กระบวนการจัดทาข้อเสนอการวิจยั ภายใต้แผนบูรณาการวิจยั และนวตั กรรม ให้ตอบโจทย์ยทุ ธศาสตร์การพฒั นาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วจิ ยั และนวตั กรรม กรณศี ึกษา : มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน (Processes for Developing research proposal under Integrated Research Program and Innovation to meet the strategy for developing science, technology, research, and innovation Case Study: Rajamangala University of Technology Isan) ภควรรณ วรรณวัติ1,*, อรอุมา เป้าประจาเมือง1, กิตยิ าวดี เกตุนอก1, อษุ ณยี ์ หอมจะบก1, วรี นุช กูบโคกกรวด2 1นักวชิ าการศึกษา, 2เจ้าหนา้ ท่บี ริหารงานทวั่ ไป สถาบนั วิจยั และพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน *[email protected] บทสรปุ การเสนอขอรับทุนอุดหนุนการวิจัยงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณของ หน่วยงานท่ัวประเทศต้องจัดทาภายใต้แผนงานบูรณาการวิจัยและนวัตกรรม ซ่ึงการส่งข้อเสนอ การวิจัยในลักษณะน้ีเริ่มมาตั้งแต่ปีงบประมาณ 2562 สถาบันวิจัยและพัฒนา (สวพ.) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน (มทร.อีสาน) เป็นหน่วยงานส่งเสริมสนับสนุนเก่ียวกับ ภารกิจการส่งข้อเสนอการวิจัยเพ่ือขอรับทุนอุดหนุนการวิจัยงบประมาณรายจ่าย พบว่า โครงการวิจัยที่ได้รับจัดสรรงบประมาณในปีงบประมาณ 2562 รวมถึงผลการพิจารณาข้อเสนอ การวิจัยของปีงบประมาณ 2563 ที่ผ่านการพิจารณาในรอบข้อเสนอเชิงหลักการ (Concept paper) อยู่ในสัดส่วนที่ค่อนข้างต่า จึงถือเป็นจุดอ่อนที่ต้องได้รับการพัฒนา ดังน้ัน สถาบันวิจัย และพฒั นาจงึ ไดอ้ อกแบบกระบวนการการได้มาซึ่งขอ้ เสนอการวิจัยภายใต้แผนงานบูรณาการวิจัย และนวัตกรรมรูปแบบใหม่ ซ่ึงประกอบด้วย 4 ข้ันตอนสาคัญ ได้แก่ 1) ให้ความรู้แก่นักวิจัย เก่ียวกับการจัดทาข้อเสนอการวิจัยในลักษณะบูรณาการ โดยเฉพาะความรู้เกี่ยวกับยุทธศาสตร์ การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ที่อยู่ภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 2) ชี้แจงวิธีการและข้ันตอนการจัดทาข้อเสนอการวิจัยในลักษณะ
บูรณาการให้นักวจิ ยั ทราบ 3) ติดตามการดาเนินงานเป็นระยะ 4) จัดเวทีให้นักวิจัยมีส่วนร่วมใน การพัฒนาและทบทวนแผนบูรณาการวิจัยและนวัตกรรม/ข้อเสนอการวิจัย โดยจะนา กระบวนการดาเนินงานแบบใหมใ่ ช้ดาเนนิ งานกับการเปดิ รับข้อเสนอการวจิ ยั งบประมาณรายจ่าย ประจาปีงบประมาณ 2564 และคาดว่าจะทาให้มหาวิทยาลัยมีข้อเสนอการวิจัยท่ีมีคุณภาพมาก ย่งิ ขึ้น เพอ่ื ท่จี ะมีขอ้ เสนอการวิจัยผา่ นการพิจารณาเพมิ่ ขึ้นมากกว่าร้อยละ 50 Summary The proposal submission to request the annual expenditure budget of the government agencies must be submitted under integrated research program and innovation. It has been started from 2562 BE. The research and development institute (IRD) of Rajamangala university of technology ISAN (RMUTI) where is responsible for promoting and supporting the submission process to request the annual expenditure budget for research, found that there was somewhat low ratio of the research programs in the year 2562 BE of the expenditure budget considered through in the concept paper step. This is a weak point that has to be improved. Therefore, IRD designed the new process for getting the proposal under integrated research program and innovation. There is 4 steps as follow; 1) share the knowledge about how to do the integrated research proposal, especially national strategies related to the development of science, technology, research and innovation which are in the 12th National Economic and Social Development plan, 2) explain methods and steps for doing the integrated research proposal to the researchers, 3) follow up the progress periodically, 4) set the forum for the researchers to develop and review the integrated program and innovation/proposal together. This new process will be used for calling the research proposal for expenditure budget in 2564 BE and expected that RMUTI will have more quality research proposals, in order to obtain the increase of percentage of research proposals passed higher than 50%.
คาสาคัญ แผนบูรณาการวิจัยและนวัตกรรม กระบวนการจัดทาข้อเสนอการวิจัย การวิจัย งบประมาณรายจ่าย บทนา ยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม อยู่ภายใต้ แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 ซึ่งเป็นยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยของ ประเทศ โดยมุ่งเน้นความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชนในการลงทุนเพื่อการวิจัยและพัฒนา โดยกาหนดประเด็นวิจัยของชาติท่ีตอบโจทย์การยกระดับศักยภาพการผลิตของภาคส่วนต่าง ๆ เพ่ือให้ประเทศไทยเข้าสู่สังคมนวัตกรรมกรรมและเตรียมการก้าวสู่ประเทศรายได้สูงในอนาคต แนวทางการพัฒนาในช่วงระยะเวลา 5 ปี ให้ความสาคัญกับการใช้องค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ผลงานวิจัยและพัฒนา ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์อย่าง เข้มข้นท้ังในภาคธุรกิจ ภาครฐั และภาคประชาสังคม รวมทั้งให้ความสาคัญกับการพัฒนาสภาวะ แวดล้อมหรือปจั จัยพ้นื ฐานที่เออื้ อานวยทัง้ การลงทุนด้านการวิจัยและพัฒนา การพัฒนาบุคลากร วจิ ยั โครงสรา้ งพน้ื ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี และการบริหารจัดการเพื่อช่วยขับเคล่ือนการ พัฒนาประเทศให้ก้าวสู่เป้าหมายดังกล่าว (สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ, 2559) ซึ่งหน่วยงานต่างๆ ท้ังภาครัฐและเอกชนต้องสร้างงานวิจัยให้สอดคล้อง และตอบโจทย์ตามจุดมุ่งหมายของยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และ นวตั กรรมตามที่กล่าวมาข้างตน้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน (มทร.อีสาน) เป็นสถาบันการศึกษาของ หน่วยงานภาครัฐ ซึ่งมีพันธกิจหลายด้าน หนึ่งในน้ันคือการสร้างงานวิจัย ส่ิงประดิษฐ์ และ นวตั กรรม บนพนื้ ฐานของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสู่การผลิต การบริการ และสร้างมูลค่าเพ่ิม ให้ประเทศ (www.rmuti.ac.th, 2562) และมีสถาบันวิจัยและพัฒนา เป็นหน่วยงานส่งเสริม สนับสนุนการวิจัย มหาวิทยาลัยต้องเสนอขอรับทุนอุดหนุนการวิจัยงบประมาณรายจ่ายจาก สานักงบประมาณ เพื่อเป็นทุนสนับสนุนการดาเนินโครงการวิจัยของมหาวิทยาลัยเพ่ือผลิตผล งานวิจัยออกมาตอบสนองความต้องการของสังคมและชุมชน อีกท้ังยังเกิดองค์ความรู้ท่ีสามารถ นาไปพัฒนาประเทศในดา้ นตา่ ง ๆ ตามยทุ ธศาสตร์ตอ่ ไปได้
จากท่ีกล่าวมาข้างตน้ การพัฒนาขอ้ เสนอการวิจัยถือเป็นจุดเริ่มต้นของการทาวิจัย มทร. อีสาน จึงเห็นความสาคัญของการพัฒนาข้อเสนอการวิจัย โดยการส่งเสริมให้นักวิจัยเห็น ความสาคัญ และมีความเข้าใจอย่างถ่องแท้เกี่ยวกับยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ผ่านโครงการอบรมต่าง ๆ ที่เก่ียวข้อง ซึ่งจัดโดยสถาบันวิจัยและ พัฒนา เพื่อให้นักวิจัยสามารถพัฒนาข้อเสนอการวิจัยได้ตรงและตอบโจทย์ตามประเด็น ยุทธศาสตร์ชาติ รวมถึงสามารถนาไปต่อยอดเพอื่ ใช้ในการพฒั นาประเทศในด้านต่าง ๆ ตอ่ ไปได้ การเสนอขอรับทุนอุดหนุนการวิจัยงบประมาณรายจ่าย ต้ังแต่ปีงบประมาณ 2562 หน่วยงานเจ้าภาพซ่ึงประกอบด้วยสานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสานักงาน คณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) ให้ส่งข้อเสนอ การวิจัยงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ ภายใต้แผนบูรณาการวิจัยและนวัตกรรม เพื่อ ลดความซา้ ซอ้ นของการทางานวจิ ยั และเพ่ือใหเ้ กดิ การบรู ณาการศาสตร์ต่างๆ เข้าด้วยกัน เพื่อจะ ทาให้ไดผ้ ลงานวิจัยเพ่อื ตอบโจทย์ของประเทศอย่างแท้จรงิ การเปล่ียนแปลงวิธีการยื่นข้อเสนอการวิจัยเพื่อขอทุนอุดหนุน เม่ือปีงบประมาณ 2562 ทาให้เกิดปัญหากับการบริหารจัดการงานวิจัยของสถาบันวิจัยและพัฒนา มทร.อีสาน เน่ืองจาก ทางสถาบันวิจัยและพัฒนา มทร.อีสาน ได้ดาเนินการเปิดรับข้อเสนอการวิจัยโดยวิธีการเดิม ก่อนที่จะทราบว่ามีการปรับเปลี่ยนวิธีการยื่นข้อเสนอรูปแบบใหม่ โดยเปิดรับเป็นโครงการเด่ียว หรือโครงการชุด ซึ่งไม่ได้อยู่ภายใต้แผนบูรณาการใดๆ โครงการที่ส่งเข้ามาท่ีสถาบันวิจัยและ พัฒนา ในปงี บประมาณ 2562 มีทั้งหมด 580 โครงการ สถาบันวิจัยและพัฒนาจึงได้จัดโครงการ เพื่อจัดทาแผนบรู ณาการและจัดข้อเสนอการวิจัยเข้าไปอยู่ในแผนบูรณาการท่ีเหมาะสม ตามการ ปรับเปลี่ยนวิธีการย่ืนข้อเสนอการวิจัยท่ีมีการเปล่ียนไป โดยได้แผนบูรณาการจานวน 10 แผน บูรณาการ ซ่ึงผ่านการพิจารณาจานวน 5 แผน (284 โครงการ) โดยได้รับงบประมาณสนับสนุน จานวน 79,822,200 บาท หรอื คดิ เปน็ ร้อยละ 16 ของยอดงบประมาณที่เสนอขอ (504,373,670 บาท) ดงั แสดงในภาพที่ 1 ในทานองเดยี วกัน การยื่นข้อเสนอการวิจัยเพ่ือขอทุนอุดหนุนในปีงบประมาณ 2563 ได้ มีการปรับเปล่ียนแนวทางการยื่นข้อเสนอการวิจัยจากเดิมที่ใช้ในปีงบประมาณ 2562 โดยให้ทา การยื่นแผนบูรณาการท่ีอยู่ภายใต้ยุทธศาสตร์ที่ 1 และ ยุทธศาสตร์ท่ี 2 ในรูปแบบข้อเสนอเชิง หลักการ (Concept paper) ส่งเข้ารับการพิจารณาเบื้องต้นก่อน โดยท่ียังไม่ต้องส่งข้อเสนอ
ฉบับเต็มของแต่ละโครงการเข้าสู่ระบบบริหารจัดการงานวิจัยแห่งชาติ (National Research Management System: NRMS) ทาให้ทางสถาบันวิจัยและพัฒนา ท่ีได้เตรียมวิธีการ และ เปิดรับข้อเสนอการวิจัยในแนวทางของการยื่นข้อเสนอปีงบประมาณ 2562 ไว้แล้ว ต้อง ปรับเปล่ยี นแผนการวธิ กี ารดาเนินการใหม่ในระหว่างการเตรียมยน่ื ข้อเสนอเพื่อขอรับงบประมาณ โดยการจัดโครงการเพอ่ื เชิญนกั วจิ ยั ในศาสตร์ต่างๆ ของ มทร.อีสาน มาช่วยกันพัฒนาแผนบูรณา การเพื่อให้ตอบโจทย์ยุทธศาสตร์ในเป้าที่ 1 และ 2 ซ่ึงได้แผนบูรณาการจานวน 19 แผน (308 โครงการ) จากน้ันให้นักวิจัยเจ้าของโครงการแต่ละโครงการจัดทา concept proposal ท่ีอยู่ ภายใต้แผนบูรณาการ ส่งมาเพื่อรวมเข้ากับแผนบูรณาการแล้วส่งออกเพ่ือรับการพิจารณา ข้อเสนอเบื้องต้น โดยมีแผนบูรณาการผ่านการพิจารณาเบื้องต้น จานวน 5 แผน (62 โครงการ) ซึ่งมีงบประมาณ 39,683,790 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 23 จากยอดงบประมาณที่เสนอขอ ทั้งหมด ดังแสดงในภาพที่ 2 ภาพที่ 1 เปรยี บเทยี บข้อมูลข้อเสนอการวิจยั ท่ีส่งเขา้ รับการพิจารณากับท่ีได้รับการจัดสรร ประจาปีงบประมาณ 2562 ภาพที่ 2 เปรยี บเทยี บข้อมลู ข้อเสนอเชงิ หลักการ (Concept paper) ท่ีสง่ เขา้ รับการพจิ ารณา กบั ผลการพิจารณา ประจาปีงบประมาณ 2563
จากการเปล่ียนแปลงวิธีการยื่นข้อเสนอการวิจัยเพื่อขอทุนอุดหนุน เมื่อปีงบประมาณ 2562 ท่ีแตกต่างจากปีงบประมาณก่อนหน้านี้ และยังมีการเปลี่ยนแปลงวิธีการยื่นข้อเสนอ การวิจัยเพื่อขอทุนอุดหนุนในปีงบประมาณ 2563 อีกครั้ง ทาให้เกิดปัญหาในการดาเนินการย่ืน ข้อเสนอการวิจัยเพ่ือขอทุนอุดหนุนแก่นักวิจัย รวมถึงสถาบันวิจัยและพัฒนาท่ีเป็นหน่วยงาน ประสานงานอยา่ งมาก ดังน้ันบทความ KM น้ี จึงกล่าวถึงข้ันตอนและวิธีการดาเนินการแก้ปัญหา ท่ีเ กิ ด ข้ึ น ดั ง ก ล่ า ว ใ ห้ ส า ม า ร ถ จั ด ทา ข้ อ เ ส น อ กา ร วิ จั ย ที่ มีคุ ณ ภ า พ ม า กท่ี สุ ด เ ท่ า ท่ี จ ะ ส า ม า ร ถ ดาเนนิ การได้ เพอื่ สง่ เขา้ สู่กระบวนการพิจารณาเพ่ือขอรบั ทนุ ให้ไดผ้ ลลพั ธ์ท่ดี ี วธิ ีการดาเนินงาน สถาบันวจิ ัยและพฒั นา มทร.อีสาน ในฐานะหน่วยงานส่งเสริมและสนับสนุนพันธกิจด้าน การวิจัย ดาเนินการส่งเสริมและสนับสนุนให้นักวิจัยสามารถจัดทาข้อเสนอการวิจัยภายใต้แผน บูรณาการวิจัยและนวัตกรรม ให้ตอบโจทย์ยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ซึ่งจะทาให้เกิดข้อเสนอการวิจัยท่ีมีคุณภาพ โดยการดาเนินการสถาบันวิจัยและ พัฒนาจะวางแผนและเริ่มดาเนินการตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ โดยจะไม่เกินไตรมาสท่ี 2 เพ่ือให้ นักวจิ ยั มกี ารเตรยี มตวั มากขึน้ ดังกระบวนการในภาพท่ี 3 ภาพท่ี 3 ขน้ั ตอนการได้มาของขอ้ เสนอการวจิ ยั ภายใต้แผนบูรณาการวจิ ยั และนวัตกรรม
จากภาพท่ี 3 แสดงขั้นตอนการได้มาของข้อเสนอการวิจัยภายใต้แผนบูรณการวิจัยและ นวัตกรรม ประกอบกับตั้งแต่ปีงบประมาณ 2562 การส่งข้อเสนอการวิจัยต้องจัดทาในลักษณะ บูรณาการ เพื่อลดการซ้าซ้อนของการทางานวิจัยท้ังประเทศ ให้เกิดการบูรณาการในด้านต่างๆ อย่างแท้จริงอีกทั้งยังต้องส่งภายใต้แผนบูรณาการวิจัยและนวัตกรรมน้ัน จึงคาดว่าแนวโน้มและ ทิศทางการส่งข้อเสนอการวิจัยจากปัจจุบันถึงอนาคาตจะเป็นไปในรูปแบบน้ี สถาบันวิจัยและ พัฒนาจึงตระหนักถึงความสาคัญน้ี จึงได้วางแผนและกาหนดข้ันตอนการดาเนินการใหม่โดยจะ เริ่มวางแผนทางานต้ังแต่ต้นปีงบประมาณเพ่ือให้นักวิจัยและผู้ที่เก่ียวข้องมีเวลาเตรียมตัวพัฒนา ข้อเสนอการวิจัยมากขึ้น ซ่ึงจะส่งผลให้หน่วยงานมีข้อเสนอการวิจัยท่ีมีคุณภาพ ซ่ึงประกอบด้วย ขนั้ ตอนดงั นี้ ข้ันตอนท่ี 1 สถาบันวิจัยและพัฒนาในฐานะหน่วยงานส่งเสริมและสนับสนุนงานวิจัย จะดาเนินการวางแผนการดาเนินงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการได้มาซึ่งข้อเสนอการวิจัยประจาปี งบประมาณ ขั้นตอนที่ 2 สถาบันวิจัยและพัฒนาจะดาเนินการให้ความรู้เกี่ยวกับการจัดทาข้อเสนอ การวิจัยเชิงบูรณาการให้กับนักวิจัยและผู้ท่ีเกี่ยวข้องประมาณเดือนมีนาคม โดยจะดาเนินการ ออกให้ความรู้แก่นักวิจัยและผู้ทีเกี่ยวข้องทุกวิทยาเขต ได้แก่ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล อีสาน นครราชสีมา,วิทยาเขตขอนแก่น,วิทยาเขตสกลนคร และวิทยาเขตสุรินทร์ โดยความรู้ที่ ต้องแจ้งให้นักวิจัยทราบ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ของหน่วยงาน, แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ, นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ, ยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติรายประเด็น, ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี,แผนงานบูรณาการวิจัยและนวัตกรรม นอกจากการชี้แจงให้นักวิจัยทราบ ความรู้ข้างต้นแล้ว สถาบันวิจัยและพัฒนาต้องเตรียมรูปแบบการจัดทาแผนบูรณาการพร้อมทั้ง ตัวอยา่ ง โดยจะเนน้ ให้นักวิจัยเข้าใจความหมายและตระหนักถึงความสาคัญของยุทธศาสตร์การ พัฒนาวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วจิ ยั และนวตั กรรม ข้นั ตอนท่ี 3 หลังจากท่ีนักวจิ ัยได้รับความรู้เกี่ยวกับการจัดทาข้อเสนอการวิจัยเชิงบูรณา การแล้ว นักวิจัยจะดาเนินการจัดตั้งทีมเพื่อจัดทาแผนบูรณาการท่ีตนเองสนใจ รวมถึงพัฒนา ข้อเสนอการวิจัยภาพใต้แผนบูรณาการนั้นๆ ด้วย โดยจะมีเวลาในการพัฒนาข้อเสนอระหว่าง เดอื นมนี าคม-มถิ นุ ายน
ขั้นตอนท่ี 4 ประมาณเดือนกรกฎาคมสถาบันวิจัยและพัฒนาดาเนินการติดตามผลการ ดาเนินงานครั้งที่ 1 ซึ่งเปน็ การติดตามความก้าวหน้าการพัฒนาข้อเสนอการวิจัยว่าของนักวิจัยได้ พัฒนาข้อเสนอการวิจัยถึงข้ันไหนแล้ว มีแผนบูรณการเกิดข้ึนก่ีแผน และมีโครงการวิจัยภายใต้ แผนบรู ณาการกโี่ ครงการ มีความถูกต้องสมบรู ณ์ในระดับใด ขั้นตอนท่ี 5 สถาบนั วิจยั และพัฒนาในฐานะตวั แทนของหน่วยงานเข้ารับฟังแนวทางการ จัดทาข้อเสนอการวจิ ยั ประจาปีงบประมาณจากหน่วยงานเจ้าภาพประมาณเดือนสิงหาคมของทุก ปีงบประมาณ ข้ันตอนท่ี 6 จากข้ันตอนที่ 5 สถาบันวิจัยและพัฒนาจะนาความรู้ที่ได้รับจากหน่วยงาน เจ้าภาพมาถ่ายทอดให้นักวิจัยและผู้ที่เก่ียวข้องทราบ พร้อมทั้งจัดเวทีทบทวนแผนบูรณการ/ ข้อเสนอการวิจัย เพื่อให้ได้แผนบูรณการ/ข้อเสนอการวิจัยท่ีตอบโจทย์ยุทธศาสตร์การพัฒนา วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วจิ ัย และนวัตกรรมมากทีส่ ดุ ขน้ั ตอนที่ 7 นักวิจัยปรับปรุงแผนบูรณาการ/ข้อเสนอการวิจัย ประมาณเดือนสิงหาคม- กันยายน ขั้นตอนท่ี 8 นักวจิ ัยจัดสง่ ขอ้ เสนอการวิจยั ตามรูปแบบท่หี น่วยงานเจ้าภาพกาหนดในแต่ ละปีงบประมาณ กล่าวคือ รูปแบบการส่งข้อเสนอการวิจัยข้ึนอยู่กับหน่วยงานเจ้าภาพกาหนดใน แต่ละปงี บประมาณ เชน่ กรณีที่ 1 ให้นักวิจัยส่งข้อเสนอการวิจัยในรูปแบบข้อเสนอการวิจัยฉบับเต็ม (Full Proposal) เพ่ือเขา้ สูก่ ระบวนการพจิ ารณาเลย กรณีที่ 2 ให้นักวิจัยส่งเพียงเอกสารเชิงหลักการ (Concept paper) ไป พจิ ารณากอ่ นในหากผา่ นการพิจารณา จึงดาเนินการส่งในรปู แบบขอ้ เสนอการวิจัยฉบับเต็ม (Full Proposal) ข้ันตอนท่ี 9 สถาบันวิจัยและพัฒนารวบรวมข้อมูลให้หน่วยงานเจ้าภาพพิจารณาตาม รปู แบบและเง่ือนไขทีห่ นว่ ยงานเจ้าภาพกาหนดในแตล่ ะปีงบประมาณ อภิปรายผล กระบวนการพิจารณาข้อเสนอการวิจัยภายใต้แผนบูรณาการวิจัยและนวัตกรรม เพื่อ เสนอขอรบั ทนุ อุดหนนุ การวิจยั งบประมาณรายจ่ายประจาปีมีระยะเวลาเหล่ือมปี ดังรายละเอียด ในตารางท่ี 1 ซึ่งแสดงข้อมูลเปรียบเทียบขั้นตอนการเปิดรับข้อเสนอการวิจัยภายใต้
แผนบูรณาการวจิ ยั และนวัตกรรมระหวา่ งปงี บประมาณ 2562 กับ ปีงบประมาณ 2563 จะพบว่า โครงการวจิ ยั ท่ไี ดร้ ับจดั สรรงบประมาณในปงี บประมาณ 2562 รวมถึงผลการพิจารณาข้อเสนอกร วิจัยของปีงบประมาณ 2563 ในรอบข้อเสนอเชิงหลักการ (Concept paper) ยังอยู่ในสัดส่วนที่ ไม่มากนัก ซ่ึงส่งผลให้เห็นว่าข้อเสนอการวิจัยของหน่วยงานยังมีจุดอ่อนท่ีต้องได้รับการพัฒนา โดยหน่วยงานไดว้ ิเคราะห์จุดออ่ นและหาแนวทางในการพฒั นาไดด้ ังแสดงในตารางที่ 2 ตารางที่ 1 ข้อมูลเปรียบเทียบข้ันตอนการเปิดรับข้อเสนอการวิจัยภายใต้แผนบูรณาการวิจัยและ นวตั กรรมระหว่างปีงบประมาณ 2562 กบั ปีงบประมาณ 2563 ปี รูปแบบการสง่ ขอ้ เสนอการ เปดิ รบั ข้อเสนอ แจ้งผลการ แจง้ ผลการ งบประมาณ วิจยั การวจิ ัย พิจารณาเบื้องต้น จดั สรร งบประมาณ 2562 ส่งข้อเสนอการวิจัยรอบเดียว กั น ย า ย น - มกราคม 2561 กั น ย า ย น คือ ข้อเสนอการวิจัยฉบับเต็ม ตุลาคม 2560 2561 (Full proposal) มี โ ค ร ง ก า ร ท่ี ไ ด้ รั บ จั ด ส ร ร 49% 2563 สง่ ขอ้ เสนอการวจิ ยั 2 รอบ กันยายน 2561 ตุลาคม 2561 กนั ยายน คือ โดยมีข้อเสนอเชงิ 2562 รอบท่ี 1 ส่งข้อเสนอเชงิ หลักการ (Concept หลักการ (Concept paper) paper) ผา่ นการ สาหรับแผนบูรณการทีอ่ ยู่ พิจารณา20% ภายใตเ้ ป้าหมายยทุ ธศาสตร์ท่ี 1 และ 2 รอบท่ี 2 ส่งขอ้ เสนอฉบบั เต็ม ตลุ าคม 2561 (Full Proposal) (สาหรับ ขอ้ เสนอการวจิ ัยทผ่ี า่ นการ พิจารณาจากรอบขอ้ เสนอเชิง หลกั ฐาน (Concept paper) รวมถงึ แผนบูรณการทอ่ี ยู่ ภายใตเ้ ป้าหมายยุทธศาสตร์ที่ 3 และ 4 หมายเหตุ : รูปแบบการส่งขอ้ เสนอการวิจัยและระยะเวลาดาเนนิ การหนว่ ยงานเจา้ ภาพ เปน็ ผูก้ าหนด
ตารางท่ี 2 ข้อมูลการวิเคราะห์จุดอ่อนรวมถึงแนวทางการพัฒนากระบวนการจัดทาข้อเสนอการ วจิ ยั ภายใต้แผนงานบูรณาการวิจยั และนวตั กรรม ที่ จุดอ่อน แนวทางพฒั นา ผลที่คาดวา่ จะได้รับ 1. นักวิจั ย ยั งไ ม่ เ ข้า ใจ กา ร จั ด ท า สถาบันวิจัยและพัฒนาดาเนินการ นักวิจัยมีความเข้าใจ ข้อเสนอการวิจัยในลักษณะบูรณา ให้ ค วา ม รู้ เ กี่ย วกับ กา ร จั ด ท า เ กี่ ย ว กั บ ก า ร จั ด ท า การอย่างแทจ้ รงิ ข้อเสนอการวิจัยในลักษณะบูรณา ข้ อ เ ส น อ ก า ร วิ จั ย ใ น 2. นักวิจัยจะเช่ียวชาญในศาสตร์ของ การ โดยเฉพาะความรู้เกี่ยวกับ ลักษณะบูรณาการมาก ตนเองและทาวิจัยเฉพาะในมุมของ ยุทธศาสตร์การพฒั นาวิทยาศาสตร์ ข้ึนและสามารถพัฒนา ของตนเองไม่มีการบูรณาการกับ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ที่ ข้อ เ ส น อ กา ร วิจั ย ที่ มี ศาสตรอ์ นื่ ๆ อยภู่ ายใต้แผนพฒั นาเศรษฐกิจและ ลักษณะบูรณาการได้ สงั คมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 เช่นมีการบูรณาการใน 3. นักวิจั ย ยั งไ ม่ เ ข้า ใจ กา ร จั ด ท า สถาบันวิจัยและพฒั นาชี้แจงวิธีการ ศาสตร์ต่างๆทางวิชาการ ข้อเสนอการวิจัยในลักษณะบูรณา และขั้นตอนการจัดทาข้อเสนอการ หรือแม้กระท่ังการบูรณา การอยา่ งชัดเจน วิจัยในลักษณะบูรณาการรวมถึงมี การกับหน่วยงานอ่ืนๆ การตดิ ตามงานเปน็ ระยะ ส่ ง ผ ล ใ ห้ ห น่ว ย งา น มี ข้อ เ ส น อ กา ร วิจั ย ท่ี มี คุ ณ ภ า พ ต อ บ โ จ ท ย์ ยุทธศาสตร์การพัฒนา วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิ จั ย แ ล ะ น วั ต ก ร ร ม แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และ สังคมแหง่ ชาติ 4. ระยะเวลาการเปิดรับข้อเสนอการ สถาบันวิจัยและพัฒนาวางแผน นักวิจัยมี เวลาพัฒนา วิจั ย ไ ม่ เ พีย งพอต่ อกา ร พัฒนา และดาเนนิ การใหค้ วามรแู้ ก่นักวิจัย ข้อเสนอการวิจัยเพิ่มข้ึน ข้อเสนอการวิจยั แ ล ะ ผู้ ท่ี เ กี่ ย ว ข้ อ ง ต้ั ง แ ต่ ต้ น และสามารถปรับปรุง ปีงบประมาณเพื่อให้นักวิจัยมีเวลา ข้ อ เ ส น อ ก า ร วิ จั ย ไ ด้ ในการพัฒนาและปรับปรุงข้อเสนอ ทันเวลาเม่ือหน่วยงาน การวิจยั เ จ้ า ภ า พ ป ร ะ ก า ศ รั บ ขอ้ เสนอการวจิ ัย 5. เวทีให้นักวิจัยแลกเปลี่ยนเรียนรู้ยัง สถาบันวิจัยและพัฒนาจัดเวที นักวิจัยมีเวทีแสดงความ ไม่เพยี งพอ สาหรบั ใหน้ กั วิจยั ของหน่วยงานเข้า คิดเห็นและมีส่วนร่วมใน ร่วมระดมความคิดรวมถึงการ การพัฒนาแผนบูรณา ทบทวนแผนบูรณาการวิจัยและ การ/ข้อเสนอการวิจัย นวตั กรรม/ข้อเสนอการวจิ ัยรว่ มกัน ของหนว่ ยงานมากข้ึน
สรปุ ปีงบประมาณปัจจุบัน สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน จะนากระบวนการดาเนินงานที่ออกแบบไว้ตามที่กล่าวมาในส่วนท่ีแล้วมาใช้ดาเนินงานกับการ เปิดรับข้อเสนอการวิจัยงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ 2564 ท่ีจะเปิดรับใน ปีงบประมาณนี้ และคาดว่าจะทาให้มหาวิทยาลัยมีข้อเสนอการวิจัยท่ีมีคุณภาพมากข้ึน ส่งผลให้ มหาวิทยาลัยมีสัดส่วนโครงการวิจัยที่ผ่านการพิจารณาเพิ่มข้ึนมากกว่า 50% และโครงการวิจัย เหล่าน้ันจะก่อให้เกิดผลงานวิจัยที่สามารถยกระดับศักยภาพการผลิตของภาคส่วนต่างๆ เพ่ือให้ ประเทศไทยเข้าสู่สังคมนวัตกรรมและเตรียมการก้าวสู่ประเทศรายได้สูงในอนาคต ตาม จุดมุ่งหมายของยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรมได้อย่าง แทจ้ ริง กิตติกรรมประกาศ บทความ KM ฉบับนี้สาเร็จลุล่วงด้วยดี ด้วยความร่วมมือจากทีมงานของสถาบันวิจัย และพัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ขอกราบขอบพระคุณผู้บริหารสถาบันวิจัย และพัฒนา ดร.อนิวรรต หาสุข (ผู้อานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา) ผศ.ดร.รัฐพล สมนา (รองผู้อานวยการฝ่ายวิจัยและพัฒนา) ที่กรุณาให้คาแนะนาปรึกษาตลอดจนปรับปรุงแก้ไข ข้อบกพร่องต่างๆ ดว้ ยความเอาใจใสอ่ ยา่ งดียงิ่ และผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าบทความ KM ฉบับ นจี้ ะเป็นแนวทางปฎบิ ัติให้ผู้ท่เี กย่ี วข้องนาไปใช้กบั การทางานต่อไป บรรณานุกรม สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สานักนายกรัฐมนตรี, แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ.2560-2564), 2559 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน , สืบค้นเม่ือ 25 มกราคม 2562 , www.rmuti.ac.th
การจดั การความรูเ้ พอื่ ลดสถติ ิการไม่ยื่นขอสาเร็จการศึกษา ของนกั ศกึ ษามหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน นครราชสีมา ระวิสุดา นารี1,*, สมพินิจ เหมอื งทอง1, ภณั ฑริ า สขุ นา1, เอมอัจฉริยา พรี ทัตสุวรรณ1 สุจิตรา ประพฤติเป็น1 และจักรพงษ์ คงด1ี 1งานทะเบียนและประมวลผล สานกั สง่ เสรมิ วิชาการและงานทะเบยี น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา *[email protected] .................................................................................................................. ........................................ บทสรุป การจดั การความรู้เพ่ือให้ความรู้และสรา้ งความเขา้ ใจถงึ ข้อบังคับของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล อีสาน เรื่องการสาเร็จการศกึ ษาและการยืน่ ขอสาเร็จการศึกษาผ่านระบบบริการการศึกษา โดยการจัดเก็บข้อมลู จานวนนักศึกษาทยี่ ่ืนสาเรจ็ การศึกษา และวิเคราะห์หาสาเหตุเพื่อหาแนวทางแกไ้ ขปญั หาการไมย่ ืน่ ขอสาเรจ็ การศึกษา ซึ่งการจัดการความรทู้ าใหไ้ ดแ้ นวทางที่ดีที่สุดคือการจดั อบรมให้กับนักศกึ ษาที่คาดว่าจะสาเร็จการศึกษา ผลท่ีได้จากการแลกเปล่ียนเรียนรู้พบวา่ ในชว่ งปีการศึกษา 2558–2560 จานวนนักศึกษายื่นขอสาเรจ็ การศกึ ษา ล่าช้ามีแนวโนม้ ลดลง ทงั้ นกี้ ารนาระบบเทคโนโลยีทีท่ ันสมัยมาใช้เปน็ เคร่ืองมือในการสือ่ สาร ทาให้เกิดความสะดวก รวดเรว็ งา่ ยต่อการติดตาม และลดปัญหาการยนื่ ขอสาเรจ็ การศึกษาล่าชา้ ทีเ่ กิดขึ้นอยา่ งมีประสิทธิภาพ คาสาคญั : ข้อบังคบั มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน, การยื่นขอสาเร็จการศกึ ษา, ระบบบริการการศกึ ษา
บทนา ข้อบังคบั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน [1-3] กล่าวถงึ ผูม้ ีสทิ ธิข์ อย่ืนสาเร็จการศึกษาต้องเป็น นกั ศกึ ษาภาคการศึกษาสุดทา้ ยทล่ี งทะเบียนเรียนครบตามทห่ี ลกั สตู รกาหนด โดยการย่ืนขอสาเร็จการศกึ ษาต้อง ดาเนินการภายในกาหนดระยะเวลาตามข้อบงั คบั ของมหาวิทยาลัย หากนกั ศกึ ษาไม่ทาการย่นื ขอสาเรจ็ การศกึ ษา นกั ศกึ ษาจะไม่ไดร้ ับการพจิ ารณาเสนอชื่อเพ่ืออนุมตั ปิ ระกาศนยี บตั รหรือปริญญาในภาคการศกึ ษาน้ัน การ ดาเนินงานของแผนกงานสาเร็จการศึกษาทีผ่ า่ นมา พบว่านักศกึ ษาท่ีคาดวา่ จะสาเร็จการศกึ ษายังขาดความเข้าใจใน ข้อบงั คับวา่ ด้วยเรือ่ งการสาเร็จการศกึ ษาและกระบวนการย่ืนสาเร็จการศึกษา ซึง่ มหาวิทยาลยั ไดก้ าหนดให้นกั ศึกษา ตอ้ งยนื่ ขอสาเร็จการศึกษาผ่านระบบบรกิ ารการศึกษาทางอนิ เทอรเ์ น็ต หากนักศกึ ษาไม่ปฏิบตั ติ ามยอ่ มส่งผลใหไ้ ม่ สาเรจ็ การศึกษาตามกาหนดระยะเวลา นกั ศกึ ษาต้องเสียเวลา เสียคา่ ใช้จ่าย และอาจจะเสยี โอกาสในการเข้าศึกษา ตอ่ หรือเข้าทางานในอนาคต จากปัญหานักศึกษาไมย่ ่ืนขอสาเรจ็ การศึกษาตามกาหนดระยะเวลา แผนกงานสาเรจ็ การศึกษา งาน ทะเบยี นและประมวลผล สานกั ส่งเสริมวิชาการและงานทะเบยี น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน จึงได้ จดั การความรู้เพอ่ื พัฒนาแนวทางการยืน่ ขอสาเร็จการศึกษา ของนักศึกษามหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา ซ่งึ ผลจากการแลกเปลย่ี นเรียนรทู้ าให้ไดแ้ นวทางการสง่ เสรมิ ใหน้ กั ศึกษายื่นขอสาเร็จการศกึ ษาดงั น้ี การจดั ทาคู่มือการสาเรจ็ การศกึ ษา การจดั ทาแผน่ พบั การยน่ื ขอสาเรจ็ การศกึ ษา การจัดทาวิดิทศั น์แนะนาแนว ทางการยืน่ ขอสาเร็จการศึกษา รวมถึงการจดั อบรมโครงการเพ่อื ให้ความรู้เก่ียวกบั วธิ กี ารและขนั้ ตอนการย่นื ขอ สาเร็จการศกึ ษา เป็นตน้ วตั ถุประสงค์ในการดาเนินงาน การจัดการความร้เู พื่อลดสถิติการไมย่ ่นื ขอสาเรจ็ การศึกษา ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล อีสาน นครราชสมี า วธิ ีการดาเนินงาน 1. วางแผนการดาเนนิ งาน (Plan): เจา้ หนา้ ทแ่ี ผนกงานสาเร็จการศึกษา งานทะเบียนและประมวลผล สานักสง่ เสริมวิชาการและงานทะเบยี น มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน ตดิ ตอ่ ประสานงานกบั คณะเพื่อ กาหนดกรอบระยะเวลาการจัดโครงการอบรมเพื่อให้ความรู้เกย่ี วกบั วธิ กี ารและข้ันตอนการยืน่ ขอสาเร็จการศึกษา 2. ดาเนินงานตามแผน (Do): เจา้ หน้าที่แผนกงานสาเร็จการศกึ ษาจัดทาหนังสอื แจ้งใหน้ ักศกึ ษาเขา้ รว่ ม โครงการอบรม จัดทาหนงั สือเชิญวทิ ยากร จดั เตรยี มหอ้ งโครงการอบรม และจัดทาเอกสารประกอบการอบรม ซ่ึง จัดปกี ารศึกษาละ 1 คร้ัง ในภาคการศึกษาท่ี 2 ของแตล่ ะปีการศึกษา โดยการดาเนนิ งานคณะผู้จัดการความรู้ได้ใช้ เครอ่ื งมอื การจัดการความรู้ (KM TOOLS) ดงั นี้
การเรยี นร้โู ดยการปฏบิ ัติ (Action Learning): ผลการศึกษาสถติ ิข้อมูลนักศึกษาทยี่ ่นื สาเรจ็ การศกึ ษาจากปกี ารศกึ ษา 2558 ทีผ่ ่านมา พบวา่ มจี านวนนักศกึ ษายน่ื สาเรจ็ การศึกษาลา่ ช้าคดิ เปน็ รอ้ ยละ 13.93 จากจานวนนักศกึ ษาทีม่ ีสิทธิ์ยืน่ สาเร็จการศึกษา 1,931 คน ดังน้ันแผนกงานสาเร็จ การศึกษาจงึ ได้จดั เก็บรวบรวมขอ้ มลู จานวนนักศึกษาท่ีทาการยน่ื ขอสาเรจ็ การศึกษา และจานวน นกั ศึกษาท่ีย่ืนขอสาเร็จการศึกษาล่าช้า ระดับประกาศนยี บัตรวิชาชพี ช้นั สูง ปรญิ ญาตรี ปริญญาโท และปรญิ ญาเอก ในชว่ งปีการศกึ ษา 2558–2560 จากระบบบริการการศกึ ษาของมหาวิทยาลยั เพอ่ื คณะผ้จู ดั การความรู้ได้ใช้เป็นขอ้ มูลในการพัฒนากระบวนการยนื่ สาเร็จการศกึ ษาใหม้ ีประสทิ ธภิ าพ มากย่งิ ขน้ึ การจดั การความรใู้ หเ้ ป็นระบบ (Knowledge Organization): คณะผู้จดั การความรู้นาข้อมูลท่ี ไดม้ าสรปุ ในรูปแบบตารางและกราฟ เพื่อวเิ คราะห์หาแนวโนม้ จานวนนกั ศกึ ษาที่ยนื่ สาเร็จการศึกษา ล่าชา้ ในชว่ งปีการศกึ ษา 2558–2560 การเขา้ ถงึ ความรู้ (Knowledge access): คณะผู้จดั การความรู้จัดโครงการอบรมให้ความรู้เรอ่ื ง ข้อบงั คับการสาเรจ็ การศึกษาของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน และกระบวนการยน่ื สาเร็จ การศกึ ษาผา่ นระบบบรกิ ารการศกึ ษา ให้กับนักศกึ ษาท่ีคาดว่าจะสาเร็จการศึกษา ทั้งนผ้ี ู้จดั การ ความรู้ยังไดจ้ ดั ทาคู่มอื การสาเรจ็ การศกึ ษา [4] เพื่อเผยแพร่ขอ้ มูลผา่ นทางเวบ็ ไซต์ http://regis.rmuti.ac.th/regis การแบง่ ปันแลกเปล่ยี นความรู้ (Knowledge Sharing): จากการจดั การแลกเปลยี่ นเรียนรู้เพ่อื เพอ่ื ลด สถิติการไมย่ ่ืนขอสาเรจ็ การศึกษา ของนักศกึ ษามหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน นครราชสีมา คณะ ผู้จดั การความรู้ไดแ้ นวปฏบิ ัตทิ ี่ดี จงึ ไดจ้ ดั ทาคูม่ ือการสาเร็จการศึกษา ดังแสดงในรูปท่ี 1 (ก) แผ่นพบั การ ยน่ื ขอสาเรจ็ การศึกษา แสดงในรูปที่ 1 (ข) วดิ ทิ ัศน์ แสดงในรูปท่ี 1 (ค) และจดั โครงการอบรมเพ่ือให้ ความรแู้ ก่นักศึกษา ดังแสดงในรูปที่ 1 (ง)
(ก) คู่มอื การสาเรจ็ การศึกษา (ข) แผ่นพบั การยืน่ ขอสาเรจ็ การศกึ ษา (ค) วิดทิ ัศน์ (ง) จัดโครงการอบรมเพ่ือให้ความรู้แก่นกั ศึกษา รปู ท่ี 1 ผลการจัดการแลกเปล่ยี นเรียนรู้ 3. ตดิ ตามและประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน (Check): การจัดการความรู้นี้ใช้แบบประเมนิ ความพงึ พอใจเพ่ือ การตดิ ตามและประเมินการดาเนนิ งาน 4. ปรับปรุงและพฒั นาผลจากการติดตาม (Action): ประชุมสรปุ รายงานผลการดาเนนิ งานของคณะ ผ้จู ัดการความรู้ รายงานต่อผู้บรหิ าร และนาข้อเสนอแนะที่ได้รับไปปรับใช้ในกระบวนงานยืน่ ขอสาเร็จการศกึ ษาผา่ น ระบบบริการการศึกษาในปีการศกึ ษาถดั ไป ผลและอภิปรายผลการดาเนนิ งาน ผลจากการแลกเปลย่ี นเรียนรู้เพ่ือลดสถิติการไมย่ ่นื ขอสาเร็จการศึกษา ของนกั ศกึ ษามหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน นครราชสมี า คณะผู้จดั การความรู้พบวา่ การจัดอบรมเพ่ือสรา้ งความเข้าใจถึงขอ้ บังคับ เรอ่ื งการสาเรจ็ การศึกษาและการยนื่ สาเรจ็ การศึกษา เป็นแนวปฏบิ ัติท่ีดีท่สี ุดสาหรบั การย่นื ขอสาเรจ็ การศึกษาของ นกั ศกึ ษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน นครราชสีมา ท้ังน้กี ารนาวธิ กี ารดาเนนิ งานแบบเดมิ มาพฒั นาสู่ วิธกี ารดาเนินงานแบบใหม่ ดังแสดงในตารางท่ี 1 ซง่ึ เปน็ การเพมิ่ ช่องทางการตดิ ตาม ประสานงาน และการนาระบบ เทคโนโลยที ีท่ ันสมยั มาใช้ในการสอ่ื สารกบั กลุ่มนกั ศึกษาและหนว่ ยงานท่เี กี่ยวข้อง รวมถึงการจดั ทาค่มู ือ แผ่นพับ วดิ ิ
ทศั น์ จัดกลมุ่ LINE@MANAGER ซง่ึ ปจั จบุ ันมจี านวนสมาชิกไดม้ ากกว่า 5000 คน ไลนอ์ าจารยท์ ่ีปรึกษา ไลนก์ ลุ่ม งานทะเบียนคณะ และไลน์กลมุ่ วทิ ยาเขต รวมถึงการจัดทาการประชาสัมพันธผ์ า่ นชอ่ งทางตา่ งๆ ทาใหเ้ กิดความ สะดวก รวดเรว็ ง่ายตอ่ การติดตาม และลดปญั หาที่เกิดขนึ้ ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ซึ่งได้แสดงแนวโนม้ จานวน นักศกึ ษาทยี่ ื่นขอสาเรจ็ การศึกษาลา่ ช้าลดลง ในชว่ งปกี ารศึกษา 2558–2560 (ตารางท่ี 2 และรปู ท่ี 2) ตารางที่ 1 วธิ ีการดาเนนิ งานแบบเดมิ และวธิ ีการดาเนินงานแบบใหม่ วธิ ีการดาเนนิ งาน แบบเดมิ วธิ กี ารดาเนนิ งาน แบบใหม่ 1.แจกเลม่ เอกสารข้อบงั คับมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราช 1.จัดทาหนังสอื /ประสานงานกับคณะ/สาขาวิชา เพื่อ มงคลอีสาน ให้นักศึกษา ในภาคการศึกษาแรกท่เี ขา้ แจ้งข้อมูลขา่ วสารการจัดอบรมโครงการการยน่ื สาเร็จ ศึกษา การศึกษา ให้นกั ศกึ ษาไดร้ บั ทราบ 2.โทรประสานงานกับคณะและทะเบียนสาขาวิชา 2.จัดอบรมโครงการยื่นสาเร็จการศึกษา เพ่ือให้ความรู้ สรา้ งความเข้าใจใหน้ กั ศึกษา 3.จัดทาคมู่ ือ, แผน่ พบั , วดิ ิทัศน์ การย่นื สาเร็จการศึกษา และตรวจสอบสถานะการสาเรจ็ การศกึ ษา 4.จดั กลุ่ม LINE@ MANAGER ซง่ึ ปจั จุบันมจี านวน สมาชกิ ได้มากกว่า 5000 คน, ไลน์อาจารย์ท่ีปรึกษา, ไลน์กลุ่มทะเบยี นคณะ, ไลน์กลุม่ วิทยาเขต, จัดทา ประชาสมั พนั ธ์ผา่ นชอ่ งทางต่างๆ 5.จดั ทาสรปุ รายช่ือนักศึกษาย่ืนสาเรจ็ การศกึ ษา และไม่ ยน่ื สาเรจ็ การศึกษาประจาภาคให้แต่ละคณะเพ่ือทราบ และตดิ ตามนกั ศึกษาดังกลา่ ว ตารางที่ 2 จานวนนกั ศึกษาย่ืนขอสาเรจ็ การศกึ ษาและยนื่ ขอสาเร็จการศึกษาล่าช้าระหว่างปีการศึกษา 2558-2560 ร ะดับ 2558 2559 2560 ยื่นสาเร็ จฯ ยื่นสาเร็ จฯล่าช้า ยื่นสาเร็ จฯ ย่ืนสาเร็ จฯล่าช้า ย่ืนสาเร็ จฯ ย่ืนสาเร็ จฯล่าช้า ปวส. ปริญญาตรี 299 31 256 37 355 22 ปริญญาโท 1,558 232 1,975 146 2,153 160 ปริญญาเอก 39 6 91 13 99 3 ร วมท้ังสิ้น 00 00 00 มสี ิทธยิ์ น่ื สาเร็จฯ (คน) 1,896 269 2,322 196 2,607 185 ย่นื สาเร็จฯลา่ ชา้ (%) 1,931 2,410 2,780 13.93% 8.13% 6.65%
รปู ที่ 2 ข้อมูลรอ้ ยละของผ้ยู ่นื สาเรจ็ การศึกษาล่าช้า สรปุ ผลการดาเนินงาน การจัดการความรู้เพ่ือลดสถิติการไม่ย่ืนขอสาเร็จการศึกษา ของนักศึกษามหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล อีสาน นครราชสีมา เน่ืองจากปญั หานักศึกษาไมย่ ่นื สาเร็จการศกึ ษาตามระยะเวลา ผจู้ ัดการความรู้จึงได้มีการ ปรบั ปรุงกระบวนการทางานเพื่อให้นักศึกษาเขา้ ใจถงึ ข้อบงั คบั เรือ่ งการสาเร็จการศึกษาและการยน่ื สาเรจ็ การศกึ ษา และดาเนนิ การผา่ นระบบอินเทอรเ์ น็ตไดต้ ามระยะเวลาท่มี หาวทิ ยาลัยกาหนด ทั้งนเี้ พ่อื นักศกึ ษาจะได้ไม่เสยี เวลา เสยี คา่ ใช้จา่ ย และเสียโอกาสในการศกึ ษาต่อหรอื การสมัครเขา้ ทางาน โดยการจัดการความรู้นไี้ ด้วิธกี ารดาเนินงาน ดงั นี้ 1. การจัดอบรมใหน้ ักศึกษาเพ่อื ให้ความรู้เรื่องการยืน่ ขอสาเร็จการศึกษาผา่ นระบบบรกิ ารการศกึ ษา 2. การจัดทาคู่มือ แผ่นพบั และวดิ ทิ ัศน์การยื่นขอสาเร็จการศกึ ษาและตรวจสอบสถานะการสาเร็จ การศึกษาผา่ นระบบบริการการศึกษา 3. การประสานงานกับคณะ สาขาวิชา บุคลากรในหน่วยงาน และนกั ศึกษา 4. การจดั กลมุ่ LINE@MANAGER ซง่ึ ปจั จบุ นั มีจานวนสมาชิกไดม้ ากกวา่ 5000 คน ไลน์อาจารยท์ ป่ี รึกษา ไลน์กลุม่ ทะเบยี นคณะ ไลน์กลุม่ วทิ ยาเขต และจดั ทาประชาสัมพันธ์ผา่ นช่องทางตา่ งๆ กระบวนการปรบั ปรงุ และพัฒนา การจดั ทาวดี โี อขั้นตอนการยื่นสาเรจ็ การศกึ ษา เพื่อให้นักศกึ ษาและผูท้ ส่ี นใจไดศ้ ึกษาเพม่ิ เติม ผ่านทาง เวบ็ ไซต์ http://regis.rmuti.ac.th/regis
เอกสารอา้ งองิ [1] ข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอสี าน ว่าด้วยการศกึ ษาระดบั ประกาศนียบัตรวิชาชพี ชั้นสงู [2] ข้อบงั คบั มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ว่าดว้ ยการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาตรี [3] ขอ้ บังคบั มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอสี าน วา่ ดว้ ยการศกึ ษาระดบั บณั ฑิตศึกษา [4] คู่มือการสาเร็จการศึกษา
การถา่ ยทอดการจดั การความรทู้ ่ดี ขี องศนู ย์บณั ฑิตนกั ปฏิบตั สิ ู่ธรุ กิจชุมชน (Transfer Knowledge Management of Hands-on Center to community enterprise) เกศนิ ี เวยสาร1 (Kesini Woeisan) วีรญา จอ้ ยจ๊ีด2 (Veeraya Joyjeed) อภิญญา ไชยราช3 (Apinya Chaiyarach) ชมภูนุช พุทธนาวงค์4 (Chompunuch Puthanawong) เพชรไพรรนิ อปุ ปิง5 (Phetphrairin Upping) วมิ ลใย เทอื กตาถา6 (Wimolyai Tuaktata) ฐานิตย์ เกษร7 (Thanit Kesorn) วิมลสริ ิ มสุ กิ า8 (Wimolsiri Musika) โสภิดา สัมปัตตกิ ร9 (Sopida Sampattikorn) 1-4นักศกึ ษาโปรแกรมวิชาการบญั ชี สาขาบริหารธรุ กิจ คณะอตุ สาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน วทิ ยาเขตสกลนคร [email protected] [email protected], [email protected], [email protected] 5ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ คณะอุตสาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน วทิ ยาเขตสกลนคร [email protected] 6-9อาจารย์ คณะอตุ สาหกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอสี าน วทิ ยาเขตสกลนคร [email protected],[email protected] [email protected] [email protected] บทสรปุ โครงการสหกรณ์จาลองนาความรู้สู่ชุมชนในคร้ังน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือสร้างกิจกรรม สง่ เสริมทักษะการเรียนรู้ทางด้านการบรหิ ารธรุ กิจและด้านการบัญชี โดยผา่ นนวัตกรรมการเรยี นรู้ ของศูนย์บัณฑิตนักปฏิบัติสหกรณ์จาลองสู่ชุมชน การพัฒนาโครงการโดยการประยุกต์ใช้ กระบวนการจัดการความรู้ PDCA เปน็ ฐาน เครอ่ื งมอื รวบรวมข้อมูล คอื แบบสารวจข้อมลู แบบ สัมภาษณ์ โดยผ่านกิจกรรม โครงการฝึกอบรม โครงงานวิจัย การทบทวนหลังการปฏบิ ัติ (After Action Review - AAR) และการสังเกต วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เน้ือหา (Content analysis) วเิ คราะหข์ ้อมลู เชงิ ปรมิ าณโดยโปรแกรมคอมพวิ เตอร์สาเร็จรูป สถติ ทิ ใ่ี ช้ คอื ค่าเฉล่ีย และส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ผลการดาเนินงานพบว่า โครงการสหกรณ์จาลองนาความรู้ สู่ชุมชน ออกแบบโครงการโดยใช้หลักการ PDCA สามารถส่งเสริมการเรียนรู้ของนักศึกษา ซึ่ง นกั ศึกษาได้รบั ท้งั ความรู้ ทกั ษะในการปฏิบัตงิ าน และไดเ้ รยี นรูจ้ ากการปฏิบัตงิ านจริง นอกจากนี้ ความพงึ พอใจตอ่ โครงการโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( X =4.31, S.D.=0.71) คาสาคัญ: ศูนย์บัณฑิตนกั ปฏิบตั ิ การถา่ ยทอดความรู้ ชมุ ชน Summary 1
The purposes of this project were to promote learning in business administration and accounting skill through innovative learning to community enterprise. The project development was applied base on PDCA knowledge management process. Project instruments were questionnaire, worksheet, after action review, and observation through training project and research project. Qualitative data were analyzed by using content analysis. Quantitative data were analyzed by using a computer program. The results revealed that Hands-on Center bring knowledge to community enterprise which designed activities by PDCA principle. This project can promote learning that student gained knowledge, accounting skill and learn from authentic. In addition, overall satisfaction with the project was at a high level ( X =4.31, S.D. =0.71). Keyword: Hands-on Center, Transfer Knowledge, Community Enterprise บทนา ในปีการศึกษา 2560 ศูนย์บัณฑิตนักปฏิบัติ “สหกรณ์จาลอง” ได้เข้าร่วมประกวดการ จัดการความรู้ที่ดี (Knowledge Management: KM) คร้ังท่ี 11 ในระหว่างวันท่ี 20-23 กุมภาพันธ์ 2561 “การจัดการความรู้สู่การขับเคลื่อน Thailand 4.0” ระหว่างมหาวิทยาลัย เทคโนโลยรี าชมงคล 9 แหง่ สถาบันพละศึกษา และสถาบนั พฒั นศลิ ป์ และไดร้ บั รางวลั แห่งความ ภูมิใจ “รางวัลบทความดีเด่น เหรียญทอง พร้อมถ้วยประทานรางวัลชนะเลิศ จากพระเจ้าหลาน เธอ พระองค์เจ้าอทิตยาทรกิติคุณ เกียรติบัตรและเงินรางวัล จานวน 3,000 บาท” จากผลงาน ชอื่ บทความ “การพัฒนากิจกรรมนักศึกษาสูบ่ ัณฑิตนักปฏิบัติยุคดิจิทลั Thailand 4.0 \" ศนู ยก์ าร เรียนรสู้ หกรณจ์ าลอง เพื่อเป็นการเผยแพร่ผลงานและการถ่ายทอดการจัดการความรู้ท่ีดีสู่ชุมชน ในปี การศึกษา 2561 สหกรณ์จาลองโปรแกรมการบัญชี สาขาบริหารธุรกิจได้จัดทาโครงการ “สหกรณ์จาลองนาความรู้สู่ชุมชน เพื่อเป็นการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การจัดการความรู้ที่ดีด้าน สหกรณ์ร้านค้า ไปสู่ร้านชุมชน และร้านค้าธงฟ้าประชารัฐ ทั้งนี้เน่ืองจากรัฐบาลได้มีนโยบายใน การส่งเสริมและสนับสนุนร้านค้าชุมชน รวมถึงร้านค้าธงฟ้าประชารัฐ เพ่ือสร้างความเข้มแข็งให้ เศรษฐกิจฐานรากของประเทศ ดังนั้น ศูนย์บัณฑิตนักปฏิบัติสหกรณ์จาลอง ในนาม สถาบันการศึกษาเพ่ือตอบสนองและสนับสนุนนโยบายของรัฐบาล จึงได้จัดทาโครงการดังกล่าว ข้นึ ในวนั ท่ี 31 ตุลาคม 2561 โดยลงพนื้ ที่สารวจขอ้ มลู เบือ้ งต้น ณ ร้านค้าธงฟ้าแยมมีแ่ ฟมิลี่มาร์ท ซ่ึงเป็นร้านค้าธงฟ้าประชารัฐ บ้านบึงโนใน และสหกรณ์ร้านค้าชุมชนบ้านบึงโนใน อาเภอสว่าง แดนดิน จังหวัดสกลนคร โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือนาความรู้ทักษะการปฏิบัติทางด้านบริหารธุรกจิ ทั้งทางด้านการตลาด การจัดการ การบัญชี และระบบสารสนเทศ ที่ทางสหกรณ์จาลองไดน้ ามาใช้ ในปฏิบัติงานจริงและเป็นแนวปฏิบัติท่ีดี ท่ีได้รับการยอมรับ โดยเฉพาะอย่างย่ิงด้านการจัดทา บัญชีและด้านภาษีอากร นาไปถ่ายทอดแก่ร้านค้าธงฟ้าประชารัฐ และสหกรณ์ร้านค้าชุมชน 2
เพอ่ื ใหร้ า้ นค้าดังกล่าวมีการพัฒนาการด้านความรทู้ ักษะท่จี ะช่วยให้สามารถบรหิ ารจดั การร้านค้า ไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพมากขึ้น จากการลงพื้นที่ดาเนินโครงการฝึกอบรมทาให้ทราบถึงปัญหาในการดาเนินงานของ คณะกรรมการสหกรณ์ร้านค้าชุมชนน้ันยังขาดความรู้ ความเข้าใจในด้านระบบบัญชีสหกรณ์ ร้านค้า การจัดทาบัญชี และการจัดทารายงานทางการเงินซึ่งปัญหาที่เกิดข้ึนมีผลกระทบต่อ สหกรณ์ร้านค้าชุมชนในเร่ืองการจ่ายเงินปันผลแก่สมาชิกผู้ถือหุ้น และมักจะมีคาถามท่ี คณะกรรมการร้านค้าชุมชนไม่สามารถให้คาตอบแก่สมาชิกได้ ทาให้สมาชิกเกิดความสงสัยใน ระบบบญั ชีรา้ นค้าชมุ ชน รวมถึงการแสดงผลการดาเนนิ งานและฐานะการเงนิ เสนอต่อสมาชิกของ สหกรณย์ ังไม่เป็นสากล ทาให้ไมส่ ามารถเขา้ ใจไปในทิศทางเดียวกัน และไม่เปน็ มาตรฐานทางการ บญั ชเี ดียวกัน ดังน้ัน เพื่อเป็นการส่งเสริมการสร้างความเข้มแข็งให้กับสหกรณ์ร้านค้าชุมชนในการวาง ระบบบัญชีทดี่ ี สามารถแสดงตัวเลขผลการดาเนนิ งานทแ่ี ทจ้ ริง และขอ้ มูลมีความถูกต้องเทย่ี งตรง ในการดาเนินงาน สามารถเปรยี บเทียบข้อมลู ในอดีตกับปัจจุบนั ได้ง่ายและรวดเร็ว เพ่ือประโยชน์ ในการจัดทางบประมาณค่าใช้จ่ายต่าง ๆ สามารถนาเสนองบการเงินเพื่อใช้ประโยชน์ในการ บริหารงาน เช่น การวางแผน ควบคุมและการตัดสินใจ ในการจ่ายเงินปันผลที่เป็นธรรมให้กับ สมาชิก นักศึกษาที่ลงทะเบียนในรายวิชาวิจัยทางบัญชี ได้เลือกปัญหาดังกล่าวมาเป็นหัวข้อใน การทาโครงงานวจิ ัยทางบัญชี โดยได้จัดทาโครงงานการทาวจิ ัยทางบัญชีในหัวข้อเร่ือง “การวาง ระบบบัญชีของสหกรณ์ร้านค้าชุมชนต้นแบบ” โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระบบบัญชีปัจจุบัน ของสหกรณ์ร้านค้าชุมชนและหาแนวทางในการพัฒนาระบบบัญชีของสหกรณ์ร้านค้าชุมชน ตน้ แบบ บ้านบึงโนใน ตาบลโคกสี อาเภอสวา่ งแดนดนิ จงั หวัดสกลนคร นอกจากนี้ทางศูนย์การเรียนรู้สหกรณ์จาลองได้มีการจัดการความรู้สู่มหาวิทยาลัย นวัตกรรมโดยการนาโปรแกรมสาเร็จรูป PPOS เป็นโปรแกรมสาหรับการขายสินค้า ซ่ึงมาช่วยใน เร่ืองของการจัดทารายงานการขาย กาไรขาดทุน การวิเคราะห์สินค้าขายดี ใบตรวจนับสต็อก ข้อมลู การใชง้ าน รายงานการขาย แยกตามบลิ สินคา้ กล่มุ สินคา้ มรี ะบบการเปดิ กะ – ปดิ กะ และ รายงานส่งยอดการปิดกะ เช่น ยอดรับเงินสด ยอดบัตรเครดิต ยอดค้างชาระ มีระบบ LOG IN - OUT ดว้ ย USERNAME - PASSWORD สามารถกาหนดสิทธกิ ารใชง้ านไดท้ กุ เมนู ระบบสตอ็ คสนิ ค้า ปรับปรุงสต็อคสินค้าได้ ซึ่งเป็นการนานวตกรรมและเทคโนโลยีทางการบัญชีไปให้บริการสู่ ชมุ ชน ปัจจัยท่ีทาให้การนาความรู้จากศูนย์บัณฑิตนักปฏิบัติสู่ชุมชนประสบความสาเร็จได้แก่ ความต้องการท่ีแท้จริงของชุมชน ความร่วมมือร่วมใจของชุมชน สถาบันการศึกษา อาจารย์ นักศึกษา มีการประเมินผลและการปรับปรุงแก้ไขอย่างเป็นระบบ ศูนย์การเรียนรู้สหกรณ์จาลอง ช่วยให้นักศึกษาได้เรียนรู้กระบวนการด้านการจัดทาบัญชีโดยเรียนรู้ถึงกระบวนการทางาน รวมถึงทักษะด้านความชานาญต่างๆ ท่ีได้รับจากศูนย์การเรียนรู้ สหกรณ์จาลอง เสมือนการ ทางานในสถานที่จริง ซึง่ ไมส่ ามารถเรียนรูไ้ ด้จากในห้องเรียน ทาให้เหน็ ภาพวธิ ีการทางานได้อย่าง ชัดเจน วิธีการแก้ปัญหา และการจัดลาดับความสาคัญของการทางาน ฝึกการปรับตัว และการ สร้างความสัมพันธอ์ ันดีกับเพ่ือนร่วมงาน เมือ่ สาเรจ็ การศึกษาเขา้ สู่สภาพสังคมใหม่ ๆ การทางาน 3
ร่วมกับหลายบุคคล มาจากหลากหลายที่ ส่ิงที่เราได้รับจากศูนย์การเรียนรู้สหกรณ์จาลองนี้ จะ ช่ ว ย ใ ห้ เ ร า ส า ม า ร ถ ป รั บ ตั ว เ ข้ า กั บ ผู้ อ่ื น ไ ด้ ง่ า ย แ ล ะ ส า ม า ร ถ ท า ง า น ร่ ว ม กั บ ผู้ อื่ น ไ ด้ อ ย่ า ง มี ประสิทธิภาพ การพัฒนาบัณฑิตนักปฏิบัติของศูนย์การเรียนรู้สหกรณ์จาลอง ใช้วิธีดาเนิน โครงการโดยยึดหลัก PDCA ดงั ต่อไปนี้ 1. การวางแผน (Plan) ดาเนินการดงั นี้ 1.1 ศูนย์การเรียนรู้สหกรณ์จาลองจัดการประชุมคณะกรรมการเพ่ือเตรียมความพร้อม การดาเนินโครงการ สารวจความต้องการของร้านคา้ ชมุ ชนผู้เข้ารว่ มโครงการ 1.2 ขออนุมัตโิ ครงการ 1.3 แต่งต้ังคณะกรรมการปฏิบัติหน้าท่ีในส่วนงานต่างๆ ประกอบด้วยประธานสหกรณ์ เป็นผู้รับผิดชอบโครงการและรองประธานฝ่ายต่างๆ และมีอาจารย์ที่ปรึกษา โครงการเปน็ ผใู้ ห้คาแนะนาปรึกษา 2. การดาเนนิ โครงการ (Do) ดาเนินการดังน้ี 2.1 รวบรวมข้อมูล/จัดเตรียมเอกสารประกอบการดาเนนิ โครงการ 2.2 จดั เตรียม กาหนดเวลาและสถานทีใ่ นการดาเนนิ โครงการ 2.3 ดาเนินการโครงการฝึกอบรมให้เป็นไปตามแผน 2.4 ดาเนินโครงการวจิ ัย 2.5 เผยแพร่การจดั การความร้ทู ด่ี สี ชู่ ุมชน 3. การประเมินโครงการ (Check) ดาเนินการดงั นี้ 3.1 แบบประเมินความพงึ พอใจของผเู้ ข้าร่วมโครงการสหกรณ์จาลองนาความรสู้ ชู่ ุมชน 3.2 แบบประเมนิ ความพึงพอใจของกรรมการสหกรณ์รา้ นค้าชมุ ชนในการวางระบบบัญชี 4. การปรับปรงุ การดาเนินโครงการ (Act) ดาเนนิ การดงั น้ี 4.1 นาผลการดาเนินโครงการสหกรณจ์ าลองนาความรูส้ ่ชู ุมชน มาวเิ คราะหเ์ ปรียบเทยี บ เพ่ือหาแนวทางในการปรบั ปรุงพัฒนา 4.2 นาผลงานวิจัยการวางระบบบัญชีใหแ้ ก่สหกรณ์ร้านคา้ ชมุ ชนต้นแบบ บา้ นบงึ โนใน ตาบลโคกสี อาเภอสว่างแดนดนิ จังหวัดสกลนคร นาผลการศกึ ษามาเพ่ือนาปรับปรุงแก้ไข ผลการดาเนนิ งานและการอภปิ รายผล 1. การวางแผน(Plan) 1.1 ศูนย์การเรียนรู้สหกรณ์จาลองจัดการประชุมเพื่อกาหนดแนวทางในการดาเนิน โครงการสหกรณ์จาลองนาความรู้สู่ชุมชน กาหนดงบประมาณ แผนการดาเนินโครงการ และ สารวจความตอ้ งการและติดตอ่ ชมุ ชนท่มี ีพร้อมและมีความตอ้ งการในการดาเนนิ งาน 1.2 การขออนุมัตโิ ครงการ โดยมีการทาหนังสือคาส่ังโครงการสหกรณ์จาลองนาความรู้สู่ ชมุ ชน หนังสือขออนุญาตจัดกจิ กรรมสหกรณ์จาลองนาความรู้ส่ชู มุ ชน หนงั สอื ขอความอนเุ คราะห์ สถานทใ่ี นการจดั กจิ กรรม เสนอตอ่ คณบดีคณะอตุ สาหกรรมและเทคโนโลยี ไปยังชุมชน 4
1.3 ได้รับความร่วมมือจากอาจารย์โปรแกรมการบัญชีในการเป็นที่ปรึกษาโครงการทา หน้าท่ีในการควบคุม ดูแล ให้คาแนะนา คาปรึกษา ให้ดาเนินการเป็นไปด้วยความเรียบร้อย ส่งเสริมสนับสนุนการดาเนินงานของโครงการ และนักศึกษาช้ันปีที่ 4 โปรแกรมการบัญชี สาขา บริหารธุรกิจทีเ่ ขา้ ร่วมโครงการมสี ว่ นรว่ มในการดาเนนิ งานโครงการสหกรณ์ ปฏบิ ัติงานอนื่ ทไี่ ด้รับ มอบหมายและประสานงานกับฝ่ายต่างๆที่เก่ียวข้อง อานวยความสะดวกในด้านต่าง ๆ เพ่ือให้ การดาเนินโครงการสาเรจ็ ลุล่วงไปด้วยดี 2. การดาเนนิ โครงการ (Do) 2.1 จัดเตรยี มเอกสารประกอบการดาเนินโครงการซง่ึ ประกอบไปด้วย ข้อมลู ที่เก่ยี วกบั การจดั การดา้ นการซ้ือสนิ ค้า การขายสนิ คา้ ขอ้ มูลเกย่ี วกบั บุคลากร การจดั การหุ้นของสมาชิก และการจา่ ยเงินปันผลให้กับสมาชิก การจดั ทาบัญชี กรณศี ึกษาเกยี่ วการบันทึกบญั ชรี ายรับ- รายจา่ ยจากการขายสนิ คา้ และบริการ การย่นื แบบ ภ.ง.ด 94 และ ภ.ง.ด 90 การจัดทารายงาน ทางการเงนิ และการจัดทางบดุล งบกาไรขาดทนุ และงบกาไรสะสม เป็นต้น 2.2 จัดเตรยี มกาหนดเวลาและสถานท่ีในการดาเนินโครงการ โดยกาหนดวนั ท่ี 31 ตลุ าคม 2561 ณ ร้านคา้ ธงฟ้าประชารฐั ร้านคา้ ชุมชน และศาลาประชาคมบ้านบงึ โนใน ตาบล โคกสี อาเภอสว่างแดนดนิ จงั หวดั สกลนคร 2.3 ดาเนนิ โครงการฝกึ อบรมการนาความรูส้ ู่ชุมชนในดา้ นการจัดทาบัญชีให้เปน็ ไปตามแผน ในวันท่ี 31 ตุลาคม 2561 2.4 ดาเนนิ โครงงานวจิ ยั ในรายวชิ าการวจิ ยั ทางบัญชี ไดก้ าหนดให้นักศึกษาทาโครงงานระหว่างเดือน พฤศจิกายน 2561 – กุมภาพันธ์ 2562 ในหัวขอ้ การวางระบบบญั ชรี ้านค้าชุมชนต้นแบบ 2.4.1 เคร่ืองมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสัมภาษณ์เพ่ือศึกษาปัญหาใน การจัดทาบัญชีและการจัดทารายงานทางการเงิน และแนวทางในการพัฒนาระบบบัญชีของ สหกรณ์ร้านค้าชุมชนต้นแบบ การสัมภาษณ์จะมุ่งเน้นเฉพาะกลุ่มในส่วนของคณะกรรมการ สหกรณ์ร้านค้าชุมชน เพ่ือให้ได้ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการจัดทาบัญชีและการรายงานทางการเงิน ของสหกรณ์ร้านค้าชมุ ชนในปัจจุบนั 2.4.2 การเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อมูลปฐมภูมิ และทุติยภูมิ ดาเนินการเก็บรวบรวม ข้อมูลปฐมภูมิ โดยใช้แบบสัมภาษณ์เพื่อให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการศึกษาได้ดาเนินการ เก็บข้อมูลจากแหล่งข้อมูลซึ่งได้จากการสัมภาษณ์คณะกรรมการสหกรณ์ร้านค้าชุมชน บ้านบึงโน ใน ตาบลโคกสี อาเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร เพื่อให้ได้ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับการวางระบบ บัญชีของสหกรณ์ร้านค้าชุมชน ข้อมูลด้านระบบบัญชีได้แก่ สมุดบัญชีซ้ือ สมุดบัญชีขาย สมุด บัญชีรายรับ สมุดรายจ่าย ข้อมูลด้านงบแสดงฐานะการเงิน ข้อมูลด้านกาไรขาดทุนและปัญหาที่ 5
พบจากสมาชิกสหกรณ์ร้านค้าชุมชนโดยตรง และข้อมูลทุติยภูมิ ได้แก่ แนวคิด ทฤษฎีท่ีเก่ียวข้อง กับการวางระบบบญั ชี 2.4.3 การวเิ คราะห์ข้อมูล ไดจ้ ากการวิเคราะหแ์ บบบรรยายเชิงพรรณนา การ วิเคราะหเ์ น้ือหา (Content Analysis) อา้ งองิ แนวคิด ทฤษฎที ่เี ก่ยี วขอ้ งกับการวางระบบบัญชี การค้นคว้าจากหนังสอื บทความ ตาราทางวชิ าการ เอกสารตา่ ง ๆ ท่ีเกีย่ วข้องกับระบบบัญชขี อง สหกรณร์ า้ นค้า 2.5 การเผยแพรผ่ ลงานการจัดการความรู้ที่ดีของศูนย์บณั ฑิตนักปฏบิ ตั สิ หกรณ์จาลองนา ความรสู้ ชู่ ุมชน 3. การประเมนิ โครงการ (Check) 3.1 แนวทางการประเมนิ ในการประเมนิ ผลโครงการสหกรณ์จาลองนาความรู้สู่ชุมชน ดา้ นการจัดทาบัญชี ประกอบดว้ ย การจดั ซอื้ การขายสนิ ค้า การจดั ทารายงานทางการเงินและ ด้านภาษอี ากร รวมถึงการจดั การดา้ นระบบสมาชกิ สหกรณ์รา้ นค้า บ้านบึงโนใน ตาบลโคกสี อาเภอสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร มกี ารกาหนดเปา้ หมายและตัวชวี้ ดั ไว้ดังนี้ ตัวชีว้ ดั เชงิ ประมาณ 1. จานวนผ้เู ขา้ รว่ มโครงการ จานวน 53 คน ประกอบด้วยคณะกรรมการสหกรณ์รา้ นคา้ ชุมชนจานวน 15 คน รา้ นคา้ ธงฟ้าประชารฐั จานวน 5 คนและอาจารย์ นักศึกษา จานวน 33 คน 2. จานวนท่ดี าเนินโครงการฝึกอบรม จานวน 1 คร้งั และโครงการงานวิจัยจานวน 1 โครงงาน ตวั ชี้วดั เชิงคุณภาพ 1. ผลการดาเนินงานคณะกรรมการสหกรณ์ร้านค้าชุมชนบ้านบึงโนใน เข้าร่วมโครงการ ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 70 พบวา่ ผู้เขา้ รว่ มโครงการมีความพึงพอใจร้อยละ 76.8 ดังนั้น ตัวช้วี ัดเชิง คุณภาพบรรลุเป้าหมาย 2. คณะกรรมการสหกรณ์ร้านค้าชุมชนบ้านบึงโนในมีความพึงพอใจในการเข้าร่วม โครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 พบว่า ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจร้อยละ 80 ดังนั้น ตวั ช้วี ดั เชงิ คุณภาพบรรลเุ ปา้ หมาย ตัวชวี้ ดั เชงิ เวลา : โครงการดาเนินการแล้วเสรจ็ ตามระยะเวลาทก่ี าหนด 1 คร้งั ตวั ช้วี ัดเชิงคา่ ใช้จ่าย : ค่าใช้จา่ ยในโครงการท้ังหมด 3,000 บาท 3.2 แนวทางการประเมิน ใช้แบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาในการดาเนิน โครงการสหกรณ์จาลองนาความรู้สู่ชุมชน การวางระบบบัญชีสหกรณ์ร้านค้าชุมชนต้นแบบ ประกอบการประเมินความพึงพอใจ ด้านกระบวนการดาเนินโครงการ ด้านประโยชน์ที่ได้รับจาก โครงการ ดังตารางต่อไปนี้ ตารางท่ี 1 ผลการประเมินความพงึ พอใจท่ีมีต่อโครงการ รายการประเมิน X S.D. ระดับ ด้านกระบวนการดาเนนิ โครงการ 4.10 0.65 มาก 1. ความเหมาะสมของจานวนวันทจ่ี ัดโครงการ 6
รายการประเมิน X S.D. ระดับ 2. ความเหมาะสมของชว่ งเวลาที่จดั โครงการ 4.12 0.75 มาก 3. ความเหมาะสมของแหลง่ เรยี นรู้ 4.38 0.73 มาก 4. ความเหมาะสมของสถานท่ี 4.20 0.63 มาก ด้านประโยชนท์ ่ไี ดร้ ับจากโครงการ 4.40 0.65 มาก 1. ความรู้ 2. ทักษะการคดิ 4.44 0.68 มาก 3. ทักษะปฏบิ ัติ 4.45 0.75 มาก 4. การทางานเปน็ ทมี 4.32 0.83 มาก 5. แรงบนั ดาลใจ 4.39 0.72 มาก 4.31 0.71 มาก ภาพรวมของโครงการ 4. การปรับปรุงการดาเนนิ โครงการ (Act) 4.1 เปรียบเทียบแผนกับผลการประเมินความพึงพอใจ เพื่อนาปรับปรุงแก้ไข เพื่อ พฒั นาโครงการแห่งการเรียนรู้ตามองค์ประกอบของ PDCA รวมทัง้ จดั ทารปู เล่มรายงานโครงการ สหกรณจ์ าลองนาความร้สู ชู่ มุ ชน 4.2 เปรียบเทียบระบบบัญชีเดิมกับระบบบัญชีใหม่ และการนาไปใช้ประโยชน์เพื่อ แก้ไขปัญหาการจ่ายเงินปันผล ผลการประเมินความพึงพอใจในการใช้ระบบบัญชีที่ผู้วิจัยได้ทา การวางระบบบัญชใี หม่ให้แก่สหกรณ์ร้านค้าชุมชน บ้านบึงโนใน ตาบลโคกสี อาเภอสว่างแดนดนิ จังหวัดสกลนคร พบว่า การวางระบบบัญชีแบบใหม่สามารถแก้ไขปัญหาการจ่ายเงินปันผลของ สมาชิกไดจ้ รงิ และสามารถจดั ทารายงานทางการเงินได้ตามมาตรฐานการรายงานทางการเงิน นา ผลการศึกษามาเพือ่ นาปรบั ปรงุ แก้ไข เพอ่ื พัฒนาการเรยี นร้ตู ามองค์ประกอบของ PDCA ปจั จยั ส่คู วามสาเร็จ การจดั การความรู้ท่ดี ีของศนู ย์บณั ฑติ นักปฏิบตั สิ ่ชู มุ ชนใช้กระบวนการ PDCA เป็นฐาน การวางแผน (Plan) ที่ดีจะตอ้ งมีการสารวจความต้องการท่ีแทจ้ ริงของสมาชิกในชุมชน การ ดาเนินงาน (Do) ตอ้ งอาศัยความร่วมมอื รว่ มใจของสถาบนั การศกึ ษาและหน่วยงานที่เกีย่ วข้อง ความพร้อมของเครอื่ งมืออปุ กรณแ์ ละความมงุ่ มน่ั ของนักศึกษาและอาจารยแ์ ละสมาชกิ ของชมุ ชน การประเมนิ ผล (Check) จากความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการและการนาไปใช้ประโยชน์ รวมถึงการปรับปรุงแก้ไข (Act) จะนาไปสคู่ วามสาเร็จในการถา่ ยทอดความรจู้ ากศนู ย์บณั ฑติ นัก ปฏิบตั ิสู่ชุมชนได้ประสบความสาเร็จ สรปุ ปัจจยั ทท่ี าให้เกิดความสาเรจ็ ในการดาเนินกิจกรรมของนักศึกษา โดยการจดั ทาโครงการ สหกรณ์จาลองนาความรู้สู่ชุมชนและการทาวิจัยในหัวข้อเรื่อง การวางระบบบัญชีของสหกรณ์ รา้ นค้าชุมชนตน้ แบบ ได้แก่ การวางแผนจัดทาแผนการปฏบิ ตั ิงานอยา่ งเป็นระบบ และการนาการ จัดการความรู้ท่ีดีไปเผยแพร่สู่การปฏิบัติ การประเมินผลโครงการและการนาไปใช้ประโยชน์ รวมถึงการปรับปรุงแก้ไข สามารถวัดได้ในรูปของความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการท้ัง 7
นักศึกษาและสมาชิกของชุมชน ศูนย์การเรียนรู้สหกรณ์จาลองได้รับความร่วมมือจากนักศึกษา และอาจารย์ที่ปรึกษาในการดาเนินโครงการ ให้คาแนะนา คาปรึกษา ให้ดาเนินการเป็นไปด้วย ความเรียบร้อย ส่งเสรมิ สนบั สนนุ การดาเนนิ งานของโครงการ ทาให้สหกรณ์จาลองมีกจิ กรรมเพ่ิม มากขึ้นเป็นประจาทุกปี นอกเหนือจากการเรียนรู้ในห้องเรียนและห้องปฏิบัติการสหกรณ์จาลอง แต่สามารถนาไปประยกุ ต์ใชไ้ ดจ้ ริงในสภาพแวดล้อมขององคก์ ร การตอ่ ยอดกิจกรรมออกสู่ชุมชน ในคร้ังนี้โดยการจัดทาโครงการสหกรณ์จาลองนาความรู้สู่ชุมชน ทาให้นักศึกษาได้นาทักษะความรู้ ความสามารถท่ีมีไปถ่อยทอดและแลกเปล่ียนเรียนรู้กับชุมชน ฝึกฝนทักษะความเป็นมืออาชีพทางด้านบัญชี ความรับผดิ ชอบต่อหน้าท่ีท่ีได้รับมอบหมาย ความสามคั คใี นการทางานร่วมกันเปน็ ทีม เห็นประโยชนส์ ว่ นรวม มากกว่าประโยชน์ส่วนตน ผลสาเร็จของการดาเนินโครงการ สามารถบูรณาการเรียนการสอน โดยเน้นทักษะ การปฏิบัติทางด้านการบัญชีและด้านภาษีอากร มาใช้ในการปฏิบัติงาน นักศึกษาสามารถบริหารจัดการ โครงการให้บรรลุวัตถุประสงค์อย่างมีประสทิ ธิผล วัดประสิทธิภาพความพึงพอใจไดจ้ ากแบบสอบถามความพึง พอใจ ต่อโครงการสหกรณจ์ าลองนาความรูส้ ชู่ มุ ชนและนาผลการวเิ คราะหก์ ารดาเนินงานมาปรับปรุงแก้ไขตาม องค์ประกอบ PDCA ทาให้นักศึกษาสามารถมีทักษะงานเป็นทีม การทางานร่วมกับผู้อ่ืน และการแก้ไขปัญหา เฉพาะหน้าในระหว่างการดาเนินโครงการ และเสียสละเวลาร่วมกันทากิจกรรมเพ่ือส่วนรวมและสามารถ ปฏิบัติงานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ แนวปฏิบตั ทิ ่ีดใี นการจัดทาโครงการ สามารถสรุปไดด้ ังภาพ ขนั้ ตอน กระบวนการ ผลลัพธ์ วิเคราะหค์ วามต้องการของผเู้ รยี น และของชุมชน รปู แบบกจิ กรรม P การสารวจความต้องการ พฒั นาโครงการและออกแบบกจิ กรรม โครงการฝึกอบรม โครงงานวิจยั การเผยแพรผ่ ลงาน D ดาเนินโครงการอยา่ งระมดั ระวัง ผลการประเมิน C ประเมนิ โครงการ เชิงคุณภาพ เชิงปริมาณ ประชุมแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ A 8
สรุปเลม่ รายงานสมบรู ณ์ ชุดความรู้ ภาพที่ 1 รปู แบบการจดั การความรู้ สหกรณจ์ าลองนาความรูส้ ู่ชมุ ชน บรรณานุกรม กัญญา บุญเก้ือ และคณะ. 2561 “การพฒั นากิจกรรมนกั ศึกษาสบู่ ณั ฑิตนักปฏิบตั ยิ คุ ดจิ ทิ ลั Thailand 4.0 \" ศนู ย์การเรยี นรู้สหกรณจ์ าลอง” การประชุมสมั มนาเครือข่ายการจัดการความรู้ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล สถาบนั การพลศึกษาและสถาบนั บณั ฑติ พฒั นศิลป์ บทสรปุ บทความแนวปฏบิ ัติที่ดี “การจดั การความรสู้ ู่การขบั เคล่ือน Thailand 4.0”ครัง้ ที่ 11 ระหวา่ ง วันท่ี 20-23 กมุ ภาพันธ์ 2561 กนกวรรณ งา้ วสวุ รรณ และไชยยนั ต์ ไชยยะ. 2559 “เทคนิคการสอนโดยใช้สอื่ ออนไลน์” การประชมุ สัมมนาเครือขา่ ยการจดั การความรู้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สถาบนั การพล ศึกษาและสถาบันบณั ฑิตพัฒนศิลป์ บทสรุปบทความแนวปฏบิ ัตทิ ี่ดี “ชมุ ชนนกั ปฏิบตั สิ กู่ าร จดั การความรู้ ในศตวรรษที่ 21”คร้ังท่ี 9 ระหวา่ งวันที่ 2-5 กุมภาพันธ์ 2559 กฤษณ์ สงวนพวก. 2559 “การถา่ ยทอดประสบการณ์การเรยี นการสอนทางด้านคหกรรม ศาสตร์” การประชุมสัมมนาเครอื ขา่ ยการจัดการความรู้ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล สถาบนั การพลศึกษาและสถาบนั บณั ฑติ พฒั นศลิ ป์ บทสรุปบทความแนวปฏบิ ัตทิ ี่ดี “ชุมชนนกั ปฏบิ ตั สิ กู่ ารจดั การความรู้ ในศตวรรษท่ี 21”ครงั้ ท่ี 9 ระหว่างวันที่ 2-5 กุมภาพันธ์ 2559 จุฬาลักษณ์ สทุ ิน. 2559 “การบูรณาการปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งกับการจัดการเรียนการ สอน” การประชมุ สัมมนาเครือขา่ ยการจดั การความรู้ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล สถาบนั การพลศึกษาและสถาบนั บณั ฑิตพัฒนศิลป์ บทสรุปบทความแนวปฏบิ ัติที่ดี “ชุมชนนกั ปฏบิ ัตสิ ู่ การจัดการความรู้ ในศตวรรษที่ 21”ครั้งท่ี 9 ระหวา่ งวันท่ี 2-5 กุมภาพันธ์ 2559 ณรงคฤ์ ทธิ์ คงป่ิน. 2559 “เทคนคิ การสอนแบบบูรณาการ” การประชุมสัมมนาเครอื ข่ายการ จัดการความรู้ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคล สถาบนั การพลศึกษาและสถาบันบัณฑิตพฒั น ศลิ ป์ บทสรปุ บทความแนวปฏบิ ตั ทิ ีด่ ี “ชุมชนนกั ปฏิบัติส่กู ารจัดการความรู้ ในศตวรรษท่ี 21” ครง้ั ท่ี 9 ระหว่างวนั ที่ 2-5 กุมภาพันธ์ 2559 9
ณัฐสิทธ์ิ ชุมชะ และคณะ. 2561. “ตามรกั ษ์อ้มหอมคืนผา้ ยอ้ มมูลควาย” การประชุมสมั มนา เครือข่ายการจดั การความรู้ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล สถาบนั การพลศึกษาและสถาบัน บณั ฑติ พฒั นศิลป์ บทสรุปบทความแนวปฏบิ ตั ิทด่ี ี “การจัดการความรู้สู่การขับเคล่ือน Thailand 4.0”ครั้งที่ 11 ระหวา่ งวันท่ี 20-23 กมุ ภาพนั ธ์ 2561 ปราโมทย์ เหลาลาภะ วีรยทุ ธ สหี านู อโนทยั วิงสระน้อย. 2560. “Field Trip เที่ยว เลน่ เห็น เรยี น”. การประชุมสัมมนาเครือขา่ ยการจดั การความรู้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล สถาบนั การพลศึกษาและสถาบันบณั ฑติ พัฒนศลิ ป์ ครั้งท่ี 10 ระหวา่ งวันท่ี 31 มกราคม - 2 กุมภาพันธ์ 2560 พรี วชิ ญ์ ใจหา้ ว และคณะ. 2561. “เทคนคิ การสรา้ งสรรค์ผลงานศิลปะอยา่ งมีประสิทธิภาพ” การประชุมสมั มนาเครือข่ายการจดั การความรู้ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล สถาบันการพล ศกึ ษาและสถาบันบณั ฑิตพัฒนศิลป์ บทสรปุ บทความแนวปฏบิ ตั ิที่ดี “การจดั การความรสู้ ่กู าร ขับเคล่อื น Thailand 4.0”ครั้งท่ี 11 ระหวา่ งวันที่ 20-23 กุมภาพนั ธ์ 2561 ไพรฑูรย์ สินลาลกั ษณ.์ 2560. “การศึกษาไทย 4.0 เปน็ ยิ่งกว่าการศกึ ษา” การปฏริ ปู การศกึ ษา ไทยสผู่ ลลพั ธ์ Thailand 4.0 วศิน นิยมเดชา และคณะ. 2561. “การถา่ ยทอดภมู ิปัญญาการเลี้ยงแพะตามวถิ ีมุสลิม”. การ ประชุมสัมมนาเครอื ขา่ ยการจัดการความรู้ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล สถาบันการพล ศกึ ษาและสถาบันบณั ฑิตพัฒนศิลป์ บทสรปุ บทความแนวปฏิบัติท่ีดี “การจัดการความรสู้ ู่การ ขับเคล่ือน Thailand 4.0”ครั้งที่ 11 ระหวา่ งวันท่ี 20-23 กุมภาพันธ์ 2561 วิจารณ์ พานชิ . 2556. การสรา้ งการเรยี นรูส้ ูศ่ ตวรรษท่ี 21. กรงุ เทพฯ : มูลนิธิสยามกมั มาจล. นุชลี ทพิ ยม์ ณฑา. 2559 “สร้างบญุ กศุ ล สรา้ งรายได้ สาหรบั นักเรียนดอ้ ยโอกาสโรงเรียน ชัยมงคลวิทย์” การประชุมสัมมนาเครือขา่ ยการจดั การความรู้ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล สถาบันการพลศกึ ษาและสถาบนั บัณฑิตพฒั นศิลป์ บทสรุปบทความแนวปฏบิ ตั ิทีด่ ี “ชมุ ชนนกั ปฏิบัติสู่การจดั การความรู้ ในศตวรรษท่ี 21”ครั้งที่ 9 ระหวา่ งวันที่ 2-5 กุมภาพนั ธ์ 2559 โสภณ ผลประพฤต.ิ 2559 “การจดั การเรยี นการสอนเพ่ือพัฒนาบัณฑติ นักปฏิบัตใิ นศตวรรษ ท่ี 21: สาขาวชิ าเทคโนโลยีมลั ติมเี ดยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน”. การ ประชุมสมั มนาเครอื ข่ายการจัดการความรู้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคล สถาบันการพล 10
ศกึ ษาและสถาบันบัณฑิตพฒั นศลิ ป์ บทสรุปบทความแนวปฏบิ ตั ิทดี่ ี “ชุมชนนกั ปฏิบตั สิ ่กู าร จัดการความรู้ ในศตวรรษท่ี 21”คร้งั ท่ี 9 ระหว่างวนั ที่ 2-5 กุมภาพันธ์ 2559 11
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129