4 สภาพปัญหา แนวทางการแก้ไขปัญหา 4. นักศึกษาที่สอบนาเสนอสัมมนา สอบโครงร่าง ปัญหาพิเศษ และสอบป้องกันปัญหาพิเศษแล้ว สามารถร้องขอให้เปิดลงทะเบยี นกอ่ นชน้ั ปที ี่ 4 ได้ 5. เริม่ ดาเนนิ การตง้ั แตป่ กี ารศึกษา 2558 เป็นต้นไป 4. การลงมือแก้ปัญหา โดยอาจารย์ในสาขาท้ังในบทบาทอาจารย์ผู้สอนวิชาสัมมนาพืช ศาสตร์ อาจารย์ผู้สอนวิชาปัญหาพิเศษทางพืชศาสตร์ อาจารย์ที่ปรึกษาสัมมนาพืชศาสตร์ และ อาจารย์ท่ีปรึกษาปัญหาพิเศษทางพืชศาสตร์ นาแนวทางการแก้ปัญหาท่ีได้วิเคราะห์ไว้แล้ว ไปสู่ การปฏิบัติด้วยการสอน โดยอาจารย์ผู้สอนวิชาสัมมนาพืชศาสตร์ และอาจารย์ผู้สอนวิชาปัญหา พิเศษทางพืชศาสตร์ ส่วนการให้คาปรึกษาแนะนา โดยอาจารย์ที่ปรึกษาสัมมนาพืชศาสตร์ และ อาจารย์ที่ปรึกษาปญั หาพเิ ศษทางพืชศาสตร์ 5. การประเมนิ ผลการแก้ปัญหา โดยการวเิ คราะห์ผลการดาเนินงาน การลงทะเบียนวิชา สัมมนาพืชศาสตร์และปัญหาพิเศษทางพืชศาสตร์ และการวิเคราะห์ผลการสาเร็จการศึกษาของ นกั ศึกษา เคร่ืองมือการจัดการความรู้ 1. เครื่องมือจดั การความรฝู้ งั ลึก (tacit knowledge) 1.1 การระดมสมอง โดยคณาจารย์ในสาขาวิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร ร่วมประชุมเพื่อระดมสมองในการ วเิ คราะห์ปัญหา และแนวทางการแก้ไขปัญหาร่วมกัน 1.2 การทบทวนหลังการปฏิบัติ (after action review-AAR) โดยการประชุมสาขา เพอ่ื สรุปผลการสาเร็จการศกึ ษาของนกั ศกึ ษา และทยี่ งั ไมส่ าเรจ็ การศกึ ษา 2. เครือ่ งมอื จดั การความรู้ชัดแจ้ง (explicit knowledge) 2.1 ระบบสารสนเทศเพื่อการศึกษา (Executive Support System-ESS) ซึ่งเป็น ฐานข้อมูลระบบสารสนเทศเพื่อการศึกษา โดยใช้วิเคราะห์การลงทะเบียนวิชาสัมมนาพืชศาสตร์ และวิชาปัญหาพิเศษทางพชื ศาสตร์ รวมถงึ ติดตามการสาเรจ็ การศกึ ษาของนักศึกษา ผลการดาเนินงานและอภิปรายผล ผลการดาเนนิ การแก้ปัญหานกั ศึกษาสาเร็จการศกึ ษาลา่ ช้า ปรากฏผลดงั น้ี 1. วิชาสัมมนาพืชศาสตร์ หลังจากมีการแนะนาให้นักศึกษาสามารถดาเนินการศึกษา ค้นคว้าสัมมนาตั้งแต่ชั้นปีที่ 2 หรือก่อนไปฝึกสหกิจศึกษา พบว่า การศึกษาค้นคว้าและสอบ สัมมนา ก่อนไปฝึกสหกิจศกึ ษา มแี นวโน้มสูงขึ้น คือ ปีเข้าศึกษา 2554 จานวน 0 คน ปีเข้าศึกษา 2555 จานวน 1 คน ปีเข้าศึกษา 2556 จานวน 5 คน ปีเข้าศึกษา 2557 จานวน 9 คน ดังตาราง ท่ี 2 และภาพท่ี 1
5 ตารางที่ 2 การศึกษาคน้ คว้าและสอบสมั มนากอ่ นไปฝึกสหกจิ ศึกษา ปเี ขา้ ศกึ ษา จานวนนกั ศกึ ษา ก่อนฝึกสหกจิ ศกึ ษา หลังฝกึ สหกิจศกึ ษา 2554 8 0 0 2555 14 1 13 2556 19 5 14 2557 17 9 8 ภาพท่ี 1 การสอบสมั มนาก่อนและหลังฝึกสหกิจศึกษา 2. วิชาปัญหาพิเศษทางพืชศาสตร์ แนะนาให้นักศึกษาสามารถเร่ิมดาเนินการทาปัญหา พิเศษได้ตั้งแต่ช้ันปีท่ี 3 อาจสอบโครงร่างปัญหาพิเศษ หรือสอบทั้งโครงร่างและสอบป้องกัน ปัญหาพเิ ศษ ก่อนไปฝกึ สหกจิ ศกึ ษา ดังนี้ 2.1 สอบโครงร่างปญั หาพิเศษ พบว่า นกั ศกึ ษาสามารถสอบโครงร่างปัญหาพิเศษก่อน ไปฝึกสหกิจศึกษา มีแนวโน้มสูงข้ึน คือ ปีเข้าศึกษา 2554 จานวน 0 คน ปีเข้าศึกษา 2555 จานวน 4 คน ปีเข้าศึกษา 2556 จานวน 9 คน ปีเข้าศึกษา 2557 จานวน 11 คน ดังตารางท่ี 3 และภาพท่ี 2 ตารางที่ 3 สอบโครงร่างปัญหาพิเศษก่อนไปฝึกสหกิจศึกษา ปีเข้าศึกษา จานวนนกั ศกึ ษา กอ่ นฝึกสหกจิ ศึกษา หลังฝึกสหกิจศึกษา 2554 8 0 0 2555 14 4 10 2556 19 9 10 2557 17 11 6
6 ภาพท่ี 2 การสอบโครงรา่ งปัญหาพิเศษก่อนและหลงั ฝกึ สหกิจศกึ ษา 2.2 สอบโครงร่างและสอบป้องกันปัญหาพิเศษ พบว่า มีเพียงนักศึกษาท่ีเข้าศึกษาปี 2556 ท่ีสามารถสอบโครงร่างและสอบป้องกันปัญหาพเิ ศษ จานวน 4 คน ดังตารางท่ี 4 และภาพ ท่ี 3 ตารางที่ 4 สอบโครงร่างและสอบปอ้ งกันปัญหาพิเศษก่อนไปฝึกสหกิจศึกษา ปเี ข้าศึกษา จานวนนักศึกษา กอ่ นฝึกสหกจิ ศึกษา หลงั ฝึกสหกิจศึกษา 2554 8 0 0 2555 14 0 0 2556 19 4 0 2557 17 0 0 ภาพที่ 3 การสอบโครงร่างและสอบป้องกนั ปัญหาพเิ ศษกอ่ นและหลังฝกึ สหกจิ ศึกษา
7 3. การสาเรจ็ การศึกษา กอ่ นการดาเนินงาน พบว่า ปีเข้าศึกษา 2554 มีนักศึกษาจานวน 8 คน สาเร็จการศึกษามากกว่าระยะเวลา 4 ปี จานวน 5 คน ไม่สาเร็จการศึกษา จานวน 3 คน ส่วนหลงั การดาเนนิ งาน พบว่า ปเี ข้าศกึ ษา 2555 มีนกั ศกึ ษาจานวน 14 คน สาเร็จการศึกษาตาม ระยะเวลา 4 ปี จานวน 12 คน ไม่สาเร็จการศึกษา จานวน 2 คน ปีเข้าศึกษา 2556 มีนักศึกษา จานวน 19 คน สาเร็จการศึกษาตามระยะเวลา 4 ปี จานวน 14 คน สาเร็จการศึกษามากกว่า ระยะเวลา 4 ปี จานวน 0 คน สาเร็จการศึกษาในระยะเวลาน้อยกว่า 4 ปี จานวน 4 คน ยังไม่ สามารถประมวลผลได้ จานวน 1 คน ปีเข้าศึกษา 2557 มีนักศึกษาจานวน 17 คน สาเร็จ การศึกษาตามระยะเวลา 4 ปี จานวน 15 คน ยังไม่สามารถประมวลผลได้ จานวน 2 คน ดัง ตารางที่ 5 และภาพที่ 4 ตารางท่ี 5 การสาเรจ็ การศกึ ษาของนักศกึ ษา ปเี ขา้ ศึกษา จานวนนักศึกษา สาเร็จการศึกษา ไมส่ าเร็จการศึกษา 4 ปี > 4 ปี < 4 ปี 2554 8 0 5 0 3 2555 14 12 0 0 2 2556 19 14 * 4 * 2557 17 15 * 0 * * ประมวลผลยงั ไมไ่ ด้ คือ - ปีที่เขา้ ศกึ ษา 2556 อย่รู ะหว่างการทาปญั หาพิเศษ 1 คน - ปีทีเ่ ข้าศึกษา 2557 อยู่ระหว่างการทาปัญหาพิเศษ 2 คน ภาพที่ 4 การสาเรจ็ ศกึ ษาของนกั ศึกษา
8 ผลการแก้ปัญหานักศึกษาสาเร็จการศึกษาล่าช้าของสาขาวิชาพืชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร พบว่า หลังการ ดาเนินงาน นักศึกษาได้ศึกษาค้นคว้าและดาเนินการสอบสัมมนาและโครงร่างปัญหาพิเศษ ก่อน ไปฝึกสหกิจศึกษา มีจานวนเพิ่มสูงข้ึน เม่ือเทียบกับก่อนการดาเนินงาน ส่งผลให้จานวนนักศึกษา สาเร็จการศึกษาภายในระยะเวลาที่หลักสูตรกาหนด 4 ปี เพิ่มสูงขึ้นด้วย ท้ังนี้ เนื่องจากความ ร่วมมือของอาจารย์ เจ้าหน้าท่ีฝ่ายสนับสนุน และนักศึกษา รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือการ จัดการความรู้ที่เหมาะสมกับบริบทของสาขา เพื่อพัฒนาแนวทางในการแก้ปัญหาของสาขา ซ่ึง การจัดการความรู้เป็นกระบวนการท่ีผู้ใช้ความรู้ในการทางาน เป็นผู้ลงมือพัฒนาความรู้ข้ึนเอง (วิจารณ์ พานิช, 2550) ช่วยทาให้สามารถแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในองค์กรและช่วยพัฒนาชุมชนนัก ปฏิบัติ (Dalkir, 2005) อีกทั้งปรับตัวให้เข้ากับเงื่อนไขและบริบทที่แตกต่าง หลากหลาย ท่ีมีการ เปลย่ี นแปลงอยตู่ ลอดเวลา และจะช่วยทาให้การทากิจการต่างๆ มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล เป็นการสร้างความรู้ระหว่างการทางาน ก่อนการทางาน และหลังการทางาน โดยอาศัยการ แลกเปลยี่ นเรยี นร้เู ป็นหัวใจสาคญั (ชลกานดาร์ นาคทมิ , 2551) ปัจจยั ความสาเร็จ การแก้ปัญหานักศึกษาสาเร็จการศึกษาล่าช้าของ สาขาวิชาพืชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร มีทั้งปัจจัย ความสาเรจ็ และปจั จัยทเ่ี ป็นอุปสรรคตอ่ ความสาเร็จ ดงั นี้ 1. ปจั จยั ความสาเร็จ 1.1 ความร่วมมือของคน การดาเนินงานโดยอาศัยความร่วมมือกันของทุกภาคส่วน ถอื เปน็ ปัจจัยความสาเร็จท่ีสาคญั ยง่ิ ซึ่งจะส่งผลให้การดาเนนิ งานบรรลุเป้าหมายได้ ความร่วมมือ ของคนประกอบด้วย 1) อาจารย์ โดยอาจารย์ในสาขาให้ความร่วมมือในการนาแนวทางการ แก้ปัญหาไปใช้แก้ไขปัญหาอย่างจริงจัง ไม่ว่าจะในบทบาทอาจารย์ผู้สอนวิชาสัมมนาพืชศาสตร์ อาจารยผ์ สู้ อนวชิ าปัญหาพเิ ศษทางพืชศาสตร์ อาจารย์ที่ปรึกษาสัมมนาพืชศาสตร์ หรืออาจารย์ท่ี ปรึกษาปัญหาพิเศษทางพืชศาสตร์ 2) เจ้าหน้าท่ีฝ่ายสนับสนุน ซ่ึงทาหน้าที่ในการสนับสนุนการ ดาเนินงาน การจัดเก็บข้อมูล การทารายงานผลต่างๆ 3) นักศึกษา โดยนักศึกษาต้องให้ความ ร่วมมือกับอาจารย์ มีความมุ่งม่ัน รับผิดชอบ ตรงเวลาและตั้งใจในการศึกษาค้นคว้าการทา สัมมนา และการทดลองปญั หาพเิ ศษ 1.2 เคร่ืองมือการจัดการความรู้ เป็นการประยุกต์ใช้เคร่ืองมือที่ช่วยสนับสนุนการ ดาเนนิ งาน ทั้งเครื่องมือการจัดการความรู้ฝังลึก (tacit knowledge) ได้แก่ การระดมสมอง การ ทบทวนหลังการปฏิบัติ และเคร่ืองมือการจัดการความรู้ชัดแจ้ง (explicit knowledge) ได้แก่ ระบบสารสนเทศเพอ่ื การศกึ ษา เป็นตน้ 2. ปจั จัยทเี่ ปน็ อปุ สรรคต่อความสาเรจ็ แม้ว่านักศึกษาจะเป็นปัจจัยความสาเร็จหน่ึง แต่ขณะเดียวกัน นักศึกษา ก็เป็นปัจจัย หนึ่งทีเ่ ปน็ อปุ สรรคตอ่ ความสาเรจ็ เช่นกัน โดยนกั ศกึ ษาบางคนไม่สามารถดาเนนิ การศึกษาค้นคว้า สัมมนา และทดลองปัญหาพิเศษได้แล้วเสร็จตามระยะเวลา สาขาวิชาพืชศาสตร์ได้มีแนวทางใน
9 การแกไ้ ขคือ การประชมุ สาขา โดยหวั หนา้ สาขาขอความร่วมมอื จากอาจารย์ท่ีปรึกษาสัมมนาและ ปัญหาพิเศษ ให้กากับดูแล ติดตามการดาเนินงานของนักศึกษา เพ่ือให้การศึกษาค้นคว้าสัมมนา และปญั หาพิเศษแล้วเสร็จให้เร็วทส่ี ุด สรุป ผลการแก้ปัญหานักศึกษาสาเร็จการศึกษาล่าช้าของสาขาวิชาพืชศาสตร์ คณะ ทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร สามารถทาให้ นักศึกษาสาเร็จการศึกษาภายในระยะเวลา 4 ปี ตามที่หลักสูตรกาหนด มีจานวนเพิ่มสูงข้ึน ซ่ึง สามารถสรปุ เปน็ แนวปฏบิ ัตทิ ีด่ ีในการแกป้ ญั หา ดงั ภาพ ภาพท่ี 5 แนวปฏิบตั ิในการแก้ปญั หา
10 บรรณานกุ รม ชลกานดาร์ นาคทมิ . 2551. บทบาทของผนู้ าในการจัดการความรูข้ องเกษตรกรทานาเกษตร อินทรีย์: กรณีศกึ ษากล่มุ เกษตรธรรมชาตติ าบลทมอ อาเภอปราสาท จงั หวดั สรุ ินทร์. วิทยานพิ นธ์ปรญิ ญาพฒั นาชุมชนมหาบณั ฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน. 2558. หลักสตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวิชา พชื ศาสตร์ (หลักสตู รปรับปรงุ พ.ศ. 2558). นครราชสีมา: มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน. วจิ ารณ์ พานชิ . 2550. ก่อกาเนดิ และเสน้ ทางเดิน สคส. ใน สถาบนั สง่ เสริมการจดั การความรู้ เพอ่ื สงั คม (สคส): ตามรอยความสาเรจ็ KM ประเทศไทย. (น.13-19). กรุงเทพฯ: สถาบนั ส่งเสริมการจัดการความรู้เพ่ือสงั คม. Dalkir, K. 2005. Knowledge Management in Theory and Practice. New York: Elsevier.
รปู แบบการนาเสนอแนวปฏบิ ตั ิทด่ี ี โครงการประชมุ สัมมนาเครอื ข่ายการจัดการความรู้ฯ ครง้ั ท่ี 12 “การจัดการความรู้สูม่ หาวิทยาลัยนวัตกรรม” (Knowledge Management: Innovative University) สาหรับอาจารย์/ บุคลากรสายสนบั สนุน/ นักศกึ ษา ชื่อเรอื่ ง/แนวปฏิบัติท่ดี ี แนวปฏิบัตใิ นการบรหิ ารจัดการงบประมาณโครงการ (Managing a Project Budget) ชื่อ-นามสกุล ผู้นาเสนอ นางสาวอุไร แสงศริ ิ ชือ่ สถาบันการศึกษา มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา หน่วยงาน สานกั วทิ ยบรกิ ารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ เบอรโ์ ทรศัพท์มือถือ 08 1879 1520 เบอรโ์ ทรสาร 0 4423 3070 E-Mail address [email protected] บทสรปุ ตามที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานมีนโยบายให้ทุกหน่วยงานบริหารจัดการ การเบิกจ่ายงบประมาณ ให้เป็นไปตาม เป้าหมายที่ตั้งไว้ ประกอบกับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 การเบิกจ่ายงบประมาณของสานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ ไม่เป็นไปตาม เป้าหมายที่มหาวิทยาลัยกาหนดไว้ โดยเฉพาะในไตรมาสที่ 1 ผู้รับผิดชอบโครงการจึงได้รวบรวม ปัญหา และอุปสรรค โดยมีข้อมูลผลการดาเนินงานการเบิกจ่ายงบประมาณในปีงบประมาณที่ ผา่ นมาเปน็ ข้อมลู ในการพจิ ารณา และรว่ มกันวเิ คราะหผ์ ลการดาเนนิ งาน ได้ทราบถึงเหตปุ จั จัยที่ ทาให้เกิดปัญหาการเบิกจ่ายงบประมาณที่ ล่าช้า และไม่เป็นไปตามเป้าหมาย และจากการร่วม หารือ แลกเปลี่ยนในประเด็นท่ีเก่ียวข้อง ทาให้ได้แนวปฏิบัติเพื่อแก้ไขปัญหา โดยได้ขั้นตอนการ ขออนุมัติดาเนินโครงการ การยืมเงินทดรองจ่าย การเตรียมเอกสารเบิกจ่ายงบประมาณหลัง ดาเนินโครงการแล้วเสร็จ ช่วยให้การเบิกจ่ายเป็นไปด้วยความเรียบร้อย และมีผลการเบิกจ่าย งบประมาณดีขึน้ เมื่อเทยี บจากปีงบประมาณกอ่ น คาสาคัญ การบรหิ ารจดั การ การเบกิ จา่ ย งบประมาณ
summary According to university's policy which requires all departments to manage the disbursement of funds to meet its targets set. In addition, the FY 2017 budget of the Office of Academic and Information Technology did not meet the goals set of the university, especially in the 1 quarter. As a result, the responsible people have collected the data of problems and obstacles based on the performance of the budget in the past year to consider all factors together then, share analyzed results of the operation. It is found that the causes are delayed budgetary disbursement and the target set missing. A group discussion and exchanging related ideas lead to resolutions as follows; the process of project approval, loan advances, and preparation of documents for each completed project. These can help disbursement flow more effectively than the previous. Keyword : management, disbursement, budget บทนา ตามท่ีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสานมีนโยบายให้ทุกหน่วยงานบริหารจัดการ การเบกิ จา่ ยงบประมาณ ใหเ้ ปน็ ไปตามเป้าหมายทต่ี งั้ ไว้ ประกอบกับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 การเบกิ จา่ ยงบประมาณของสานักวิทยบริการและเทคโนโลยสี ารสนเทศ ไมเ่ ป็นไปตามเป้าหมาย ท่ีกาหนดไว้ โดยเฉพาะในไตรมาสท่ี 1 ผู้รับผิดชอบโครงการจึงได้รวบรวมปัญหา และอุปสรรค ที่เกี่ยวข้องกับการเบิกจา่ ยงบประมาณ เข้าสู่กระบวนการจดั การความรู้ เพ่ือค้นหาแนวปฏิบัตทิ ด่ี ี ในการบริหารจัดการงบประมาณให้ดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นไปตามเป้าหมายที่ กาหนดไว้ ซึ่งกระบวนการดาเนินการเก่ียวกับการเบิกจ่ายเป็นกระบวนการที่มีความละเอียด เกี่ยวข้องกับข้อมูล เอกสาร และขั้นตอนต่าง ๆ ที่สาคัญ จาเป็นต้องใช้ความละเอียด รอบคอบ อย่างสูง ท่ีสาคัญ คือ เวลาในการดาเนินงานท่ีเหมาะสม และจากการร่วมหารือ แลกเปลี่ยนใน ประเด็นที่เก่ียวข้องทาให้สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศได้แนวปฏิบัติเพื่อแก้ไข ปัญหา โดยได้ข้ันตอนการขออนุมัติดาเนินโครงการ การยืมเงินทดรองจ่าย การเตรียมเอกสาร เบิกจ่ายงบประมาณหลังดาเนินโครงการแล้วเสร็จ และจากการดาเนินงานตามแนวทางท่ีได้ ร่วมกันกาหนดทาใหผ้ ลการเบิกจา่ ยงบประมาณ มีผลการเบิกจ่ายท่ีเป็นไปตามเปา้ หมายเปน็ ผลดี ต่อทง้ั สานกั และมหาวิทยาลัย
วิธีการดาเนินงาน วิธีการดาเนินงานของการจัดการความรู้ ชุมชนนักปฏิบัติได้นาการจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) มาเป็นเครื่องมือในการจัดการความรู้ โดยได้จัดต้ังบุคลากร ทมี่ ีงานในลกั ษณะเดยี วกัน มาทางานร่วมกนั ในลกั ษณะของชุมชน เพ่ือให้บุคลากรในชุมชนทุกคน ได้มีส่วนร่วมในการจัดทาแผนการจัดการความรู้เพ่ือเป็นการพัฒนาประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน โดยได้กาหนดแผนปฏิบัติการจัดการความรู้ในปีการศึกษา 2560 ได้กาหนดประเด็นความรู้ คือ หัวขอ้ การบริหารจัดการงบประมาณโครงการ โดยดาเนินการ 7 ขน้ั ตอน ดังน้ี 1. การบ่งช้ีความรู้ บุคลากรในงานบริหารงานทั่วไปร่วมกันพิจารณาคัดเลือกหัวข้อองค์ ความรู้ และสารวจผู้ท่ีมีความรู้ความชานาญ ผู้ที่สนใจจะเข้าร่วมแลกเปล่ียนในประเด็นดังกล่าว โดยสมาชิกชนุ ชนนกั ปฏบิ ัติเปน็ ตวั แทนจากทกุ งานในสานักวทิ ยบรกิ ารและเทคโนโลยีสารสนเทศ 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ ชุมชนได้นา “แบบบันทึกเรื่องเล่า” ซึ่งสมาชิก หรือ คณะกรรมการจะต้องเขียนบันทึกลงในแบบบันทึกเร่ืองเล่าจากประสบการณ์ของตนเอง หรือ คน้ ควา้ จากแหลง่ ข้อมลู ต่างๆ 3. การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ หลังจากท่ีมอบหมายให้คณะกรรมการได้สร้างและ แสวงหาความรู้ ชุมชนก็จัดให้มีการประชุม KM เพ่ือให้ทุกคนได้นาเสนอข้อมูล จากน้ันร่วมกัน วิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้ท่ีมีอยู่ในตัวบุคคลในการประชุมก็จะมีการเล่าเรื่องเพ่ิมเติมจาก ประสบการณข์ องตนเอง 4. การประมวลและกล่ันกรองความรู้ เม่ือสมาชิกในชุมชนได้นาเสนอข้อมูล มีการ พิจารณาขอ้ มูลร่วมกนั และสรุปความรทู้ ่ีได้ เปน็ แนวปฏบิ ตั ทิ ี่ดใี นการทางาน 5. การเข้าถึงความรู้ ชุมชนได้นาองค์ความรู้ที่ได้ไปเผยแพร่ใน website หรือ ส่ือ ออนไลน์ และทาหนังสอื แจง้ เวยี นไปยงั หน่วยงานภายในมหาวทิ ยาลัย 5.1 เผยแพรบ่ นเว็บไซต์การจดั การความรู้ของสานักวิทยบรกิ ารและเทคโนโลยี สารสนเทศhttp://www.oarit.rmuti.ac.th/km
5.2 เผยแพร่ผ่านระบบงานสารบรรณไปยังหน่วยงานภายในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี ราชมงคลอีสาน บันทึกข้อความที่ มทร.อีสาน1300/ว0167 ลงวันที่ 28 พฤษภาคม 2561 เรื่อง ขอความอนเุ คราะห์เผยแพร่ประเดน็ ความรู้ ประจาปีการศกึ ษา 2560 6. การแบ่งปัน แลกเปลี่ยนความรู้ นอกจากจะมีการสร้าง Web Blog ใน website แล้วสานกั วิทยบริการและเทคโนโลยสี ารสนเทศ ไดจ้ ดั กจิ กรรมแลกเปลีย่ นเรียนรู้เพ่ือให้บุคลากร จากหน่วยงานอ่ืนภายในมหาวิทยาลัยได้เข้าร่วมแลกเปลี่ยนความรู้ร่วมกัน เมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2560 ณ ห้องประชุมมรกตอีสาน ชนั้ 5 สานักวิทยบรกิ ารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ 7. แนวปฏิบัติท่ีดีและการเรียนรู้ บุคลากรมีการนาความรู้ที่ได้จากการแลกเปล่ียน เรียนรู้ไปปฏิบัติงานมีการพัฒนาท่ีดีขึ้น โดยหลังจากที่บุคลากรได้เข้าร่วมกิจกรรมแลกเปล่ียน เรียนรู้ และดาเนนิ การจดั การความรู้ KM ชุมชนนักปฏบิ ตั ิ โดยได้แนวปฏิบัติ ดงั นี้ 7.1 ขั้นตอนดาเนินการ 7.1.1 เขียนโครงการโดยใช้แบบฟอร์ม ง.8 ต้องศึกษาระเบียบการเบิกจ่าย กระทรวงการคลงั 7.1.2 ทาการตรวจสอบรายละเอียดโครงการโดยผู้รับผิดชอบโครงการส่งให้ เจ้าหน้าท่ีพัสดุของหน่วยงาน และเจ้าหน้าที่ท่ีรับผิดชอบดาเนินงาน ดา้ นนโยบายและแผนเพือ่ ตรวจสอบงบประมาณ 7.1.3 ขออนุมัติดาเนินโครงการ (กรณีไม่มีการเปล่ียนแปลงรายละเอียด โครงการ) - ในกรณีเงินงบประมาณแผ่นดินในแผนประจาปีงบประมาณนั้น ใ ห้ เ ส น อ ข อ อ นุ มั ติ จ า ก ผู้ อ า น ว ย ก า ร ส า นั ก วิ ท ย บ ริ ก า ร แ ล ะ เทคโนโลยสี ารสนเทศ
- ในกรณีเงินงบประมาณรายได้ในแผนประจาปีงบประมาณนั้น วงเงินไม่เกิน 200,000.00 บาท (สองแสนบาทถ้วน) ให้เสนอขอ อ นุ มั ติ จ า ก ผู้ อ า น ว ย ก า ร ส า นั ก วิ ท ย บ ริ ก า ร แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี สารสนเทศ - ในกรณีเงินงบประมาณท่ีเกินวงเงิน 200,000.00 (สองแสนบาท ถ้วน) ใหเ้ สนอขออนุมัติจากอธกิ ารบดี 7.1.4 ขออนุมัติเปลี่ยนแปลงรายละเอียดโครงการ (ถ้ามี) โดยเสนอให้ อธกิ ารบดอี นมุ ัติ เอกสารแนบดังนี้ - รายละเอียดการได้รับจดั สรรงบประมาณ - แบบฟอร์ม ง.8 เก่าและใหม่ พิมพ์จากระบบติดตามโครงการ ออนไลน์ - ตารางแจกแจงรายละเอยี ดทีจ่ ะขออนุมตั เิ ปลีย่ นแปลง 7.1.5 เมื่อได้รับอนุมัติให้ดาเนินโครงการแล้ว จัดทาหนังสือบันทึกข้อความขอ ความอนุเคราะห์โอนเงินในระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารทรัพยากร องค์กร (ERP) ถึงกองคลัง โดยแนบหนังสือบันทึกข้อความท่ีได้รับ อนุมัตดิ าเนินโครงการ (สาเนา) 7.1.6 ในกรณยี ืมเงนิ ทดรองจ่าย ให้ผู้รับผดิ ชอบโครงการแนบเอกสาร ดงั น้ี - หนังสือบันทึกข้อความที่ได้รับอนุมัติให้ดาเนินโครงการ (ฉบับ จริง) - สัญญายมื เงนิ 2 ฉบบั - บนั ทกึ ขอยมื เงินทดรองราชการ - เอกสารประมาณการค่าใช้จา่ ย 7.2 ดาเนนิ การโครงการตามระยะเวลาท่รี ะบุในโครงการ 7.3 สง่ เอกสารเบกิ จา่ ย เอกสารประกอบดว้ ย - หนงั สอื ขออนมุ ัตดิ าเนนิ โครงการ - หนงั สือขออนุมตั ิเปลย่ี นแปลงโครงการ (ถ้าม)ี - หนังสือเชญิ วิทยากร - สญั ญายืมเงิน - แบบตอบรับวทิ ยากร - แบบฟอร์ม ง.8
- แบบ บก.111 คา่ อาหารและค่าอาหารว่าง - แบบฟอร์มการจดั ส่งเอกสารเบกิ จา่ ย - ใบสาคญั รับเงนิ สาหรับวิทยากร - ใบสาคญั รบั เงินคา่ อาหารและค่าอาหารว่าง - ใบรบั รองแทนใบเสร็จรบั เงิน - ใบเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ใช้เบิกค่าเบ้ียเล้ียง ค่าท่ีพัก ค่ายานพาหนะ และค่าใช้จา่ ยอืน่ ๆ - ใบลงทะเบียนผูเ้ ข้ารว่ มโครงการ - ใบลงทะเบยี นวทิ ยากร - คาสั่งแตง่ ตัง้ วทิ ยากร - คาสง่ั แตง่ ตง้ั ผู้เข้ารว่ มโครงการ - เอกสารโอนเงินในระบบสารสนเทศเพอื่ การบรหิ ารทรพั ยากรองค์กร (ERP) - กาหนดการดาเนินโครงการ - สาเนาบตั รประชาชนผจู้ ดั อาหารกลางวนั และอาหารวา่ ง - บันทึกข้อความขออนุมัติเบิกจ่ายและส่งเอกสารเบิกจ่าย เรียนถึง ผู้อานวยการสานักวทิ ยบรกิ ารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ - บันทึกข้อความช้ีแจงเหตุผลความจาเป็นในการจัดซื้อ (กรณีกองคลังมีการ ทักทว้ งการเบกิ จ่าย) 7.4 รายงานผลการดาเนนิ โครงการภายใน 30 วนั นบั จากวนั ท่ีดาเนนิ โครงการแล้วเสรจ็ 7.5 ประเดน็ การเบกิ จ่าย - กรณที ี่มกี ารเปลย่ี นแปลงจากหน่วยงานท่ีตรวจสอบ จึงทาใหเ้ กดิ ความล่าชา้ การแก้ปัญหา หารือกับหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง เช่น กองคลัง หน่วย ตรวจสอบภายใน กองนโยบายและแผน - การปรับเปลี่ยนรายละเอียดค่าใช้จ่ายโครงการ เช่น กระเป๋า ค่าพาหนะ ค่าอาหาร ค่าวทิ ยากร การแกป้ ัญหา - รายการที่มีการทักท้วง ให้จัดทารายละเอียดแนบท้าย เพื่อช้ีแจง เหตุผลความจาเปน็ ของรายการน้นั ๆ
- การเบิกค่าน้ามันเชื้อเพลิง ให้ระบุใน ง.8 เป็น “ค่าพาหนะ” เน่ืองจากครอบคลุม ค่าน้ามันเชื้อเพลิง ค่าเช่าเหมายานพาหนะ ยานพาหนะส่วนตวั - ค่าอาหาร พิจารณาตามความเหมาะสมของกลุ่มเป้าหมายโครงการ กรณมี กี ารทักท้วงจากหนว่ ยงานเบิกจ่าย ให้จดั ทาบันทึกชแ้ี จงเหตุผล ความจาเป็นในการเบกิ - คา่ วทิ ยากร กรณที ่ีต้องการเบิกคา่ วิทยาเกนิ อัตราท่ีกาหนด ให้บนั ทึก ช้ีแจงเหตุผลความจาเป็นในการเบิก โดยแนบประวัตขิ องวิทยากร - กรณีที่มีการจัดซ้อื หรอื จัดจ้าง ไดม้ าซึง่ ของ ให้อย่ใู นหมวด“ค่าวัสดุ” เช่น จัดจา้ งทาป้ายไวนลิ จัดจ้างทากระเป๋า - กรณีที่มีการจัดซ้ือ หรือจัดจ้าง ได้มาซึ่งของ แต่เป็นสิ่งของที่ใช้แล้ว หมดไป ให้อยใู่ นหมวด “ค่าใช้สอย” เชน่ การจดั จ้างตกแตง่ เวที ผลและอภปิ รายผลการดาเนนิ งาน ความสาเร็จท่ีได้รับจากการดาเนินการแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกันของบุคลากร ทาให้ได้แนวปฏิบัติท่ีดีในการดาเนินการบริหารจัดการงบประมาณให้ตรงตามวัตถุประสงค์ ของโครงการ ลดระยะเวลาในการทางาน ลดความผิดพลาดของเอกสารตลอดจนทาให้การ เบกิ จ่ายทันเวลาท่กี าหนด และการดาเนินงานมคี วามโปร่งใส แนวทางในการพฒั นาต่อ - ผู้จดั ทาโครงการศึกษา ทาความเข้าใจระเบยี บตา่ ง ๆ ที่เกี่ยวข้อง - ควรมีการแลกเปลี่ยนเรยี นร้รู ะหวา่ งหนว่ ยงานเบกิ จา่ ยกบั หน่วยงานผู้จดั ทาโครงการ บรรณานุกรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน. สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ. (2560). รายงานประเมินตนเอง (Self Assessment Report : SAR) สานัก วิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ประจาปีการศึกษา 2560. นครราชสีมา : สานักวิทยบริการและเทคโนโลยี สารสนเทศ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. สถาบันภาษา. (2561). แนวปฏิบัติท่ีดี (Best Practice) จากการจัดการความรู้ ประจาปีงบประมาณ 2561 เรอ่ื งการเบิกจ่าย ง บ ป ร ะ ม า ณ ใ ห้ มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ . [อ อ น ไ ล น์ ]. เ ข้ า ถึ ง ไ ด้ จ า ก : https://bit.ly/2RRqNlh สบื คน้ 21 มกราคม 2561.
“ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยวินัยทางงบประมาณและการคลัง พ.ศ. 2544” (2544, 9 สงิ หาคม) ราชกจิ จานเุ บกษา เล่มท่ี 118 ตอนท่ี 67 ก หน้า 14 “ระเบียบกระทรวงการคลงั วา่ ด้วยการจดั ซ้ือจัดจ้างและการบรหิ ารพสั ดภุ าครฐั พ.ศ. 2560” (2560, 23 สิงหาคม) ราชกจิ จานุเบกษา เลม่ 134 ตอนพเิ ศษ 210 ง หน้า 1
ช่ือเร่อื ง/แนวปฏิบตั ทิ ีด่ ี การบรหิ ารหลกั สตู รเพ่ือสงเสริมกิจกรรม Startup (Curriculum management for Startup activity supporting) ชอ่ื -นามสกุล ผนู าํ เสนอ นายเอกชัย แซจ งึ ชือ่ สถาบนั การศึกษา มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน หนวยงาน สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร คณะวทิ ยาศาสตรแ ละศลิ ปศาสตร เบอรโ ทรศัพทมือถือ 0891750117 เบอรโ ทรสาร 044233072 E-Mail address [email protected] 1
การบริหารหลักสตู รเพอื่ สง เสริมกิจกรรม Startup Curriculum management for Startup activity supporting เอกชัย แซจ ึง1, ธนินทร ระเบียบโพธ2ิ์ , ณัฐชยั อนนั ตกาล3, สรวิศ ต.ศิริวัฒนา4 ,เอกลักษณ ฉิมจารย5 ,ชลดา ฉิมจารย6 ,จงกล จันทรเรือง7 ,สุภาวดี พบพิมาย8 ,สเุ มธ บุญยืด9 อาจารยค ณะวิทยาศาสตรแ ละศลิ ปศาสตร มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน [email protected], [email protected],[email protected], [email protected], [email protected], [email protected], [email protected], [email protected], [email protected] บทสรุป หลายอาชีพไดรบั ผลจากการเปลย่ี นแปลงของเทคโนโลยีดจิ ิทัล หรอื Digital Disruption การบริหารหลักสูตรในปจจุบัน บัณฑิตที่สําเร็จการศึกษาสวนใหญจะเปนลูกจาง(Employee) ของอาชีพที่มีอยแู ลว หลักสูตรควรใชโอกาสที่เกิดจากการ Digital Disruption สงเสริมการสราง ผูประกอบการใหบัณฑิตสามารถเปน นายจางตัวเอง(Self-Employee) หรือเจาของธุรกิจสราง อาชพี ดวยตนเองได(Entrepreneurship) ภายใตป จจัยแหงความสาํ เร็จที่การบริหารหลักสูตรตอง พิจารณาถึง ไดแก บุคลากร(Staff) หลักสูตร(Program) กิจกรรมเสริมหลักสูตร (Student Activities) นักศึกษา(Student) สภาพแวดลอมเพื่อการเรียนรู (Learning Environment) นโยบาย(Policies) และงบประมาณสนับสนุน(Budget) ทั้งหมดจะพัฒนาสูการสรางระบบนิเวศ Startup หรือ Startup Ecosystem ไปสูการบมเพาะนักศึกษาและบัณฑิตใหเปนผูประกอบการ และใหส ามารถสรางผลิตภัณฑท ส่ี ามารถขยายผลเชงิ พาณิชยได คาํ สําคัญ Startup , Entrepreneurship , Ecosystem 2
Summary Many careers have impact from the evolution of technology or “Digital disruption”. In present, many of graduated student are employee in company. On this occasion, University should develop student to be entrepreneurship. Within many key success factors that will be consider: Staff, Program, Student Activities, Student, Learning Environment, Policies and Budget. Every key success factors will be developing the startup ecosystem and incubating student and product to entrepreneurship and commercialize products. Keywords: Startup , Entrepreneurship , Ecosystem 3
บทนํา Startup Thailand เปนหนวยงานระดับประเทศที่กอต้ังข้ึนเพื่อสนับสนุนและสงเสริม วิสาหกิจเร่ิมตน (Startup) และระบบนิเวศของวิสาหกิจเร่ิมตน (Startup Ecosystem) ตาม นโยบายของคณะกรรมการสงเสริมวิสาหกิจเริ่มตนแหงชาติ (National Startup Committee: NSC) โดยมีกระทรวงวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยีเปน หนวยงานรับผดิ ชอบหลัก รวมกบั หนวยงาน ตางๆ ที่เกี่ยวของ เพ่ือพัฒนาวิสาหกิจเริ่มตนใหใชทรัพยากรของประเทศในการผลิตสินคาและ บรกิ าร มุงเนน การสรางมลู คา เพม่ิ การจา งงานในทอ งถ่นิ และการกระจายรายไดส ูภ มู ิภาค รวมทงั้ กอใหเกิดอุตสาหกรรมเปาหมายใหม เพื่อเปนกลไกในการขับเคลื่อนประเทศ ตามวิสัยทัศน ประเทศไทย 4.0 ที่มีเปาหมายในการปรับเปลี่ยนโครงสรางเศรษฐกิจสู “เศรษฐกิจท่ีขับเคล่ือน ดวยนวัตกรรม” โดยมอบหมายใหกระทรวงวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยี (วท.) ดําเนนิ การรว มกบั มหาวิทยาลัยในการสงเสริมบทบาทของมหาวิทยาลัยในการสรางผูประกอบการเร่ิมตน และ สนับสนุนการดําเนินกิจกรรมเพื่อกาวสูมหาวิทยาลัยแหงการประกอบการ (Entrepreneurial University) (สํานกั งานนวตั กรรมแหง ชาติ,2561) ในปจจุบันอาชีพตางๆ ไดเปล่ียนแปลงไป หลายอาชีพมีความตองการที่ลดลง และมี ปรากฏอาชพี ใหมๆ เพม่ิ ขนึ้ มา อนั มาจากผลของการเปลีย่ นแปลงท่ีเกดิ จากเทคโนโลยีดิจทิ ัล หรือ Digital Disruption ท่ีมีผลกระทบตอการเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจ สังคม ชุมชน และวัฒนธรรม รวมถึงการเปล่ียนแปลงท่ีสงผลกระทบถึงภาคการศึกษา(Education sector) ดังนั้นการบริหาร หลักสูตรในปจจุบัน บัณฑิตท่ีสําเร็จการศึกษาสวนใหญจ ะเปนลูกจาง(Employee) ของอาชีพท่ีมี อยูแลว หลกั สูตรควรใชโ อกาสทเี่ กิดจากการ Digital Disruption สง เสรมิ การสรางผูป ระกอบการ ใหบ ัณฑิตสามารถเปน นายจา งตวั เอง(Self-Employee) หรือเจา ของธุรกิจสรา งอาชีพดว ยตนเอง ได( Entrepreneurship) จากการสงเสริมกิจกรรม Startup ของหลกั สูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวชิ าวทิ ยาการ คอมพิวเตอร มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ท่ีดาํ เนินการมาอยางตอเนอื่ งตลอดเวลา 2 ป อาจารยประจําหลักสูตรไดแลกเปลี่ยนและแบงปนความรู(Tacit knowledge) ในการจัดการ เรียนการสอนและการจัดกิจกรรมพัฒนาหลักสูตรสรางทักษะท่ีจําเปนในธุรกิจ Startup ดวย กระบวนการจดั การความรเู พือ่ นาํ ไปใชเ ปน ประโยชนต อไป วธิ ดี ําเนินการ กระบวนการจัดการความรูดําเนินการตามหลักการจัดการความรูของสํานักงาน ก.พ.ร. (สํานักงาน ก.พ.ร. และสถาบันเพ่ิมผลผลิตแหงชาติ:2548) ประกอบดวย 1) การบงชี้ ความรู(Knowledge Identification) 2) การสรางและแสวงหาความรู(Knowledge Creation 4
and Acquisition) 3) การจัดความรูใหเปนระบบ(Knowledge Organization) 4) การประมวล แ ล ะ ก ล่ั น ก ร อ ง ค ว า ม รู (Knowledge Codification and Refinement) 5) ก า ร เ ข า ถึ ง ความรู(Knowledge Access) 6) การแบงปนแลกเปล่ียนความรู(Knowledge Sharing) 7) การ เรยี นร(ู Learning) หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาวิทยาการคอมพวิ เตอร ไดด ําเนินการใน แตละข้นั ตอนรายละเอยี ดดงั ตอไปน้ี การบงชี้ความรู(Knowledge Identification) จากการดําเนินกิจกรรมสงเสริม หลักสูตรเพื่อพัฒนานักศึกษาในรอบ 2 ปท่ีผานมา มีนักศึกษาไดรับการพัฒนาทักษะความเปน ผูประกอบการ(Entrepreneurship skill) และทักษะนักประดิษฐ(Inventor skill) สงเสริม หลักสูตรใหนักศึกษาสามารถเปนผูประกอบการธุรกิจแบบ Startup ไดรับรางวัลระดับภูมิภาค และเขารวมนําเสนอผลงานระดบั ประเทศมาตอ เนื่อง 2 ป ที่ประชุมอาจารยป ระจําหลักสูตรจึงได กําหนดประเด็นความรูรวมกัน เร่ือง “การบริหารหลักสูตรเพื่อสงเสริมกิจกรรม Startup” และ อาจารยทุกทานไดรวบรวมความรูของตนเอง (Tacit knowledge) จากประสบการณบริหาร กิจกรรมสงเสริมความเปน Startup ของหลักสูตร และสืบคนความรูเพิ่มเติมจากแหลง ทรัพยากร ภายนอก(Explicit knowledge) เพิ่มเติม ในขั้นตอนการสรางและแสวงหาความร(ู Knowledge Creation and Acquisition) ที่ประชุมอาจารยประจําหลักสูตรไดประชุมอีกหลายคร้ังท้ังเปนทางการและไมเปนทางการ ได ออกแบบหลักสูตรและกิจกรรมเสริมหลักสูตร ไดแก 1) การวิเคราะหและออกแบบหลักสูตร วท.บ.วิทยาการคอมพิวเตอร( ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2560) ใหรองรับอาชีพในอนาคตของบัณฑิต ท่ี นอกเหนอื จากการเปน Employee ตองสามารถเปน Self-Employee หรือ Entrepreneur ดว ย ตวั เองได 2) การจดั แผนการเรยี นทสี่ ง เสริมทกั ษะความเปน ผปู ระกอบการ และทกั ษะนักประดิษฐ ดวยการจัดเลือกรายวิชาศึกษาท่ัวไป วิชา Entrepreneurship in Science and Technology และวิชาชีพของหลักสูตร ไดแ ก วิชา Seminar และ Computer Science Project 3) ออกแบบ กิจกรรมพัฒนานักศึกษาท่ีสงเสริมการเขาสูธุรกิจ Startup ดาน Technology skill , Business skill และ Hackathon จัดความรูใหเ ปน ระบบ(Knowledge Organization) ดว ยแนวคิดการบริหารหลกั สูตร วท.บ.วิทยาการคอมพิวเตอร ที่ประชุมอาจารยประจําหลักสูตรมีแนวคิดรวมกันถึงการพัฒนา บัณฑิตใหเปนไปตามเปาประสงคของหลักสูตรนั้น การบริหารหลักสูตรตองประกอบดวยการ จัดการเรียนการสอนในรายวิชา(Courses) และกิจกรรมเสริมหลักสูตร(Student Activities) แสดงดังรูปท่ี 1 ดังน้นั จากความรูที่ไดแ สวงหาและรวบรวมมาน้นั จงึ ไดจ ัดความรใู หเปน หมวดหมู และประมวลและกลั่นกรองความรู(Knowledge Codification and Refinement) ให ความรูชุดนี้มีความสมบูรณมากขึ้น ดังแสดงความสัมพันธในรูปท่ี 2 และ 3 ดวยการผูกโยง 5
กิจกรรมเขา กบั รายวิชา เพื่อใหนกั ศึกษาใหค วามสําคญั ในระดบั ท่สี ูงข้ึน เชน กิจกรรม Inspiration Talks กับ รายวิชา Entrepreneurship in Science and Technology และการพัฒนาผลงาน ในรายวิชา ใหสามารถแขงขันในเวทีสากลได เชน เวที Startup Thailand League ในรายวิชา Seminar และ Computer Science Project และสงเสริมใหเกิดบรรยายกาศ Innovative Startup อยางตอเนื่องดวย กิจกรรมตา งๆ ไปถึงกิจกรรมการแขงขันประจําป หรือ Hackathon ท่ีดําเนินการโดยหลักสูตร และพานักศึกษาลงแขง ขันเวทตี างๆ เชน Startup Camp มหาวิทยาลยั รังสติ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยสี ุรนารี และเวที Startup Thailand League การดําเนินการกิจกรรมตางๆ จะมีอาจารยในสาขาวิชาและนักศึกษาในรายวิชา Seminar เปนกําลงั สําคัญในการจัดเตรยี มกิจกรรมตางๆ เพ่ือเปนการฝกใหรูบทบาทหนาที่และ วิธีการจัดเตรียมงานสัมมนาไปดวยพรอมกัน ความรูจากนักศึกษากลุมน้ีก็จะถูกถายทอดไปถึง นักศึกษารนุ ถัดไปอกี ดวย รปู ที่ 1 แสดงแนวคดิ การบรหิ ารหลักสตู ร รปู ท่ี 2 แสดงความสมั พนั ธของการจดั การเรียนการสอนและกิจกรรมพฒั นานักศกึ ษา 6
รูปที่ 3 แสดงรายละเอยี ดของการจดั การเรียนการสอนและกิจกรรมพฒั นานกั ศกึ ษา การเขาถึงความรู(Knowledge Access) และการแบงปนแลกเปล่ียนความรู (Knowledge Sharing) ชุดความรูท่ีไดมานั้น ไดรวบรวมและเผยแพรผานทาง Social media ในกลุมอาจารยและกลุมนักศึกษาท่ีเปนคณะทํางาน(Staff) เพื่อใหอาจารยในสาขาวิชาและ นักศึกษาสามารถเขา ถงึ ความรแู ละแลกเปล่ยี นความรูเปนการเรยี นร(ู Learning) ระหวา งกันได ผลและอภปิ รายผลการดําเนนิ งาน หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร บริหารหลักสูตรได ดําเนินการสงเสริมกิจกรรม Startup โดยรับการสนับสนุนจากกระทรวงวิทยาศาสตรและ เทคโนโลยี (วท.) มาอยางตอเน่ือง 2 ป จากการพัฒนาหลักสูตรที่เอ้ือตอการพัฒนาทักษะ Startup และจัดกิจกรรมพัฒนานักศึกษาท่ีจําเปนตอการดําเนินธุรกิจ Tech-Startup ไดพา นักศึกษาลงแขงในเวที Startup ตางๆ หลายเวที ไดเขาแขงขันในเวที Startup Thailand League (Pitching) ระดับภูมิภาคจํานวนไมนอยกวา 15 ทีม ไดรับทุนสนับสนุนพัฒนาผลงาน มากกวา 525,000 บาท ปจจยั ความสาํ เร็จ 1) บุคลากร(Staff) ทงั้ อาจารยและนักศึกษาเปนกําลังสําคญั ในการดําเนินงานรวมกันให งานสาํ เรจ็ บรรลุเปา หมาย 2) หลักสูตร(Program) ตองวิเคราะหและออกแบบหลักสูตร ใหสรางทักษะความเปน ผปู ระกอบการตง้ั แตช นั้ ปท่ี 1 และบมเพาะนักศึกษาดว ยรายวชิ าตางๆ ไปถึงช้ันปที่ 4 เชนรายวิชา Entrepreneurship วชิ า Seminar และ Computer Science Project 3) กิจกรรมเสริมหลักสูตร (Student Activities) จะเสริมทักษะการทํางานทั้ง Hard Skills และ Soft Skills ใหก ับนกั ศกึ ษาใหท ํางานไดแ ละทาํ งานเปน 7
4) นักศึกษา(Student) จะใหความรวมมืออยางดี เมือ่ หลักสูตรไดปลูกฝงเสนทางอาชีพ ในอนาคตถึงการเปน Employee และ Self-Employee ต้ังแตก ารเรียนช้ันปที่ 1 นักศึกษาจะให ความสําคญั กับการเขารวมกิจกรรม แตบางคร้ังอาจจะตองสงเสริมเพ่ิมระดับความสําคัญการเขา รวมกิจกรรมกับนักศกึ ษาบางกลุม ดวยการผูกโยงคะแนนรว มในรายวิชา 5) สภาพแวดลอมเพ่ือการเรยี นรู (Learning Environment) มีความจําเปนตอ การสรา ง บรรยากาศการเรียนรู และสรางระบบนิเวศ หรือ Startup Ecosystem ใหยั่งยืนดวย เชน หนวยงานท่ีสงเสริมธุรกิจ Startup ภายในมหาวิทยาลัย, การจัดตั้งชมรม Tech-Startup, ครุภัณฑป ระจาํ หอ งทดลองหรือหองปฏิบัติการ, เวลาการเขา -ออกอาคาร เปน ตน 6) นโยบาย(Policies) ตั้งแตระดับประเทศ ไประดับกระทรวง มหาวิทยาลัย คณะ หนวยงานสนับสนุนตางๆ และหลักสูตร ตองสรางความเขาใจกัน เพ่ือการสงเสริมกิจกรรมให เปนไปทศิ ทางเดียวกัน 7) งบประมาณสนับสนุน(Budget) มีความจําเปนตอการสงเสริมการดําเนินใหเกิด กิจกรรมตางๆ ไปจนถึงการพัฒนาผลิตภณั ฑตนแบบ หรือ Prototype และไปถึงการสง เสริมการ บมเพาะเพ่ือใหเปนผลิตภณั ฑท ีข่ ายไดจ ริง (Commercialize Product) สรปุ หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร ไดบริหารหลักสูตรที่ สงเสริมกิจกรรม Startup โดยรับการสนับสนุนจากกระทรวงวทิ ยาศาสตรและเทคโนโลยี (วท.) มาอยางตอเนื่อง 2 ป ดวยการพัฒนาหลักสูตรท่ีเอื้อตอการพัฒนาทักษะ Startup และจัด กิจกรรมพัฒนานักศึกษาท่ีจําเปนตอการดําเนินธุรกิจ Tech-Startup ทั้งหมดเปนการดําเนินการ ในระยะเร่ิมตน สูการดําเนินการระยะถัดไป สูการพัฒนาระบบนิเวศ Startup ภายในคณะ (Startup Ecosystem) เพื่อเปาหมายตอไปคือการบมเพาะนักศึกษาและผลงาน/ผลิตภัณฑให เปนผลิตภณั ฑท ข่ี ายไดจ ริง(Commercialize Product) และจดทะเบียนเปน บริษทั ตอไป บรรณานุกรม สาํ นกั งาน ก.พ.ร. และสถาบันเพ่ิมผลผลติ แหง ชาติ. . (2548). การจัดการความรูจากทฤษฎีสู การปฏิบตั .ิ กรงุ เทพฯ: ธรรกมลการพิมพ. สํานักงานนวตั กรรมแหงชาติ. (2561). “เก่ียวกบั เรา Startup Thailand” สืบคนเมอื่ 10 ธนั วาคม 2561 จาก https://www.startupthailand.org/ 8
1 การนาระบบจองพนื้ ทบี่ รกิ าร มาใช้เพอ่ื พัฒนางานบรกิ ารแผนกงานศนู ย์การเรียนด้วยตนเอง (Implementing the service area reservation system for developing service work in the department of Self-Access Center) นายสุเทพ ยนตพ์ ิมาย ตาแหนง่ เจ้าหน้าทบี่ ริหารงานท่ัวไป สงั กัดแผนกงานศนู ยก์ ารเรยี นดว้ ยตนเอง Email : [email protected] นางสาวอรวรรณ พรตะคุ ตาแหน่งเจ้าหนา้ ที่บรหิ ารงานทว่ั ไป สังกัดแผนกงานศนู ยก์ ารเรยี นด้วยตนเอง Email : [email protected] บทคัดยอ่ การนาระบบจองพื้นท่ีบริการ มาใช้เพ่ือพัฒนางานบริการแผนกงานศูนย์การเรียนด้วยตนเอง มีวัตถุประสงค์ เพือ่ ให้การดาเนินงานบริการของแผนกงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่ามากท่ีสุด ระบบจองพ้ืนท่ีบริการของแผนกงานเป็นซอฟท์แวร์แบบโอเพ่นซอร์ส (Open Source Software) มีช่ือว่า Booked โดยนามาปรับแต่ง (Customize) ให้เหมาะสมกับการให้บริการของแผนกงาน ระบบดังกล่าวมีขอบเขต คือ สามารถ เข้าใช้งานโดยใช้บัญชีสมาชิกอินเทอร์เน็ตของมหาวิทยาลัย สามารถแสดงมุมมองในการจองได้หลายรูปแบบเช่น รายวัน รายเดือน รายปี โดยแยกตาม ห้อง หรือ พ้ืนที่บริการ สามารถอนุมัติหรือยกเลิกการจองโดยมีการแจ้งเตือน เม่ือมีการจอง การอนุมัติ การยกเลิกการจองพื้นท่ีบริการได้ สามารถสร้างรายงานการจองพ้ืนท่ีบริการตามที่ต้องการ ในส่วนของการจองพื้นที่บริการผู้ใช้บริการเพียงเข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้และรหัสผ่านของมหาวิทยาลัย หลังจากนั้น เลือกพ้ืนที่บริการ ช่วงเวลา ท่ีต้องการ ก็สามารถจองใช้ห้องได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว ไม่ต้องใช้เอกสาร การนา ระบบจองพื้นท่ีบริการมาใช้ แผนกงานได้ทาการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ควบคู่กับกระบวนการออกแบบและพัฒนา ซอฟท์แวร์ (Software Development Life cycle : SDLC ) โดยอ้างอิงตาม Water fall Model มีวิธีการดังนี้ 1) หาความต้องการของระบบ (System and software requirements) 2) การวิเคราะห์ระบบ (Analysis) 3) การ ออกแบบระบบ (Design) 4) การเขียนชุดคาส่ัง (Coding) 5) การทดสอบ (Testing) 6) การนาไปใช้ (Operations) จากการจัดการความรู้ของแผนกงาน พบว่า ทาให้การบริหารจัดการการจองพื้นที่บริการของแผนกงานเกิดความ ถูกต้อง สะดวก ประหยดั เวลา เกดิ ประโยชน์สูงสดุ และลดการตดิ ตอ่ สื่อสารทอี่ าจผดิ พลาด ทั้งผใู้ ชแ้ ละผ้ใู หบ้ ริการ Abstract Implementing the service area reservation system for developing service work in the department of Self-Access Center aims to certify the efficient operation of the service and to use the most cost-effective resource. The reservation system is an open source software called Booked, which can be customized to suit the service of the department. The scopes of this system are; an access by using the university’s internet account, a display in many forms such as daily, monthly, yearly viewings which were divided into a room or a service area, a notification when there is a booking, an approval, or a cancellation of each reservation, and a creation of a reservation report for the service area as required. To reserve the area, users can log in with the university's account by entering username and password. After that, select the service area and
2 duration time. The reservation is quick and easy, without any document papers using. To use this service area reservation system, the department has been exchanging and learning with the Software Development Life cycle (SDLC) based on Water fall model. The methods are as follows: 1) System and software requirements 2) System analysis 3) System design 4) Writing instruction set (Coding) 5) Testing (6) Operations. The knowledge management of the department shows that this service area reservation management is accurate, convenient, time-saving, and it leads to the maximum benefit. It can also reduce any lost communication between any users and the service providers. คาสาคัญ : ระบบจองพนื้ ทีบ่ ริการ (Booking System) ศนู ย์การเรยี นดว้ ยตนเอง (Self Access Centre) reservation (การจอง) 1. บทนา 1.1 ท่ีมา แผนกงานศูนย์การเรียนด้วยตนเอง มีพ้ืนที่ รับผิดชอบ 3 ชั้น อยู่ในอาคาร 3 อาคาร ได้แก่ ช้ัน 2 อาคาร 12A และอาคาร 12C ชั้น 5 - 6 อาคาร 12B พื้นท่ีบริการ ซึ่งมีห้องให้บริการจานวน 7 ห้อง ซ่ึงแต่ละห้องมีขนาดท่ี บรรจุ มคี รภุ ณั ฑ์บริการในแตล่ ะหอ้ ง และวตั ถปุ ระสงค์ในการใชห้ ้อง ผูร้ บั ผิดชอบท่ีแตกต่างกัน ดังน้ี ตารางท่ี 1 คุณสมบัติของห้องที่ใหบ้ ริการภายในแผนกงานศูนยก์ ารเรยี นด้วยตนเอง พ้นื ท่ีบรกิ าร วัตุประสงค์ ขนาดบรรจุ ท่ตี งั้ (หอ้ ง) (ทน่ี ัง่ ) 1. ห้องปิตาภรณ์อสี าน สาหรบั การจดั อบรม 30 อุทยานศูนย์แห่งการเรยี นรู้ ช้ัน 2 สัมมนา หรือการจัดกิจกรรม อาคาร 12A ตา่ ง ๆ 2. หอ้ งประชมุ กณั หาภรณ์ สาหรบั การประชมุ 24 อทุ ยานศนู ย์แหง่ การเรยี นรู้ ชัน้ 2 อีสาน 12C 3. หอ้ งเรียนอัจฉรยิ ะ 1 สาหรับการเรียนการสอน 40 พื้นทบ่ี รกิ ารอนิ เทอรเ์ น็ตและสอ่ื มลั ตมิ ีเดยี ช้นั 5 อาคาร 12B 4. ห้องกิจกรรมกลมุ่ สาหรบั การจัดกิจกรมกลุ่ม 12 พื้นทบ่ี ริการอนิ เทอรเ์ น็ตและสื่อ ต่าง ๆ มลั ตมิ ีเดีย ชน้ั 5 อาคาร 12B 5. ห้องเรยี นอัจฉรยิ ะ 2 สาหรบั การเรยี นการสอน 64 พื้นทส่ี นั ทนาการเพื่อการเรียนรู้ ชน้ั 6 อาคาร 12B 6. ห้องมนิ เิ ธยี เตอร์ สาหรับการชมภาพยนตร์ / 60 พ้ืนท่สี ันทนาการเพื่อการเรยี นรู้ สือ่ การเรียนการสอน ตา่ ง ๆ ชนั้ 6 อาคาร 12B 7. ห้องมัลตมิ เี ดีย สาหรบั การชมภาพยนตร์ / 16 พน้ื ทส่ี ันทนาการเพ่ือการเรยี นรู้ สอ่ื การเรียนการสอน ตา่ ง ๆ ช้ัน 6 อาคาร 12B
3 ท้ังนี้แผนกงานอยากให้เกิดการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าและผู้ใช้บริการได้รับความสะดวกในการจองพื้นที่ บริการ จึงเห็นว่าควรมีการนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาช่วยในการบริหารจัดการ เพ่ือความถูกต้อง ประหยัดเวลา เกิดประโยชนส์ งู สดุ และลดการติดต่อสื่อสารท่ีอาจผิดพลาด อีกทั้งยังสนองต่อนโยบาย ไทยแลนด์ 4.0 และสนองต่อยุทธศาสตร์การพัฒนาสานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล อีสาน (รายงานสรปุ การจดั การความรู้ แผนกงานศนู ย์การเรยี นดว้ ยตนเอง : 2560) 1.2 ปัญหาท่ีพบ 1) การจองพื้นที่บริการ ผู้รับบริการจะโทรศัพท์มายังแผนกงาน เพื่อแจ้งความต้องการในการจองห้อง เบ้อื งตน้ 2) หลังจากนั้น เจ้าหน้าท่ีที่รับผิดชอบในการจอง ( 1 คนรับการจองทุกห้องผ่านเอกสาร) จะทาการ ตรวจสอบวา่ หอ้ งไหนวา่ ง เพยี งพอกับความต้องการหรือเหมาะสมหรือไม่ โดยจะทาการประสานไปยัง เจา้ หน้าท่ีผรู้ ับผดิ ชอบห้อง เพื่อตรวจสอบอีกครั้ง ถ้าครบตามเง่ือนไขจึงทาการจอง (เป็นขั้นตอนที่ต้อง ใช้เวลามาก และควรผิดพลาดน้อยท่ีสุด) แล้วจึงโทรศัพท์กลับไปแจ้งผลการจองกับผู้รับบริการ และ แจง้ ใหผ้ ู้รับบรกิ ารทาบนั ทกึ ข้อความมายงั แผนกงานเพื่อยืนยันการการจอง 3) ผูร้ ับบรกิ ารต้องทาบันทกึ ขอ้ ความมายงั แผนกงานเพ่ือยืนยันการการจอง 4) หากมกี ารเปลย่ี นแปลงการจองก็จะทาตามขั้นตอนท่ี 1 – 3 อกี คร้ัง 5) ผรู้ ับบริการไมส่ ามารถทราบได้ว่า ห้องที่ตอ้ งการว่าง เม่ือไร เวลาไหนบ้างหรือมีอุปกรณ์เคร่ืองมืออะไร ให้ใช้บ้าง จนกว่าจะมีการสอบถามจากเจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบในการจองห้อง (ผู้รับบริการไม่สามารถ จองหอ้ งเองได้) 6) มกี ารจองตลอดท้ังวัน หรือ ทุกวัน แต่เม่ือถึงเวลาใช้จริง กลับมีการยกเลิก หรือไม่มาใช้ ทาให้เกิดการ เสยี สทิ ธ์ิ และใชท้ รัพยากรไมค่ ุ้มค่า 7) ไมส่ ามารถดูการจองห้องในพืน้ ทีต่ ่าง ๆ แบบเปน็ ปัจจบุ ัน (Real Time) ได้ 8) ไมส่ ามารถรายงานการจองหอ้ งในพ้ืนที่ต่าง ๆ เพื่อนาไปวางแผนในการพัฒนาแผนกงาน (สถิติการใช้ งานมบี นั ทึกแลว้ ในระบบสารสนเทศเพือ่ บริการ สนั ทนาการเพอ่ื การเรยี นร)ู้ จากทมี่ าและปญั หาทพี่ บ ทาให้แผนกงานมีความตอ้ งการระบบท่จี ะสามารถนามาใชแ้ กป้ ัญหาข้างต้นได้ 1.3 วตั ถุประสงค์ 1) เพอื่ ให้การดาเนินงานบริการของแผนกงานเป็นไปอย่างมปี ระสทิ ธิภาพและเกิดการใช้ ทรัพยากรอย่างคมุ้ คา่ มากทสี่ ุด 2) เพอื่ ให้มีระบบสารสนเทศหรือซอฟท์แวร์ในการบรหิ ารจัดการการจองพน้ื ที่บริการ 3) เพอ่ื สนองต่อยทุ ธศาสตร์การพฒั นา สานกั วทิ ยบริการและเทคโนโลยสี ารสนเทศ และ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน 4) เพือ่ สนองต่อนโยบายการประกันคณุ ภาพทางการศึกษาของมหาวทิ ยาลัย
4 1.4 ประโยชนท์ ่ีได้รับ 1) แผนกงานสามารถใหบ้ ริการไดอ้ ยา่ งถูกต้อง ประหยัดเวลา เกดิ ประโยชนส์ ูงสุด และลดการ ตดิ ต่อส่ือสารท่ีอาจผดิ พลาด ทาให้การบริการและบริหารของแผนกงาน มีระบบและมี ประสทิ ธภิ าพสงู มากยงิ่ ขน้ึ 2) เกดิ ความสะดวก รวดเรว็ ถูกต้องในการใหบ้ รกิ ารจองพนื้ ท่ีบริการ 3) สามารถบรรลุยทุ ธศาสตรด์ ้านการปฏริ ปู ระบบบริหารจัดการ มหาวทิ ยาลยั ไปสคู่ วามเปน็ เลศิ ในยคุ ดิจิทัล และการบรหิ ารจัดการระบบสารสนเทศของมหาวทิ ยาลัยตอบสนองนโยบายไทย แลนด์ 4.0 4) สรา้ งความพงึ พอใจแกผ่ ใู้ ช้บริการ ท้งั ยงั ส่งผลดีต่อภาพรวมด้านการประกันคุณภาพการศึกษา ของมหาวทิ ยาลยั 1.5 หนว่ ยงานท่นี าผลงานไปใช้ประโยชน์ 1) แผนกงานศูนย์การเรียนด้วยตนเอง หน่วยงานตา่ ง ๆ ในสานักวิทยบริการและเทคโนโลยี สารสนเทศ 2) หนว่ ยงานที่ให้บริการการหอ้ งต่าง ๆ ของมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน 2 วิธีดาเนนิ การ เพื่อให้การนาระบบจองพ้ืนท่ีบรกิ ารมาใช้เป็นไปตามมาตรฐาน แผนกงานจงึ ดาเนนิ ตามกระบวนการออกแบบ และพัฒนาซอฟทแ์ วร์ (Software Development Life cycle : SDLC ) โดยอ้างองิ ตาม Water fall Model ขั้นตอน การดาเนินการตาม Water Fall Model มี 6 ข้นั ตอนดังนี้ 1) หาความต้องการของระบบ (System and software requirements) 2) การวิเคราะห์ระบบ (Analysis) 3) การออกแบบระบบ (Design) 4) การเขยี นชดุ คาสั่ง (Coding) 5) การทดสอบ (Testing) 6) การนาไปใช้ (Operations) 3 ขั้นตอนการดาเนินงาน ในขน้ั ตอนการดาเนินงาน แผนกงานศูนย์การเรยี นด้วยตนเองได้ใช้กระบวนการจัดการความรู้ ดว้ ยวิธกี าร แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ควบคูก่ บั กระบวนการออกแบบและพัฒนาซอฟท์แวร์ (Software Development Life cycle : SDLC ) แบบ Water fall Model ตามภาพที่ 1
5 หาความตอ้ งการของระบบ (System and software requirements) การวเิ คราะห์ระบบ (Analysis) การออกแบบระบบ (Design) และ การเขียนชุดคาส่งั (Coding) การทดสอบ (Testing) การนาไปใช้ (Operations) ภาพที่ 1 กระบวนการจัดการความรู้ ด้วยวิธกี ารแลกเปล่ียนเรยี นรู้ ควบคู่กับ กระบวนการออกแบบและ พัฒนาซอฟทแ์ วร์ (Software Development Life cycle : SDLC ) แบบ Water fall Model 3.1 หาความตอ้ งการของระบบ (System and software requirements) แผนกงานกาหนดใหม้ กี ารกาหนด ความตอ้ งการของระบบผ่านการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ของบุคลากรแผนกงาน โดยผลจากการแลกเปลีย่ น เรียนรู้สามารถสรุปความต้องการของระบบ ดังนี้ 1) มรี ะบบหรอื ซอฟท์แวร์ เพอ่ื ช่วยในการบรกิ ารจดั การการจองพ้นื ทีบ่ รกิ าร ในแผนกงานศูนย์ การเรียนด้วยตนเอง 2) ผรู้ บั บริการสามารถตรวจสอบ และจองพน้ื ทบ่ี ริการได้ดว้ ยตนเอง แตท่ ้ังนี้ต้องได้รบั การ อนุมัติจากผดู้ แู ลระบบหรือเจ้าของห้องก่อน 3) รองรับการจัดกล่มุ ผ้ใู ช้ ให้มีสิทธ์ิ แตกต่างกนั เพ่ือประโยชนใ์ นการจัดการระบบ 4) ใช้งานรว่ มกับฐานข้อมลู ผใู้ ชก้ ลาง (LDAP) ของมหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอสี านได้ เพอื่ ความสะดวกของผ้ใู ช้บรกิ ารในการท่ีจะไม่ตอ้ งสร้างชือ่ ผู้ใช้และรหัสผ่านใหม่ 5) สามารถกาหนดรายละเอียดของแต่ละหอ้ ง เช่น ขนาด อุปกรณ์ รายละเอียด เพื่อให้ ผู้รบั บรกิ ารทราบถงึ รายละเอียดของห้องท่ีต้องการและเหมาะสมได้ 6) มรี ายงานจากระบบ เพื่อนาไปใช้ในการวางแผนการพัฒนาการให้บรกิ ารของแผนกงานได้ 3.2 การวเิ คราะห์ระบบ (Analysis) จากความต้องการของระบบข้างต้น นกั วชิ าการคอมพิวเตอร์ประจาแผนก งานไดแ้ ลกเปลย่ี นเรียนรู้กับบุคลากรในแผนกงานเกี่ยวกบั แนวคิดในการนาระบบมาใช้มี 2 แนวทาง ได้แก่ การพัฒนาระบบเอง และ การใช้ซอฟท์แวรแ์ บบโอเพ่นซอร์ส โดยได้นาเสนอข้อดี ข้อด้อยของทัง้ 2 แนวทาง และได้ข้อสรปุ ตามตารางที่ 2
6 ตารางท่ี 2 การเปรียบเทียบแนวคดิ ในการนาระบบมาใช้ การพฒั นาระบบเอง การใช้ซอฟท์แวรแ์ บบโอเพน่ ซอรส์ ขอ้ ดี 1.ระบบมคี วามสามารถตรงตามความ 1. ลดต้นตน้ ทุนในการพฒั นา (เงิน เวลา แรงงาน อนื่ ตอ้ งการ ๆ) โดยแทบจะไม่มีตน้ ทุนดา้ นการพฒั นาเลย 2.สามารถพัฒนาเพิ่มเตมิ ไดภ้ ายหลัง 2. มคี วามปลอดภยั และไดต้ ามมาตรฐาน เพราะมีผู้ ข้อด้อย 1. มีต้นทนุ ในการพฒั นา (เวลา แรงงาน รว่ มพัฒนาจากทั่วโลก อื่น ๆ) ค่อนข้างสูง 3. หากมกี ารเปลย่ี นแปลงบุคลากร (ลาออก เปลี่ยน 2. บคุ ลากรมีภาระงานเพิ่ม อาจทาให้ หน้าท่ี) การดาเนินการพฒั นาปรับปรงุ ยังทาได้ การพัฒนาล่าชา้ ตอ่ เนอ่ื ง 4. บคุ ลาการได้เรยี นรู้ การพฒั นาซอฟทแ์ วรจ์ าก 3. ความปลอดภยั อาจยงั ไมไ่ ดต้ าม ผูพ้ ฒั นาจากทว่ั โลก ผา่ นการเรียนรู้จากซอฟทแ์ วร์ มาตรฐาน แบบโอเพน่ ซอร์ส 5. สามารถปรับปรุงระบบเองได้ตามต้องการ และยัง 4. หากมีการเปลี่ยนแปลงบุคลากร สามารถสง่ สงิ่ ท่ปี รับปรงุ แลว้ ไปยังแหลง่ ต้นฉบับ เพือ่ (ลาออก เปล่ียนหน้าที่) การ ประโยชนใ์ นการพฒั นารว่ มกัน ดาเนนิ การพฒั นา ปรบั ปรุงอาจไม่ 1. ระบบอาจมีความสามารถไมต่ รงตามความต้องการ ตอ่ เนอ่ื ง ท้งั หมด 2. การปรับแต่งระบบภายหลงั อาจยงุ่ ยาก เนอื่ งจาก ต้องศึกษาการพัฒนาระบ 3. อาจจะไมร่ องรับหรือใช้งานกับภาษาไทยได้ จากความต้องการและการเปรียบเทียบแนวคิดผ่านการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของบุคลากรแผนกงาน การนาระบบมาใช้ท้ัง 2 แนวทาง แผนกงานจึงเลือกแนวทางการใช้ซอฟท์แวร์แบบโอเพ่นซอร์ส เน่ืองจากมีข้อดี มากกว่าข้อด้อย ส่วนข้อด้อยของการใช้ซอฟท์แวร์แบบโอเพ่นซอร์สน้ันสามารถแก้ไขได้ด้วยข้อดี ข้อ 5 นั่นคือการท่ี สามารถปรับปรุงระบบเองได้ตามต้องการ และยังสามารถส่งส่ิงท่ีปรับปรุงแล้วไปยังแหล่งต้นฉบับ เพ่ือประโยชน์ใน การพัฒนารว่ มกัน
7 หลังจากน้ันนักวิชาการคอมพิวเตอร์ประจาแผนกงานจะทาเสาะหาซอฟท์แวร์แบบโอเพ่นซอร์สท่ีมี ความสามารถตรงหรือใกล้เคียงกับความต้องการท่ีสรุปไว้มากที่สุดมาทาการติดต้ังและปรับแต่ง ทดสอบตามความ ต้องการของระบบเบอ้ื งต้น กอ่ นทจี่ ะนาเสนอในการแลกเปลยี่ นเรียนรตู้ ่อไป จากการเสาะหาซอฟท์แวร์แบบโอเพ่นซอร์ส ท่ีมีความสามารถตรงตามความต้องการที่ได้กาหนดไว้ ในข้อ 3.1 มากท่ีสุดพบว่ามี 2 ระบบคือ Booked (https://www.bookedscheduler.com) และ MRBS Booked MRBS (https://mrbs.sourceforge.io) โดยมีคุณสมบัติดงั แสดงในตารางท่ี 3 ภาพที่ 2 ระบบ Booked และ MRBS ตารางที่ 3 เปรียบเทยี บคณุ สมบตั ิ Booked และ MRBS (Booked Feature, MRBS Some features) คณุ สมบัติ Booked MRBS 1. ใหใ้ ชฟ้ รีได้ร้อยเปอร์เซ็นต์ 2. สามารถใช้ได้กบั OS ทีต่ ดิ ตัง้ Webserver, PHP, MySQL ได้ 3. ติดตั้งไดง้ ่ายแบบผา่ น web-based Install หรือจะติดตัง้ ด้วยตนเองก็ได้ 4. ใช้งานผา่ น Web/Intranet based 5. สามารถจองซา้ ได้และป้องกันการจองได้รอง 6. รบั การใชไ้ ดห้ ลากหลายระดับผใู้ ช้ 7. สามารถเลอื กมุมมอง เปน็ วัน/สปั ดาห/์ เดอื น ได้ 8. แจ้งเตอื นผ้ดู ูแลห้องเมื่อมีการจองห้อง 9. สามารถขยายความสามารถต่าง ๆ ได้ โดยใช้ Plug-in 10. ไม่จากัดหอ้ ง ผใู้ ช้ การจอง หากตดิ ตง้ั ใน Server ของเราเอง 11. ใช้ง่ายมเี คร่ืองมือในการบรหิ ารช่วยให้สามารถปรับจัดการและสง่ ออกข้อมลู 12. มกี ารสนบั สนุนทด่ี จี ากชมุ ชนผใู้ ช้ 13. รองรบั การตรวจสอบผู้ใชห้ ลากหลายรปู แบบรวมถงึ LDAP 14. รองรับไดห้ ลายภาษา แตย่ ังไม่มีภาษาไทย 15. แสดงผลไดด้ ีกับโทรศพั ทม์ ือถือและแทป็ เลต็ (Responsive Design)
8 หมายเหตุ ไม่รองรบั รองรบั หลังจากที่ได้เสาะหาซอฟท์แวร์แบบโอเพ่นซอร์ส ที่มีความสามารถตรงตามความต้องการที่ได้กาหนดไว้ นักวิชาการคอมพิวเตอร์ของแผนกงานจะนาเสนอคุณสมบัติของซอฟท์แวร์แบบโอเพ่นซอร์ส ท่ีได้เสาะมาในการ แลกเปลย่ี นรู้ของบคุ ลากรในแผนกงาน โดยจากคุณสมบตั ขิ า้ งต้นของ Booked และ MRBS น้ันพบว่ามีคุณสมบัติตรง ตามความต้องการที่ได้กาหนดไว้มากที่สุด ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้แผนกงานจึงเลือกท่ีจะนา Booked มาใช้ เน่ืองจากมีคุณสมบัติที่เหมือนกับ MRBS เกือบทุกประการ แต่ที่แตกต่างกันคือ Booked แสดงผลได้ดีกับ โทรศัพท์มือถือและแท็ปเล็ต (Responsive Design) ได้ดีกว่า MRBS เพ่ือให้การต้ังค่าเบ้ืองต้นใกล้เคียงกับความ ต้องการมากที่สุดนักวิชาการคอมพิวเตอร์ของแผนกงาน จึงทาการทดลองติดตั้ง ปรับแต่ง และเตรียมทาการทดสอบ ทัง้ ระบบโดยบุคลากรของแผนกงานร่วมกนั โดยจะนาผลการทดสอบมาผ่านการแลกเปล่ียนเรียนรู้ของบุคลากรแผนก งานอีกคร้ัง 3.3 การออกแบบระบบ (Design) และ การเขยี นชดุ คาสง่ั (Coding) เนื่องจากแผนกงานไดเ้ ลอื กแนวทางการ จัดหาซอฟทแ์ วร์แบบโอเพ่นซอร์สมาใช้ ทาให้ ข้ันตอนท่ี 3 คือการออกแบบระบบ (Design) และ ข้ันตอน ท่ี 4 การเขียนชุดคาส่งั (Coding) นนั้ ไมจ่ าเปน็ ต้องดาเนินการ ทาใหก้ ารนาระบบจองพ้ืนท่บี รกิ ารมาใช้ ประหยดั เวลาในการพัฒนาไปได้อยา่ งมาก 3.4 การทดสอบ (Testing) สาหรับการทดสอบแผนกงานได้กาหนดหน้าที่และประเภทของบุคลากรเพ่ือให้ เป็นไปตามการใชง้ านจริง ดังนี้ - ผรู้ ับบรกิ าร มหี น้าที่ ในการทดสอบการจองตามเง่อื นไขต่าง ๆ - ผรู้ บั ผิดชอบหอ้ ง มีหน้าที่ อนุนมตั ิ/ยกเลกิ การจองพน้ื ทีบ่ ริการ - ผดู้ แู ลระบบมีหนา้ ที่กาหนดรายละเอยี ดของพื้นท่ีบริการและระบบ ตามข้อเสนอแนะที่ได้จาก การแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ และได้ทาการทดสอบดังน้ี 1) ทาการตดิ ต้ัง Booked บนเครื่องแม่ขา่ ยของแผนกงานและปรับแตง่ การตรวจสอบผใู้ ช้ การสร้าง แก้ไขห้องและเง่ือนไขการจอง การจดั กลุ่มผ้ใู ช้และผดู้ แู ลระบบ และทดสอบ เบ้อื งตน้ โดยนกั วิชาการคอมพวิ เตอรป์ ระจาแผนกงานและผ้ดู แู ลระบบ ผลคอื สามารถ ทาได้โดยการทดลองตดิ ต้งั และใช้ 2) ทดสอบการแสดงผลภาษาไทย พบวา่ Booked ยงั ไม่รองรับภาษาไทย จงึ ทาการแปล ส่วนติดต่อกับผใู้ ชจ้ ากภาษาอังกฤษ เปน็ ภาษาไทย โดยนักวิชาการคอมพวิ เตอร์ประจา แผนกงานและบคุ คลากรทีม่ ีความเชย่ี วชาญในการแปลส่วนตดิ ต่อกับผใู้ ช้ ผลคือ Booked สามารถแสดงผลภาษาไทยได้อย่างถูกต้องและสวยงาม 3) ทดสอบการ Authentication คือตรวจสอบผเู้ ข้าใช้งานผา่ นฐานข้อมลู ผูใ้ ชก้ ลาง (LDAP) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอสี าน (ldap://nac.rmuti.ac.th) โดย นักวชิ าการคอมพวิ เตอร์ประจาแผนกงานและผดู้ แู ลระบบ ผลการทดสอบคือ สามารถ ใชง้ านได้
9 4) ทดสอบการจองในรูปแบบเง่ือนไขตา่ ง ๆ เช่น การจองแบบ 1 วนั การจองแบบการจอง ซา้ กันแบบติดกัน 3 วัน และการจองทงั้ ภาคการศึกษา โดยผูร้ ับบรกิ ารและผ้รู บั ผิดชอบ ห้อง ผลการทดสอบ คือ สามารถจองได้ตามเงอื่ นไขต่าง ๆ 5) ทดสอบส่งอีเมล์หลังจากมีการจองพนื้ ท่ีบริการ โดยผู้ดแู ลระบบ ผลการทดสอบคือ สามารถส่งอเี มล์หลงั จากมีการจองพืน้ ทบี่ รกิ ารได้ 6) ทดสอบการส่งอเี มลต์ อบกลบั การอนุมัติการจอง ไปยังผใู้ ช้บริการ โดยผดู้ ูแลระบบ ผล การทดสอบคือ สามารถสง่ อีเมล์ตอบกลับ การอนุมตั กิ ารจอง ไปยังผูใ้ ชบ้ ริการ 7) จดั ทาคมู่ ือการใช้งานอย่างง่ายสาหรับผู้ใชบ้ รกิ าร โดยการแลกเปล่ยี นเรียนรูข้ อง บคุ ลากรในแผนกงาน 3.5 การนาไปใช้ (Operations) โดยการติดตั้งในเคร่ืองแม่ขา่ ยบริการระบบสารสนเทศของแผนกงาน โดย ติดตงั้ ที่ http://mss.sac.oarit.rmuti.ac.th/booked/ หลงั จากนนั้ ปรบั แต่งเวบ็ เซิรฟ์ เวอร์เพื่อใหร้ องรับ URL และทาหนังสือแจง้ เวียนไปยงั หน่วยงานตา่ ง ๆ เพ่ือให้เขา้ ใช้ระบบการจองพืน้ ทีบ่ ริการตาม URL ข้างตน้ ในการจัดการความรู้ปีต่อมา จะมีการนาปัญหา หรือข้อเสนอแนะที่พบจากการใช้งานมา ปรับปรุง เช่น เมื่อสิ้นปี 2561 ที่ผ่านมาพบปัญหาว่า ระบบไม่สามารถจองข้ามไปยังปี 2562 ได้ จากการ ตรวจสอบพบว่าเป็นข้อผิดพลาด (Bug) ของระบบ โดยได้รับการแก้ไขในเวอร์ชั่นล่าสุดแล้ว ดังนั้นผู้ดูแล ร ะ บ บ จึ ง จ า เ ป็ น ท่ี จ ะ ต้ อ ง ห มั่ น ป รั บ ป รุ ง ร ะ บ บ ใ ห้ ทั น ส มั ย อ ยู่ เ ส ม อ 4. บทสรุป 4.1 สรปุ การนาระบบจองพืน้ ท่บี ริการมาใชเ้ พื่อพฒั นางานบรกิ ารแผนกงานศูนย์การเรียนด้วยตนเอง มีวัตถุประสงค์เพื่อให้การดาเนินงานบริการของแผนกงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดการใช้ ทรัพยากรอย่างคุ้มค่ามากที่สุด ระบบจองพ้ืนที่บริการของแผนกงานเป็นซอฟท์แวร์แบบโอเพ่นซอร์ส ท่ีมี ชื่อว่า “Booked” แผนกงานได้ทาการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ควบคู่กับกระบวนการออกแบบและพัฒนา ซอฟท์แวร์ (Software Development Life cycle : SDLC ) แบบ Waterfall Model เพ่ือให้ระบบมี ความเหมาะสมมากท่ีสุดกับการให้บริการของแผนกงาน ซ่ึงมีวิธีการดังน้ี 1) หาความต้องการของระบบ (System and software requirements) 2) การวิเคราะห์ระบบ (Analysis) 3) การออกแบบระบบ (Design) 4) การเขียนชดุ คาส่งั (Coding) 5) การทดสอบ (Testing) 6) การนาไปใช้ (Operations) ระบบ ดังกลา่ ว สามารถเขา้ ใชง้ านได้โดยใชบ้ ญั ชีสมาชิกอนิ เทอร์เน็ตของมหาวทิ ยาลัย สามารถแสดงมุมมองในการ จองไดห้ ลายรูปแบบเช่น รายวัน รายเดือน รายปี โดยแยกตาม ห้อง หรือ พื้นท่ีบริการ สามารถอนุมัติหรือ ยกเลิกการจองโดยมกี ารแจง้ เตือนเม่ือมีการจอง การอนมุ ตั ิ การยกเลกิ การจองพืน้ ทบ่ี ริการได้ สามารถสร้าง รายงานการจองพ้ืนที่บริการตามท่ีต้องการ เม่ือผู้ใช้บริการต้องการจองห้องสามาถทาได้อย่างง่ายดายมี ข้ันตอนที่ไม่ยุง่ ยากซับซอ้ นเพียงเข้าสรู่ ะบบแลว้ จากน้ันเลือกพื้นท่ีบรกิ าร ชว่ งเวลา ท่ีต้องการ ก็สามารถจอง ใช้ห้องได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว ไม่ต้องใช้เอกสาร เม่ือการจองถูกต้องและสมบูรณ์ จะได้รับการอนุมัติ
10 ทันทีจากผุ้ให้บริการ ซึ่งจากการใชง้ านระบบ พบว่า ทาใหก้ ารบริหารจัดการห้องเกิดความถูกต้อง สะดวก ประหยดั เวลา เกดิ ประโยชน์สูงสดุ ลดการตดิ ต่อสอื่ สารท่ีอาจผิดพลาด ทง้ั ผ้ใู ชแ้ ละผใู้ หบ้ รกิ าร 4.2 แนวทางการพฒั นาตอ่ 4.2.1 เนื่องจาก Booked ได้รับการพัฒนาความสามารถใหม่ ๆ อยู่เป็นประจา ดังนั้นไฟล์ ภาษาไทยอาจได้รับการปรับปรุงไม่ทันตามความสามารถใหม่ ๆ ท่ีBooked ได้รับการ พัฒนาขึ้น หากสนใจร่วมแปลภาษาไทยหรือมีข้อสงสัยสามารถติดต่อได้ที่ผู้พัฒนาหลัก Nick Korbel ได้ท่ี [email protected] หรือเว็บไซต์ https://www.bookedscheduler.com ห รื อ ติ ด ต่ อ ผู้ แ ป ล ภ า ษ า ไ ท ย ห ลั ก ท่ี [email protected] 4.2.2 ขณะนี้ระบบยงั ไมร่ องรับการแสดงผลปฏิทินท่แี สดงปีพทุ ธศักราชได้ ถึงแม้จะแสดง วนั เดอื น เป็นภาษาไทยไดแ้ ล้วอย่างถกู ต้องแล้วก็ตาม ดังนน้ั ผู้ที่สนใจสามารถรว่ มพฒั นาได้ โดยตดิ ตอ่ ไปทนี่ กั พฒั นาหลัก Nick Korbel ไดท้ ่ี [email protected] หรอื ทเี่ วบ็ ไซต์ https://www.bookedscheduler.com 4.3 เอกสารอา้ งองิ แผนกงานศูนย์การเรียนด้วยตนเอง งานวิทยบริการ สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ. (2560). รายงานสรุปการจัดการความรู้ หัวข้อ การนาระบบจองพื้นท่ีบริการ มาใช้เพ่ือพัฒนางานบริการแผนกงาน ศูนยก์ ารเรยี นดว้ ยตนเอง Wikipedia.Waterfall Model(ออนไลน)์ . สบื ค้นจาก : https://en.wikipedia.org/wiki/Waterfall_model [20 มกราคม 2562] Booked Feature (ออนไลน์). สืบค้นจาก : https://www.bookedscheduler.com/features [20 มกราคม 2562] MRBS Some features (ออนไลน)์ . สบื ค้นจาก : https://mrbs.sourceforge.io [20 มกราคม 2562]
องคป์ ระกอบประเดน็ การเขยี นบทความแนวปฏบิ ตั ทิ ี่ดี โครงการประชมุ สมั มนาเครอื ข่ายการจัดการความรู้ฯ ครัง้ ท่ี 12 “การจัดการความร้สู ู่มหาวิทยาลัยนวัตกรรม” (Knowledge Management: Innovative University) สาํ หรบั อาจารย/์ บคุ ลากรสายสนบั สนุน/ นกั ศึกษา ชอ่ื เรื่อง การพฒั นาระบบจัดตารางการเรียนการสอน : สานกั ศกึ ษาท่วั ไป THE DEVELOPMENT OF COURSE MANAGEMENT SYSTEM : GENERAL EDUCATION นายกุลวรรธน์ ธงกิง่ * นางสาวเวณิกา ตับกลาง *ตาแหนง่ หัวหน้าแผนกงานเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ การเรยี นรู้ สานักศกึ ษาท่วั ไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน นครราชสีมา [email protected] ตาแหนง่ นกั วชิ าการศกึ ษา สานกั ศึกษาทว่ั ไป มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน นครราชสีมา [email protected] ........................................................................................................................................... บทสรปุ แผนกงานเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ สานักศึกษาท่ัวไป ได้ทาการ พัฒนาระบบจัดตารางเรียนตารางสอบเพ่ือลดขั้นตอนการทางานด้านเอกสารและระยะเวลาการ จัดตารางเรียนตารางสอบท่ีปกติแลว้ การจัดตารางเรียนตารางสอบแต่ละคร้ัง จะใช้เวลาการจัด ตารางเรียนอยา่ งน้อย 1 เดอื น โดยการจัดตารางเรียนแตล่ ะปีการศึกษาจะมีการจดั ตารางเรียน 3 คร้งั คอื ภาคการศึกษาที่ 1 ภาคการศกึ ษาท่ี 2 และภาคการศกึ ษาฤดรู อ้ น และการจดั ตารางเรยี น แต่ละคร้ัง จะมีการประสานงานผ่านหลายหน่วยงานคือ 1) สานักศึกษาท่ัวไป 2) คณะ วิทยาศาสตร์และศลิ ปศาสตร์ 3) สาขาวิชา 4) สานักวิทยบรกิ ารและเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยการดาเนินงานเรม่ิ จากการร่วมจัดตารางเรียนตารางสอนกับแผนกงานวิชาการและ บริหารหลักสูตร เพื่อดูวิธีการทางานในการจัดตารางเรยี นแต่ละครงั้ และจัดตั้งทีมพฒั นาระบบ โดยมจี ุดประสงค์เพ่อื แลกเปลย่ี นเรยี นรแู้ ละค้นหาแนวทางการพฒั นาระบบที่จะสามารถทางานได้ เหมาะสมกับกระบวนการจัดตารางเรียน พร้อมทั้งการจัดเวทีเสวนา มีการเชิญบุคลากรจาก หนว่ ยงานอนื่ ใหค้ วามรู้เกีย่ วกับข้ันตอนและวิธกี ารในการบรหิ ารจดั การห้องเรียนและประยุกต์ใช้ งานระบบให้เหมาะสม มีการจัดเก็บข้อมูลการพัฒนาและคาแนะนาที่ได้รับมาจากผู้มี ประสบการณท์ าใหร้ วู้ ่าการดาเนินการดงั กลา่ วดีท่ีสุด
ผลการดาเนินงานดา้ นการติดตั้งและทดสอบการใชง้ านระบบจรงิ ภายในมหาวทิ ยาลยั ซ่ึง ประกอบด้วย ผู้บริหาร อาจารย์ เจ้าหน้าท่ี นักศึกษา จานวน 50 คน(การสุ่มสารวจ) ผลการ ประเมินในภาพรวมจากผใู้ ชง้ านระบบมคี วามพึงพอใจดีมาก คดิ เปน็ ร้อยละ 76.40 ท้ังนรี้ ะบบยัง อยู่ระหว่างการพฒั นา เพอ่ื ให้ง่ายต่อผ้ใู ชง้ านและง่ายตอ่ การเขา้ ถงึ มากทสี่ ดุ คําสําคญั ตารางเรยี น ตารางสอน ตารางสอบ คน้ หาห้องสอบ จองหอ้ งเรียน บทนํา สานกั ศกึ ษาทวั่ ไป เป็นหน่วยงานกลางทรี่ ับผดิ ชอบในการจัดการเรยี นการสอนหมวด วิชาศึกษาท่ัวไป รับผิดชอบบริหารจัดการงานในรายวิชาศึกษาท่ัวไป โดยมีการดาเนินงาน หลายส่วน เช่น งานจัดตารางเรยี นตารางสอน งานจัดสอบ งานวัดผลประเมินผล งานเทียบ โอนผลการเรียน งานสอบเทียบโอนความรู้ งานดูแลห้องเรียนและสนับสนุนอาจารย์ผู้สอน งานพฒั นา/ปรบั ปรงุ รายวชิ า งานพฒั นาศกั ยภาพอาจารย์ผูส้ อนหมวดวชิ าศึกษาทว่ั ไป รวมถงึ การพัฒนาระบบรหิ ารจัดการการศึกษา หมวดวิชาศกึ ษาทั่วไป ใหม้ คี วามทันสมยั เป็นปัจจบุ ัน ดังน้ัน สานักศึกษาท่ัวไป แผนกงานเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการเรยี นรู้ ได้เล็งเหน็ ความสาคัญของการพัฒนาระบบบริหารจัดการศึกษา หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป ให้มีความ ทันสมยั มปี ระสทิ ธิภาพ เพือ่ ให้บรกิ ารและอานวยความสะดวกใหก้ บั นักศึกษา บคุ ลากร และ คณาจารย์ของมหาวิทยาลัย สานักศึกษาทว่ั ไป จึงได้พฒั นาระบบจดั ตารางการเรียนการสอน สานกั ศกึ ษาทว่ั ไป มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน นครราชสมี า วัตถุประสงค์ 1. เพ่ือพัฒนาระบบให้บริการออนไลน์สานักศึกษาทั่วไป ให้มีความทันสมัย และมี ประสทิ ธภิ าพมากยิง่ ข้นึ 2. เพ่ือให้นักศกึ ษา บุคลากร และคณาจารย์มีความสะดวก รวดเร็วในการใช้ระบบบริการการ จัดการศกึ ษาหมวดวิชาศกึ ษาทัว่ ไปมากข้นึ 3. เพื่อจัดเกบ็ ขอ้ มลู ตารางเรยี น ตารางสอบ การจองห้องและการเรียนรอู้ อนไลนไ์ วบ้ นระบบ เดยี วกนั ได้และง่ายต่อการเข้าถึง 4. เพ่ือลดข้ันตอนการทางาน ระยะเวลา รวมถึงทรัพยากรที่ต้องใช้ในการจัดตารางการเรียน การสอน
วิธกี ารดําเนินงาน ผู้พฒั นาได้นา KM Tools มาใช้ในการดาเนนิ การดังน้ี 1. การถ่ายทอดความรโู้ ดนการเล่าเรื่อง (Storytelling) ผู้พัฒนาได้รับการเรยี นรวู้ ิธกี าร และขั้นตอนการทางานการจัดตารางเรียนตารางสอน การจัดตารางสอบ รวมถึงการเก็บขอ้ มลู อาจารย์ผูส้ อน จากแผนกงานวชิ าการและบริหารหลักสตู ร 2. จัดต้ังเวทีเสวนา (Dialogue) โดยมีเจ้าหน้าทจี่ ัดกล่มุ พูดคุยเพ่ือรวมทมี พฒั นาระบบ ข้ามสายงาน (Cross-Functional Team) โดยได้รับการสนบั สนุนจากสานักสง่ เสริมวิชาการและ งานทะเบียน สานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสานสนเทศ ตัวแทนแต่ละคณะ และเจ้าหน้าที่ ประจาสาขาวิชา โดยรบั ข้อมูลตรงด้านการปฏบิ ตั งิ านของแต่ละงาน 3. เพ่ือนช่วยเพื่อน (Peer Assist) ทีมพัฒนาระบบได้รับคาแนะนาและความช่วยเหลือ จากอาจารย์และรุ่นพ่ีท่ีมีประสบการในการพัฒนาระบบ และร่วมกันวิเคราะห์โครงสร้างและ ออกแบบระบบการจดั ตารางเรียน ตารางสอบ 4. การเรียนรู้จากบทเรียนที่ผา่ นมา (Lesson Learned) มีการเรียนรู้โดยอาศัยข้อมลู ความสาเร็จและความผิดพลาดจากการดาเนินการที่ผ่านมา พร้อมท้ังได้ทาการสอบถามไปยัง สานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลศรีวิชัย เพ่ือหาข้อมูล เพิ่มเติมและร่วมกันวเิ คราะห์ว่ามีสิง่ ใดที่ควรเพ่มิ เติมและปรบั ใชง้ านใหก้ บั ผู้ใช้งาน สามารถใชง้ าน ได้ง่ายข้นึ ดว้ ย 5. เวทีสาหรับการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ (Knowledge Forum) มกี ารจดั กจิ กรรมอบรมเพอ่ื พฒั นาผู้พฒั นาระบบและรว่ มกันพฒั นาระบบ ทาให้ทีมพัฒนาระบบไดพ้ ดู คุยและแบง่ ปันความรทู้ ่ี ได้รับ และแบ่งสรรงานให้สามารถพัฒนาได้ง่ายยิ่งขึ้น โดยได้เชิญอาจารยผ์ ู้มคี วามรูใ้ นการจัดทา เหมืองความรู้ (Data mining) เพ่ือบริหารจัดการการจัดเก็บข้อมูลให้พร้อมสาหรับการพัฒนา ระบบอื่นๆไดอ้ นาคตอกี ดว้ ย 6. สภากาแฟ (Knowledge Cafe) มีการพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นบนโครงสร้าง ระบบเดียวกัน ทาให้มองเห็นจุดบอดของระบบ รวมถึงสิ่งท่ีผู้ใช้ต้องการ และร่วมกันหาแนว ทางแก้ไขปรับปรุง ซ่งึ ชว่ ยลดขนั้ ตอนและแก้ไขปญั หาการแกบ้ ัคซา้ ซอ้ นไดอ้ ยา่ งดยี ิ่ง 7. การเรียนรโู้ ดยการปฏบิ ตั ิ (Action Learning) หลังจากทรี่ ะบบพฒั นาแล้วเสรจ็ จงึ ไดม้ ี การทดสอบใช้งาน โดยให้แผนกงานวิชาการและบรหิ ารหลกั สตู ร ได้ทดลองใช้งานดูพบวา่ ระบบ สามารถลดขั้นตอนได้อย่างดีเยี่ยมพร้อมท้ังผู้ใช้งานได้ให้คาแนะนาสาหรับปรับปรุงระบบให้ สามารถใช้งานได้งา่ ยยิ่งขึ้น ซึ่งจะมกี ารพฒั นาต่อไปในอนาคต
ผลและอภปิ รายผลการดําเนินงาน ผลจาการดาเนินงาน พัฒนาระบบจัดตารางการเรียนการสอน เป็นผลให้เกิด ประสิทธิภาพในการทางานท่ีดี กล่าวคือ ทีมพัฒนาระบบได้มีการจัดการความรู้รว่ มกบั อาจารย์ บุคลากรสานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน บุคลากรสานักวิทยบริการและเทคโนโลยี สารสนเทศ บุคลากรของคณะ บุคลากรประจาสาขาวิชา พร้อมท้ังอาจารย์ร่วมจากวิทยาลัย อาชีวศกึ ษา นครราชสีมา พร้อมทง้ั รว่ มออกแบบฐานข้อมูล ดงั ภาพประกอบที่ 1 ภาพประกอบท่ี 1 แสดงการเช่อื มต่อฐานข้อมลู ผลท่ีได้คือลดขั้นตอนการทางานจากเดิมใช้เวลาประมาณ 1-2 เดือน หลังจากมีการ พัฒนาระบบจดั ตารางการเรียนการสอน เข้ามาสนับสนุนทาให้สามารถลดเวลาการทางานและ ข้นั ตอนการทางานลง รวมถึงการลดขน้ั ตอนการจดั ตารางสอบทเ่ี ดิมจะใช้เวลาประมาณ 1 เดอื น ก็สามารถจัดตารางสอบได้ทันทีหลังจากได้ข้อมูลนักศึกษา นั้นคือทันทีหลังจากจัดตารางเรียน ดงั ภาพประกอบท่ี 2
ภาพประกอบท่ี 2 แสดงการเปรียบเทียบการทางาน แบบเดิม ระยะเวลา แบบใหม่ ระยะเวลา ดาํ เนินการ ดําเนินการ 1. วางแผนการจัดตารางเรยี น ทันที 1. วางแผนการจดั ตารางเรียน ทันที 2 วัน 2. แต่งตง้ั คณะกรรมการจัด 2 วนั 2. แต่งตงั้ คณะกรรมการจัด 5 วนั ตารางเรียนและสารวจแบบ ตารางเรียนและสารวจแบบ 3 วัน การเรียน 4 คณะ การเรยี น 4 คณะ 1 วัน 3. วเิ คราะหแ์ ละสรปุ ข้อมูล 15 วนั 3. วเิ คราะห์และสรุปข้อมูล 2 วนั แผนการเรียน แผนการเรียนด้วยระบบจัด 2 วนั 4. ประชุมคณะกรรมการจัด 5 วนั ตารางเรียน ช่วงเวลา จัดสอบ ตารางเรียน 4. ขอความอนุเคราะห์ใหส้ าขาฯ 15 วัน 5. หมวดวชิ าศกึ ษาท่ัวไปและ 10 วัน จดั อาจารย์ในระบบจัดตาราง กลุม่ วิชาชีพดาเนินการจัด เรียน ตารางเรียนร่วมกนั 5. ดาวนโ์ หลดรายชือ่ นักศกึ ษา 6. ขอความอนเุ คราะหส์ าขาฯ จดั 5 วนั ท้ังหมดในกลมุ่ วิชาศึกษา อาจารยผ์ สู้ อน ทวั่ ไปเพอื่ จัดลงห้องสอบ 7. ดาวน์โหลดรายชื่อนักศกึ ษา 5 วัน 6. จัดตารางสอบ และอาจารย์ แตล่ ะห้องเพอื่ จดั ลงหอ้ งสอบ คมุ สอบ 8. จัดตารางสอบรว่ มกบั คณะ 2 วัน 7. จดั ทารายชือ่ นกั ศึกษาเข้าสู่ วทิ ยาศาสตร์ ระบบจดั สอบ ระบบจะนา 9. จัดทารายช่อื นักศกึ ษาพร้อม 5 วัน รายชือ่ นักศึกษามาจดั ลง ตดิ หน้าห้องสอบ ห้องเรียนอตั โนมัติ โดยเรยี ง 10. จัดทาคาสงั่ คมุ สอบ 2 วัน ตามรายชือ่ ท่นี าเข้าขอ้ มลู 11. อพั โหลดรายชอื่ เข้าสรู่ ะบบ 1 วนั พรอ้ มนกั ศกี ษาสามารถค้นหา คน้ หาหอ้ งสอบ ห้องสอบไดท้ ันทีหลงั จากจัด 12. รวบรวมปญั หา ข้อร้องเรียน ชว่ งเวลา ตารางเรยี นเรยี บรอ้ ยแลว้ ขอ้ เสนอแนะ สารวจและ จัดสอบ 8. รวบรวมปญั หา ข้อร้องเรยี น สรปุ ผลความพงึ พอใจการจดั ข้อเสนอแนะ สารวจและ สอบ รายงานผเู้ ก่ียวข้อง สรปุ ผลความพึงพอใจการจัด สอบ รายงานผเู้ กี่ยวข้อง รวมระยะเวลาทดี่ าํ เนินการ 52 วัน รวมระยะเวลาทด่ี ําเนนิ การ
ทาใหเ้ หน็ ความแตกตา่ งและความรวดเร็วในการทางานอย่างมาก พรอ้ มทง้ั ข้อมลู ที่เคย จดั มากอ่ นในปกี ารศกึ ษา 2559 2560 และ 2561 เม่อื นามาใส่ในระบบจัดตารางการเรยี นการ สอนก็ทาให้เขา้ ใจรปู แบบได้งา่ ยขน้ึ
สรุป ผลสาเร็จของงาน คือ ได้รับระบบจัดตารางการเรียนการสอน : สานักศึกษาทั่วไป เพ่ือการบริหารงานสานักศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน โดยการประยุกต์ และบูรณาการนาเขา้ ขอ้ มลู ไฟล์ Excel.csv มาปรบั ใชใ้ นการรบั สง่ ข้อมูล เพ่อื ให้เกดิ ความสะดวก รวดเรว็ อกี ทัง้ ยงั งา่ ยต่อผใู้ ชง้ าน สง่ ผลให้สามารถลดข้ันตอนการทางาน จานวนคน และเพมิ่ ความ รวดเรว็ ในการจัดตารางเรยี น ตารางสอบ รวมถงึ การแสดงผล และรายงานที่ออกมาจากระบบนนั้ ยังอา้ งองิ แบบฟอร์มเดิม เพื่อให้ผ้ใู ช้งานไมร่ ู้สึกถงึ ความย่งุ ยากและสบั สนในการใชง้ าน จากระบบ ที่มีสามารถนาข้อมูลไปจัดทารายงานเพ่อื เสนอต่อผู้บรหิ ารในเชิงนโยบายด้านนวัตกรรมได้เปน็ อย่างดี ซ่ึงแผนกงานเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้มีแผนพัฒนาระบบ เพื่อขยาย ความสามารถของระบบให้รองรบั การใช้งานการจัดเก็บข้อมูลอาจารย์ผูส้ อนและเช่ือมตอ่ ขอ้ มลู การใชห้ ้องเรียนกับระบบจองห้องเรยี นตอ่ ไป บรรณานกุ รม สจุ รรยา แกว้ พรายตา และวนิดา รัตนมณี. 2016. การแกป้ ญั หาการจัดตารางสอนท่ีมี นักศกึ ษาหลายคณะเรียนรว่ มกนั โดยประยกุ ต์ใช้วธิ กี ารทางเจเนตกิ อลั กอรทิ มึ .” วารสาร วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลยั เชยี งใหม่. 2017, 24: 119-129. เอกสทิ ธิ์ คลังเงนิ . 2550. “ระบบจัดตารางเรยี นตารางสอน กรณศี กึ ษา.” วทิ ยานพิ นธ์ ปริญญามหาบณั ฑิต ภาควชิ าวทิ ยาการคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยพี ระจอมเกล้าพระ นครเหนอื .
องค์ประกอบประเดน็ การเขยี นบทความแนวปฏิบัตทิ ี่ดี โครงการประชุมสมั มนาเครือข่ายการจัดการความรู้ฯ ครง้ั ท่ี 12 “การจดั การความรสู้ ูม่ หาวทิ ยาลยั นวตั กรรม” (Knowledge Management: Innovative University) สําหรับอาจารย์/ บคุ ลากรสายสนับสนนุ / นกั ศกึ ษา แนวปฏบิ ตั ทิ ่ดี ีสาํ หรับการยกระดบั บัณฑิตนักปฏบิ ัติสูน่ ักนวัตกรรมเพอ่ื เปน็ กาํ ลังของแผน่ ดิน Good practice in enhancing hand-on graduates to be innovators for the land Force. สุรินทร์ – อ่อนนอ้ ม (Surin Ahonnom)1 สจุ ติ รา – อุ่นเรอื น (Sujitra Unruan)2 ชดาษา – เนนิ พลกรงั (Shadasa Nonpongran)3 จริ าภา- พร้อมสนั เทยี ะ (Jirapa Promsuntia)4 นฤมล- ตั้งสณุ าวรรณ (Narumol Tangsunawan)5 คณะวิศวกรรมศาสตรแ์ ละสถาปตั ยกรรมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลอีสาน นครราชสมี า [email protected] 1-5 ......................................................................................................................................................... บทสรปุ การสร้างนักนวัตกรรมจากนักศึกษาท่ีมีทักษะด้านปฏิบัติในระดับดีด้วยกระบวนการ จั ด ก า ร เ รี ย น ก า ร ส อ น แ บ บ ก ร ะ บ ว น ก า ร จั ด ก า ร เ รี ย น รู้ ท่ี ผู้ เ รี ย น ไ ด้ ล ง มื อ ก ร ะ ท า แ ล ะ ไ ด้ ใ ช้ กระบวนการคดิ เก่ยี วกับสงิ่ ทเ่ี ขาได้กระทาลงไป (Active Learning) โดยเนน้ การคิดแก้ปัญหาเป็น ทีมที่สามารถนาไปสร้างสรรค์นวัตกรรม (Design Thinking) ด้วยการจัดเตรียมสภาวะแวดล้อม ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านการเรียนการสอน ด้านการทากิจกรรม พร้อมสนับสนุนห้องเรียน สมัยใหม่ เคร่ืองมือพ้ืนฐาน ห้องปฏิบัติการ เคร่ืองมือวัดข้ันสูง ห้องปฏิบัติการประดิษฐ์กรรม (Fabrication Laboratory) ซึ่งนักศึกษาภายในคณะวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละสถาปตั ยกรรมศาสตร์ ทุกหลักสูตรถูกสร้างให้มีคุณสมบัติเป็นบัณฑิตนักปฏิบัติเป็นไปตามเง่ือนไขในคู่มือบัณฑิตนัก ปฏิบัติโดยอาจารย์ผู้สอนและนักศึกษาทุกคนต้องได้ใบประกาศจากการทดสอบด้วยหน่วยงาน ภายนอกสถาบนั ในการรับรองสมรรถนะทางวชิ าชพี เกีย่ วข้องกบั หลกั สูตร
ผลจากการดาเนินการในการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดการเรียนการสอนแบบลงมือ กระทาและคิดแก้ปัญหาแบบบูรณาการร่วมในหลักสูตรและข้ามหลักสูตร ส่งผลให้นักศึกษา สามารถสร้างผลงานทางนวตกรรม โดยมีการจดอนุสทิ ธบิ ัตรเกดิ ขน้ึ อยา่ งต่อเน่ืองระหว่างปี 2558 ถงึ ปี 2560 รวมเปน็ 47 ผลงาน ก่อเกดิ รายไดเ้ ข้ามหาวิทยาลยั ในระยะเวลา 3 ปี ไม่น้อยกว่า 20 ล้านบาท ได้รับรางวัลระดับชาติไม่ต่ากว่า 11 ผลงาน มีผลงานตีพิมพ์สืบเน่ืองจากส่ิงประดิษฐ์ และนวตกรรม ไม่น้อยกว่า 40 เรื่อง ขณะที่อัตราได้งานทาในรอบ 1 ปีสูงขึ้นจากร้อยละ 81 ถึง ร้อยละ 90 ซึง่ ในคา่ สถิตนิ ้มี ีจานวนบณั ฑิตได้กลับเข้าทางานจากการออกฝึกสหกิจเพ่ิมข้ึนถึงร้อย ละ 62 Summary The creation of innovators from students with practical skills at a good level with the process of teaching and learning management processes learned by the learners and using the process of thinking about what he has done (Active Learning) By focusing on problem solving as a team that can be used to create innovation (Design Thinking) by providing an environment for change in teaching and learning Activities With support for modern classrooms Basic tools laboratory Advanced measuring instruments Fabrication Laboratory in which all students in the Faculty of Engineering and Architecture are created to qualify as graduates, in accordance with the conditions in the Graduate Handbook of Practices by all instructors and students. Testing with external agencies for certification of professional competencies related to the curriculum. The results of the implementation of promoting and encouraging hands- on teaching and learning to solve problems integrated in the curriculum and across the curriculum. Resulting in students being able to create innovative work With the continuous registration of petty patents between 2015 and 2017, a total of 47 works, generating income to the university for a period of 3 years, not less than 20 million baht, receiving a national award of not less than 11 works There are at least 40 published works due to inventions and innovations, while the rate of work done in one year is increased from 81 percent to 90 percent. In this statistic, the number of graduates has returned Work from the co-operative training increased by 62 percent.
คาํ สาํ คญั บัณฑิตนักปฏิบัติ นักนวัตกรรม ผู้เรียนได้ลงมือกระทา ห้องปฏิบัติการประดิษฐ์กรรม คดิ สร้างสรรคน์ วัตกรรม บทนาํ การเปลย่ี นของชว่ งอายุคนทาให้ปัจจุบันนักศึกษาท่ีเข้าศึกษาต่อนั้นอยู่ในยุคเจเนอเรชั่น วายช่วงต่อของยุคเจเนอเรชั่นซี ซึ่งมีพฤติกรรมกล้าแสดงออก มีความคิดท่ีเป็นอิสระ ชอบ ตรวจสอบหาความจริง ต้องการความรวดเร็วในการติดต่อสื่อสารและพิสูจน์หาความจริง อีกทั้ง การเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกที่เคลื่อนเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุเช่นเดียวกับประเทศไทยและการ เปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีแบบก้าวกระโดดที่สามารถนาทั้งหุ่นยนต์ AI Machine Learning และ เทคโนโลยใี นดา้ นระบบสารสนเทศเข้ามาทางานแทนที่การทางานแบบซ้าๆของมนุษย์ กรอปกับ การลดจานวนของนักเรียนท่ีมีการเปล่ียนแปลงมาเป็นเวลานับสิบปีแต่กระบวนการจัดการเรียน การสอนกับสวนทางส่งผลให้เกิดหลักสูตรเกินความต้องของจานวนผู้ท่ีเข้าศึกษาต่อ ณ ปัจจุบัน เชน่ เดียวกนั การเปดิ เสรที างกล่มุ แรงงานจากประชาคมอาเซี่ยนเองเร่ิมเห็นผลต่อการเคล่ือนย้าย แรงงานในด้านต่างๆเข้ามาในประเทศไทย มหาลัยทั่วโลกเกิดแนวคิดเก่ียวกับการจัดการศึกษา มงุ่ เนน้ ใหน้ กั ศกึ ษาเปน็ นกั ปฏิบัตแิ ละเป็นนักนวตั กรรมในการสร้างสรรคผ์ ลงานเพอ่ื สรา้ งมูลค่า ซ่ึง สามารถเขา้ เรยี นแบบรายวิชาและพบกบั ผู้เชย่ี วชาญท่ีประสบความสาเรจ็ เปน็ ผู้มาแนะนาโดยตรง ผา่ นระบบออนไลนไ์ ดท้ ัว่ โลก จากการประกาศมาตรฐานการอดุ มศึกษา 2561 โดยการเน้นให้หลกั สตู รสรา้ งความ รว่ มมือกับสถานประกอบการ หนว่ ยงานทใ่ี ช้บัณฑติ สาหรับสรา้ งรายวิชาความร่วมมอื เพอ่ื ใหก้ าร นาวทิ ยาการทสี่ ามารถนาไปใช้ในชวี ิตได้จรงิ ใหค้ รอบคลุมผลลพั ธ์ 3 ด้านได้แก่ การเป็นบุคคลท่มี ี ความรคู้ วามสามารถในศาสตรท์ ่ีศกึ ษา เป็นผรู้ ว่ มสร้างสรรคน์ วตั กรรม และเป็นพลเมืองที่เข็มแข็ง ในการดาเนินชวี ิตศตวรรษท่ี 21 การเปล่ยี นแปลงต่างๆอย่างทันทีทนั ใดน้ีทาใหก้ ารปรับตัวเพ่อื พัฒนาทักษะการสอนของอาจารย์ลา่ ช้ากว่าเทคโนโลยที ่ีมีคณะวิศวกรรมศาสตรแ์ ละสถาปัตย กรรมศาสตร์ จึงนาข้อมูลจากผลประเมินในด้านต่างๆ ไดแ้ ก่ สหกจิ ศกึ ษา การไดง้ านทาในรอบ 1 ปี ผลการประเมินบณั ฑิตจากสถานประกอบการ ขอ้ เสนอแนะจากบัณฑิต ผลประเมนิ ความพงึ พอใจของนักศกึ ษาในแต่ละหลักสตู ร การรายงานผลการดาเนนิ การของหลักสตู ร (มคอ.7) ผล ประเมินการสอนของอาจารย์มาทาการวิเคราะหข์ ้อมูลตัง้ แตป่ กี ารศึกษา 2557 พบวา่ ตอ้ งมกี าร ปรับปรุงกระบวนการเรียนการสอนอยา่ งเรง่ ด่วนเพอื่ สรา้ งคณุ ภาพบัณฑิต โดยอาศยั ระบบการ จดั การความรเู้ ป็นเคร่ืองมือเพื่อสกดั องคค์ วามรู้ดา้ นวธิ กี ารสอน การกาหนดมาตรฐานดา้ นบัณฑติ นกั ปฏิบัติ การสง่ เสริมและสนบั สนนุ การสร้างสภาพแวดล้อมครบทุกมิติ
วธิ ีการดําเนินงาน เริ่มจากการวิเคราะห์ข้อมลู ท่จี ดั รวบรวม ทาให้พบความสัมพนั ธข์ องสาเหตุดังแสดงในรูป ท่ี 1 ได้แก่ ตัวอาจารย์ นักศึกษา หลักสูตร กระบวนการสอน การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบการสอน ความคาดหวังหรือความต้องการของสถานประกอบการ คุณลักษณะหรือ ทักษะท่ีนักศึกษาต้องมี แผนกงานแผนและประกันคุณภาพการศึกษา ได้เชิญอาจารย์ประจา หลักสูตรจานวน 21 หลักสูตรมาร่วมกันอภิปรายเพื่อหาปัญหาที่มีร่วมกัน ซ่ึงแต่ละหลักสูตรมี ปญั หาในเรอื่ ง การเสรมิ สรา้ งทักษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 จึงกาหนดหัวข้อเรื่อง เทคนิคการ สอนในศตวรรษท่ี 21 โดยใช้เคร่ืองมือการจัดการความรู้ (KM Tool) คือ การทบทวนก่อนการ ปฏิบัติ (BAR : Before Action Reviews) เพ่ือปรับวิธีการสอนมีข้ันตอนในการดาเนินการดัง แสดงในรปู ที่ 2 กระท่ังสกัดเปน็ องค์ความรู้ (การทบทวนหลังการปฏิบัติ After Action Review : AAR) เพื่อสร้างแนวทางการบัณฑิตนักปฏิบัติที่มีทักษะความคิดสร้างสรรค์เพ่ือสร้างสิ่งประดิษฐ์ และนวตั กรรม ดงั แสดงในรปู ภาพท่ี 3 รูปที่ 1 ต้นเหตขุ องการจัดการความรู้
รปู ท่ี 2 การทบทวนก่อนการปฏิบตั ิ (BAR : Before Action Reviews) รปู ท่ี 3 แผนทแ่ี นวความคิดบทสรุปกระบวนการจัดการเรียนการสอนจากการสกัดองค์ความรู้ งาน เพือ่ สรา้ งบณั ฑิตนกั ปฏบิ ัติท่มี ีทักษะความคดิ สร้างสรรคเ์ พอ่ื สรา้ งส่งิ ประดษิ ฐ์และนวตั กรรม
ขัน้ ตอนในการดําเนนิ งาน ขั้นตอนท่ี 1 เร่ิมจากการจัดทาแผนปรับปรุงผลการดาเนินงานในปี 2557 ตาม ขอ้ เสนอแนะกรรมการบริหารคณะเพื่อใช้เป็นแผนปฏิบัติการประจาปีการศึกษา 2558 ตามแบบ คู่มือขั้นตอนการประกันคุณการศึกษาภายในและการจัดการความรู้ (PM-40 Issue2) ซึ่งเป็น ระบบบริหารคุณภาพ ISO 9001 ที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน นครราชสีมา ประกาศใชโ้ ดยการแต่งต้ังกรรมการดาเนินงานการจัดการความรู้ประจาปีการศึกษา การสารวจ ผู้เข้าร่วมโครงการเพราะต้องใช้เวลา 2 คร้ังจึงต้องมีการวางแผนล่วงหน้าเพื่อไม่ให้เกิดการ เปล่ียนแปลงตัวบุคคลเข้าร่วม และต้องเป็นบุคคลในกรรมการบริหารหลักสูตรเพื่อเป็นต้นแบบ สาหรบั การนาข้อมูลต่างๆ ไปถ่ายทอดและกากับติดตาม โดยการมอบหมายให้กรรมการบริหาร หลั กสู ตร ร ว บร วม ข้อ มู ลผ ล ส รุป จา น ว น ร าย วิ ชา ที่ มี กา ร จั ดก าร เรี ย น ก าร สอ น โ ดย วิธี สอ น ท่ี สอดคล้องกับศตวรรษที่ 21 (มอบวิธีการสอนในศตวรรษท่ี 21 หนังสือและเวบไซด์แก่อาจารย์ บรหิ ารหลกั สตู ร 2. ฝ่ายแผนและประกันคุณภาพการศึกษาเชิญวิทยากรท่ีมีความเชี่ยวชาญด้านเทคนิคการ สอนในศตวรรษที่ 21 มาแลกเปล่ียนเรียนรูร้ ่วมกับอาจารย์ประจาหลักสูตร โดยแบ่งกลุ่มอาจารย์ ประจาหลักสูตรทม่ี รี ายวชิ าใกลเ้ คียงกันอยกู่ ลมุ่ เดยี วกัน และอาจารย์ประจาหลักสูตรทุกหลักสูตร มานาเสนอพร้อมกับแลกเปลีย่ นเรียนรู้กับวทิ ยากรและอาจารยป์ ระจาหลักสตู รอ่ืนๆ 3. อาจารยป์ ระจาหลกั สตู รไดน้ าวิธีการทีไ่ ด้ไปใช้จริงในการจัดการเรียนการสอน 4. ฝ่ายแผนและประกันคุณภาพการศึกษาเชิญอาจารย์ประจาหลักสูตรประชุมและอภิปราย เพ่ือสกัดองค์ความรู้เทคนิคการสอนท่ีเหมาะสมในรายวิชาทฤษฎี ปฏิบัติ และรายวิชาทฤษฎี รว่ มกบั ปฏิบตั ิ เพื่อจดั การความรใู้ ห้เป็นระบบ 5. ฝา่ ยแผนและประกันคุณภาพการศึกษา กากับและติดตามตัวช้ีวัดเม่ือมีการนาองค์ความรู้ ไปใช้งาน (การทบทวนหลังการปฏิบัติ After Action Review : AAR) ในช่วงการเตรียมความ พร้อมและทาความเข้าใจการเขียนรายงานผลการดาเนินงานหลักสูตร (มคอ.7) เพ่ือวางแผน ปรบั ปรุงในการดาเนินงานกระบวนการจดั การเรียนการสอนในปีการศกึ ษาถัดไป 6. ฝ่ายแผนและประกันคุณภาพการศึกษา จัดทาแนวปฏิบัติท่ีดีเพื่อเผยแพร่ให้ทุกหลักสูตร ภายในคณะนาไปปฏิบัติและเผยแพร่สู่เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายนอกมหาวิทยาลัยเก่ียวกับองค์ ความรู้วิธีการสอน (เทคนิคการสอน) ท่ีเหมาะสมกับการสอนในรายวิชาทฤษฎี วิชาปฏิบัติ และ วชิ าทฤษฎรี ่วมกับปฏิบัติ สาหรับการสรา้ งบณั ฑติ นกั ปฏิบตั ิใหเ้ กดิ ทกั ษะศตวรรษที่ 21
7. หลังการตรวจประเมินคุณภาพภายในระดับหลักสูตรและได้ข้อเสนอแนะจากกรรมการ ประจาคณะ แผนกงานวิชาการและวิจัยดาเนินการกากับติดตามเพ่ือให้ตัวชี้วัดท่ีกาหนดเกิด แนวโน้มที่ดีอย่างต่อเนื่องเป็นกิจวัตรท่ีแต่ละหลักสูตรต้องกากับดูแลด้วยกรรมการบริหาร หลกั สูตร 8. เพ่ือทาให้แนวปฏิบัติได้รับการตอบสนองจากอาจารย์ท้ังคณะและเกิดความยั่งยืนในการ พัฒนาเทคนิคการสอนแบบใหม่ๆ ข้ึนมาเพื่อพัฒนานักศึกษาอย่างต่อเน่ืองจากองค์ความรู้ที่ถูก สรา้ งข้นึ กรรมการบริหารคณะวศิ วกรรมศาสตรแ์ ละสถาปตั ยกรรมศาสตร์จึงบรรจุตัวช้ีวัดในเร่ือง การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอน บทความการจัดการความรู้ งานวิจัยในห้องเรียน และงบประมาณเป็นส่วนหน่ึงทั้งด้านสมรรถนะและคุณภาพงานในการประเมินผลพิจารณาการ ข้ึนเงนิ เดือน ผลและอภิปรายผลการดาํ เนินงาน การนากระบวนการจัดการความรู้มาใช้สร้างแนวปฏิบัติที่ดีน้ันทาให้สามารถสรุปผลการ สกัดความความรู้ การกากับติดตามการนาไปใช้กระท่ังได้แนวปฏิบัติที่เหมาะสมกับการจัดการ เรียนการสอนในแต่ละรูปแบบดังแสดงในรูปที่ 3 พบว่าเทคนิคการสอนมีรูปแบบที่แตกต่างกัน ตามรายวิชาได้แก่วิชาทฤษฎี ทฤษฎีร่วมกับปฏิบัติ และปฏิบัติ ซึ่งในคณะวิศวกรรมศาสตร์และ สถาปัตยกรรมศาสตร์น้ันในกรณีที่มีการจัดการเรียนการสอนเพ่ือรับใบประกอบอาชีพวิศวกรรม การจัดรูปแบบการเรียนจะเป็นวิชาทฤษฎีและปฏิบัติเท่านั้น แต่ในบางหลักสูตรที่ไม่รับใบ ประกอบวิชาชพี วิศวกรรมจะพบการจัดรูปแบบการเรียนท้ัง 3 แบบ ในส่วนเทคนิคการสอนหรือ วิธีการสอนแยกตามรายวิชาที่เป็นทฤษฎี ซ่ึงอาจารย์ทาหน้าท่ีเป็นพ่ีเลี้ยงคอยช้ีแนะผ่านโจทย์ ตวั อย่างจากของจรงิ (Case Study) โดยการใช้เทคโนโลยกี ารส่อื สาร มลั ติมีเดีย โซเชียลเน็ตเวิร์ค (Flip Classroom) มาร่วมโดยเนน้ การทางานเปน็ กลมุ่ และเนน้ การแสดงออกทางความคิดกับการ นาเสนอข้อมูลใหก้ ับเพื่อนร่วมห้องได้ทราบ ในรายวิชาทฤษฎีร่วมกับปฏิบัติเน้นเร่ืองการทดลอง การสืบคน้ ขอ้ มลู การวิเคราะห์ สรา้ งชิน้ งาน วัดผล แสดงผล หรือการให้โจทย์เพ่ือให้แก้ไขปัญหา สู่เป้าหมายที่กาหนดให้ (Problem Base Learning) เช่นเดียวกันกับวิชาปฏิบัติเน้นในเร่ืองการ นาองคค์ วามรู้ที่ทดลองมาต่อยอดสร้างเป็นช้ินงานโดยผู้สอนจะกาหนดโจทย์ให้ผู้เรียน (Project Base Learning)
ปญั หาและอปุ สรรค การมเี วลาว่างในการเข้าร่วมกิจกรรมในแต่ละรอบนั้นอาจมีอาจารย์ในหลักสูตรที่มีเวลา วา่ งไม่พรอ้ มกนั แตท่ างผูด้ ูแลโครงการใชว้ ิธีการสารวจในแต่ละคร้ังและสามารถให้ส่งตัวแทนเข้า ร่วมเพื่อนาข้อมูลกลับไปบอกกล่าวสาหรับการเตรียมข้อมูลนามาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในแต่ละคร้ัง ข้อสงสัยในแนวทางปฏิบัติทางผู้ดูแลโครงการมีการเชิญวิทยากรท่ีเช่ียวชาญมาเป็นผู้ให้ความรู้ และคาแนะนา อีกทง้ั ยังสามารถสอบถามเปน็ การสว่ นตวั ผ่านทางไลน์แอบปริเคชั่นหรือทางอีเมล์ กระท่งั สกัดองค์ความรแู้ ละสรา้ งเป็นแนวปฏบิ ตั ทิ ่ีดี ผลสําเร็จของงาน/แนวปฏิบัติที่ดี ผลจากการสร้างแนวปฏิบัติในการผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติที่มีทักษะในการคิดแก้ปัญหา ดว้ ยการสร้างส่ิงประดษิ ฐ์หรือนวตกรรมข้ึนมาใช้งานผ่านกระบวนการจัดการเรียนการสอนแบบ ลงมือและการแก้ปญั หาดว้ ยการสร้างส่ิงประดิษฐ์หรอื นวตกรรมขน้ึ มาใช้งาน ซง่ึ สามารถเขียนเป็น บทสรุปดังรปู ท่ี 4 รปู ที่ 4 บทสรุปแนวปฏิบัติสรา้ งบณั ฑติ นกั ปฏิบัติทมี่ ที ักษะในการแกป้ ญั หา
ตัวช้ีวัดผลสาเร็จเป็นข้อมูลเชิงสถิติเพ่ือแสดงแนวโน้มผลลัพธ์ที่มีการติดตามโดย เปา้ ประสงค์หลกั แบ่งออกเปน็ ตวั นกั ศึกษา บัณฑติ อาจารย์ ดังแสดงในตาราง ลาดับ ผลลัพธ์เกดิ กับ ปกี ารศึกษา 2558 2559 ท่ี 2557 2560 87.27 89.47 นักศกึ ษา (ร้อยละ) 57.70 75.25 92.45 60.24 61.51 82.00 1. ผลประเมนิ สหกจิ ศึกษา 82.84 62.23 15 2. จานวนนักศึกษาที่ได้ใบเกียรติบัตรจากการ 25.67 5 ทดสอบกบั สถาบันวชิ าชพี 10 15 15 3. จานวนนักศึกษาได้งานทาต่อบริษัทเดิมที่ 57.12 ออกสหกิจ 4. การประกวดส่ิงประดิษฐ์และนวตกรรม - ระดับชาติ 5. ผลงานตีพิมพ์สืบเนื่องจากส่ิงประดิษฐ์ - และนวตกรรม บัณฑิต (ร้อยละ) 6. การได้งานทาในรอบ 1 ปี 75.89 81.30 85.89 89.95 7. ผลประเมินคณุ ภาพบณั ฑิตตามกรอบ TQF 76.20 80.20 86.02 90.02 อาจารย์ (ร้อยละ) 8. รายวิชาจัดการเรียนการสอนให้นักศึกษา 30 50 60 75 เกดิ ทักษะในศตวรรษท่ี 21 (มคอ.3) 9. ค่าเฉลี่ยผลประเมินการสอนรายบุคคล 76.4 80.2 86 88 ประจาปกี ารศกึ ษา 10. ทนุ วิจยั ในห้องเรยี น 358 8 11. ผลงานวจิ ยั ในหอ้ งเรยี นทีไ่ ด้รับการตีพมิ พ์ 3 5 6 6 12. จานวนผลงานท่ีจดอนสุ ทิ ธบิ ตั ร 7 33 12 2 13. รายได้จากสิ่งประดิษฐ์หรือนวตกรรม - 5 5 30
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129