตามตัวชี้วัดระดับ เปาประสงคข้ันตอนการปฏิบัติงานลดลงรอยละ 60.00 รอบระยะเวลาการปฏิบัติงาน

หนา้ 52 | การจัดการความรสู้ ู่มหาวิทยาลัยนวัตกรรม ลดลงรอยละ 68.83 และประสิทธิภาพของกระบวนการเพิ่มข้ึนรอยละ68.53การติดตามเอกสารการประกัน คุณภาพการศึกษาภายใน ขั้นตอนการปฏิบัติงานลดลงรอยละ 40.00รอบระยะเวลาการปฏิบัติงานลดลงรอย ละ 33.34 และประสิทธิภาพ ของกระบวนการเพิ่มข้ึนรอยละ 33.33 คาสาคญั เอกสารการประกันคณุ ภาพการศึกษาภายใน ตัวชว้ี ัดระดับเปาประสงคเคร่ืองมือคุณภาพ

การประชุมสมั มนาเครือข่ายการจัดการความรู้ คร้งั ที่ 12 | หนา้ 53 การจัดการเรียนรูใ้ นรายวิชาสังคมศาสตรผ์ า่ นชุมชนโดยใช้เครอื่ งมือ การจัดการความรู้ Learning Management of Social Science Subject through the Community by Using Knowledge Management Tools ผศ.ดร. มนสั สวาส กลุ วงศ์1 วิลาสนิ ี สขุ กา อาจารย์2 1ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ คณะศิลปศาสตร์ 2คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย [email protected] [email protected] บทสรปุ การจัดการเรียนการสอนเป็นกระบวนการสาคัญของการจัดการเรียนรู้ ซึง่ ผู้สอนจาเป็น อย่างยง่ิ ที่ต้อง ปรับตัวให้เท่าทันกับสถานการณ์ท่ีท้าทายมากขึ้นจากลักษณะของผู้เรียนท่ี เปลี่ยนแปลงไป ดังน้ันผู้สอนจึง จาเป็นต้องพัฒนาการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน ผ่านการสอนรูปแบบต่าง ๆ ในการจัด กิจกรรมการเรียนการสอนในรายวิชาสังคมศาสตร์ มีการใช้ การจัดการเรียนรู้ผ่านชุมชนและบูรณาการ เคร่ืองมอื การจัดการความรู้เข้ามาร่วมดว้ ยคือ การ 1 2 ทางานข้ามสายงาน แหล่งผู้ร้ใู นองค์กร เวทีเสวนา การ ประชุมระดมสมอง การใช้เทคนิคการเล่า เร่ือง การทบทวนหลังการปฏิบัติงาน และการจัดทาฐานข้อมูล โดย ผ้สู อนทาหน้าท่ีเป็นเหมือนพี่ เล้ียงคอยอานวยการให้เกดิ การเรียนรู้ผ่านการลงสนามศึกษาชุมชน หลังจากการ ดาเนินกิจกรรม ดังกล่าวทาให้ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้นในการค้นหาความรู้ ส่งผลถึงผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ของผเู้ รียนโดยเฉพาะด้านทกั ษะทางความรู้และทักษะทางสังคม คาสาคญั การจดั การเรยี นรู้ ชมุ ชน เครอ่ื งมอื การจดั การความรู้

หน้า 54 | การจดั การความร้สู ู่มหาวิทยาลัยนวตั กรรม การจัดการความรู้ขยะทะเลบนชายฝ่ังเพ่ือพัฒนาหน่วยการเรยี นการสอน Knowledge Management Marine Debris on Coast for Instruction Unit development เอนก สาวะอินทร อาจารยสาขาสิง่ แวดลอม คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยกี ารประมง มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขตตรงั [email protected] บทสรปุ การดาเนินการจัดการองคความรูท่ีเก่ียวของกับขยะทะเล เปนการรวบรวมขอมูลทางดานวิธีการ สารวจ วิธีการบันทึกขอมูล ท่ีเกี่ยวของกับแหลงกาเนิด ชนิด ปริมาณ ความหนาแนน และ ขอมูลอื่น ๆ ของ ขยะทะเล ท่ี ตกค้างอยูตามแนวชายฝง ท่ีไดจากงานบริการวชิ าการ งานวิจัย สามารถนาไปใชเปนหนวยเรียน ในภาคปฏิบัติการของ นักศึกษา และ เผยแพรสูบุคคลภายนอกโดยการฝกอบรมเชิงปฏิบัติการ ผลจากการ จดั การองคความรูทาใหมีรปู แบบ วิธกี ารท่ีสามารถนาไปประยุกตใชในการสารวจขยะทะเล เพ่ือเก็บรวบรวมข อมูลตาง ๆ เชน แหล่งกาเนิด ลกั ษณะทาง กายภาพ การเคลอ่ื นที่ของขยะทะเลตามแนวชายฝง และ ขอมูลอ่ืน ๆ ซ่ึงการใหไดมาของขอมูลเหลาน้ีสามารถ นาไปใชสาหรับการหาแนวทางแกไข หรือ มาตรการสาหรับการ จัดการปญหาขยะทะเลไดในอนาคต ซึ่งเปนการ ปองกันแกไขปญหาผลกระทบทางส่ิงแวดลอมท่ีเกิดจากขยะ ทะเล ที่อาจทวคี วามรุนแรงมากข้ึนในอนาคตหากไมไดรบั ความสนใจ นอกจากีน้ยงั เปนแนวทางในการจัดการ องคความรูจากงานบริการวชิ าการ งานวิจัย สาหรับพฒั นา หรือ บรู ณาการรวมกับการเรียนการสอนไดอกี ดวย คาสาคญั ขยะทะเล การสารวจ ชายฝง ชายหาด

การประชมุ สัมมนาเครอื ข่ายการจดั การความรู้ คร้ังที่ 12 | หน้า 55 การจัดการเรยี นการสอนสู่การบรกิ ารวชิ าการโรงเรยี นวัดไมฝ้ าดเพ่ือการพัฒนาท่ยี ั่งยนื ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง Teaching and learning management for community services at Wat Mai Fad School for sustainable development based on the sufficiency economy philosophy ผอ่ งศรี พฒั นมณี Pongsri Pattanamanee อาจารย์ สาขาศึกษาทัว่ ไป คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีการประมง มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศรีวิชัย วทิ ยาเขตตรัง อ.สิเกา จ.ตรงั [email protected] บทสรุป การจัดการเรียนการสอนสู่การบริการวิชาการโรงเรียนวัดไม้ฝาดเพ่ือการพัฒนาท่ียั่งยืน ตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาท่ีเรียนในรายวิชาชีวิตกับ เศรษฐกิจ พอเพียงและรายวิชาวัฒนวิถีแห่งการดารงชีวิตนาความรู้ท่ีได้รับจากการเรียนการสอนไป ถ่ายทอดความรู้ ให้กับนักเรียนโรงเรยี นวัดไมฝ้ าดให้สามารถพ่ึงพาตนเองได้อย่างย่ังยืน ดาเนินการ ระหว่าง 6 กรกฎาคม – 22 สิงหาคม พ.ศ. 2561 โดยแบ่งออกเป็น 3 กิจกรรม ได้แก่ กิจกรรมที่ 1 การใช้ชีวิตรูปแบบเศรษฐกิจพอเพียง และเสริมความรใู้ นการลดรายจ่าย เพ่ิมรายได้ และมีเงินออม กจิ กรรมที่ 2 การทาผลิตภณั ฑ์เพื่อใชใ้ นครวั เรือน กิจกรรมที่ 3 การนาภูมิปัญญาท้องถ่ินมาบูรณาการใน การดาเนินชีวิต ผลการดาเนินงาน พบว่า นักเรียนมี ความรู้ความเขา้ ใจการใชช้ ีวิตรูปแบบเศรษฐกิจ พอเพียง และเสริมความรู้ในการลดรายจ่าย เพ่มิ รายได้ และมี เงินออม ร้อยละ 85 กจิ กรรมท่ี 2 นกั เรยี น สามารถทาผลิตภณั ฑเ์ พอื่ ใช้ในครวั เรือน ได้รอ้ ยละ 91 กิจกรรมที่ 3 นักเรียนสามารถนาภมู ปิ ัญญา ท้องถิน่ มาบรู ณาการในการดาเนินชีวิต ไดร้ ้อยละ 93 นอกจากนัน้ อาจารยผ์ สู้ อน สามารถนามาเป็น กรณีศึกษาเพ่ือปรับใช้ในการจัดการเรียนการสอนและสามารถนามาต่อยอดสู่งานวิจัยเร่ือง แนวทางการ สง่ เสรมิ การดาเนนิ ชีวติ หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง คาสาคญั เศรษฐกิจพอเพยี ง การจดั การเรยีนการสอน โรงเรียนวดั ไมฝ้ าด

หนา้ 56 | การจดั การความรู้สู่มหาวทิ ยาลัยนวตั กรรม การพัฒนาและการขยายผลเทคโนโลยีเตาประหยดั พลังงานในชมุ ชนลุ่มน้าทะเลสาบสงขลา The Development for Extension of Technology of Saving Energy Stove in the Communities of Songkhla Lake Basin สมบูรณ ประสงคจันทร1* พลชยั ขาวนวล2 นุชลี ทิพยมณฑา3 1*อาจารยหลักสูตรรายวิทยาศาสตร สาขาศึกษาทวั่ ไป 2,3อาจารยหลกั สตู รรายวทิ ยาศาสตร สาขาศกึ ษาทวั่ ไป มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย 1*[email protected] บทสรปุ ปจจุบันชาวสวนยางพาราประสบปญหาตนทุนการผลิตสูง ราคายางตกต่า สงผลตอ รายไดและ คุณภาพชีวิต การสงเสริมกิจกรรมลดรายจายเพ่ิมรายได โดยใชหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อแกป ญหาการเปล่ียนสวนยางเปนสวนปาลมีน้ามันหรือสวนผลไม ตาม กระแสการเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจ ซ่ึง การลดลงของพ้ืนที่สวนยางสงผลตอการเปลี่ยนแปลง ของภูมิอากาศ เน่ืองจากการเผาเศษชีวมวลเหลือทิ้งใน ชุมชน จึงจาเปนตองมีการพัฒนาและขยาย ผลเทคโนโลยีเตาประหยัดพลังงาน เพื่อให เกษตรกรเห็น ความสาคัญและคุณคาของพลังงาน ทางเลือก และการแกปญหามลพิษสิ่งแวดลอมในพื้นที่ลุมน้าทะเลสาบ สงขลา (Songkhla Lake Basin: SLB) โดยใชเคร่ืองมือการจัดการความรู (KM tools) ซ่ึงไดแก การระดม สมอง (Brainstorming) ร วมกับชุมชนนักปฏิบัติ (Community of Practice-CoP) มีการสกัดความรู การพฒั นาและขยายผลเทคโนโลยเี ตาประหยัดพลงั งาน โดยการเลาเรอ่ื ง (Storytelling) แลวจงึ จดั การความรู เพ่ือนาไปปฏิบัติรวมกับพ่ีเล้ียง (Mentor) ซึ่งมีการทบทวนหลังการปฏิบัติ (After Action Review) โดยมี นักวิจัยมาสอนงาน (Coaching) ควบคูกับวิทยากรชุมชน (Center of Excellence-CoE) และเพอื่ นชวยเพื่อน (Peer Assist) จึงไดองคความรูท่ีชัดเจนที่สามารถพัฒนา รูปแบบเตาและจัดทาคูมือการปฏิบัติงาน (Work Manual) ใชเปนเอกสารในการแบงปนความรู (Sharing) เร่ือง การออกแบบและพัฒนาเตาประหยัดพลังงาน เพอ่ื ชุมชน มีการจัดต้งั ฐานเรยี นรู ชุมชน และวิสาหกจิ ชมุ ชนหมูบานพลงั งานทางเลือก เพ่ือใหเกิดการเรียนรูใน ชมุ ชนอยางตอเน่ือง และเกิดเปนเครือขายชุมชนนักพัฒนาเทคโนโลยีเตา เพ่ือขยายผลเทคโนโลยีเตาแกชุมชน ในพ้ืนที่ SLB มีการใหคาปรึกษาแลกเปล่ียนเรียนรู โดยใช Social Network ของชุมชน SLB และขยาย เครอื ขายไปทว่ั ประเทศ ทาใหเกิดการใชเตาประหยัดพลังงานและการใชพลังงานทางเลือกใน ชุมชนที่ยงั่ ยนื คาสาคัญ การพัฒนา เทคโนโลยีเตาประหยัดพลังงาน ลุมนา้ ทะเลสาบสงขลา

การประชุมสัมมนาเครือข่ายการจัดการความรู้ คร้งั ที่ 12 | หนา้ 57 การใชก้ ิจกรรมบทบาทสมมตเิ พือ่ พัฒนาทักษะดา้ นการสื่อสารภาษาต่างประเทศ ของนกั ศกึ ษาสาขาภาษาตา่ งประเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย Using Role-Playing Activities to Improve Foreign Languages Communication Skills of Students in Foreign Languages Department, Rajamangala University of Technology Srivijaya เมธสั พานิช (Metas Panich)1 จริ ายุ สงเคราะห์ (Jirayu Songkhro)2 1,2อาจารยป์ ระจา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรีวิชยั [email protected] [email protected] บทสรุป การจัดการเรียนการสอนด้วยกิจกรรมการแสดงบทบาทสมมติเพ่ือพัฒนาทักษะด้านการ ส่ือสาร ภาษาต่างประเทศของนักศกึ ษา สาขาภาษาต่างประเทศ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ศรีวชิ ัย กิจกรรมใน ครั้งนี้ได้เลือกใช้เคร่ืองมือการจัดการความรู้ (KM Tools) มาใช้เพื่อให้เกิดการ เรียนรู้ผ่านการปฏิบัติคือ การ เรียนรู้จากการปฏิบัติ (Action Learning) ซ่ึงเป็นเคร่ืองมือท่ีช่วยให้ ผู้เรียนมีประสบการณ์จาลองหรือมี ประสบการณ์ตรงจากเรื่องทเ่ี รียน นาความร้ทู ี่ไดร้ ับไป ประยุกตใ์ ชแ้ ละสามารถสร้างส่ิงใหม่ข้นึ มีจุดมุ่งหมายให้ ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริง และเข้าใจใน สิ่งท่ีตนเองปฏิบัติ ผลจากการใช้กิจกรรมพบว่า ผู้เรียนมีคะแนน ทดสอบหลังเรียน (post-test) หลังจากท่ีใช้กิจกรรมบทบาทสมมติมากกว่าคะแนนทดสอบก่อนเรียน (pre- test) และผูเ้ รียนมี ความเชือ่ ม่นั และกล้าท่ีจะแสดงออกในทางทถี่ ูกต้อง ฝึกวางแผนและการทางานร่วมกบั ผู้อื่น มี ความมัน่ ใจในการใช้ภาษาตา่ งประเทศมากขึน้ คาสาคญั กิจกรรมบทบาทสมมติ ทักษะการส่อื สาร ภาษาต่างประเทศ

หน้า 58 | การจัดการความรู้สู่มหาวทิ ยาลยั นวัตกรรม การพัฒนาระบบตดิ ตามข้อสั่งการออนไลน์ โดยใชร้ ะบบ Office Command Management (OCM) The Development of Online Command Tracking System with Office Command Management (OCM) นายสุขรฐั จติ มงคลศริ ิเจริญ (MR.Sukrattajit mongkhonsiricharoen) เจาหนาท่ีหองปฏบิ ัติการ คณะครศุ าสตรอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ชิ ัย [email protected] บทสรุป แนวปฏิบัติในการพัฒนาระบบติดตามเอกสารออนไลน โดยใช ระบบ Office Command Management (OCM) เปนแนวปฏิบัติท่ีจัดทาข้ึนเพื่อสนับสนุนดานขอมูลใหบุคลากรสานักงาน คณบดีคณะ ครุศาสตรอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีที่จะตองมีหนาท่ีรับผิดชอบงานแตละฝาย เพ่ือใหเปนศูนยกลางขอมูล สารสนเทศ สามารถเขาถึงขอมูลตรงกัน ทันเวลา สะดวก รวดเร็ว ถูกตอง และตรวจสอบได สามารถนาไปใช ใหเกิดประโยชน์เปนการตอไป คาสาคัญ การพฒั นาระบบ ติดตามขอส่งั การ ออนไลน

การประชมุ สมั มนาเครือขา่ ยการจดั การความรู้ ครง้ั ที่ 12 | หนา้ 59 การดาเนนิ การขนั้ ตอนการ รบั -สง่ หนังสือราชการ ของสาขาเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม คณะครศุ าสตรอ์ ตุ สาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ชิ ัย Implementation of the Procedure Documents Unit นางสาวภารดี พงศจ์ นิ ต์ (Paradee Pongjin) เจา้ หน้าท่ีห้องปฏิบัติการ คณะครศุ าสตร์อตุ สาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ชิ ัย [email protected] บทสรปุ แนวปฏิบัตใิ น รบั -ส่ง หนังสือราชการ ของสาขาเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม คณะครุศาสตร์ อุตสาหกรรม และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย เป็นแนวปฏิบัติที่ใช้สาหรับ บริหารงานด้านเอกสาร ของสาขาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและ เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช มงคลศรีวิชัย เพื่อให้การติดตามข้อมูลเอกสาร มีคุณภาพ สะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง และตรวจสอบได้ ผลลัพธ์ จากการปฏบิ ตั ติ ามกระบวนการทาให้ได้ผลงาน ทมี่ ปี ระสิทธภิ าพ คาสาคัญ หนงั สือราชการ สาขาเทคโนโลยอี ุตสาหกรรม

หนา้ 60 | การจัดการความรู้สู่มหาวทิ ยาลยั นวัตกรรม การสร้างความเขม้ แข็งทางด้านพลงั งานใหก้ บั โรงเรียนบา้ นคลองหอยโข่ง Strengthening Ban Khlong Hoi Kong school through alternative energy สุปราณี วนุ่ ศรี1* วราวุฒิ ดวงศิริ2 พลชัย ขาวนวล3 สมบูรณ์ ประสงคจ์ ันทร์4 อาจารย์ หลักสูตรรายวชิ าวิทยาศาสตร์ สาขาศกึ ษาท่ัวไป คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ชิ ัย 1*[email protected] บทสรุป การถ่ายทอดเทคโนโลยี บ่อแก๊สชีวภาพ เตาประหยัดพลังงาน และเตาเผาถ่าน สาหรบั การจัดการขยะ ที่ยั่งยืนเพ่ือสร้างความเข้มแข็งทางด้านพลังงานให้กับโรงเรียนบ้านคลองหอยโข่ง ตาบลคลองหอยโข่ง อาเภอ คลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา ตามวัตถุประสงค์เพ่ือจัดการของเสียจากเศษวัสดุเหลือท้ิงจากการเกษตร และ เพ่ือเป็นการลดค่าใช้จ่ายทางด้านพลังงาน ซึ่งจากการดาเนินการถ่ายทอดเทคโนโลยี คือ บ่อแก๊สชีวภาพ เตาประหยัดพลังงาน และเตาเผาถ่าน พบว่า เทคโนโลยีบ่อแก๊สชีวภาพสามารถลดปริมาณขยะอินทรีย์ที่เกิด จากการประกอบอาหารของโรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 80 เตาประหยัดพลังงานสามารถนามาใช้งานในการปรุง อาหารควบคู่กับการใช้แก๊ส LPG ทาให้สามารถลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานจากเดิม 1,500 บาท/เดือน เป็น 1,000 บาท/เดอื น และเตาเผาถา่ นสามารถนาเศษวสั ดชุ ีวมวลเหลือทิ้งมาทาเป็นถ่านที่มีคณุ ภาพเหมาะกับการ ปงิ้ ยา่ งเน่อื งจากมีปริมาณความรอ้ นสูง ปรมิ าณเถ้าและปริมาณสารระเหยตา่ คาสาคัญ ชวี มวล พลังงานทดแทน เตาชวี มวล

การประชุมสมั มนาเครือข่ายการจัดการความรู้ ครง้ั ท่ี 12 | หน้า 61 การพฒั นารูปแบบการจดั การเรยี นร้ดู ้วยการศึกษาจากชุมชน The Development of Learning Management Systems through Educational from the Community ปยิ าภรณ์ อรมุต ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ คณะสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศรีวชิ ัย piyaporn.oramut @gmail.com บทสรุป การจัดการเรียนรู้ด้วยการศึกษาจากชุมชน (ในพ้ืนที่จิรง) มีผลสัมฤทธ์ิสูงสุด และเหมาะสมกับบริบท การจดั การเรียนการสอน เรยี นการสอนในรายวิชาสถาปัตยกรรมไทยพืน้ ถนิ่ วิธีดาเนินการ ไดแ้ ก่ ศึกษาเอกสาร และงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้อง และผู้วิจัยนาเสนอรูปแบบการจัดการเรียนรู้ 2 รูปแบบในการศึกษา เพ่ือหาวิธีการที่ เหมาะสมในการจัดการเรียนการสอน คือ รูปแบบที่ 1 อาจารย์ผู้สอนกาหนดพื้นที่ศึกษาในแต่ละกลุ่ม และมี สมาชิกกลุ่ม 9-10 คน และ รูปแบบที่ 2 นักศกึ ษาเลือกพ้นื ท่ีศึกษาตามความสนใจ อาจารยผ์ ู้สอนกาหนดเกณฑ์ การเลือกพ้ืนที่ศึกษา และมีสมาชิกกลุ่ม 3-5 คน ซึ่งมีปัจจัยในการกาหนดพ้ืนที่ศึกษาและจานวนสมาชิก แตกตา่ งกนั ท้งั 2 รปู แบบการจดั การเรยี นรู้ต้องการผลลัพธท์ ีเ่ หมอื นกนั ผลการศึกษาสรปุ ได้ดังนี้ นักศึกษาท่ีจัดการเรียนรู้ในรูปแบบท่ี 2 คือ นักศึกษาเลือกพื้นท่ีศึกษาตามความสนใจ อาจารย์ผู้สอน กาหนดเกณฑ์การเลือกพ้ืนท่ีศึกษา และมีสมาชิกกลุ่ม 3-5 คน ซึ่งมีปัจจัยในการกาหนดพ้ืนท่ศี ึกษาและจานวน สมาชกิ แตกต่างกัน มีระดับคะแนนส่วนใหญอ่ ยู่ในระดบั ดีเยี่ยม (A) ถึงระดับพอใช้ (C) ซ่ึงมีระดับคะแนนอยู่ใน เกณฑ์ที่สูงกว่าเม่ือเปรียบเทียบกับการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบที่ 1 ที่มีระดับคะแนนส่วนใหญ่อยู่ในระดับดี พอใช้ (C+) คาสาคญั การจัดการเรียนรู้ การศกึ ษาจากพ้ืนท่จี ริง

หน้า 62 | การจดั การความรู้สู่มหาวิทยาลยั นวัตกรรม ระบบจดั เกบ็ เอกสารอิเลก็ ทรอนิกส์ e-Document System Electronic document storage system e-Document System 1นางสิริพร เลิศวทิ ยาววิ ัฒน์ (Mrs.Siriporn Lertwittayawiwat) 2นางสาวฤทัยรัตน์ สวุ รรณเรืองศรี (Miss.Ruthairat Suwanruangsri) 1พนกั งานพิมพ์ ระดับ ส 3 2เจา้ หน้าที่บรหิ ารงานทัว่ ไป คณะครศุ าสตร์อตุ สาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศรีวชิ ยั [email protected] [email protected] บทสรุป ระบบการจัดการเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ e-Document System มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล ศรีวิชัย เพ่ือทาการจัดเก็บเอกสารและสาเนาเอกสารเข้าระบบการจัดการ เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ แทนการ จัดเก็บเอกสารในแฟ้มเอกสาร ในตู้เอกสาร สามารถช่วยลดพ้ืนท่ี ในการจัดเก็บเอกสาร นอกจากนี้นอกจากน้ี ยังสามารถสืบค้นเอกสารได้ในระยะเวลาท่ีเร็วขึ้นผ่าน ระบบอินเตอร์เน็ต แทนการเดินเข้าไปค้นหาในแฟ้มที่ จัดเก็บเอกสารในตู้จัดเก็บแฟ้ม ทาให้การ บริหารจัดการเอกสารมีประสิทธิภาพมากย่ิงข้ึนและเป็นประโยชน์ สงู สุดของทางราชการ คาสาคัญ ระบบจัดเกบ็ ,เอกสารอิเลก็ ทรอนกิ ส์

การประชมุ สมั มนาเครอื ข่ายการจัดการความรู้ ครงั้ ท่ี 12 | หน้า 63 การบรหิ ารจัดการการฝึกงานของนักศึกษาด้วยระบบ Internship Management Internship Management System 1นางสาวจฑุ าทิพย ดามาก (Miss Juatatip Dummark) 2นายสุขรฐั จิต มงคลศริ เิ จรญิ (MR.Sukrattajit mongkhonsiricharoen) เจาหนาที่หองปฏิบตั ิการ คณะครุศาสตรอตุ สาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรวี ิชยั [email protected] [email protected] บทสรุป แนวปฏิบัติในการการบริหารจัดการการฝกงานของนักศึกษาดวยระบบ Internship Management เป็นแนวปฏิบัติท่ีจัดทาขึ้นเพ่ือเกิดความสะดวกและรวดเร็วขึ้น เช น การเรียกดู ฐานขอมูลของสถาน ประกอบการท่ีนักศึกษาออกฝกงาน ก็สามารถคนหาไดงาย เน่ืองจากอยูใน รูปแบบอิเล็กทรอนิกส ซึ่งจะเพิ่ม ความสะดวกตอผูใชงาน เพ่มิ ความรวดเร็ว และชวยลดปญหา ทันเวลา สะดวก รวดเร็ว ถูกตอง และตรวจสอบ ได สามารถนาไปใชใหเกดิ ประโยชนเปนการ ตอไป คาสาคัญ ระบบ Internship Management

หนา้ 64 | การจัดการความรูส้ ู่มหาวิทยาลยั นวัตกรรม การวางแผนเทคนิคการแก้ไขปญั หาการดาเนินการจัดซือ้ จดั จ้าง Planning of operations techniques for solving problems in procurement operations นางสาวฐานติ ดา ชรู าษฎร (Thanida Churat) เจาหนาที่บริหารงานท่วั ไป คณะครศุ าสตรอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวชิ ัย [email protected] บทสรปุ เนื่องจาก การดาเนินการจัดซื้อจัดจางภายใตระเบียบกระทรวงการคลังวาดวยการจัดซื้อ จัดจางและ การบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.๒๕๖๐ กาหนดขั้นตอนการดาเนินการจัดซื้อหรือจาง โดย แตละขั้นตอนจะตอง ดาเนินการในระบบเครือข ายสารสนเทศของกรมบัญชีกลางผ านระบบจัดซ้ือ จัดจ างภาครัฐด วยวิธี อิเล็กทรอนิกสท่ีกรมบัญชีกลางกาหนด รวมทั้งเมื่อส้ินสุดกระบวนการจัดซื้อ จัดจางกาหนดใหมีการบันทึก รายงานผลการพิจารณา รายละเอียด เอกสารหลักฐาน และจัดเก็บ ไวอยางเปนระบบ เพ่ือใหการดาเนินการ จัดซื้อจัดจางของหนวยงานถูกตองตามกฎหมาย รวมถึง การดาเนินการบันทึกขอมูลในระบบ จะตองเปนไป ตามรูปแบบท่กี รมบญั ชีกลางกาหนดไว หนวยงานจึงตระหนักปญหาท่อี าจจะเกิดข้ึน จงึ ไดมกี ารวางแผนเทคนิค การแกไขปญหาการ ดาเนนิ การจัดซือ้ จดั จาง คาสาคญั การจัดซ้ือจัดจาง การบริหารพสั ดุ เงนิ งบประมาณ

การประชมุ สมั มนาเครอื ขา่ ยการจดั การความรู้ ครั้งท่ี 12 | หนา้ 65 การคดั เลือกครดู ีเดน่ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศรีวชิ ัย Outstanding Teacher Selection Rajamangala University of Technology Srivijaya 1นางสาวฤทยั รตั น์ สวุ รรณเรอื งศรี (Miss.Ruthairat Suwanruangsri) 2ว่าทร่ี ้อยตรีเดชวนิ แก้วศรวี งศกร (Mr.Detchawin Keawsriwongsakorn) เจา้ หน้าทีบ่ รหิ ารงานทั่วไป คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ชิ ยั [email protected] [email protected] บทสรปุ แนวทางปฏิบัติการคัดเลือกครูดีเด่นมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย เป็นแนว ปฏิบัติท่ีการ คดั เลือกครูดีเด่น เป็นการส่งเสรมิ และยกย่องบุคลากรสายวิชาการ มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ผ้ทู มี่ ีความประพฤติปฏบิ ตั ิตนเป็นแบบอย่างที่ดีในด้านการครองตน การครองคน และครองงาน อกี ทั้งมีผลการ ปฏิบัติงานดีเด่น สามารถนาไปเป็นแบบอย่างในด้าน การประพฤติตนและการปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างท่ีดีใน การดาเนนิ ชวี ติ คาสาคญั การคัดเลือก ครดู ีเด่น

หนา้ 66 | การจัดการความรู้สู่มหาวทิ ยาลัยนวตั กรรม แนวปฏิบตั ิในการสง่ ขอ้ เสนอโครงการวิจยั สถาบันสาหรบั บุคลากร คณะครศุ าสตร์อุตสาหกรรมและ เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวชิ ัย โดยใช้ระบบ ระบบ DRMS ระบบบริหารงานวจิ ัย Guidelines for submitting proposals for research institutes for personnel Faculty of Industrial Education and Technology Rajamangala University of Technology Srivijaya Using the DRMS system, research management system 1นางรงุ่ นภา แก้วนวล 2นายอนกุ ลู นนั ทพุธ 1Rungnapa Keawnaul 2Anugool Nuntaput เจา้ หน้าท่บี ริหารงานทั่วไป คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั เทคโนโลยี ราชมงคลศรวี ิชัย [email protected] [email protected] บทสรุป แนวปฏิบัติในการส่งข้อเสนอโครงการวิจัยสถาบันสาหรับบุคลากร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม และ เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย โดยใช้ระบบ ระบบ DRMS ระบบบริหารงานวิจัย เป็น แนวปฏิบัติท่ีจัดทาข้ึนเพื่อสนับสนุนด้านผู้รับผิดชอบเกิดความสะดวกและรวดเร็วขึ้นกว่าการส่ง เอกสาร แบบเดิม การทางานนั้นเกิดประสิทธิภาพ การเรียกดูข้อมูลวิจัยต่าง ๆ ก็สามารถทาได้ง่าย เนื่องจากอยู่ใน รูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งจะเพ่ิมความสะดวกต่อผู้ใช้งาน เพิ่มความรวดเร็ว และช่วยลดปัญหา การติดตาม งานการรายงานผล คาสาคัญ แนวปฏบิ ัตทิ ี่ดี วิจัยสถาบัน ขอรับทุนสนบั สนุน

การประชุมสมั มนาเครอื ขา่ ยการจดั การความรู้ ครัง้ ที่ 12 | หน้า 67 “การจดั การเบิก - จา่ ยเครือ่ งมือช่างด้วยระบบออนไลน์” (Tool Management Online) สาหรบั นักศึกษา Tool Management Online 1นางสาวจุฑาธิป แกว้ พิจติ ร 2นางสาววรวลญั ช์ มงคลชยานันต์ 1Juthathip Kaewpijit 2Worawalan Mongkonchayanan 1เจา้ หนา้ ทหี่ อ้ งปฏิบัติการ 2ผปู้ ฏิบัตงิ านบริหารชานาญงาน มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรวี ิชัย [email protected] [email protected] บทสรปุ บทความน้ี มีวัตถุประสงค์เพื่อนาเสนอแนวปฏิบัติที่ดีในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ สารสนเทศเพ่ือใชใ้ นการทางาน คือการเลอื กเทคโนโลยี QR code เชื่อมโยงถึงการ จัดการเบิก - จ่ายเครื่องมือ ช่าง (google form)มาช่วยในการเข้าถึงแหล่งข้อมูลออนไลน์ การ ทางานสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลได้ทาง โทรศัพท์มือถือ สะดวก รวดเร็ว ประหยัดเวลา และเพ่ือ ลดการใช้กระดาษในการปฏิบัติงานในหน่วยงานได้ นอกจากน้ันยังสามารถนาเทคโนโลยีนี้ไป ประยุกต์ใช้ในกระบวนการทางานด้านต่างๆ ก่อให้เกิดประโยชน์ สูงสดุ แก่องค์กร เพือ่ ลดการใช้ กระดาษในการปฏิบตั งิ านในหน่วยงานได้ คาสาคญั เทคโนโลยี QR code Google Form เทคโนโลยีสารสนเทศ

หน้า 68 | การจัดการความรสู้ ู่มหาวิทยาลยั นวัตกรรม สบื สานภมู ปิ ัญญาไทยโดยบูรณาการศาสตรเ์ ทคโนโลยี ภายใต้โครงการศกึ ษาวถิ ีชวี ิตชมุ ชนตาลโตนด ต.ทา่ หิน อ.สทงิ พระ จ.สงขลา Inheritance of thai wisdoms by integrated science technology under Tan Tanod community lifestyle Tha Hin, Sathing Phra District, Songkhla นายเอกศกั ดิ์ สงสังข์ (Akasak SongSung)1 นายอนกุ ูล นนั ทพธุ (Anugool Nuntaput)2 เจา้ หนา้ ท่ีบริหารงานทวั่ ไป คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี [email protected] [email protected] บทสรปุ วถิ ชี วี ิตชมุ ชนตาลโตนด ต.ทา่ หิน อ.สทงิ พระ จ.สงขลา เปน็ ชมุ ชนท่ีมีวถิ พี นื้ บา้ นทโ่ี ดดเด่น มเี อกลกั ษณ์ ใชช้ ีวิตที่เรยี บง่ายมวี ัฒนธรรมอนั ดีงามเก่ียวข้องกับตาลโตนด นับเป็นแหล่งที่มีตน้ ตาลโตนด จานวนมาก นามา ซ่งึ อาชีพท่ีหลากหลาย คณะครศุ าสตร์อตุ สาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลศรวี ิชัย จึง มีภารกิจหลักในการทางานด้านทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม บูรณาการความรู้จากรายวิชาเรียนด้านเทคโนโลยี ผ่านการจัดกิจกรรมโครงการศึกษาวิถีชีวิตชุมชน ตาลโตนด ต.ท่าหิน อ.สทิงพระ จ.สงขลา เพื่อปลูกฝังให้ นกั ศึกษาหรือคนรนุ่ ใหม่ได้รับความร้แู ละ สามารถเผยแพร่วถิ ีชวี ิตชมุ ชนตาลโตนดใหเ้ ป็นท่ีรู้จกั มากข้ึน คาสาคัญ ภูมปิ ัญญาไทย ศาสตร์เทคโนโลยี วิถีชีวิต ชมุ ชนตาลโตนด

การประชุมสมั มนาเครือข่ายการจดั การความรู้ ครง้ั ที่ 12 | หน้า 69 การขบั เคลือ่ นคณะครศุ าสตรอ์ ตุ สาหกรรมและเทคโนโลยีสูว่ ัฒนธรรมองคก์ ร การจัดการความรู้ 4.0 Driving the Faculty of Industrial Education and Technology to Corporate CultureKnowledge Management 4.0 1นางสาวอญั ชลี สะอาด (Miss Anchalee Saart) 2นายอนุกูล นนั ทพทุ ธ (Anugool Nuntaput) 1เจ้าหน้าทีบ่ รหิ ารงานทัว่ ไป 2หวั หนา้ สานักงานคณบดี คณะครุศาสตร์อตุ สาหกรรมและเทคโนโลยี [email protected] [email protected] บทสรปุ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี ได้ให้ความสาคัญกับการสร้างและพัฒนาการ จัดการ ความรู้เพื่อมุ่งสู่สถาบันแห่งการเรียนรู้ โดยมีการรวบรวมองค์ความรู้ท่ีมีอยู่ท้ังในและนอก สถาบัน ซึ่งกระจัด กระจายอยู่ในตัว บุคคลหรือเอกสารมาจัดการให้เป็นระบบ เพื่อให้คณาจารย์ ในสถาบันสามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้ เป็นผู้รู้ รวมทั้งปฏิบัติงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ โดยการกาหนดประเด็นความรู้และ เปา้ หมายของการจัดการ ความรทู้ ี่สอดคล้อง กับแผนยุทธศาสตร์ของคณะ กาหนดบุคลากรกลุ่มเป้าหมายท่ีจะ พฒั นาความรูแ้ ละทักษะด้านการ เรียนการสอน และแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากความรู้ ทักษะของผมู้ ีประสบการณ์ ตรง ผ่านเว็บไซต์ และส่ือ สังคมออนไลน์ ให้สามารถค้นหาแนวปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับการเรียนการสอน เผยแพร่ ไปสู่ บุคลากรกลุ่มเป้าหมาย ท้ังการจัดต้ังคณะทางานเพื่อทาหน้าที่ดาเนินการวางแผนและจัด กิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับคณาจารย์ และกาหนดประธานท่ีมีทักษะการพูด สร้าง บรรยากาศให้เกิดความเป็น กันเอง นาองค์ความรู้ที่ อยู่ในบุคคลแล้วสรุปประเด็นได้ นาองค์ความรู้จดั เก็บอย่างเป็นระบบและแลกเปล่ียน ผา่ นเทคโนโลยี สารสนเทศทสี่ ามารถเขา้ ถึงได้ท้ัง ภายในและภายนอกองค์กร คาสาคญั การจดั การความรู้ ไทยแลนด์ 4.0 วฒั นธรรมองค์กร

หน้า 70 | การจัดการความรู้สู่มหาวทิ ยาลัยนวตั กรรม ปญั หาและอปุ สรรคด้านปจั จัยพ้ืนฐานในการประกอบกจิ การอุตสาหกรรม ผลิตช้ินส่วนยานยนต์ ขนาดยอ่ ม และขนาดกลางในเขตกรงุ เทพฯและปริมณฑล The Problem and Solution Guidelines in the Automotive Industry SMEs in Bangkok and Near Province เทพนารินทร์ ประพนั ธ์พฒั น์ (Thepnarintra Praphanphat) ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสวุ รรณภมู ิ [email protected] บทสรุป การวิจัยครั้งน้ี มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาสภาพการดาเนินงานอุตสาหกรรมผลิตช้ินส่วนยานยนต์ใน สถาน ประกอบการขนาดย่อม และขนาดกลางในเขตกรุงเทพฯ เพื่อศึกษาปัญหาในการประกอบกิจการ อุตสาหกรรมผลิต ช้ินส่วนยานยนต์ ขนาดย่อม และขนาดกลางในกรุงเทพฯ และปริมณฑล และเพ่ือ เปรียบเทียบระดับปัญหาในการ ประกอบกิจการอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ จาแนกตามขนาดของ สถานประกอบการ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการ วิจัยครั้งนี้ คือ ผู้ประกอบการในสถานประกอบการอุตสาหกรรม ผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ ขนาดย่อมและขนาดกลาง คานวณจากตารางสาเร็จรูปของ R.V.Krejcie กับ D.W.Morgan ใช้วิธีการสุ่มแบบอย่างง่าย (Simple Random Sampling) ได้กลุ่มตัวอย่างจานวน 156 แห่ง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถ่ื ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย และ ค่าส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และ t- test วิเคราะหข์ อ้ มูลทางสถติ โิ ดยใช้โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ ผลการวจิ ยั พบวา่ สถานประกอบการมปี ัญหาในการ ประกอบกิจการอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนยานยนต์ โดย ภาพรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบวา่ มปี ญั หาอย่ใู นระดบั มากทุกด้าน ได้แก่ ดา้ นบุคลากร รองลงมา ไดแ้ ก่ ด้านการผลติ ดา้ นการสง่ ออก ดา้ น การเงิน และดา้ นการตลาด ตามล าดบั การเปรยี บเทยี บความแตกตา่ ง ระหวา่ งค่าเฉลยี่ ของระดบั ปัญหาในการ ประกอบกิจการอุตสาหกรรมผลิตช้ินส่วนยานยนต์ โดยภาพรวม จาแนกตาม ขนาดของสถานประกอบการ พบว่า ขนาดของสถานประกอบการท่ีต่างกันมีปัญหาในการประกอบกิจการ โดยภาพรวม แตกต่างอย่างมี นยั สาคัญทางสถติ ิทร่ี ะดบั .05 เม่ือพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า มีความแตกต่างกันอย่างมนี ัยสาคัญทาง สถติ ิท่ี ระดับ .05 จานวน 5 ด้าน ได้แก่ ด้านการผลิต ด้านการตลาด ด้านการเงิน ด้านบุคลากร และด้านการส่งออก โดย สถานประกอบการขนาดย่อมมีปญั หาในการประกอบกจิ การมากกวา่ สถานประกอบการขนาดกลาง คาสาคญั the problem solution guideline automotive industry SMEs

การประชมุ สมั มนาเครือข่ายการจัดการความรู้ ครัง้ ที่ 12 | หนา้ 71 การจดั การเรียนการสอนภาษาอังกฤษดว้ ยเทคนิคการเรียนรู้แบบลงมอื ทา English Learning Management with Active Learning ดร.ทิวา ใจหลัก (Tiwa Jailak, Ph.D.) อาจารยส์ าขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะศลิ ปศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลสุวรรณภมู ิ [email protected] บทสรุป รายวิชาการแปลเบ้ืองต้น และ รายวิชาการเขียนเชิงวิชาการ จัดเป็นวิชาชีพบังคับ ในหลักสูตร ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษเพ่ือการสื่อสารสากล ซ่ึงอยู่ในความรับผิดชอบสอนของข้าพเจ้า เพื่อให้การเรียนการ สอนเกิดประสิทธิภาพสูงท่ีสุดและรองรับการเปลี่ยนแปลงในยุค 4.0 ข้าพเจ้าจึงได้นา เทคนิคการจดั การเรยี นร้แู บบ ลงมือทามาปรับใช้ในการจดั การเรียนการสอนรายวชิ าดังกลา่ ว ซง่ึ มีวตั ถุประสงค์ สาคัญ คือ 1) เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้หลักการและกลวิธีการแปลได้อย่างเหมาะสม และสามารถ แก้ไขปัญหาในการแปลได้ 2) เพ่อื ให้ผู้เรยี นสามารถประยุกต์ใชค้ วามรู้และทกั ษะการเขยี นเชงิ วิชาการให้เหมาะ กับบริบทท่ีเปลี่ยนแปลงไปได้ และ 3) เพ่ือเสริมสร้างศักยภาพและยกระดับการเรียนรู้สาหรับการผลิตบัณฑิต นกั ปฏิบัติสาขาวิชาภาษาอังกฤษ โดยมีวิธีการดาเนินงานเริม่ จากการสังเกตการเรียนรู้ของนักศึกษาในวชิ าการ แปลเบื้องต้นและวิชาการเขียนเชิงวิชาการตามสภาพท่ีเป็นจริง เพ่ือวิเคราะห์ปัญหาและค้นหาแนวทางแก้ไข ปัญหา โดยการนาวิธกี ารจัดการเรยี นร้แู บบลงมอื ทามาปรบั ใช้ ในการจดั การเรยี นการสอน และประเมินผลการ เรียนรู้ของนักศึกษาจากการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบดังกล่าว พร้อมทั้งนาผลประเมินการเรียนรู้ของ นักศึกษาและผลประเมินการจัดการเรียนการสอนจากนักศึกษามาสังเคราะห์ เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการ เรียนการสอนในรายวิชาต่อไป สาหรับผลการดาเนินงาน พบว่า 1) นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ เก่ียวกับหลักการและกลวิธีการแปลเพ่ือการแปลได้อย่างถูกต้อง 2) นักศึกษาสามารถนาความรู้ ทางการเขียน เชิงวิชาการไปสร้างสรรค์ผลงานได้ตามวัตถุประสงค์รายวิชา 3) นักศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ด้าน การ อ่านตีความและการเขียนเพ่ือการแปลได้อย่างถูกต้อง 4) นักศึกษาได้รับการเสริมสร้างศักยภาพและยกระดับ การเรียนรู้สาหรับการผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติสาขาวิชาภาษาอังกฤษ และ 5) นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการ จัดการ เรียนการสอนในระดับสูง ซ่ึงจากผลการประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาต่อการจัดการเรียนการ สอนในวิชา ดังกล่าว ผู้สอนสามารถนาไปประยุกต์ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการ สอนภาษาอังกฤษใน รายวิชาอื่น ๆ ต่อไป คาสาคญั การสอนภาษาอังกฤษ การเรยี นรูล้ งมือทา

หน้า 72 | การจัดการความรู้สู่มหาวทิ ยาลัยนวัตกรรม การพัฒนาศักยภาพผปู้ ระกอบการโอทอปด้วยวิทยส์ รา้ งอาชพี ในพน้ื ทจ่ี ังหวัดชัยนาท Potential Development of OTOP Entrepreneurs with Science to Create a Career in the Chainat Province ณฏั ฐ์ สิริวรรธนานนท1์ กติ ติ บญุ เลศิ นิรนั ดร์2 ชยั ยพล ธงชยสั ุรัชตก์ ูล3 1อาจารย์ สาขาวชิ าวศิ วกรรมเครอื่ งกล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลสุวรรณภมู ิ 2รองศาสตราจารย์ สาขาวิชาพืชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ 3ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า มหาวิทยาลัยเทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ พระนครเหนือ [email protected] [email protected] [email protected] สรปุ ความรู้ การใชก้ ระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management) เป็นเครื่องมือในการพัฒนาศักยภาพ ผู้ประกอบการโอทอปด้วยวิทย์สร้างอาชีพในพ้ืนท่ีจังหวัดชัยนาท ยกระดับผลิตภัณฑ์โอทอป จานวน 53 ผลิตภัณฑ์ มี ผู้ประกอบการได้รับการพัฒนาศักยภาพ จานวน 265 คน ส่งผลให้ครอบครัวผู้ประกอบการ จานวนไม่น้อยกว่า 1,000 คน ได้รบั ผลจากการยกระดับทางดา้ นคุณภาพและทางด้านเศรษฐกิจในการเข้าร่วม โครงการ ผลจากการดาเนิน โครงการมีดังนี้ ก่อนเข้าร่วมโครงการ จากการสารวจประมาณการยอดขาย 25,833,792 บาทต่อปี ค่าใช้จ่าย 16,899,276 บาท มีรายได้ 8,934,516 บาท เม่ือส้ินสุดโครงการปี 2561 ทาให้ผู้ประกอบการมีรายได้เพิ่มขึ้น ประมาณ การยอดขาย 31,050,300 บาท ค่าใช้จ่าย 19,266,540 บาท มีรายได้ 11,783,760 บาท ทาให้มีรายได้เพมิ่ ขน้ึ จากก่อน เข้าร่วมโครงการ ประมาณ 2,849,244 บาท คดิ เป็น รายได้ทีเ่ พิ่มขึ้น 31.89 % หรอื คดิ เป็นรายได้เฉลยี่ เพม่ิ ขน้ึ 10,751 บาทต่อคน/ปี คาสาคัญ การพฒั นาศักยภาพโอทอป วิทยส์ ร้างอาชีพ

การประชุมสมั มนาเครือข่ายการจดั การความรู้ คร้งั ท่ี 12 | หน้า 73 การพฒั นากระบวนการผลติ ผลิตภณั ฑ์น้าผัก นา้ ผลไม้พร้อมด่ืม ของกลุ่มวสิ าหกิจชมุ ชนกกขนากพลสั ให้ได้คุณภาพตามมาตรฐานของการผลติ อาหารสู่เชิงพานิชย์ทย่ี ั่งยืนโดยการมสี ว่ นรว่ มของชุมชน Development of production process for ready-to-drink juice products of the community enterprise group to achieve the quality of food production standards to be sustainable by the participation of the community นางสาวจนั ทรเ์ พ็ญ บุตรใส อาจารย์สาขาวิชาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยกี ารอาหาร คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอตุ สาหกรรมเกษตร มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ [email protected] บทสรปุ การพัฒนากระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์น้าผัก น้าผลไม้พร้อมดื่ม ให้ได้คุณภาพตามมาตรฐานของการ ผลิตอาหารสู่เชิงพานิชย์ที่ยั่งยืนโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน เป็นกิจกรรมที่ให้บริการแก่เกษตรกรโดยมี ขอบเขตเป็นการอบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยีแบบใหเ้ ปล่า มกี ารบรู ณาการงานวจิ ัยร่วมกบั การบริการวชิ าการ และการเรียนการสอน กระบวนการมีการสารวจความต้องการของกลุ่มเกษตรกรผู้แปรรูปผลิตภัณฑ์น้าผัก น้า ผลไม้พร้อมดื่ม กลุ่มวิสาหกิจชุมชนกกขนากพลัส เลขท่ี 90 หมู่ 6 ต้าบลหนองขนาก อ้าเภอท่าเรือ จังหวัด พระนครศรีอยุธยา เพื่อนาข้อมูลมาวิเคราะห์ วางแผน และจัดทาให้เหมาะสม สอดคล้องกับระยะเวลาและ งบประมาณที่ได้รับ ทาการถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีแก่กลุ่มเกษตรกรเพ่ือนาไปปรับปรุงและพัฒนา กระบวนการผลิตเดิมให้สามารถผลติ สินค้าได้คุณภาพภายใต้มาตรฐานท่ีกฎหมายกาหนด และทาการปรับปรุง สถานที่ผลิตอาหาร เพ่ือย่ืนขอใบอนุญาตสถานท่ีผลิตอาหารจากสานักงานสาธารณสุขจังหวัด จากผลการ ดาเนินงาน พบว่า ผลิตภัณฑ์น้าผัก น้าผลไม้พร้อมดื่ม ของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนกกขนาก พลัส มีอายุการเก็บ รักษาท่ีนานข้ึน มีคุณภาพตามท่ีกฎหมายก้าหนดไว้ และได้รับใบอนุญาตสถานที่ผลิตอาหาร ส่งผลให้มีตลาด การจาหนา่ ยมากขนึ้ และมรี ายได้จากการจาหน่ายผลติ ภัณฑเ์ พ่มิ ขึน้ เม่ือเทียบกับยอดรวมของปีทผ่ี ่านมา คาสาคญั ผลิตภณั ฑ์นา้ ผกั น้าผลไมพ้ ร้อมด่ืม วสิ าหกิจชุมชนกกขนากพลสั การพฒั นากระบวนการผลติ

หนา้ 74 | การจดั การความรสู้ ู่มหาวิทยาลัยนวัตกรรม การบูรณาการการเรยี นการสอนกับการสรา้ งสรรค์นวตั กรรมทางความคดิ และมสี ่วนรว่ มในการทานุบารงุ ศลิ ปวัฒนธรรม Integration Of Knowledge And Ideas With Innovative Creation And Cultural Preservation นพมลั ลี เตชาวัชรน์ านนท์ อาจารย์ สาขาการเงินและเศรษฐศาสตร์ คณะบริหารธุรกจิ และเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสวุ รรณภมู ิ [email protected] บทสรุป วิชาเศรษฐศาสตร์จุลภาค เป็นวิชาข้ันพื้นฐานสาหรับนักศึกษาทุกคนของคณะบริหารธุรกิจฯ ศึกษา เกี่ยวกับอุปสงค์ อุปทาน พฤติกรรมและการตัดสินใจของบุคคล รวมถึงการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดให้ เกิด ประโยชน์สงู สดุ ผ้สู อนได้เล็งเหน็ ว่า นักศึกษาสามารถนาความรู้พืน้ ฐานและหลักการต่าง ๆ ไปประยุกตใ์ ช้ ท้ังใน ชีวิตประจาวันและการทางานได้ จึงบูรณการองค์ความรู้ในการเรียนวิชาน้ี ผ่านกระบวนการเรียนรู้ท่ี ผู้เรียนได้ลงมือ ทา ตามแนวทางของ Action Learning โดยเปลี่ยนแปลงวิธีการเรียนการสอนและสนับสนุน ให้นักศึกษาใช้ ทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างจากัด อย่าง Smart Phone มาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด นามาใช้ศึกษา ค้นคว้าข้อมูลรวมถึง การสร้างสรรค์นวัตกรรมทางความคิดและมีส่วนร่วมในการทานุบารุงและเผยแพร่ ศลิ ปวัฒนธรรม โดยการนาเสนอ ผลงานผ่านคลปิ วีดโี อ ความยาวไม่เกนิ 3 นาที ในหวั ข้อ ประชาสัมพันธ์ของดี ของชุมชน เช่น ศิลปวัฒนธรรม ภูมิ ปัญญาไทย ประวัติศาสตร์ท้องถ่ิน การท่องเที่ยวชุมชน ผลิตภัณฑ์ชุมชน และอัตลักษณ์ประจาท้องถิ่น โดยมีผู้สอน เป็น Coaching คอยแนะนาแนวทางการทางานข้ันตอนต่าง ๆ หลังจากนักศึกษาผ่านการประเมิน ผู้สอนสนับสนุน ให้นักศึกษาส่งผลงานประกวดระดับประเทศ อย่าง โครงการ Check in ที่น่ีของดี พช. ของกรมพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย เพ่ือให้นักศึกษาได้ฝึก ประสบการณ์จริง ผลการดาเนินการ นักศึกษาสาขาการจัดการ ไดร้ ับ รางวัลดเี ดน่ พร้อมโลป่ ระกาศเกียรติคุณ เกียรติบัตร และทุนการศึกษา 10,000 บาท จากผลงานการสร้าง นวัตกรรมทางความคิดน้ี นอกจากนักศึกษา ได้มีส่วนร่วมในการทานุบารุงศิลปวัฒนธรรมแล้ว นักศึกษายังมีบทบาท ในการเผยแพร่วัฒนธรรมไทยรวมถึง วัฒนธรรมท้องถ่ิน นาไปสู่การเป็นบัณฑิตที่มีความรู้ ความเช่ียวชาญ และ ทักษะสูง เป็นท่ีต้องการของ ตลาดแรงงาน และประเทศชาติตอ่ ไป Keywords Innovation Limited Resources Smart Phone Economics Action Learning

การประชุมสัมมนาเครือข่ายการจัดการความรู้ คร้งั ที่ 12 | หน้า 75 พฒั นาคน พัฒนางาน พฒั นาองค์กร พฒั นาประเทศ Developing Human resources, Operations, the Organization, and the Country ไกรศรี ศรีทพั ไทย (Kraisri Srithupthai)1 พเิ ชษฐ เวชวฐิ าน (Pichet Wechvitan)2 นพดล หงษ์สวุ รรณ (Noppadol Hongsuwan)1 ขนิษฐา ทมุ า (Kanitta Thuma)1 รตั นา อนิ ทเกตุ (Rattana Inthaket)1 อาจารย์สาขาวิชาการแพทย์แผนไทย คณะทรัพยากรธรรมชาติ1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์สาขาวิชาการแพทยแ์ ผนไทย คณะทรัพยากรธรรมชาติ2 มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร บทสรปุ การทางานในปัจจุบันการสอนงานเป็นปัจจัยสาคัญที่สุดของการส่งเสริมให้เกิดการพัฒนางาน พัฒนา คน อย่างมั่นคง และย่ังยืน น้ัน จะต้องอาศัยความร่วมมือของการทางาน สาขาวิชา การแพทย์แผนไทย คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขต สกลนคร ได้ทาความร่วมมือข้อตกลง ระหว่าง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขต สกลนคร กับ บริษัทเจริญสุข ฟาร์มา ซัพพลาย จากัด จังหวัดนครปฐม และ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร กับ วิทยาลัย วิทยาศาสตร์สุขภาพ สะหวันนะเขต สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว เพื่อเป็นการตระหนักถึง ความสาคัญในการพฒั นางาน เพื่อนสอนเพื่อน เพื่อให้เกิดทักษะการเรียนร้จู ริง ไมว่ ่าจะเป็นการเรียนร้ดู ้านการ ปฎิบัติการ การผลิตวัตถุดิบสมุนไพร ท่ีได้มาตรฐาน และเป็นการพัฒนาคน ด้านวิชาการการแพทย์แผนไทย และด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ ที่เกี่ยวข้อง เพ่ือพัฒนาการจัดการเรียนการสอน ให้เป็นมาตรฐานสากล พัฒนา องค์ความรู้ บุคลากร และทักษะต่างๆ ทางวิชาการ ไปสู่การปฏิบัติงานด้านการแ พทย์แผนไทยและ วทิ ยาศาสตรส์ ขุ ภาพ อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ คาสาคญั พฒั นาคน พฒั นางาน พฒั นาองค์กร พฒั นาประเทศ

หนา้ 76 | การจัดการความรู้สู่มหาวทิ ยาลยั นวตั กรรม การสมัครบญั ชีสมาชกิ อนิ เทอร์เนต็ แบบชวั่ คราว ด้วยเครื่องอ่านบัตรประชาชน Internet Account Registration For non-members by using the ID card reader ชัยวัฒน์ แดงจนั ทึก1 พลากร ชาญสงู เนิน2 มงคล ทองคา3 ปรชี า สมหวงั 4 1,2,3นกั วชิ าการคอมพวิ เตอร์ สานกั วทิ ยบรกิ ารและเทคโนโลยีสารสนเทศ 4อาจารย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] บทสรปุ บริการเครอื ข่ายคอมพิวเตอรแ์ ละอินเทอร์เน็ตของมหาวิทยาลัยเปน็ การให้บริการตามพระราชบญั ญัติ ว่าด้วย การกระทาความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ ต้องผ่านข้ันตอนลงทะเบียนในระบบจัดการบัญชีสมาชิก อินเทอร์เน็ต เพื่อ ขอรับรหัสผู้ใช้และรหัสผ่านสาหรับใช้บริการเครือข่ายคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย แต่ ปัญหาของการลงทะเบียน สาหรับบุคคลภายนอกที่ยังไม่เป็นสมาชิกในระบบการให้บริการสารสนเทศของ มหาวิทยาลัย พบว่าเจ้าหน้าที่ต้อง กรอกข้อมูลของแต่ละบุคคลในระบบทีละคน หากมีผู้ขอใช้จานวนมากจะ ส่งผลให้ผู้ขอใช้บริการต้องเสียเวลารอกรอก ข้อมูลการลงทะเบียนทาให้เกิดความล่าช้าของการให้บริการ วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้เพื่อลดขั้นตอนและระยะเวลา ในการลงทะเบียนบริการบัญชีสมาชิกอินเทอร์เน็ต แบบชั่วคราว จากการร่วมกันแลกเปลี่ยนองค์ความรู้แบบชุมชนนัก ปฏิบัติ (Communities of Practice หรือ CoP) และผลจากข้อสรุปจากความรู้ท่ีมีอยู่ในตัวของบุคคล (Tacit Knowledge) ได้พัฒนาโปรแกรมอ่านบัตร ประชาชนและดาเนินการลงทะเบียน ผลการดาเนินงานแสดงให้เห็นถึง ประสิทธิภาพของระบบสามารถ กาหนดรหัสผู้ใช้และรหัสผา่ นแบบอตั โนมัติและลดระยะเวลาและขั้นตอนปฏิบัติงานใน การลงทะเบียนบริการ บัญชสี มาชกิ อนิ เทอร์เนต็ แบบช่ัวคราวลงไดร้ ้อยละ 87.04 ของการลงทะเบยี นแบบกรอกข้อมลู คาสาคัญ การจัดการความรู้ เครอื่ งอ่านบัตร สมัครอินเทอรเ์ น็ต อินเทอรเ์ น็ตช่วั คราว

การประชมุ สมั มนาเครือขา่ ยการจดั การความรู้ ครั้งท่ี 12 | หนา้ 77 การพฒั นาบณั ฑิตนกั ปฏบิ ตั ิสคู่ วามเป็นเลศิ โดยผ่านศนู ย์บัณฑิตนักปฏบิ ัติ: เพือ่ กา้ วสู่การเป็นมหาวิทยาลยั นวัตกรรม Excellence Hands-on Learner through Hands-on Center: Step forward to Innovative University เพชรไพรริน อุปปิง1 สุริยา แกว้ อาษา2 ชลีนชุ คนซอื่ 3 มานติ ย์ สานอก4 ทิพวรรณ์ ศริ ิมาตร5 วิมลใย เทอื กตาถา6 ฐานติ ย์ เกษร7 วมิ ลสิริ มสุ ิกา8 โสภดิ า สัมปตั ตกิ ร9 สาวติ รี บตุ รศรี10 Phetphrairin Upping1 Suriya Kaewarsa2 Chaleenuch khonsue3 Manit Sanok4 Tippawan Sirimatr5 Wimolyai Tuaktata6 Thanit Kesorn7 Wimolsiri Musika8 Sopida Sampattikorn9 Savitree Butrsri10 1-3ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ คณะอตุ สาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน วิทยาเขตสกลนคร 4-10อาจารย์ คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอสี าน วิทยาเขตสกลนคร [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] บทสรปุ ศูนย์บัณฑิตนักปฏิบัติเป็นแหล่งฝึกปฏิบัติทักษะทางวิชาชีพมีวัตถุประสงค์เพ่ือเสริมสร้าง ทักษะให้ นกั ศึกษามีความเชีย่ วชาญในวชิ าชีพ เพ่ือส่งเสรมิ การนานวตกรรมการเรียนการสอนมา ใช้ในการจดั การความรู้ ในวิชาชีพ เพ่ือก้าวสู่การเป็นมหาวิทยาลัยนวตกรรม ศูนย์บัณฑิตนัก ปฏิบัติ “สหกรณ์จาลอง” ออกแบบการ สอนแบบบูรณาการ โดยใช้หลักการ PDCA สามารถ ส่งเสริมการเรียนรู้ของนักศึกษา ซ่ึงนักศึกษาได้รับท้ัง ความรู้ ทักษะความเชย่ี วชาญในการ ปฏบิ ัติงานท่ัวท้งั องค์กร ความคิดริเริม่ สร้างสรรค์ การทางานร่วมกับผู้อื่น และการเรียนรู้จากการ ปฏิบัติงานจริง และสามารถพัฒนานวตกรรมการสอนให้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง โดยมีความ พึงพอใจต่อการสอนโดยภาพรวมอย่ใู นระดบั ดีมาก (X =4.55, S.D.=0.65) ปัจจัยสคู่ วามสาเร็จ ใน การสอนบัณฑิตนักปฏิบัติโดยการใช้ศนู ย์บัณฑิตนักปฏิบัติเปน็ แหล่งเรียนรจู้ ะตอ้ งประกอบดว้ ย 1) หลักสตู ร 2) สถานประกอบการ 3) อาจารย์ 4) นักศึกษา 5) ห้องปฏิบัติการ และ 6) การ บริหารจัดการที่ดี ตามหลักการ PDCA ทกุ หลกั สูตรสามารถบรู ณาการข้ามศาสตร์และเช่อื มโยง กันท่ัวทัง้ องค์กรจะสามารถทาให้ “ศูนย์บัณฑิต นกั ปฏบิ ัติ” ประสบความสาเรจ็ และสามารถ พัฒนานวตั กรรมความรู้ไดอ้ ย่างยงั่ ยนื คาสาคัญ การสอนแบบบรู ณาการ ศนู ยบ์ ัณฑิตนักปฏบิ ัติ มหาวิทยาลัยนวตกรรม

หนา้ 78 | การจดั การความรสู้ ู่มหาวิทยาลยั นวตั กรรม แนวทางเพ่อื พัฒนาการขอตาแหนง่ ทางวิชาการสู่องค์กรแห่งการเรียนรูอ้ ยา่ งยง่ั ยนื The Development Guideline for the Academic Position Request to Learning Organization for Sustainable วรรณุดาว์ เพ็ชรไพโรจน์ (Wannuda Petpairote) อาจารยป์ ระจาสาขาวชิ าการเงิน คณะบรหิ ารธรุ กจิ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน [email protected] บทสรุป คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานมีปณิธานท่ีจะผลิตบัณฑิตให้มี คุณภาพ และมีอัตลกั ษณท์ ่ีพึงประสงค์ตามที่มหาวิทยาลัยกาหนด โดยเน้นผลติ บัณฑติ ที่มีความรู้ จริยธรรมและคุณธรรม เพ่ือให้บัณฑิตมีวิสัยทศั น์ มีจรรยาบรรณแห่งวิชาชีพ ดาเนินการสอนโดย คณาจารย์ประจาคณะบริหารธุรกิจท่ี มคี วามรู้และความสามารถ เพื่อให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ของมหาวิทยาลยั ตามเป้าประสงค์ท่ี 2 บัณฑิตนัก ปฏิบัติด้านสังคมศาสตร์ ที่สามารถปฏิบัติงานได้ อย่างมืออาชีพและสามารถแข่งขันได้ในประชาคมอาเซียน และเป้าประสงค์ที่ 3 ผลงานวิจัยหรือ งานสร้างสรรค์ที่มีคุณภาพและมาตรฐานเป็นที่ยอมรับ ผู้จัดทาจึง ตระหนักถึงความสาคัญของการจัดการความรู้ของบุคคลากรเพื่อเป็นประโยชน์ ในการผลิตบัณฑิตท่ีมีคุณภาพ จึงได้มีการพฒั นาการขอตาแหนง่ ทางวชิ าการของบคุ คลากร เนอ่ื งจากเป็นเครื่องมอื ในการจัดระบบองค์ความรู้ ท่ีมีอยู่ในตัวบุคคลที่เกิดจากประสบการณ์หรือ ความเชี่ยวชาญเฉพาะบุคคลและความรู้ท่ีจาเป็นในการ ปฏิบัติงานมาบันทึกในรูปแบบของเอกสาร เพ่ือให้ทุกคนสามารถเข้าถึงองค์ความรู้ได้ และพัฒนาไปสู่องค์กร แห่งการเรยี นรู้ เพื่อมุ่งเน้นให้มี การดาเนินงานการแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ท่ีถูกตอ้ ง สามารถนาไปปฏิบัติได้จริง และบรรลุ วัตถุประสงค์ท่ีตั้งไว้ ทั้งนี้คณาจารย์ผู้ที่มีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนการเรียนรู้ในการถ่ายทอดองค์ ความรู้ เพื่อให้เป็นแนวทางในการพัฒนาการเข้าสู่ตาแหน่งทางวิชาการ จะได้รับประโยชน์จาก ประสบการณ์ ของแต่ละบคุ คล สง่ ผลถึงการเปน็ องคก์ รแห่งการเรยี นรไู้ ด้อย่างยงั่ ยนื ตอ่ ไป คาสาคญั การขอตาแหน่งทางวชิ าการ องค์กรแห่งการเรียนรู้อยา่ งยงั่ ยืน

การประชมุ สัมมนาเครือข่ายการจดั การความรู้ ครง้ั ที่ 12 | หน้า 79 การพฒั นาระบบฐานขอ้ มลู สหกจิ ศกึ ษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน Development of the Cooperative Education Database System for Rajamangala University of Technology Isan ผศ.ดร.สมพนิ จิ เหมอื งทอง1 ศตวรรษ ศรีชาติ2 1สานกั สง่ เสริมวชิ าการและงานทะเบียน มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอสี าน 2ศูนยส์ หกิจศกึ ษา สานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบยี น มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน [email protected] [email protected] บทสรุป การจดั การความรู้เพอ่ื พัฒนาระบบฐานข้อมูลสหกิจศกึ ษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล อีสาน มี วัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทางานและอานวยความสะดวกเจ้าหน้าที่ นักศึกษา สหกิจ อาจารย์ นิเทศ และสถานประกอบการ ซ่ึงเนื้อหาหลักประกอบด้วยการจัดการข้อมูลและการ รายงานข้อมูลผลการ ดาเนินงานสหกิจศึกษา โดยการจัดการความรู้ในครั้งนไี้ ด้ทาการวิเคราะห์และออกแบบระบบฐานข้อมูลสหกิจ ตามข้ันตอนและวิธีการพัฒนาระบบสารสนเทศ ซึ่งแบบจาลองระบบ แบ่งออกเป็น 8 ส่วน ได้แก่ ข้อมูลสหกิจ ศึกษาท้ังหลกั สตู รภาษาไทยและนานาชาติ ข้อมูลการจัด การศึกษา ขอ้ มูลรายช่ือคณาจารย์นิเทศสหกจิ ข้อมูล องค์กรผู้ใช้บัณฑิตท่ีเข้าร่วมโครงการสหกิจศึกษา ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ข้อมูลการพัฒนาคณาจารย์ นเิ ทศ ข้อมูลนักศกึ ษาที่ลงทะเบียนและ ปฏิบตั ิงานในรายวิชาสหกจิ ศกึ ษา ขอ้ มูลการพัฒนาบุคลากรดา้ นสหกิจ ศึกษา และข้อมูลภาวะการมี งานทา รวมถึงข้อมูลการทางานสหกิจด้านอื่นๆ ผลการดาเนินงานพบว่า ระบบฐานข้อมูลการบริหารงานสหกิจศึกษาที่พัฒนาขึ้นนี้ สามารถ เป็นเคร่ืองมือช่วยแก้ปัญหาการบริหาร จัดการข้อมูลและการรายงานข้อมูลการดาเนินงานสหกิจศึกษา แบบเดิม อีกทั้งระบบมีขีดความสามารถ ตอบสนองต่อความต้องการของผู้ใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งได้รับความพึงพอใจจากการประเมินโดย ผู้บรหิ าร อาจารย์ เจ้าหน้าที่ นักศึกษา และ ประชาชนท่ัวไป ในระดับดมี ากร้อยละ 83.84 ทั้งนีผ้ ลสัมฤทธ์ิของ การจัดการความรู้น้ี สานักงาน คณะกรรมการอุดมศึกษายังได้ร่วมกาหนดให้เป็นแนวปฏิบัติ เร่ืองการนาขอ้ มูล และสารสนเทศเพอ่ื การรายงานข้อมลู การดาเนนิ งานและการบริหารงานสหกจิ ศึกษาระดับประเทศตอ่ ไป คาสาคญั การจดั การความรู้ ระบบฐานข้อมลู สหกจิ ศึกษา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอสี าน

หนา้ 80 | การจดั การความรสู้ ู่มหาวทิ ยาลยั นวตั กรรม การแกป้ ัญหาการสาเร็จการศึกษาล่าช้าของนักศกึ ษา สาขาวิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรีาชมงคลอสี าน วิทยาเขตสกลนคร Problems Solving to the Early Educate of Students in Department of Plant Science Faculty of Natural Resources Rajamangala University of Technology Isan Sakon Nakhon Campus ปราโมทย์ เหลาลาภะ1 ชยุต ศรีฮากณ์ ู2 ศรสี ภุ า ลที อง3 วาสนา แผลตติ ะ4 อนิ ทร์ธชั ว์ ศรบี ตุ ต์5 สุจิตรา เจาะจง6 Pramote Laolapha1 Chayut Srihanoo2 Srisupha Leethong3 Wasana Phlaetita4 Indhus Sributta5 Sujitar Jorjong6 1ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ 2,4-6อาจารย์ 3นักวิชาการศึกษา สาขาวชิ าพชื ศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] บทสรปุ ปัญหาการสาเร็จการศึกษาล่าช้าของนักศึกษา เกิดจากการศึกษาค้นคว้าในวิชาสัมมนา พืชศาสตร์ และการทดลองในวิชาปัญหาพิเศษทางพืชศาสตร์ สาขาวิชาพืชศาสตร์จึงได้ระดม สมองเพื่อหาแนวทางการ แก้ไขปัญหาซึ่งประกอบด้วย 1) แนะนานักศึกษาที่มีความพร้อมสามารถ ศึกษาค้นคว้าและนาเสนอสัมมนา สอบโครงร่างปัญหาพิเศษ และสอบป้องกันปัญหาพิเศษ ก่อน ไปฝึกสหกิจศึกษา โดยเก็บผลการเรียนไว้ 2) นักศึกษาที่สอบนาเสนอสัมมนา สอบโครงร่างปัญหา พิเศษ และสอบป้องกนั ปัญหาพิเศษแลว้ สามารถร้อง ขอให้เปิดลงทะเบียนก่อนชั้นปีท่ี 4 ได้ 3) แนะนานักศึกษาทาสัมมนาและปัญหาพิเศษในช่ือเร่ืองท่ีสัมพันธ์กัน และ 4) วิชาปัญหาพิเศษทาง พชื ศาสตร์ ให้มีการนาเสนอเพอื่ รายงานความก้าวหน้า ภาคการศึกษาละ 1 คร้ัง ผลการนาแนว ทางการแก้ปัญหาไปใช้ พบว่า นักศึกษาได้ศึกษาค้นคว้าและดาเนินการสอบสัมมนาและโครง รา่ ง ปญั หาพเิ ศษ กอ่ นไปฝกึ สหกิจศึกษา มีจานวนเพม่ิ สูงข้นึ เมอ่ื เทียบกับก่อนการดาเนินงาน ส่งผล ให้จานวน นักศกึ ษาสาเรจ็ การศกึ ษาภายในระยะเวลาทห่ี ลกั สูตรกาหนด 4 ปี เพิม่ สูงข้นึ ด้วย คาสาคญั การแกป้ ญั หา การสาเร็จการศึกษาล่าช้า นกั ศึกษา

การประชมุ สัมมนาเครอื ขา่ ยการจดั การความรู้ ครัง้ ที่ 12 | หน้า 81 แนวปฏบิ ัตใิ นการบริหารจัดการงบประมาณโครงการ Managing a Project Budget นางสาวอไุ ร แสงศริ ิ สานกั วิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา เบอรโ์ ทรศัพท์มือถือ 08 1879 1520 เบอรโ์ ทรสาร 0 4423 3070 [email protected] บทสรปุ ตามที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานมีนโยบายให้ทุกหน่วยงานบริหารจัดการ การเบิกจ่าย งบประมาณ ให้เป็นไปตาม เป้าหมายที่ตัง้ ไว้ ประกอบกับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 การเบกิ จ่ายงบประมาณ ของสานักวทิ ยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ไม่เป็นไปตาม เป้าหมายทม่ี หาวิทยาลัยกาหนดไว้ โดยเฉพาะ ในไตรมาสที่ 1 ผู้รับผิดชอบโครงการจึงได้รวบรวม ปัญหา และอุปสรรค โดยมีข้อมูลผลการดาเนินงานการ เบิกจ่ายงบประมาณในปีงบประมาณท่ี ผ่านมาเป็นข้อมูลในการพิจารณา และร่วมกันวิเคราะห์ผลการ ดาเนินงาน ได้ทราบถึงเหตุปัจจัยท่ี ทาให้เกิดปัญหาการเบิกจ่ายงบประมาณท่ี ล่าช้า และไม่เป็นไปตาม เป้าหมาย และจากการร่วม หารือ แลกเปล่ียนในประเด็นที่เก่ยี วข้อง ทาให้ได้แนวปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหา โดย ได้ขั้นตอนการ ขออนุมัติดาเนินโครงการ การยืมเงินทดรองจ่าย การเตรียมเอกสารเบิกจ่ายงบประมาณหลัง ดาเนินโครงการแล้วเสร็จ ชว่ ยใหก้ ารเบิกจ่ายเป็นไปด้วยความเรียบรอ้ ย และมีผลการเบกิ จ่าย งบประมาณดีขึ้น เม่อื เทยี บจากปงี บประมาณก่อน คาสาคัญ การบรหิ ารจัดการ การเบกิ จ่าย งบประมาณ

หน้า 82 | การจดั การความรูส้ ู่มหาวิทยาลยั นวตั กรรม การบริหารหลักสตู รเพือ่ ส่งเสริมกิจกรรม Startup Curriculum management for Startup activity supporting เอกชยั แซจงึ 1 ธนนิ ทร ระเบียบโพธิ์2 ณฐั ชัย อนนั ตกาล3 สรวศิ ต.ศิริวัฒนา4 เอกลักษณ ฉมิ จารย5 ชลดา ฉิมจารย6 จงกล จนั ทรเรือง7 สภุ าวดี พบพิมาย8 สเุ มธ บุญยืด9 อาจารยคณะวิทยาศาสตรและศิลปศาสตร มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] บทสรปุ หลายอาชีพไดรับผลจากการเปล่ียนแปลงของเทคโนโลยีดิจิทัล หรือ Digital Disruption การบริหาร หลักสูตรในปจจุบัน บัณฑิตท่ีสาเร็จการศึกษาสวนใหญจะเปนลูกจาง (Employee) ของอาชีพที่มีอยูแลว หลกั สูตรควรใชโอกาสท่เี กิดจากการ Digital Disruption สงเสรมิ การสราง ผูประกอบการใหบัณฑิตสามารถเป น นายจางตัวเอง(Self-Employee) หรือเจาของธุรกิจสราง อาชีพดวยตนเองได (Entrepreneurship) ภายใต ปจจัยแหงความสาเร็จท่ีการบริหารหลักสูตรตอง พิจารณาถึง ไดแก บุคลากร (Staff) หลักสูตร (Program) กิจกรรมเสริมหลักสูตร (Student Activities) นักศึกษา(Student) สภาพแวดลอมเพ่ือการเรียนรู (Learning Environment) นโยบาย(Policies) และงบประมาณสนับสนุน(Budget) ท้ังหมดจะพัฒนาสูการสรางระบบ นเิ วศ Startup หรือ Startup Ecosystem ไปสูการบมเพาะนักศึกษาและบัณฑิตใหเปนผูประกอบการ และให สามารถสรางผลิตภณั ฑทส่ี ามารถขยายผลเชงิ พาณิชยได คาสาคญั Startup Entrepreneurship Ecosystem

การประชุมสมั มนาเครือข่ายการจดั การความรู้ ครง้ั ที่ 12 | หน้า 83 การนาระบบจองพน้ื ทบ่ี รกิ าร มาใชเ้ พื่อพฒั นางานบรกิ ารแผนกงานศนู ยก์ ารเรยี นด้วยตนเอง Implementing the service area reservation system for developing service work in the department of Self-Access Center 1นายสุเทพ ยนต์พิมาย 2นางสาวอรวรรณ พรตะคุ 1,2เจา้ หนา้ ทบ่ี รหิ ารงานทว่ั ไป สงั กัดแผนกงานศูนยก์ ารเรยี นดว้ ยตนเอง [email protected] [email protected] บทคดั ย่อ การนาระบบจองพื้นที่บริการ มาใช้เพ่ือพัฒนางานบริการแผนกงานศูนย์การเรียนด้วยตนเอง มีวัตถุประสงค์ เพ่ือให้การดาเนินงานบริการของแผนกงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดการใช้ ทรัพยากรอย่างคุ้มค่ามากท่ีสุด ระบบจองพ้ืนท่ีบริการของแผนกงานเป็นซอฟท์แวร์แบบโอเพ่นซอร์ส (Open Source Software) มีช่ือว่า Booked โดยนามาปรับแต่ง (Customize) ให้เหมาะสมกับการให้บริการของ แผนกงาน ระบบดังกล่าวมีขอบเขต คือ สามารถ เข้าใช้งานโดยใช้บัญชีสมาชิกอินเทอร์เน็ตของมหาวิทยาลัย สามารถแสดงมุมมองในการจองได้หลายรูปแบบเช่น รายวัน รายเดือน รายปี โดยแยกตามห้อง หรือ พ้ืนท่ี บริการ สามารถอนุมัติหรือยกเลิกการจองโดยมีการแจ้งเตือน เม่ือมีการจอง การอนุมัติ การยกเลิกการจอง พ้ืนที่บริการได้ สามารถสร้างรายงานการจองพื้นที่บริการตามที่ต้องการ ในส่วนของการจองพ้ืนที่บริการ ผใู้ ช้บริการเพียงเขา้ สู่ระบบด้วยช่ือผู้ใช้และรหัสผ่านของมหาวทิ ยาลัย หลังจากนั้น เลือกพื้นที่บรกิ าร ช่วงเวลา ท่ตี ้องการ กส็ ามารถจองใช้หอ้ งไดอ้ ย่างสะดวกและรวดเร็ว ไม่ต้องใช้เอกสาร การนา ระบบจองพื้นที่บริการมา ใช้ แผนกงานได้ทาการแลกเปล่ียนเรียนรู้ ควบคู่กับกระบวนการออกแบบและพัฒนา ซอฟท์แวร์ (Software Development Life cycle : SDLC ) โดยอ้างอิงตาม Water fall Model มีวิธีการดังนี้ 1) หาความต้องการ ของระบบ (System and software requirements) 2) การวิเคราะห์ระบบ (Analysis) 3) การ ออกแบบ ระบบ (Design) 4) การเขียนชุดคาส่ัง (Coding) 5) การทดสอบ (Testing) 6) การนาไปใช้ (Operations) จากการจัดการความรู้ของแผนกงาน พบว่า ทาให้การบริหารจัดการการจองพื้นที่บริการของแผนกงานเกิด ความ ถูกต้อง สะดวก ประหยัดเวลา เกิดประโยชน์สูงสุด และลดการติดต่อส่ือสารท่ีอาจผดิ พลาด ทั้งผ้ใู ช้และ ผใู้ หบ้ ริการ คาสาคัญ ระบบจองพ้ืนท่บี ริการ (Booking System) แผนกงานศูนย์การเรียนด้วยตนเอง (Self Access Centre)

หน้า 84 | การจัดการความรู้สู่มหาวทิ ยาลยั นวตั กรรม การพัฒนาระบบจดั ตารางการเรยี นการสอน : สานกั ศึกษาท่ัวไป THE DEVELOPMENT OF COURSE MANAGEMENT SYSTEM : GENERAL EDUCATION นายกลุ วรรธน์ ธงกง่ิ 1 นางสาวเวณิกา ตับกลาง2 1ตาแหน่งหวั หน้าแผนกงานเทคโนโลยสีารสนเทศเพอ่ื การเรียนรู้ สานกั ศกึ ษาท่วั ไป 2ตาแหนง่ นกั วิชาการศึกษา สานักศึกษาทว่ั ไป มหาวิทยาลยั เทคโนโลยราี ชมงคลอีสาน นครราชสมี า [email protected] [email protected] บทสรุป แผนกงานเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการเรียนรู้ สานักศึกษาท่ัวไป ได้ทาการ พัฒนาระบบจัดตาราง เรียนตารางสอบเพ่ือลดขัน้ ตอนการทางานด้านเอกสารและระยะเวลาการ จดั ตารางเรียนตารางสอบทปี่ กตแิ ล้ว การจัดตารางเรียนตารางสอบแต่ละครั้ง จะใช้เวลาการจัด ตารางเรียนอย่างน้อย 1 เดือน โดยการจัดตาราง เรียนแต่ละปีการศึกษาจะมีการจัดตารางเรียน 3 คร้ัง คือ ภาคการศึกษาที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 และภาค การศึกษาฤดูร้อน และการจัดตารางเรียน แต่ละครั้ง จะมีการประสานงานผ่านหลายหน่วยงานคือ 1) สานัก ศึกษาทั่วไป 2) คณะ วทิ ยาศาสตรแ์ ละศิลปศาสตร์ 3) สาขาวชิ า 4) สานกั วทิ ยบรกิ ารและเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยการดาเนินงานเริ่มจากการร่วมจัดตารางเรยี นตารางสอนกับแผนกงานวิชาการและ บริหารหลักสตู ร เพ่ือดู วิธีการทางานในการจัดตารางเรียนแต่ละคร้ัง และจัดต้ังทีมพัฒนาระบบ โดยมีจุดประสงค์เพื่อแลกเปล่ียน เรียนรู้และค้นหาแนวทางการพัฒนาระบบที่จะสามารถทางานได้ เหมาะสมกับกระบวนการจัดตารางเรียน พร้อมทั้งการจัดเวทีเสวนา มีการเชิญบุคลากรจาก หน่วยงานอื่น ให้ความรู้เกี่ยวกับขั้นตอนและวิธีการในการ บริหารจัดการห้องเรียนและประยุกต์ใช้ งานระบบให้เหมาะสม มีการจัดเก็บข้อมูลการพัฒนาและคาแนะนาท่ี ได้รบั มาจากผมู้ ี ประสบการณท์ าให้รวู้ ่าการดาเนนิ การดังกลา่ วดีที่สุด ผลการดาเนินงานด้านการติดต้ังและทดสอบการใช้งานระบบจรงิภายในมหาวิทยาลัย ซึ่ง ประกอบด้วย ผู้บริหาร อาจารย์ เจ้าหน้าท่ี นักศึกษา จานวน 50 คน (การสุ่มสารวจ) ผลการประเมินใน ภาพรวมจากผู้ใช้งานระบบมีความพึงพอใจดีมาก คิดเป็นร้อยละ 76.40 ท้ังนี้ระบบยังอยู่ระหว่างการพัฒนา เพ่อื ให้งา่ ยตอ่ ผูใ้ ช้งานและง่ายต่อการเขา้ ถงึ มากท่ีสุด คาสาคญั ตารางเรียน ตารางสอน ตารางสอบ คน้ หาห้องสอบ จองห้องเรยี น

การประชุมสมั มนาเครอื ข่ายการจดั การความรู้ ครงั้ ที่ 12 | หนา้ 85 แนวปฏบิ ตั ทิ ่ีดีสาหรบั การยกระดับบัณฑิตนักปฏบิ ัติสนู่ ักนวัตกรรมเพ่ือเปน็ กาลังของแผน่ ดนิ Good practice in enhancing hand-on graduates to be innovators for the land Force สุรินทร์ ออ่ นน้อม (Surin Ahonnom)1 สุจิตรา อ่นุ เรือน (Sujitra Unruan)2 ชดาษา เนนิ พลกรงั (Shadasa Nonpongran)3 จริ าภา พรอ้ มสันเทียะ (Jirapa Promsuntia)4 นฤมล ตงั้ สุณาวรรณ (Narumol Tangsunawan)5 คณะวิศวกรรมศาสตร์และสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอสี าน นครราชสีมา [email protected] บทสรุป การสร้างนักนวัตกรรมจากนักศึกษาที่มีทักษะด้านปฏิบัติในระดับดีด้วยกระบวนการ จัดการเรยี นการ สอนแบบกระบวนการจัดการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนได้ลงมือกระทาและได้ใช้ กระบวนการคิดเกี่ยวกับสิ่งที่เขาได้ กระทาลงไป (Active Learning) โดยเน้นการคิดแก้ปัญหาเป็น ทีมท่ีสามารถนาไปสร้างสรรค์นวัตกรรม (Design Thinking) ดว้ ยการจดั เตรียมสภาวะแวดล้อม ใหเ้ กดิ การเปล่ียนแปลงด้านการเรยี นการสอน ด้านการ ทากิจกรรม พร้อมสนับสนุนห้องเรียน สมัยใหม่ เคร่ืองมือพื้นฐาน ห้องปฏิบัติการ เคร่ืองมือวัดขั้นสูง ห้องปฏิบัติการประดิษฐ์กรรม (Fabrication Laboratory) ซ่ึงนักศึกษาภายในคณะวิศวกรรมศาสตร์และ สถาปัตยกรรมศาสตร์ ทุกหลักสูตรถูกสร้างให้มีคุณสมบัติเป็นบัณฑิตนักปฏิบัติเป็นไปตามเงื่อนไขในคู่มือ บัณฑิตนัก ปฏิบัติโดยอาจารย์ผู้สอนและนักศึกษาทุกคนต้องได้ใบประกาศจากการทดสอบด้วยหน่วยงาน ภายนอกสถาบันในการรับรองสมรรถนะทางวชิ าชพี เกยี่ วข้องกบั หลักสูตร ผลจากการดาเนินการในการส่งเสรมิ และสนบั สนนุ ให้เกิดการเรียนการสอนแบบลงมอื กระทาและคิด แก้ปัญหาแบบบูรณาการร่วมในหลักสูตรและข้ามหลักสูตร ส่งผลให้นักศึกษา สามารถสร้างผลงานทางนวตก รรม โดยมีการจดอนุสิทธิบัตรเกิดข้ึนอย่างต่อเน่ืองระหว่างปี 2558 ถึง ปี 2560 รวมเป็น 47 ผลงาน ก่อเกิด รายได้เขา้ มหาวทิ ยาลยั ในระยะเวลา 3 ปี ไม่น้อยกว่า 20 ลา้ นบาท ไดร้ ับรางวลั ระดบั ชาตไิ มต่ ่ากว่า 11 ผลงาน มีผลงานตีพมิ พ์สืบเน่ืองจากส่ิงประดษิ ฐ์ และนวตกรรม ไมน่ อ้ ยกว่า 40 เร่ือง ขณะทอ่ี ตั ราได้งานทาในรอบ 1 ปี สูงข้ึนจากร้อยละ 81 ถึง ร้อยละ 90 ซ่ึงในค่าสถิติน้ีมีจานวนบัณฑิตได้กลับเข้าทางานจากการออกฝึกสหกิจ เพม่ิ ขึน้ ถึงรอ้ ย ละ 62 คาสาคญั บณั ฑิตนักปฏบิ ตั ิ นักนวตั กรรม ผู้เรียนได้ลงมือกระทา หอ้ งปฏิบัติการประดิษฐ์กรรม คดิ สร้างสรรค์นวตั กรรม

หน้า 86 | การจดั การความรสู้ ู่มหาวทิ ยาลยั นวัตกรรม การถ่ายทอดการจดั การความรทู้ ดี่ ขี องศนู ยบ์ ัณฑิตนักปฏิบตั ิสธู่ รุ กิจชมุ ชน Transfer Knowledge Management of Hands-on Center to community enterprise เกศนิ ี เวยสาร1 วีรญา จ้อยจ๊ีด2 อภญิ ญา ไชยราช3 ชมภูนชุ พทุ ธนาวงค์4 เพชรไพรริน อปุ ปิง5 วมิ ลใย เทอื กตาถา6 ฐานติ ย์ เกษร7 วิมลสริ ิ มสุ กิ า8 โสภิดา สมั ปัตตกิ ร9 Kesini Woeisan1 Veeraya Joyjeed2 Apinya Chaiyarach3 Chompunuch Puthanawong4 Phetphrairin Upping5 Wimolyai Tuaktata6 Thanit Kesorn7 Wimolsiri Musika8 Sopida Sampattikorn9 1-4นกั ศึกษาโปรแกรมวชิ าการบัญชี สาขาบริหารธรุกจิ คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี 5ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี 6-9อาจารย์ คณะอตุสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอสาี น วิทยาเขตสกลนคร [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] [email protected] บทสรปุ โครงการสหกรณ์จาลองนาความรู้สูช่ ุมชนในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพอ่ื สร้างกจิ กรรม ส่งเสริมทักษะการ เรียนรู้ทางด้านการบริหารธุรกิจและด้านการบัญชี โดยผ่านนวัตกรรมการเรียนรู้ ของศูนย์บัณฑิตนักปฏิบัติ สหกรณ์จาลองสู่ชุมชน การพัฒนาโครงการโดยการประยุกต์ใช้ กระบวนการจัดการความรู้ PDCA เป็นฐาน เคร่ืองมือรวบรวมข้อมูล คือ แบบสารวจข้อมูล แบบ สัมภาษณ์ โดยผ่านกิจกรรม โครงการฝึกอบรม โครงงานวิจัย การทบทวนหลังการปฏิบัติ (After Action Review - AAR) และการสังเกต วิเคราะห์ข้อมูลเชิง คุณภาพโดยการวิเคราะห์เน้ือหา (Content analysis) วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ สาเร็จรูป สถิติท่ีใช้ คือ คา่ เฉล่ีย และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ผลการดาเนนิ งานพบว่า โครงการสหกรณ์จาลอง นาความรู้ สู่ชุมชน ออกแบบโครงการโดยใช้หลักการ PDCA สามารถส่งเสริมการเรียนรู้ของนักศึกษา ซึ่ง นักศึกษาได้รับท้ังความรู้ ทักษะในการปฏิบัติงาน และได้เรียนรู้จากการปฏิบัติงานจริง นอกจากน้ี ความพึง พอใจตอ่ โครงการโดยภาพรวมอยู่ในระดบั มาก (X =4.31, S.D.=0.71) คาสาคัญ ศนู ย์บัณฑติ นกั ปฏิบัติ การถา่ ยทอดความรู้ ชมุ ชน

การประชุมสัมมนาเครอื ขา่ ยการจัดการความรู้ คร้งั ท่ี 12 | หนา้ 87 กระบวนการจดั ทาข้อเสนอการวจิ ัยภายใต้แผนบูรณาการวจิ ยั และนวัตกรรมให้ตอบโจทยย์ ุทธศาสตร์การ พัฒนาวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวตั กรรม กรณีศึกษา : มหาวทิ ยาลยัเทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน Processes for Developing research proposal under Integrated Research Program and Innovation to meet the strategy for developing science, technology, research, and innovation Case Study: Rajamangala University of Technology Isan ภควรรณ วรรณวัติ1,* อรอุมา เปา้ ประจาเมือง1 กิตยิ าวดี เกตุนอก1 อุษณยี ์ หอมจะบก1 วรี นชุ กบู โคกกรวด2 1นกั วชิ าการศึกษา 2เจ้าหน้าที่บรหิ ารงานทวั่ ไป สถาบันวจิ ยั และพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน *[email protected] บทสรุป การเสนอขอรับทุนอุดหนุนการวิจัยงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณของ หน่วยงาน ท่ัวประเทศต้องจัดทาภายใต้แผนงานบูรณาการวิจัยและนวัตกรรม ซึ่งการส่งข้อเสนอ การวิจัยในลักษณะนี้ เร่ิมมาต้ังแต่ปีงบประมาณ 2562 สถาบันวิจัยและพัฒนา (สวพ.) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน (มทร.อีสาน) เปน็ หน่วยงานส่งเสริมสนับสนุนเกี่ยวกับ ภารกิจการส่งขอ้ เสนอการวิจัยเพื่อขอรับทุนอดุ หนนุ การ วจิ ัยงบประมาณรายจา่ ย พบว่า โครงการวิจัยท่ีได้รับจัดสรรงบประมาณในปีงบประมาณ 2562 รวมถึงผลการ พิจารณาข้อเสนอ การวิจัยของปงี บประมาณ 2563 ทีผ่ ่านการพิจารณาในรอบข้อเสนอเชิงหลักการ (Concept paper) อยู่ในสัดสว่ นทคี่ ่อนขา้ งต่ า จงึ ถือเป็นจดุ อ่อนที่ต้องได้รับการพฒั นา ดังนัน้ สถาบันวิจยั และพัฒนาจึง ได้ออกแบบกระบวนการการได้มาซ่ึงข้อเสนอการวิจัยภายใต้แผนงานบูรณาการวิจัย และนวัตกรรมรูปแบบ ใหม่ ซ่ึงประกอบด้วย 4 ขั้นตอนสาคัญ ได้แก่ 1) ให้ความรู้แก่นักวิจัย เก่ียวกับการจัดทาข้อเสนอการวิจัยใน ลักษณะบูรณาการ โดยเฉพาะความรู้เก่ียวกับยุทธศาสตร์ การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และ นวัตกรรม ท่ีอยู่ภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 2) ช้ีแจงวิธีการและข้ันตอนการ จัดทาขอ้ เสนอการวิจยั ในลักษณะบูรณาการให้นักวจิ ัยทราบ 3) ติดตามการดาเนินงานเป็นระยะ 4) จัดเวทีให้ นักวิจัยมีส่วนร่วมใน การพัฒนาและทบทวนแผนบูรณาการวิจัยและนวัตกรรม/ข้อเสนอการวิจัย โดยจะนา กระบวนการดาเนินงานแบบใหม่ใช้ดาเนินงานกับการเปิดรับข้อเสนอการวิจัยงบประมาณรายจ่าย ประจาปี งบประมาณ 2564 และคาดว่าจะทาให้มหาวิทยาลัยมีข้อเสนอการวิจัยที่มีคุณภาพมาก ยิ่งข้ึน เพื่อที่จะมี ข้อเสนอการวิจัยผ่านการพจิ ารณาเพ่มิ ขึ้นมากกวา่ รอ้ ยละ 50 คาสาคญั แผนบูรณาการวจิ ยั และนวัตกรรม กระบวนการจดั ทาข้อเสนอการวิจยั การวิจัย งบประมาณรายจ่าย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook