Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

IPE

Published by taweelap_s, 2019-05-21 02:38:41

Description: IPE

Search

Read the Text Version

ภาพท่ี 3 แสดงการฝึกด้วยนวัตกรรม Move of Life ที่มีผลต่อความคล่องแคล่วว่องไวของ นักกฬี าตะกร้อหญงิ สถาบนั การพลศกึ ษา วทิ ยาเขตสพุ รรณบรุ ี สรปุ การพัฒนานวตั กรรมทางศาสตร์การกีฬา โดยใช้วิธีการจัดการความรู้เป็นฐาน ประกอบด้วย 5 ข้ันตอน สามารถสรปุ ได้ดงั นี้ 1. ข้ันการออกแบบนวตั กรรม เป็นการวิเคราะห์ปัญหา เหตุการณ์ สถานการณ์ท่ีเกิดขึ้นในปัจจุบันที่เก่ียวข้องกับการ ออกกาลังกายการพัฒนาสขุ ภาพหรือการพัฒนาสมรรถภาพหรือการฟ้ืนฟูร่างกาย แล้วเลือกปัญหาท่ี สาคัญเร่งด่วนเพื่อมาแก้ไข จากนั้นกาหนดแนวทางในการแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ของ ผู้เรียน มาสร้างนวัตกรรมทางการกีฬา โดยใช้แนวคิดและทฤษฎีท่ีเกี่ยวข้องและเหมาะสม 2. ขัน้ การสร้างและพัฒนานวตั กรรม เป็นข้ันการสร้างนวัตกรรมทางการกีฬา โดยเลือกประเภทของนวัตกรรมทางการกีฬา ท่ีสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และเป้าหมาย โดยคานึงถึงความมีมาตรฐาน ความปลอดภัย ความ สร้างสรรค์ ความสวยงาม ความสนกุ การมีสว่ นร่วม การสือ่ สารที่ดี และราคาทเ่ี หมาะสม 3. ขน้ั ตรวจสอบคุณภาพนวตั กรรม มผี เู้ ชี่ยวชาญทางดา้ นวิทยาศาสตรก์ ารกีฬา, ผเู้ ชย่ี วชาญทางดา้ นนวัตกรรมและเทคโนโลยี ทางการกีฬา, ผ้เู ช่ยี วชาญทางด้านอเิ ลก็ ทรอนิกส์ เพือ่ ตรวจสอบคุณภาพของนวัตกรรมทางการกฬี า

4. ขัน้ การนานวัตกรรมไปทดลองใช้ นานวัตกรรมทางการกีฬาไปทดลองใช้กับกลุ่มเป้าหมายท่ีได้กาหนดไว้ ซึ่งอาจใช้กลุ่มท่ีมี ขนาดเล็ก กลาง หรือทดสอบกับกลุ่มใหญ่ ท้ังน้ีข้ึนอยู่กับผู้พัฒนาจะพิจารณาดาเนินการ และแก้ไข ปรับปรุงจนนวตั กรรมทางการกีฬามีความสมบรู ณ์ มปี ระสทิ ธภิ าพ และมีคณุ ภาพมากที่สดุ 5. ข้ันการประเมนิ ผล การประเมินผลทไ่ี ดจ้ ากการนานวตั กรรมทางการกีฬาไปทดลองใช้ และมีการสรุปผลลัพธ์ที่ เกิดข้ึนตามวตั ถปุ ระสงค์ และมีการสรปุ ผลการนาไปใชอ้ ย่างชัดเจน จากการพัฒนานวัตกรรมทางศาสตร์การกีฬา โดยใช้วิธีการจัดการความรู้เป็นฐาน ผู้ศกึ ษาได้เสนอกระบวนการดังกลา่ วเปน็ แผนภาพ ดังตอ่ ไปนี ้ ขนั้ การออกแบบนวตั กรรม ขั้นการสรา้ งและพฒั นานวตั กรรม ข้ันตรวจสอบคณุ ภาพนวัตกรรม - วิเคราะห์ปญั หา เหตกุ ารณ์ สถานการณ์ - เลือกประเภทของนวัตกรรมทางการกฬี า - ผ้เู ชย่ี วชาญทางดา้ นวทิ ยาศาสตรก์ าร กีฬา - กาหนดปญั หา - กาหนดวัตถปุ ระสงค์ - ผเู้ ชี่ยวชาญทางดา้ นนวัตกรรมและ - กาหนดแนวทางแก้ไข/พัฒนา - กาหนดเปา้ หมาย เทคโนโลยที างการกีฬา - ผ้เู ชี่ยวชาญทางดา้ นอิเล็กทรอนิกส์ - ศึกษาแนวคิดและทฤษฎี ข้ันการนานวตั กรรมไปทดลองใช้ การพัฒนานวัตกรรมทางศาสตร์การกีฬา โดยใชว้ ิธีการจัดการความรู้เป็นฐาน - ทดลองใช้กับกลุ่มเปา้ หมายทไ่ี ด้กาหนด ขนาดเลก็ กลาง หรอื ทดสอบกับกลมุ่ ใหญ่ - ดาเนนิ การ และแกไ้ ขปรับปรงุ จน นวัตกรรมทางการกีฬามคี วามสมบูรณ์ มปี ระสทิ ธิภาพ และมคี ณุ ภาพ ขน้ั การประเมินผล - ประเมินผลที่ได้ - สรปุ ผลลัพธ์ท่เี กดิ ขึ้นตามวตั ถุประสงค์ - สรปุ ผลการนาไปใช้อยา่ งชัดเจน บรรณานุกรม จันทร์เพญ็ เช้ือพานิช. 2549. นวตั กรรมการวดั การเรียนรตู้ ามแนวปฏิรปู การศึกษา. คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย. ฉตั รชยั ยงั พลขนั ธ์. 2551. เกณฑป์ กตสิ มรรถภาพทางกายเพอื่ สุขภาพของนักเรียน ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษา ปีที่ 1-6 โรงเรยี นสาธติ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ฝา่ ยประถม. คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั :กรงุ เทพฯ. พมิ พันธ์ เดชะคุปต์ และคณะ. 2545. สรา้ งนวัตกรรมการเรียนรู้ด้วยการวิจยั ปฏบิ ัติการในช้ันเรียน. กรงุ เทพฯ: สานกั พิมพแ์ หง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย.

พวงแกว้ ววิ ฒั น์เจษฎาวฒุ ิและปิตโิ ชค จนั ทร์หนองไทร. 2559. การพฒั นาการจัดการความรู้ใน สถาบันการพลศกึ ษา วิทยาเขตสพุ รรณบุรี ปกี ารศึกษา 2559. การประชุมครือข่ายการ จดั การความรู้ คร้งั ที่ 11. มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สถาบนั การพลศึกษา และ สถาบันบัณฑติ พัฒนาศิลป.์ พชั รี ทองคาพานิช และคณะ. 2561. การฝกึ ดว้ ยนวัตกรรม Move of Life ที่มีผลต่อความ คล่องแคล่ววอ่ งไวของนกั กีฬาตะกรอ้ หญงิ สถาบนั การพลศกึ ษาวิทยาเขตสุพรรณบรุ ี. สุพรรณบุรี: สุพรรณการพมิ พ์.

โครงการประชุมสัมมนาเครอื ข่ายการจดั การความรู้ฯ ครั้งท่ี 12 “การจดั การความรู้สู่มหาวทิ ยาลยั นวตั กรรม” (Knowledge Management: Innovation University) เร่ือง การทางานเปน็ ทีมของบุคลากรสายสนับสนนุ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตกรุงเทพ Title Supportive Personnel Teamwork at Institute of Physical Education Bangkok Campus วทิ ยา อนิ ทรพ์ งษ์พนั ธ์ุ ปัญญา สมบตั ินิมิตร ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ คณะศลิ ปศาสตร์ สถาบนั การพลศึกษา วทิ ยาเขตกรุงเทพ E-mail [email protected] ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ คณะศิลปศาสตร์ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตกรุงเทพ E-mail [email protected] ------------------------------------------------------------------------------------------------------ บทสรุป การที่องค์กรจะบรรลุตามวิสัยทศั น์ท่ตี ้งั เป้าหมายไว้ องค์ประกอบที่สาคัญท่ีสุดคือบุคลากรใน องค์กร แต่ด้วยความท้าทายในการทางานรอบด้านเฉกเช่นในปัจจุบันคนในองค์กรที่ต่างคนต่างคิด และตา่ งทาตามพนั ธกจิ ของตน อาจไมเ่ พียงพอท่ีจะนาพาองค์กรให้ประสบความสาเร็จตามที่มุ่งหวังไว้ การสร้างแนวคิดการทางานเป็นทีม การนาความสามารถเฉพาะบุคคลมาร่วมกันสร้างสรรค์ผลงาน ร่วมกัน จะก่อให้เกิดงานที่มีประสิทธิภาพมากกว่าการทางานเฉพาะกลุ่ม บทความนี้ได้นากิจกรรม นนั ทนาการ การเดนิ แรลล่ี และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาการทางาน เป็นทีม เพื่อให้บุคลากรได้ตระหนักถึงการทางานร่วมกัน แลกเปล่ียนเรียนรู้ซ่ึงกันและกัน นา ความสามารถของตนมาผสมผสาน และเสริมศักยภาพกับเพื่อนร่วมทีมผ่านกิจกรรมที่สร้างสรรค์โดย สาขาการท่องเทยี่ วและนันทนาการ คณะศิลปศาสตร์ โดยนากระบวนตามหลักการการจัดการความรู้ และวงจรการควบคุมคุณภาพ (Deming cycle) มาเป็นกรอบแนวคิดในการดาเนินกิจกรรม เพื่อถอด บทเรียนในการส่งเสริมการทางานเป็นทีมของบุคลากรในองค์กร อันจะนาพาองค์กรประสบ ความสาเร็จตามท่มี ุ่งหวังไว้ Summary To achieve a vision of organization, human resources plays an essential role. With the challenges of working these days, people in organization think differently and follow only their mission without consideration of others may not be enough to lead the organization to the success as expected. Working as a team or teamwork, it can gather personal talents to create a collaborative work that will create a result in

2 more effective work than individual work. This paper has brought the concept of recreation activities, walking rally, and the use of information technology as a tool to develop teamwork in order to make personnel awareness of working together. Knowledge sharing and bringing up individual talent can empower the team through activities which is created by the Faculty of Liberal Arts, Program in Tourism and Recreation by adopting the KM process Deming cycle as a concept this project. This brings a lesson learned which will lead the organization to be a successful organization in the future. บทนา สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตกรุงเทพ เป็นหน่วยงานที่มีพันธกิจหลักอยู่ 4 ประการ คือ การผลิตบณั ฑิต การวิจัย การให้บริการทางวิชาการแก่สังคม และการทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม วทิ ยาเขตกรุงเทพ ตั้งอยทู่ ่ี 69 หมู่ 3 ตาบลบึงน้ารกั ษ์ อาเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี 12110 บนพื้นที่ ราว 133 ไร่ 75 ตารางวา มีการจัดการเรียนการสอน 3 คณะวิชา ได้แก่ คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา และสุขภาพ คณะศิลปศาสตร์ และคณะศึกษาศาสตร์ มีบุคลากรสายวิชาการจานวน 50 คน และ บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการจานวน 49 คน (งานข้อมูลสารสนเทศ, 2560) โดยแต่ละหน่วยงานมี พันธกิจและความรับผิดชอบแตกต่างกันไปตามโครงสร้างขององค์กร และด้วยความหลากหลายของ หน้าท่ี การสร้างความเข้าใจซ่ึงกันและกัน การทางานให้บรรลุตามเป้าประสงค์ การเป็นอันหน่ึงอัน เดียวกันจึงสาคัญยิ่งต่อการขับเคลื่อนองค์กร บุคลากรสายสนับสนุนคือกลุ่มท่ีทางานด้านธุรการ งาน การสนบั สนุนวชิ าการ ฯลฯ เป็นผู้อานวยความสะดวกในด้านต่าง ๆ มีบทบาทสาคัญอย่างมากต่อการ ทางานขององค์กร การพัฒนาทรัพยากรบุคคลกลุ่มน้ีท้ังในเรื่องเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้สาหรับ ปฏิบัติงาน หรือการปรับกระบวนทัศน์ให้สามารถนาความรู้ความสามารถท่ีมีเฉพาะบุคคลมาร่วม แลกเปลี่ยนและเสริมศักยภาพกับบุคคลอื่นหรือที่เรียกว่า “การทางานเป็นทีม” เพื่อก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อองค์กรจึงเป็นส่ิงที่ควรให้ความสาคัญ ซ่ึงตรงกับแนวทางการพัฒนาคนในองค์กรของ สานกั งานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (สานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ, 2560) การพัฒนาบุคลากรมีหลากหลายวิธี เช่น การฝึกอบรม การจัดประชุมสัมมนา เป็นต้น แต่การเรียนรู้ แต่ในทฤษฏีหรือการรับรู้ผ่านการบวนการฟังเพียงอย่างเดียว อาจมีความเข้าใจถึงเน้ือหาและ วตั ถปุ ระสงคข์ องสิง่ ทีต่ ้องการได้ไม่ถ่องแทแ้ ละลกึ ซงึ้ เทา่ กบั การได้เรียนรู้ด้วยการลงมือปฏิบัติ (Action learning) จึงได้จัดโครงการพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Walk Rally) ขึ้นเมื่อวันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ.2561 ซ่ึงมีแนวคิดท่ีจะพัฒนาการทางานเป็นทีมของบุคลากรสายสนับสนุน โดย การบูรณาการระหว่างการใช้กิจกรรมเกมนันทนาการ การเดินแรลลี่ และเทคโนโลยีสารสนเทศ มา เป็นกลวธิ ีในการพัฒนาบุคลากร มีจุดประสงค์ให้บุคลากรได้ร่วมกันวางแผน ทางานร่วมกันเพื่อบรรลุ เป้าหมาย และสามารถใช้อุปกรณ์เคร่ืองมือด้านเทคโนโลยีมาใช้เพ่ือการดาเนินกิจกรรม เพื่อให้

3 บุคลากรได้ตระหนักและเรียนรู้ความแตกต่างระหว่างบุคคล เพ่ือนช่วยเพ่ือน (Peer assist) ยอมรับ ความคิดเห็น แก้ไขสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจากการผสมผสานความเชี่ยวชาญของคนในทีม อันจะเป็น แนวทางที่ทาให้บุคลากรได้นาความรู้ความสามารถ ทักษะ ประสบการณ์ แนวคิด และทัศนคติที่ดีไป ใช้ เพ่ือกอ่ ใหเ้ กิดประโยชนต์ อ่ หนว่ ยงาน และผลกั ดนั ให้การดาเนนิ งานในองค์กรบรรลุตามเป้าหมายที่ วางไว้ กรอบแนวคิดการพัฒนาบุคลากรเพอ่ื การทางานเปน็ ทีม โครงการนี้ได้บูรณาการ 3 ประเด็นหลัก ได้แก่ กิจกรรมเกมนันทนาการ การเดินแรลล่ี และเทคโนโลยีสารสนเทศ มาใช้สาหรับการดาเนินกิจกรรมเพ่ือให้บุคลากรได้เกิดทักษะการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศในสถานการณ์จริง การร่วมกิจกรรมกับบุคคลอ่ืนผ่านกิจกรรมเกมนันทนาการ และการวางแผนการดาเนนิ งานผ่านกระบวนการของการเดินแรลลี่ ดงั ภาพที่ 1 เทคโนโลยี สารสนเทศ การพฒั นาบุคลากร เพ่อื การทางานเป็นทีม กิจกรรมเกม การเดนิ แรลลี่ นนั ทนาการ ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการพัฒนาบคุ ลากรเพอ่ื การทางานเปน็ ทีม การดาเนนิ โครงการตามหลักการจัดการความรู้และวงจรคุณภาพ การดาเนินโครงการน้ีใช้หลักการของการจัดการความรู้ 7 กระบวนการ ตามที่สถาบันเพิ่ม ผลผลิตแห่งชาติวางระบบเรื่องนี้ให้กับสานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ มาเป็นฐานใน การดาเนนิ กจิ กรรม (สานกั งานสานักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบและสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ, 2548) รวมถึงได้นาข้ันตอนดังกล่าวมาเทียบเคียงกับวงจรการควบคุมคุณภาพ (Deming cycle) (สถาบันเพ่ิมผลผลิตแห่งชาติ, 2559) เพ่ือเป็นเคร่ืองมือในการปรับปรุงกระบวนการผ่านการดาเนิน โครงการอย่างเป็นข้นั ตอน ดงั นี้ กระบวนการ คาอธิบาย การนาหลักการมาใชส้ าหรับโครงการ วงจรควบคุม ตามหลกั KM คุณภาพ กาหนดเป้าหมายและ เขียนโครงการโดยกาหนดเปา้ หมายที่ชดั เจนและ กาหนด (Identify) Plan วัตถุประสงค์ นาเสนอโครงการตามระบบ

สรา้ ง/แสวงหา การแสวงหาความรูจ้ าก ประชมุ ทีมงาน แลกเปลย่ี นความเห็นภายในทมี 4 (Create/Acquire) ทีต่ า่ ง ๆ รวบรวมและจดั เก็บ การรวบรวมข้อมลู การ จดบนั ทึก รวบรวมเอกสาร ใชส้ ื่อออนไลนเ์ พ่อื ให้ทกุ Do (Collect/Organize) ดาเนนิ งาน คนในทมี รบั รขู้ ้อมูล Check เข้าถงึ (Access) การเข้าถงึ ความรู้หรอื ใช้แบบทางการและไม่เปน็ ทางการ อาทิ การตดิ ต่อ Act ขอ้ มลู ผา่ นไลน์ การจดั ทาเอกสาร คูม่ ือ ฯลฯ ใช้ (Apply) การประยกุ ตใ์ ช้ในการ เขยี นขน้ั ตอนการปฏบิ ัตงิ าน และเตรียมการเพ่อื จดั ทางานจริง กิจกรรมจรงิ แบ่งปนั (Share) การแลกเปล่ียนความรู้ มกี ารประชมุ ติดตามงานอย่างเป็นระยะ และหาแนว ระหวา่ งกนั ทางการดาเนินงานรว่ มกนั เรียนรู้ (Learning) เรียนรสู้ ง่ิ ท่ีได้จากการ ผูเ้ ก่ียวขอ้ งท้งั หมดมีการแลกเปลีย่ นเรยี นร้ตู าม ดาเนินการ วัตถุประสงค์ของโครงการ และเข้าใจถงึ กระบวนการ รวมถึงสรุปผลร่วมกนั ภาพที่ 2 การดาเนนิ โครงการตามกระบวนการ KM และวงจรการควบคุมคุณภาพ

5 โครงการเร่ิมต้นด้วยการกาหนดวัตถุประสงค์เพ่ือให้เกิดการบูรณาการทั้งกิจกรรมเกม นันทนาการ การเดนิ แรลล่ี และการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศในการจัดกิจกรรม จากนั้นผู้ดาเนินงานได้ ร่วมกันกาหนดกิจกรรมประจาสถานีท่ีสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ อาทิ ศึกษาข้อมูลพ้ืนฐาน วิธีการ จานวนของผู้เข้าร่วมกิจกรรม และรายละเอียดอ่ืนร่วมกัน ผู้ดาเนินงานร่วมกันคิดกติกาการแข่งขัน และจัดทาเป็นเอกสารคู่มือ จากนั้นได้ร่วมกันเสนอความคิดเห็นเพื่อคิดกิจกรรมเกมนันทนาการ เพ่ือให้สอดคล้องกับเป้าหมายของโครงการคือการทางานเป็นทีม รวมถึงคิดวิธีการนาเทคโนโลยี สารสนเทศมาใช้ร่วมกับกิจกรรมการค้นหา Quick Response Code (QR coed) การเดินแรลลี่ ตามเสน้ ทาง ภาพการคน้ QR Code กิจกรรมการเดนิ แรลลี่ตามเสน้ ทาง กิจกรรมเกมนนั ทนาการทอี่ อกแบบเพือ่ พัฒนาการทางานเป็นทมี สถานที ่ี 1 เกมกระจายงาน ใหส้ มาชกิ หาธงที่มีหมายเลขของกลุ่มส่งที่กรรมการ ธงจะอยู่ในรัศมีไม่เกิน 10 เมตร จากน้ัน ให้ต่อภาพจ๊ิกซอว์จานวน 9 ชิ้น (เมื่อต่อครบทุกกลุ่มจะได้ภาพท่ีสมบูรณ์) แล้วให้กรรมการตรวจดู ความถกู ตอ้ ง และแตง่ กลอนแปดบรรยายความประทับใจในการเข้ารว่ มกจิ กรรม จานวน 2 บท ภาพบรรยากาศการดาเนนิ กจิ กรรมเกมกระจายงาน

6 สถานีท่ี 2 จิตรกรน้อย ผู้ดาเนินกิจกรรมแจกกระดาษ A4 ใหผ้ ้เู ล่นกลมุ่ ละ 1 แผน่ ให้ผเู้ ล่นภายในกลมุ่ ช่วยกันวาดรูป เก่ียวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ กลุ่มละ 1 รูป โดยใช้ปากกาหรือดินสอที่ผูกติดกับเชือกทั้ง 5 ด้าน (ตามจานวนสมาชิกในกลุม่ ) และเริม่ ลงมอื ชว่ ยกนั วาดรูปที่ได้ตกลงกัน ภาพบรรยากาศการดาเนินกจิ กรรมจิตกรน้อย สถานที ี่ 3 พรมวเิ ศษ ใหส้ มาชกิ ทกุ คนในทีมขึ้นไปยืนบนผ้าพลาสติกที่กาหนดให้ โดยห้ามส่วนใดของ ร่างกายออก นอกผนื ผา้ และคดิ หาวิธีทางเคล่ือนย้ายผืนผ้าไปยังจุดหมายท่ีกาหนด โดยถ้ามีสมาชิกตกหรือออกจาก ผ้าพลาสติกใหก้ ลับไปเรมิ่ ต้นใหม่ ภาพบรรยากาศการดาเนินกจิ กรรมพรมวิเศษ สถานที ่ี 4 คานกระดก ให้กรอกน้าให้เต็มขวดท้ัง 4 ใบ โดยไม่ให้คานน้ากระดก ซ่ึงจะทาให้ขวดตกลงมา ขวดตกลง มาจะต้องเทน้าออก แล้วเร่ิมกรอกน้าใหม่ให้เต็ม ให้ใช้อุปกรณ์ท่ีติดตัวมาช่วยในการทากิจกรรมได้ เชน่ หมวก รองเท้า เสือ้ ผ้า แตห่ ้ามใช้อุปกรณ์ที่ไม่ได้ตดิ ตัวมา เช่น ถงุ พลาสตกิ ฯลฯ

7 ภาพบรรยากาศการดาเนนิ กิจกรรมคานกระดก สถานที ่ี 5 ต่อยาว ให้ผู้เล่นท้ังทีมนาชิ้นส่วนอุปกรณ์ทั้งหลายท่ีมีอยู่ตัวของในสมาชิกทีม เช่น เส้ือ รองเท้า เข็ม ขัด มาวางต่อกันให้ไดร้ ะยะยาว 10 เมตร ตามทกี่ าหนดในเวลาที่กาหนด ภาพบรรยากาศการดาเนินกิจกรรมต่อยาว ผลและอภิปรายผลการดาเนนิ งาน จากการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามหลังจบกิจกรรม พบว่าผู้เข้าร่วมกิจกรรมเป็นเพศ ชาย ร้อยละ 69.2 และเพศหญิงร้อยละ 30.8 มีอายุ 21 - 25 ร้อยละ 30.8 อายุ 32 - 35 ร้อยละ 28.2 อายุ 26 - 31 ร้อยละ 17.9 อายุ 36 - 41 ร้อยละ 17.9 และมากกว่า 41 ปี ร้อยละ 5.1 ระดับ การศึกษาส่วนใหญ่อยู่ระดับปริญญาตรี คิดเป็นร้อยละ 81.8 ปริญญาโทและต่ากว่าปริญญาตรี ร้อยละ 9.1 และพบว่าด้านหลักสูตรการอบรมมีความสอดคล้องของเนื้อหาสาระของหัวข้อการอบรม กบั วตั ถปุ ระสงค์ของหวั ข้อการอบรม อย่ใู นระดับมาก คดิ เป็นรอ้ ยละ 62.5 ด้านเน้ือหาสาระของหัวข้อ การอบรมนาไปประยุกต์ใช้งานของท่านได้ อยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 65 ด้านการบรรลุ วัตถุประสงค์ของการอบรม อาทิ การเล่าประสบการณ์ของความสาเร็จ อยู่ในระดับมากที่สุด คิดเป็น ร้อยละ 50 และด้านสมาชกิ มีสว่ นรว่ มในการแลกเปล่ยี นเรียนรู้ซ่งึ กนั และกนั พร้อมเสนอข้อคิดเห็น อยู่ ในระดบั มากท่สี ดุ คิดเป็นร้อยละ 50 และจากการถอดบทเรียนจากกิจกรรมท่ีจัดข้ึน ผู้ดาเนินกิจกรรม

8 ผู้เข้าร่วมการอบรม รวมถึงทีมงาน ได้มีการถอดบทเรียนและอภิปรายผลของการดาเนินงานแต่ละ กิจกรรมที่สอดคลอ้ งและส่งเสริมกับการทางานเป็นทีมได้ดังน้ี กจิ กรรม บทเรียนจากกจิ กรรมเพ่ือเข้าใจถงึ การทางานเป็นทีม เกมกระจายงาน ถ้าผูเ้ ข้าร่วมกิจกรรมรจู้ ักคนุ้ เคยกบั คนในทมี จะทราบว่าใครมีความสามารถในการทาอะไรได้ ดี ดังน้ันแสดงให้เห็นว่าการทางาน ถ้าเรารู้จักกันเราจะกระจายงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จติ รกรนอ้ ย มากขึน้ การทางานกเ็ ช่นกัน คนทางานในแต่ละส่วนมีความถนัดและเชี่ยวชาญท่ีต่างกัน เมื่อ มาร่วมกันทางาน จะทาให้งานเสร็จไดเ้ ร็วขน้ึ พรหมวิเศษ ถงึ แม้วา่ ในกลุม่ จะได้มกี ารพูดคุยกันวา่ จะวาดรปู อะไรออกมาในกระดาษ แต่ความคิดของแต่ คานกระดก ละคนในทีมน้ันมีความแตกต่างกัน เช่น เคร่ืองคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ของคนในกลุ่มมี ลักษณะท่ีแตกต่างกัน การวาดรูปออกมาจากความคิดโดยมีเง่ือนไขว่าดินสอหรือปากกานั้น ต่อยาว ผกู ติดกันอยู่ จาเปน็ ตอ้ งอาศัยการสือ่ สารท่ดี ี ทาใหท้ กุ คนเข้าใจภาพในทิศทางเดียวกัน จึงจะ สามารถวาดภาพออกมาได้สาเรจ็ เช่นเดียวกนั การทางาน การส่ือสารกันระหว่างทีมงานเป็น ปัจจยั หลกั ท่ีจะทาให้งานบรรลตุ ามเป้าหมายทว่ี างไว้ เป้าหมายของเกมนี้คือการเคล่ือนย้ายตัวเองไปข้างหน้า ถ้าทุกคนอยู่บนผ้าผืนเดียวกันแต่มี เพยี งเดยี วที่ไมข่ ยับเลยจะทาใหผ้ ้าไม่สามารถขยบั ไปข้างหน้าได้ เฉกเช่นเดียวกับการทางาน การทางานของทุกคนทีอ่ ยู่ในทมี ถงึ แมจ้ ะมากหรือนอ้ ยแต่กจ็ ะส่งผลกระทบกับการทางานใน ภาพรวมของทีม ทุกคนต้องขยับหรือเคลื่อนท่ีไปข้างหน้า เพื่อให้เข้าใกล้เป้าหมายภาพรวม ประสบความสาเร็จได้มากท่สี ุด การกรอกนา้ ให้เต็มขวดนั้น ในทีมจะมีเพียงจานวน 1 - 2 คน ท่ีทาหน้าที่การกรอกน้าใส่ขวด แตผ่ ูท้ ี่กรอกนา้ จะไม่สามารถมองเห็นได้ว่าขวดท้ังสองข้างน้ันสมดุลกันหรือไม่ คนท่ีอยู่ในทีม จะต้องเป็นผู้บอกว่าควรเติมด้านไหนเพ่ือให้เกิดการสมดุลเพ่ือไม่ให้ขวดตกลงจากคาน การ ทางานนั้นแตล่ ะคนมีหน้าที่ท่ีแตกต่างกัน แต่สามารถเก้ือหนุนกันได้ ความรู้หรือของที่ติดตัว มาอาจจะนามาใช้ประโยชน์ได้ในอนาคตโดยท่ีไม่คาดคิด การหมั่นพัฒนาศึกษาความรู้ ความสามารถ หรอื การรบั ฟังความเหน็ ซ่ึงกนั และกนั จะสง่ ผลให้การทางานประสบผลสาเรจ็ การทีผ่ ูเ้ ล่นนาสิ่งของของตนมาต่อให้ยาวทส่ี ดุ ถ้าคนแรกต่อได้ยาวมากขนาดไหน คนถัดไปก็ ตอ่ ใหถ้ งึ จุดหมายเรว็ ขึ้นเท่านั้น การทางานในหน่วยงานและองค์กรก็เช่นกัน การทางานของ แต่ละส่วนงานย่อมส่งผลกับหน่วยงานอ่ืนหรือผู้อ่ืนท่ีทางานต่อจากเราเสมอ ถ้าเราทางาน อย่างดี มีประสิทธิภาพ ใช้เวลาการทางานอย่างเหมาะสม จะส่งผลให้คนที่ทางานรับช่วงต่อ จากเรา สามารถทางานได้ง่ายขน้ึ สะดวกข้ึน ย่นระยะเวลาให้เร็วข้ึน นั่นหมายถึงการทางาน ท่ีเพิม่ ประสิทธภิ าพได้มากขนึ้ สรปุ ผล โครงการทจี่ ัดข้นึ น้ีมีวัตถุประสงค์เพอื่ การพัฒนาการทางานเป็นทีมของบุคลากรสายสนับสนุน ของสถาบนั การพลศึกษา วิทยาเขตกรุงเทพ ที่มีความหลากหลายของหน้าท่ีและความรับผิดชอบของ แตล่ ะส่วนงาน มาเรยี นรแู้ ละเข้าใจหลกั การของการทางานเป็นทีมผ่านกิจกรรมด้วยการลงมือปฏิบัติท่ี

9 บูรณาการระหว่างกิจกรรมเกมนันทนาการ การเดินแรลลี่ และเทคโนโลยีสารสนเทศ การดาเนิน โครงการใช้กระบวนการตามหลัก KM และวงจรการควบคุมคุณภาพ (Deming Cycle) โดยเร่ิมจาก กาหนดเป้าหมายตามวัตถุประสงค์ การศึกษาข้อมูล รวบรวมข้อมูล ปฏิบัติตามแผน ประเมินผล กจิ กรรม แลกเปล่ยี นความคิดเหน็ และเรยี นร้รู ่วมกัน ได้จัดทาออกมาเป็นเอกสาร นอกจากนั้นยังได้มี การนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรม ทาให้บุคลากรได้ตระหนักถึงประโยชน์ และความสาคญั ของเทคโนโลยีผ่านการปฏิบัติจริง ทุกกิจกรรมสามารถถอดบทเรียนร่วมกันเพ่ือสร้าง แนวคดิ ของการทางานเปน็ ทมี ดงั งานวจิ ัยท่วี ่า การทางานเปน็ ทีมสหวิทยาการเป็นท่แี พรห่ ลายมากขึ้น ซ่ึงได้รับการสนับสนุนโดยนโยบายและการปฏิบัติ ปัจจุบันมีการเน้นเรื่องกระบวนการทางานเป็นทีม เปน็ อยา่ งมาก มีการระบคุ ณุ ลักษณะท่ีสนับสนุนการทางานเป็นทีมแบบสหวิทยาการที่มีประสิทธิภาพ (Susan A N., Andrew B., Steven A., Tony S., Pam E. and Alison R., 2013) น่นั คอื เป็นการนา ความรู้ความเข้าใจท่ีอยู่ในตัวบุคคล (Tacit knowledge) ที่ได้เรียนรู้ผ่านการทากิจกรรมมา แลกเปลี่ยนกันจนตกผลึก สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นเอกสารสรุปรูปเล่มให้เห็นในเชิงประจักษ์ (Explicit knowledge) วิธีการนี้จะเป็นแนวทางการพัฒนาและต่อยอดไปยังการดาเนินโครงการอ่ืน อย่างต่อเน่ืองตามหลักวงจรคุณภาพ เพื่อนาพาองค์กรให้ก้าวหน้า และประสบความสาเร็จตามท่ี ต้ังเปา้ หมายไว้ในที่สุด รายการอา้ งอิง งานข้อมลู สารสนเทศ. (2560). “สารสนเทศ ประจาปีการศึกษา 2560.” ปทมุ ธานี: รา้ นคุณากร. สถาบนั การพลศึกษา วิทยาเขตกรงุ เทพ. สถาบันเพม่ิ ผลผลิตแหง่ ชาติ. (2559). “PDCA หัวใจสาคัญของการปรบั ปรุงอยา่ งต่อเน่ือง.” สืบคน้ เม่ือวนั ที่ 15 มกราคม 2562, จาก https://www.ftpi.or.th/2015/2125 สานักงานคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ. (2560). “การสร้างทีมงานทีม่ ีประสทิ ธิภาพ.” สืบคน้ เมอื่ วันที่ 15 มกราคม 2562, จาก https://www.ocsc.go.th/sites/default/files/ document/ocsc-2017-eb01.pdf สานักงานคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการและสถาบนั เพิ่มผลผลิตแหง่ ชาติ. (2548). “คู่มือการ จัดทาแผนการจัดการความร.ู้ ” สบื คน้ เม่อื วนั ท่ี 15 มกราคม 2562, จาก www2.diw.go.th/HRMC/คู่มือการจดั ทาแผนการจดั การความร.ู้ doc Susan A N., Andrew B., Steven A., Tony S., Pam E. and Alison R. (2013). “Ten principles of good interdisciplinary team work.”Retrieved January 17, 2019, from https://human-resources-health.biomedcentral.com/articles/ 10.1186/1478-4491-11-19

การพฒั นากระบวนการออกแบบและสรา้ งเคร่อื งมอื ทดสอบการทรงตัวรปู ตัววาย โดยใช้การจัดการความรูเ้ ป็นฐาน Knowledge Management Approach Based Development for Procedures of Designing and Constructing Y-Balance Test ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อนุชิตร แท้สูงเนิน1 ดร.ศราวุธ ไทยสงวนวรกลุ 2 รองคณบดคี ณะศกึ ษาศาสตร์1 อาจารยป์ ระจาคณะศึกษาศาสตร์2 สถาบนั การพลศกึ ษา วิทยาเขตสพุ รรณบรุ ี 1 หมู่ 4 ตาบลรั้วใหญ่ อาเภอเมือง จังหวัดสพุ รรณบรุ ี บทสรปุ การทรงตัว เป็นความสามารถที่สาคัญของมนุษย์ การทรงตัวที่ดีจะทาให้สามารถทากิจกรรม ต่าง ๆ ได้อย่างราบรื่น ผู้ท่ีมีการทรงตัวท่ีดีจะส่งผลให้มีบุคลิกภาพท่ีดี เช่น เดินได้อย่างสง่างาม นอกจากน้ันคนท่ีมีการทรงตัวดีจะไม่ล้มง่าย สามารถช่วยลดความเส่ียงในการบาดเจ็บขณะเล่นกีฬา สาหรับในผู้สูงอายุ การทรงตัวที่ดีจะช่วยป้องกันการหกล้มได้ อีกทั้งการพัฒนาการทรงตัวยังสามารถ พัฒนาการทางานของระบบประสาท ช่วยให้ร่างกายสมบูรณ์แข็งแรง รวมท้ังการออกกาลังกายเพื่อ พัฒนาการทรงตัว ยังเป็นการฝึกสมาธิไปด้วย ช่วยให้ผู้ฝึกได้มีสภาพอารมณ์ที่จิตใจท่ีสงบเยือกเย็น หนึ่งในปจั จัยการพฒั นาการทรงตวั คอื การทดสอบวัดสมรรถภาพการทรงตัว ซึ่งวิธีการวัดการทรงตัว ที่ได้รับการยอมรับมากในเรื่องความเท่ียงตรง ความเช่ือมั่น และประสิทธิภาพ คือเครื่องมือทดสอบ การทรงตวั รูปตัววาย แต่ในปัจจุบนั เครือ่ งมอื นตี้ ้องนาเข้าจากต่างประเทศ และมีราคาแพงมาก ทาให้ ต้องสูญเสียเงินเป็นจานวนมาก แม้ว่าจะมีเครื่องมือที่จัดทาขึ้นเพื่อใช้ทดแทนเครื่องมือนี้ในประเทศ ไทยอยู่บ้างแล้ว แต่เคร่ืองมือดังกล่าวยังมีความคลาดเคล่ือน และไม่สามารถนาไปใช้ในพื้นท่ีต่าง ๆ ตามความต้องการ ดังน้ัน การพัฒนากระบวนการออกแบบและสร้างเครื่องมือทดสอบการทรงตัวรูป ตัววายที่สามารถใช้วัสดุเหลือใช้ที่มีในประเทศไทยให้มีประสิทธิภาพ จึงเป็นเร่ืองท่ีน่าสนใจและ มีประโยชน์อย่างย่ิง ผู้เสนอบทความในฐานะผู้สอนพลศึกษา จึงมีแนวคิดในการพัฒนากระบวนการ ออกแบบและสร้างเคร่ืองมือทดสอบการทรงตัวรูปตัววายโดยใช้การจัดการความรู้เป็นฐาน จากผล การพัฒนาโดยใช้การจัดการความรู้ พบว่า มี ๕ กระบวนการท่ีสาคัญสาหรับการออกแบบและสร้าง เครอ่ื งมอื ทดสอบการทรงตัวรูปวาย คาสาคญั เครอ่ื งมอื ทดสอบการทรงตัวรูปตวั วาย การจดั การความร้เู ปน็ ฐาน Summary Balance is a kind of important abilities for human being. Good balance brings about good performance to do all daily activities. Those who can keep good balance

will have good personality such elegant walking. It is not easy to fall down for senior people with good balance. Keeping good balance can help reduce sports injuries. Moreover, developing balance can help promote nervous system function resulting in good physical health. Exercise for developing balance can also help practice meditation which leads to good mental health. One of balance improving factors is balance measurement. Y-balance test is acknowledged as one of high efficiency, validity and reliability balance testing methods. In the present days, Y-balance test is very expensive and needs to be imported from foreign countries causing a lot of money loss of our country. Although there are some tools in a low price to use for measuring balance in Thailand, errors, inefficiency and limitation in use at anywhere. So, to design and construct Y-Balance Test with reused materials in Thailand is very interesting and beneficial to all. The article presenters as physical education teachers have got the idea on knowledge management approach based development for procedures of designing and constructing Y-balance test. In conclusion, according to the result of development based on knowledge management approach, there are five significant procedures of designing and constructing Y-balance test. Keywords: Y-balance test, knowledge management approach based บทนา การท่ีร่างกายของมนุษย์ตั้งอยู่อย่างม่ันคง ก็เพราะมีการทรงตัวที่ดี มีการรักษาความสมดุล ร่างกายต้องรู้จักถ่ายเทน้าหนักและเลี้ยงน้าหนักตัวเองให้สัมพันธ์กัน การสร้างจุดศูนย์ถ่วงเพื่อรักษา ความสมดุลในการแข่งขันกีฬา นักกีฬาเมื่อทาการแข่งขันนั้น การรักษาความสมดุลขณะที่ร่างกาย กาลังเคลื่อนที่นั้นเป็นส่ิงสาคัญ จุดศูนย์ถ่วงของร่างกายจะอยู่สูงต่าแตกต่างกันไปข้ึนอยู่กับความสูง ของแต่ละคน เพ่ือท่ีจะไม่ให้ล้มลงในขณะเคลื่อนท่ี การถ่ายน้าหนักและการปรับจุดศูนย์ถ่วงให้ พอเหมาะน้นั จะทาให้นักกฬี ารักษาสมดุลของร่างกายได้ง่ายข้ึน มนุษย์แต่ละคนน้ันมีร่างกายที่มีความ แตกต่างกัน ท้ังน้าหนักตัว ส่วนสูง โครงสร้างของร่างกายท่ีแตกต่างกันออกไป ซ่ึงอาจมาจาก พันธุกรรม การดูแลสุขภาพ การออกกาลังกายหรือการเสริมสร้างสมรรถภาพท่ีต่างกันของแต่ละ บุคคล ดงั นน้ั ความสมดลุ ของรา่ งกายของแต่ละคนนั้นย่อมมีความแตกต่างกัน การทรงตัว คือ ความสามารถของบุคคลในการควบคุมความสมดุลของร่างกาย (Hall. 2004: 441) และรักษาการเคลื่อนท่ีของร่างกายให้อยู่ภายใต้การควบคุมของตน (Wood. 2010: Online) การทรงตัวแบ่งออกเป็นการทรงตัวขณะอยู่กับที่และการทรงตัวขณะเคลื่อนท่ี การทรงตัว ขณะอยู่กับที่คือความสามารถในการรักษาความสุมดลของร่างกายในขณะที่อยู่กับที่ ณ จุดหนึ่งๆ ในขณะที่การทรงตัวขณะเคล่ือนท่ีคือความสามารถในการรักษาความสมดุลของร่างก ายขณะท่ี เคล่ือนที่จากจุดหน่ึงไปยังอีกจุดหน่ึง โดยที่การทรงตัวขณะอยู่กับท่ีสามารถแบ่งย่อยได้ตามชนิดของ

งานที่ทา และยังแบ่งได้อีกว่าทาในขณะลืมตาหรือหลับตา การทรงตัวขณะเคล่ือนที่แบ่งเป็นแบบ ธรรมดาและแบบซับซ้อน แบบธรรมดาคือการทรงตัวในขณะเคลื่อนไหวในระนาบเดียว แบบซับซ้อน คือการทรงตัวในขณะเคลื่อนไหวมากกว่าหนึ่งระนาบ เป็นต้น (Morrow; et al. 2011: 305) ดังน้ัน การทรงตัวท่ีดีจะทาให้สามารถทากิจกรรมต่างๆ ได้อย่างราบร่ืน ผู้ที่มีการทรงตัวท่ีดีจะเดินได้อย่าง สง่างาม สร้างภาพลักษณ์ให้ดูดี นอกจากน้ันแล้ว คนท่ีมีการทรงตัวดีจะไม่ล้มง่าย สามารถช่วยลด ความเสย่ี งในการบาดเจ็บขณะเล่นกีฬา สาหรับในผู้สูงอายุ การทรงตัวท่ีดีจะช่วยป้องกันการหกล้มได้ นอกจากน้ี การพัฒนาการทรงตัวยังสามารถพัฒนาการทางานของระบบประสาท ช่วยให้ร่างกาย สมบูรณแ์ ขง็ แรง ในการออกกาลงั กายเพ่ือพฒั นาการทรงตัว ยังเป็นการฝึกสมาธิไปด้วย จึงช่วยให้ผู้ฝึก ได้มีสภาพอารมณ์ท่ีจิตใจที่สงบเยือกเย็น เพราะฉะนั้น การฝึกการทรงตัวจึงมีประโยชน์อย่างมากต่อ ทุกคน (Li. 2018: Online) การทรงตัวของน้ีจะเกี่ยวของกับคาว่า “จุดศูนย์ถ่วงของร่างกาย” ซ่ึง หมายถึงจุดใดจุดหนึ่งในร่างกายท่ีทาให้ส่วนอ่ืนๆ ของร่างกายอยู่ในลักษณะสมดุล การจะทราบถึง ความแตกต่างในด้านความสัมพันธ์ของความสมดุล ความยืดหยุ่นและความแข็งแรงของร่างกายของ แตล่ ะคนน้นั สามารถทดสอบไดจ้ ากการทดสอบดว้ ยเครอื่ งมอื ทดสอบการทรงตัวรูปตัววาย ซ่ึงเป็นการ ทดสอบเพอื่ ทีจ่ ะหาค่าการทรงตวั ของแตล่ ะคน เคร่ืองมือทดสอบการทรงตัวรูปตัววาย (Y-Balance Test) นี้ได้ถูกพัฒนามาจากเครื่องมือ ทดสอบการทรงตัวรปู ดาว (Star Excursion Balance Test) ให้มีประสิทธิภาพในการทดสอบมากข้ึน โดยลดจากการวัดระยะการยืดเหยียดขา 8 ทิศทางของเคร่ืองมือทดสอบการทรงตัวรูปดาว ให้เหลือ เพียง 3 ทิศทาง ได้แก่ เหยียดขาไปข้างหน้า (anterior), เหยียดขาไปข้างหลังแบบเฉียงมาด้านใน (posteromedial) และเหยียดขาไปข้างหลังแบบเฉียงไปด้านนอก (posterolateral) จากการวิจัย พบว่าผลจากการทดสอบที่ทาการวัดเพียงสามทิศนี้ ก็สามารถนาไปใช้ในการพยากรณ์ความเสี่ยงใน การบาดเจ็บได้ไม่ต่างจากผลการทดสอบที่ได้จากการวัดแปดทิศ และยังมีงานวิจัยท่ีแสดงให้เห็นว่า เครื่องมือทดสอบการทรงตัวรูปตัววาย มีประสิทธิผลไม่ต่างจากเครื่องมือทดสอบการทรงตัวรูปดาว โดยท่ีเครื่องมือทดสอบการทรงตัวรูปตัววาย มีประสิทธิภาพมากกว่าเครื่องมือทดสอบการทรงตัวรูป ดาว ถงึ 62.5% ประหยัดท้ังเวลาและพลังงานของท้ังผู้รับการทดสอบและผู้ทาการทดสอบ (Shaffer; et al. 2013: 1264) ทาให้เครื่องมอื ทดสอบการทรงตวั รูปตัววาย ไดร้ ับการยอมรับไปทัว่ โลก ในปัจจุบัน เครื่องมือทดสอบการทรงตัวรูปตัววาย หากนาเข้าจากต่างประเทศจะมีราคา ค่อนข้างสูง แม้ว่าจะมีเครื่องมือท่ีจัดทาข้ึนเพ่ือใช้ทดแทนเคร่ืองมือนี้ในประเทศไทยอยู่บ้างแล้ว แตเ่ ครื่องมือดงั กล่าวยังมีความคลาดเคลื่อน และไม่สามารถนาไปใช้ในพ้ืนที่ต่าง ๆ ตามความต้องการ ผู้นาเสนอในฐานะเป็นผู้สอนทางด้านพลศึกษา เห็นว่าสามารถนาวัสดุท่ีมีอยู่ในประเทศไทยนามา พัฒนาและประยุกต์ใช้ได้ จะสามารถทาให้สามารถผลิตเครื่องมือดังกล่าวได้ในราคาประหยัด และ เผยแพร่ไปให้หน่วยงานต่างๆ ได้นาวิธีการผลิตเคร่ืองมือไปใช้ประโยชน์ในด้านกีฬา พลศึกษา และ ดา้ นต่างๆ ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง อีกท้ังยังสามารถชว่ ยไมใ่ ห้เงนิ ทองไหลออกจากประเทศ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อ ประชาชนชาวไทยเป็นอย่างมาก อีกท้ังจากการค้นคว้า ยังไม่พบงานวิจัยในประเทศไทยท่ีชัดเจน ทเี่ กีย่ วข้องกับเครื่องมือทดสอบการทรงตวั รปู ตวั วาย จากหลักการและความสาคัญดังกล่าว ผู้นาเสนอ

มีแนวคิดในการพัฒนากระบวนการออกแบบและสร้างเคร่ืองมือทดสอบการทรงตัวรูปวาย ที่สามารถ ใช้วสั ดทุ ี่มใี นประเทศไทยโดยอาศยั วิธกี ารจดั การความร้เู ปน็ ฐานในกระบวนการพฒั นา วิธดี าเนินงาน การพัฒนากระบวนการออกแบบและสร้างเคร่ืองมือทดสอบการทรงตัวรูปตัววายโดยใช้การ จัดการความรู้เป็นฐาน มีขัน้ ตอนการดาเนนิ การตามวธิ ีการจัดการความรู้ ดงั น้ี ข้ันตอนท่ี 1 การบง่ ชี้ความรู้ อาจารย์ผู้สอนพลศึกษาในวิชาการวิจัยทางการศึกษา ซ่ึงเป็นวิชาบังคับท่ีนักศึกษาสาขาวิชา พลศึกษาของสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตสุพรรณบุรี จะต้องเรียนในช้ันปีท่ี 3 และในปีการศึกษา 2561 ภาคการศึกษาต้น อาจารย์ผู้สอนได้ทาการสอนทฤษฎีเก่ียวกับการทรงตัว และหลักการ การสร้างเครื่องมือทดสอบการทรงตัวรูปตัววายให้แก่นักศึกษาท่ีเรียนวิชาการวิจัยทางการศึกษา จานวน 150 คน และได้มอบหมายงานให้นักศึกษาแบ่งเป็นกลุ่ม ๆ ละประมาณ 5 คน เพ่ือทา โครงการเร่อื งผลการสารวจประสิทธภิ าพด้านการทรงตัวของนักศึกษาสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขต สพุ รรณบุรี โดยใช้เครอ่ื งมือทดสอบการทรงตัวรูปตัววาย โดยแต่ละกลุ่มจะมีนักศึกษาที่เป็นเป้าหมาย ในการสารวจต่างกัน และร่วมกันกาหนดประเด็นความรู้ไว้ คือ การพัฒนากระบวนการออกแบบและ สร้างเครอื่ งมอื ทดสอบการทรงตัวรปู ตัววายโดยใช้การจดั การความรู้เปน็ ฐาน ข้นั ตอนที่ 2 การแสวงหาความรู้ นักศึกษาในแต่ละกลุ่ม ดาเนินการศึกษาค้นคว้าความรู้เกี่ยวข้องกับการทรงตัวและการสร้าง เครื่องมือทดสอบการทรงตัวรูปตัววายจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ โดยใช้วิธีการทบทวนวรรณกรรมท่ี เก่ียวขอ้ ง (Documentary Review) ผ่านการใหค้ าปรึกษาและแนะนาจากอาจารย์ผู้สอน ขน้ั ตอนท่ี 3 การรวบรวมและสร้างความรู้ นักศึกษาในแต่ละกลุ่ม สร้างเคร่ืองมือทดสอบการทรงตัวรูปตัววายขึ้น โดยที่แต่ละกลุ่มมี วิธีการสร้างที่ต่างกัน แต่เครื่องมือทดสอบการทรงตัวรูปตัววายของทุกกลุ่มน้ันใช้หลักการเดียวกัน หลังจากนั้น นักศึกษาทุกกลุ่ม นาเคร่ืองมือทดสอบการทรงตัวรูปตัววายท่ีสร้างเสร็จแล้ว มาให้คณะ อาจารยผ์ ู้สอนซึ่งเป็นผ้เู ชย่ี วชาญ ตรวจสอบคุณภาพของเครอื่ งมอื ขั้นตอนท่ี 4 การวิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู้ นักศึกษาในแต่ละกลุ่มนาเครื่องมือทดสอบการทรงตัวรูปตัววายท่ีกลุ่มของตนสร้างข้ึนไป ทดลองใช้กบั กลุม่ ทมี่ ีลกั ษณะใกล้เคียงกับกลมุ่ เปา้ หมายทกี่ ลุม่ ตนจะทาการศึกษา จานวน 15 คน เพ่ือ ตรวจสอบความสมบรู ณ์ของเครอ่ื งมอื ทดสอบการทรงตัวรปู ตวั วายทส่ี ร้างข้ึน หลักจากนั้น นักศึกษาแต่ละกลุ่มนาเคร่ืองมือทดสอบการทรงตัวรูปตัววายหาประสิทธิภาพ ด้านการทรงตัวของนักศึกษาที่เป็นกลุ่มเป้าหมายของกลุ่มตน โดยใช้แบบบันทึกผลการสารวจ

“Y-Balance Test-Score Sheet” ประกอบด้วย 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนท่ี 1 บันทึกข้อมูลพ้ืนฐาน และ ลักษณะท่ัวไปกลุ่มเป้าหมายที่ทาการสารวจ และส่วนที่ 2 บันทึกประสิทธิภาพด้านการทรงตัวของ กลมุ่ เปา้ หมายท่ีทาการสารวจ โดยใช้เคร่ืองมือทดสอบการทรงตัวรูปตัววายทกี่ ลมุ่ ตนสร้างขน้ึ ท้ายท่ีสุด นักศึกษาในแต่ละกลุ่มทาการประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้มาโดยใช้ โปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิติเพ่ือคานวณหาค่าสถิติต่างๆ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ขั้นตอนท่ี 5 การเขา้ ถงึ ความรู้ นักศึกษาในแต่ละกลุ่มนาวธิ ีการสรา้ งเครอ่ื งมือทดสอบการทรงตัวรปู ตวั วายและผลทีไ่ ดจ้ าก การสารวจมาสรุปเปน็ เอกสารรายงานผล ขัน้ ตอนที่ 6 การแบ่งปนั แลกเปลยี่ นความรู้ นกั ศึกษาในแต่ละกลมุ่ นาวธิ กี ารสร้างเคร่อื งมือและผลการสารวจขอกลุ่มมานาเสนอ อภิปราย ข้อดขี อ้ เสียของแต่ละกลุ่ม และทาการสัมมนาแลกเปลี่ยนความรู้และความเห็นเพ่ือค้นหาวิธีการสร้าง เคร่ืองมือทดสอบการทรงตวั รปู ตัววายที่ดที ีส่ ุด ขน้ั ตอนที่ 7 การเรียนรู้เพอ่ื นาความรสู้ ูป่ ฏิบัติ นักศึกษาและอาจารย์ผู้สอนนาวิธีของทุกกลุ่มมารวมกัน วิเคราะห์ สังเคราะห์ผลการทดลอง การนาไปใช้ และสรปุ ผล ปรากฏวิธีสรา้ งเคร่อื งมือทดสอบการทรงตัวรปู ตัววายดังน้ี 1. นาไมก้ ระดานหนา 2 cm มาเล่ือยใหไ้ ด้ขนาด 15x30 cm จานวน 3 แผน่

2. นาแผ่นไม้ท่ีตัดได้ขนาดแล้วมาตัดแยกออกเป็น 3 ส่วน ขนาดช่องกว้าง 3 cm และนาแผ่นไม้มา ประติดกาวเข้าด้วยกนั  3. นาไม้กระดานท้ังสามมาประกบกันและมาคจุดเพ่ือที่จะรูที่จะเอาน็อตยึดไม้ท้ังสามเข้าหากัน ใหแ้ น่น

4. นากล่องไม้ขนาด 6x8 cm มาเจาะก่ึงกลางของขอบไม้ขนาดกว้าง 3 cm ลึก 2 cm เพ่ือจะ นามาใช้เป็นตัวเลอ่ื น

5. นาไม้กระดานมาตัดขนาด 5x8 cm มาติดด้านหน้าของตัวเลื่อนเพ่ือเพ่ิมสัมผัสให้เท้าได้ดี ยิ่งขน้ึ แล้วนากระดาษกาวสแี ดงมาติดหน้าแผนกระดานเพื่อใหช้ ัดต่อการมองเหน็ 6. นารางครอบสายไฟ 3 เสน้ มาตดั 50 cm ยาว 50 cm

7. นารางครอบสายไฟมาติดกาวกับตัวฐาน และ ยิงตะปูยึดติดกับพลาสติครอบสายไฟให้ แนน่ หนาเพอ่ื ไม่ให้ขยับได้ สรุป การพฒั นากระบวนการออกแบบและสรา้ งเครื่องมือทดสอบการทรงตัวรปู ตวั วายโดยใช้การ จัดการความรเู้ ปน็ ฐาน มีกระบวนการทสี่ าคญั 5 กระบวนการ ไดแ้ ก่ 1. ศึกษาเอกสารและงานวิจัยทเ่ี กี่ยวข้องกบั การทาเครื่องมือทดสอบการทรงตัวรปู ตวั วายจาก แหล่งขอ้ มลู ตา่ ง ๆ รวมทง้ั ข้อมลู รปู ภาพเคร่ืองมือ 2. ทาการออกแบบโดยใชโ้ ปรแกรมในคอมพวิ เตอรว์ าดภาพเครือ่ งมือตน้ แบบ และจดั หาวสั ดุต่าง ๆ ตามแบบ ซ่งึ มุง่ เนน้ ไปทีว่ ัสดเุ หลือใชท้ ่ีมีในชมุ ชนและประหยัด 3. สรา้ งเครือ่ งมืดทดสอบการทรงตัวรปู ตัววายตามแบบ 4. ตรวจสอบคณุ ภาพของอปุ กรณ์วดั การทรงตัวรูปตวั วายโดยผเู้ ชยี่ วชาญ เพอ่ื ตรวจสอบความ เหมาะสมขององค์ประกอบของเคร่ืองมือทดสอบการทรงตัวรปู ตัววาย และนามาปรับปรงุ แกไ้ ข 5. ปรับปรุงแก้ไขเคร่ืองมือทดสอบการทรงตวั รูปตวั วายตามคาแนะนาของผู้เชย่ี วชาญ

บรรณานุกรม Hall, Susan J. (2004). Basic Biomechanics. 4th ed. Singapore: McGraw-Hill. Li Xuefei. (2018). Yundong Gaishan Pingheng Nengli. Retrieved November 5, 2018, From http://mass.sports.cn/qmjs/kxjs/2018/0119/227927.html. Morrow, James R. Jr.; et al. (2011). Measurement and Evaluation in Human Performance. 4th ed. The United States of America: Human Kinetics. Bobertson, Loarn D. Thomson-Shore, Inc. Shaffer, Scott W.; Teyhen, Deydre S.; Lorenson, Chelsea L.; Warren, Rick L., Koreerat, Christina M., Straseske, Crystal A.; Childs, John D. (2013, November). Y- Balance Test: A Reliability Study Involving Multiple Raters. Military Medicine. (178): 1264-1270. Wood, Robert. (2010). Fitness and Balance and Coordination. Retrieved October 30, 2018, From https://www.topendsports.com/fitness/balance.htm.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook