Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทความวิชาการ_การเปรียบเทียบวรรณคดีเรื่อง ขุนช้างขุนแผนกับละครโทรทัศน์เรื่อง วันทอง

บทความวิชาการ_การเปรียบเทียบวรรณคดีเรื่อง ขุนช้างขุนแผนกับละครโทรทัศน์เรื่อง วันทอง

Published by กัญชลิกา วงษ์วิลาศ, 2023-07-09 07:23:19

Description: บทความ_การเปรียบเทียบวรรณคดีเรื่อง ขุนช้างขุนแผนกับละครโทรทัศน์เรื่อง วันทอง

Search

Read the Text Version

การเปรียบเทียบวรรณคดเี รอ่ื ง ขุนช้างขุนแผน ท่ีมีอทิ ธิพลต่อสัมพนั ธบทละครโทรทัศนเ์ ร่ือง วนั ทอง literary comparison Khun Chang Khun Phaen Influencing the relationship of the \"Wan Thong\" ธนากร จารนิ ทร์, กญั ชลิกา วงษ์วลิ าศ, ขวัญจิรา สายันต์, จิดาภา คลำ้ จีน, ฑฆิ ัมพร เข็มทอง และอัณศยา คงจันทร์ สาขาวชิ าภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏหม่บู ้านจอมบงึ บทคัดย่อ การวิจัยเรื่องการเปรียบเทียบวรรณคดีเรื่องขุนช้างขุนแผน ที่มีอิทธิพลต่อสัมพันธบทละครโทรทัศน์ เรื่องวันทอง มีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อเพื่อ 1) เพื่อเปรียบเทียบสัมพันธบทวรรณคดีเรื่องขุนช้างขุนแผนกับ ละครโทรทัศน์เรื่องวนั ทอง 2) เพื่อศึกษาเนื้อหาวรรณคดีเรื่องขนุ ช้างขุนแผนทน่ี ำเสนอผ่านละครโทรทัศน์ โดย ใช้วิธีการวิจัยการเปรียบเทียบ เก็บข้อมูลจากวิเคราะห์เนื้อหาในวรรณคดีขุนช้างขุนแผน ฉบับห้ องสมุด วชิรญาณ ในรปู แบบฉนั ทลกั ษณข์ องกลอนเสภา และละครโทรทัศน์ไทยเรอ่ื ง วนั ทอง โดยใช้แนวคิดสัมพันธบท ของKristeva นักวิชาการชาวบัลแกเรีย โดยวิเคราะห์จากการอ่านต้นฉบับขุนช้างขุนแผน ฉบับห้องสมุด วิชรรญาณ จำนวน 6 ตอน คือ 1.นางพิมเปลี่ยนชื่อวันทอง ขุนช้างลวงว่าพลายแกว้ ตาย 2.ขุนแผนขึ้นเรอื นขนุ ชา้ ง 3.กำเนดิ พลายงาม 4.กำเนิดกุมารทองบตุ รนางบวั คล่ี 5.ขุนชา้ งถวายฎีกา และ6.ฆ่านางวันทอง ในรูปแบบ ของกลอนเสภา และถอดคำประพันธ์ให้เป็นร้อยแก้ว ละครโทรทัศน์เรื่องวันทอง จำนวน 16 ตอน เพื่อ เปรียบเทียบลักษณะสัมพันธบท โดยมีสัมพันธบทการเปรียบเทียบคือ การคงเดิม(Convention) การตัดทอน (Reduction) การขยายความ (Extension) และการดัดแปลง (Modification) ผลการวิจัยพบว่า 1) การ วิเคราะห์ข้อมูลผ่านการอ่านวรรณคดีขนุ ช้างขนุ แผน และรับชมละครโทรทัศน์โดยผู้วิจัยใช้การวิเคราะห์ตัวบท (Textual Analysis) สรุปได้วา่ บทละครเรือ่ งวันทอง มีความคลา้ ยคลึงและมีความแตกต่างจากตัวบทประพันธ์ เดมิ โดยแบง่ ไดเ้ ปน็ เหตุการณ์ ลักษณะนิสัยตวั ละคร และฉาก 2) การเปรียบเทียบสัมพนั ธบทวรรณคดีเรื่อง ขุน ช้างขุนแผน กับละครโทรทัศน์เรื่อง วันทอง สรุปได้ว่าบทละครเรื่องวันทอง มีความคงเดิมคล้ายคลึง ขุนช้าง ขุนแผนฉบับหอสมุดวชิญาณ ในรูปแบบของโครงเรื่องและฉากที่อยู่ในช่วงสมัยและรูปแบบสังคมของสมัย อยุธยาแต่มีการตัดทอนเหตุการณ์และตัวละครบ้างตวั ออกเพื่อนความกระชับในการนำเสนอ นอกจากนี้ผู้วจิ ยั ยังพบว่ามีการเพิ่มหรือขยายความฉาก ตัวละคร และเหตุการณ์ให้มีความร่วมสมัยและแทรกแนวคิดในยุค ปจั จุบันเขา้ ไปให้เกดิ ความสมเหตุสมผลของเนอื้ เรอื่ งมากขน้ึ คำสำคัญ : การเปรยี บเทียบ, วรรณคดีขุนชา้ งขนุ แผน, สัมพันธบท, ละครโทรทศั น์เร่ืองวันทอง ABSTRACT A research on the literary comparison of Khun Chang Khun Phaen that influenced the relationship between the TV drama \"Wan Thong\" The objectives of this research were: 1) to compare the literary relationship of Khun Chang Khun Phaen with the TV drama \"Wan Thong\"; 2) to study the literary content of Khun Chang Khun Phaen presented through the TV series.

by using a comparative research method Data were collected from the analysis of content in Khun Chang Khun Phaen literature, Wachirayan Library edition, in the form of a prosody of the poem Khon Sepha. and the Thai TV drama Wanthong, using the concept of Kristeva's relationship. Bulgarian scholar by analyzing from reading the manuscript of Khun Chang Khun Phaen, Wichanyan Library edition, 6 parts, namely: 1. Nang Pim changed her name to Wanthong. Khun Chang deceives that Plaikaew is dead. 2. Khun Phaen goes up to Khun Chang's house 3. Origin of beauty 4. The birth of Kumarnthong, the son of Mrs. Buakhli 5. Khun Chang offers a petition and 6. Killing Mrs. Wanthong in the form of a poem and turn the poem into prose TV series Wanthong, 16 episodes, to compare the relationship characteristics. with the comparative preposition, which is Convention, reduction, extension, and modification (Modification) The results of the research were as follows: 1) Data analysis through reading Khun Chang Khun Phaen literature. and watching television dramas by the researcher using textual analysis. There are similarities and differences from the original script by dividing events. Character traits and scenes 2) Comparison of the literary relationship of Khun Chang Khun Phaen With the TV drama \"Wanthong\", it can be concluded that the drama \"Wanthong\" have similar stability Khun Chang Khun Phaen, Wachiyan Library edition In the form of a storyline and a scene that is in the period and social style of the Ayutthaya period, but there are some events and characters cut off for the conciseness of the presentation. In addition, the researchers found that scenes, characters and events were added or expanded to be more contemporary and inserted modern ideas into the story to make the story more reasonable. Keywords : literary comparison, literary Khun Chang Khun Phaen, relationship, TV series Wan Thong บทนำ การสรา้ งสรรคผ์ ลงานในรูปแบบของการประพันธแ์ ละงานเขียนที่ถูกรังสรรค์ ด้วยความงามของภาษา และการรอ้ ยเรยี งถอ้ ยคำดว้ ยวรรณศิลป์ การแสดงความคดิ ความรูส้ กึ รวมไปถงึ คติสอนใจ นนั่ คือ “วรรณคดี” รื่นฤทัย สัจจพันธ์ (2523 : 4) ได้กล่าวถึงความหมายของวรรณกรรมไว้ว่า วรรณคดีในความหมายอย่างแคบ หรอื ความหมายทางวิชาการ หมายถงึ เร่ืองทแ่ี ต่งข้ึนอย่าง มีศลิ ปะในการแต่ง มีความเหมาะเจาะกลมกลืน ท้ัง รูปแบบและเนื้อหา มีการวางโครงเรื่องที่ดี เลือกใช้คําประพันธ์ที่ สอดคล้องกับเนื้อความ มีท่วงทำนองการ เขียนที่ประกอบกันให้เกิด สุนทรียรสในการอ่าน ชวนให้ติดตาม เป็นหนังสือที่สร้างความบันเทิง เริงอารมณ์ ก่อให้เกิด ความนึกคิด และจินตนาการ ด้วยภาพพจน์ ด้วยการยกอุทาหรณ์เปรียบเทียบด้วยกวีโวหาร อุปมา อุปไมย ฯลฯ ทำให้ตระหนักถึงคุณค่าของความงาม และยังให้ความรู้ให้ข้อคิดอันเป็น คุณประโยชน์ หรือเป็น เครอื่ งสงั วรใหเ้ ห็นโทษ ทง้ั ยังเปน็ ภาพสะท้อนให้ผอู้ ่านได้รจู้ ักลักษณะ ชีวติ และสังคมหลายแง่หลายมมุ ข้ึน

ในการสง่ เสรมิ การประพันธ์และการใช้ภาษาไทยให้ถูกต้องจงึ ได้มีการจัดตั้งข้ึนในสมัยพระบาทสมเด็จ พระมงกุฎเกล้าเจ้าอย่หู วั พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยู่หวั ทรงพระกรุณาโปรดเกลา้ ตง้ั วรรณคดีสโมสร ขึ้นและประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคมพ.ศ 2457 เพื่อดำเนินตามรอยพระยุคลบาทใน การตั้งโบราณคดีสโมสรเพื่อศึกษาประวัติศาสตรแ์ ละโบราณคดีของชาตแิ ละเพื่อทรงสืบทอดพระราชประสงค์ ของพระบรมชนกนาถที่จะอุดหนุนทำนุบำรุงการแต่งกาพย์กลอนและความเรียงร้อยแก้วในภาษาไทยให้ดีขึ้น รื่นฤทัย สัจจพันธ์ (2553 : 3) ได้กล่าวถึงเกณฑ์การพิจารณาหนังสือที่เหมาะสมได้รับการแต่งตั้งจากวรรณคดี สโมสรว่า เป็นยอดวรรณคดี โดยมีหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ 1. เป็นหนังสือดี กล่าวคือเป็นเรื่องที่สมควรซึ่ง สาธารณชนจะอ่านได้โดยไม่เสียประโยชน์หรือไม่ควรชักจูงความคิดให้ผู้อ่านไม่เป็นแก่นสาร 2. เป็นหนังสือท่ี แต่งดี กล่าวคือใช้วิธีเรียบเรียงอย่างใด ๆ ก็ตามแต่ต้องเป็นภาษาไทยอันดีถูกต้องตามเยี่ยงที่เคยใช้ในโบราณ อาการหรือในปัจจุบันไม่ใช่ภาษาซึ่งเลียนภาษาต่างประเทศ หรือใช้วิธีผูกประโยคประธานตามแบบ ภาษาต่างประเทศ หนังสือที่ได้รับยกย่องจากวรรณคดีสโมสรรู้จักกันโดยทั่วไปว่ามี 10 รายชื่อที่ได้รับยกย่อง จากวรรณคดีสโมสร และวรรณคดที ไี่ ด้รับการยกยอ่ งว่าเปน็ ยอดของเสภา นนั่ คอื เสภาขุนชา้ งขุนแผน อมรรัตน์ เปี่ยมดนตรี (2558:. 546) ได้กล่าวถึงวรรณคดีเร่ืองขุนช้างขุนแผนไว้ว่า เป็นวรรณคดีมี ชื่อเสียงเป็นที่รู้จักแพร่หลาย ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน จากนิทานพื้นบ้านที่ต่างเล่าขานสืบต่อกันมาแบบ วรรณกรรมมุขปาฐะนำมาขบั เสภาเล่าเป็นเรื่องราวเพ่ือให้เกิดความบันเทงิ เรื่อยมาจนถงึ วรรณกรรมลายลักษณ์ อักษรและเข้าสู่ราชสำนักได้รับความนิยมอย่างสูงสุด จนได้รับการยกย่องจากวรรณคดีสโมสรในสมัยรชั กาลที่ 6 ใหเ้ ปน็ ยอดแห่ง “วรรณคดีเสภา เรอ่ื งขุนช้าง - ขุนแผน” ในเนอ้ื เร่ืองกล่าวถึงตวั ละครเอก 3 ตัว คอื ขุนแผน ขุนช้าง และนางพิมพิลาไลยหรือนางวันทอง วรรณกรรมขุนช้างขุนแผนจึงสะท้อนภาพผ่านกาลเ วลาทำให้ ผอู้ า่ นทราบถงึ วิถชี วี ติ ไทย คติชนความเชื่อต่าง ๆ ของคนในสมยั ก่อนในมติ แิ ห่งวัฒนธรรมในด้านตา่ ง ๆ ด้วยความโดดเด่นของเสภาขุนช้างขุนแผน ทำให้นำวรรณคดีเรื่องนี้ไปดัดแปลงให้เป็นภาพยนต์ มากมาย โดยยังคงโครงเร่ืองเดิมไว้ ได้แก่ ขุนช้างขุนแผน (2545) และในปัจจุบันได้มีการนำวรรณคดีเรื่อง ขุน ช้างขุนแผน มาดัดแปลงอีกครั้งในมุมมองที่ต่างไปจากเดิม โดยดำเนินเรื่องราวผ่านตัวละคร “วันทอง” กำกับ การแสดงโดย สันต์ ศรีแก้วหล่อ บทโทรทัศน์โดย พิมพ์มาดา พัฒนอลงกรณ์, พิมสิรินทร์ พงษ์วานิชสขุ , จุติมา แย้มศิริ การดำเนินเนื้อเรื่องผ่านตัวละครนางวันทอง ซึ่งเป็นภรรยาของขุนแผน มีการสอดแทรกแนวคิด women empowerment สทิ ธิสตรีมากย่งิ ขน้ึ ขดั กับหลกั ธรรมในอดีตทผ่ี ูช้ ายเป็นใหญ่ ซึง่ ละครโทรทัศน์เรื่อง วันทอง ได้มีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการเล่าเรื่องเป็นอย่างมาก จนทำให้มีเอกลักษณ์ แต่ยังคงโครงเรื่อ งไว้ ดังเดิมกับวรรณคดีเรื่องขุนช้างขุนแผน จึงทำให้บทละครเป็นที่โดดเด่น และเป็นเอกลักษณ์ จากบทสัมภาษณ์ ของ พิมพ์มาดา พัฒนอลงกรณ์ (2564) ผู้เขียนบทโทรทัศน์ ได้กล่าวถึงการดัดแปลงเนื้อหาจากเสภาขุนช้าง ขุนแผน เพื่อเพิ่มอรรถรสในบทประพันธ์ว่า “ตอนแรกตั้งเข็มว่า จะเล่าจากมุมของผู้หญงิ ที่ชือ่ วันทอง นำเสนอ ประเดน็ ผหู้ ญิงท่ีเป็นคนชนั้ สองของสงั คมสมยั น้ัน ไมม่ สี ทิ ธเิ ลอื ก ไมม่ ีสิทธิตดั สนิ ใจ พอวันหนึ่งมีโอกาสตัดสินใจ

เลือกก็กลายเป็นจุดเปลีย่ น” เช่นเดียวกับคณุ จุติมา แย้มศิริ (2564) ที่ได้ให้สัมภาษณ์ไว้ว่า ชีวิตของเรามีหลาย อยา่ งที่ต้องทำ แตม่ ีเหตุผลท่ที ำให้เราทำอะไรไม่ได้อีกหลายอย่างเช่นกัน เปรยี บกับชีวิตของวันทองที่ต้องเลือก ระหว่างเอาชีวิตตัวเองให้รอดกับเลือกที่จะให้คนทีร่ ักเราและเรารกั รอด จะเลือกทางใดดีที่สุด ถึงแม้ว่าผูค้ นจะ ตราหน้าเธอวา่ เปน็ หญงิ สองใจ แต่ไม่เจบ็ เท่ากับการทำให้คนทร่ี กั เราและเรารัก ตอ้ งตาย จากวรรณคดเี สภาขนุ ช้างขุนแผนถูกนำมาดดั แปลงเปน็ บทละครโทรทัศนเ์ ร่ืองวันทอง ผจู้ ัดทำจึงได้นำ ทฤษฎีสัมพันธบท โดยอาศัยแนวคดิ สัมพันธบท (Intertextuality) ซึ่งถือกำเนิดขึ้นมาโดย คริสติวา (Kristeva) (1980) นักวิชาการชาวบลั แกเรีย โดยผู้วิจัยจะใช้คำว่า “สัมพันธบท” ที่ นพพร ประชากุล (2543) เป็นผู้แปล เอาไว้ เนื่องจากเป็นคำที่ใช้กันอย่างแพร่หลาย และมีความหมายตรงตัวกับความหมายที่ คริสติวา (Kristeva) ไดน้ ิยามเอาไว้มาก ได้อธิบายไวว้ า่ ตวั บท (Text) ใด ๆ กต็ าม ลว้ นเป็นการดูดซึมและดดั แปลงมาจากอีกตัวบท อื่น ๆ สัมพันธบทจึงเป็นการสร้างตัวบทใหม่ตัวบทหนึ่ง โดยใช้วัตถุดิบจากตัวบทเดิมที่มีอยู่แล้ว โดยวรรณคดี เสภาขุนช้างขุนแผน คือตัวบทต้นปลาย ได้ดัดแปลงโดย บทละครโทรทัศน์เรื่องวันทอง คือตัวบทปลายทาง และยังเสนอแนวทางในหารวิเคราะห์เปรียบเทียบตัว บททั้งสองทั้ง สามารถทำได้โดยอาศัยหลักพิจารณาได้ ดังนี้ 1. การคงเดิม (Convention) หมายความว่า ตัวบทต้นทางได้ถ่ายทอดเนื้อหาอะไรมายังตัวบทปลายทาง โดยไม่เปลี่ยนแปลงหรือไม่ 2. การขยายความ (Extension) หมายความว่า ตัวบทปลายทางได้มีการต่อยอด เนื้อหาอะไรจากตัวบท ต้นทาง มีเหตุผลอะไรของการเพิ่มเติม การขยายความนั้นส่งผลทำให้ความหมาย ทั้งหมดเปลี่ยนแปลงไปหรือไม่ 3. การตัดทอน (Reduction) หมายความว่า ตัวบทปลายทางมีการตัดทอน เนื้อหาอะไรจากตัวบทต้นทางไปบ้าง ตัดทอนเพราะเหตุใด และการตัดทอนนั้นส่งผลถึงความหมายของตวั บท หรือไม่ 4. การดัดแปลง (Modification) หมายความว่า ตัวบทปลายทางมีการดัดแปลงเนื้อหาอะไรไปจากตัว บทต้นทาง จนทำใหต้ วั บทตน้ ทางมรี ูปลกั ษณ์แตกตา่ งไปจากเดมิ การเปลี่ยนแปลงรูปแบบการเลา่ เร่อื งจงึ เปน็ จดุ สำคัญทสี่ ามารถศึกษา วเิ คราะห์ขอ้ แตกต่างสัมพันธบท ในเนื้อเรื่องได้อย่างชัดเจน อีกทั้งยังเป็นการศึกษาข้อแตกต่างที่ละครโทรทัศน์ได้ดัดแปลงไปจากวรรณคดี เพือ่ ให้ทราบถึงข้อเทจ็ จริงในการศกึ ษาวรรณคดเี รื่อง ขนุ ช้างขนุ แผน และสามารถนำเนอ้ื หาการเปรยี บเทียบไป ใชป้ ระกอบการจดั การเรยี นรู้ในช้ันเรยี นได้ วัตถุประสงคข์ องการวิจยั 1. เพื่อเปรียบเทียบสมั พนั ธบทวรรณคดเี ร่ือง ขุนช้างขุนแผน กับละครโทรทัศนเ์ รอ่ื ง วันทอง 2. เพ่อื วเิ คราะห์เนื้อหาวรรณคดเี ร่อื ง ขุนชา้ งขนุ แผน ทน่ี ำเสนอผา่ นบทละครโทรทศั น์ ขอบเขตการวิจัย การวจิ ัยครง้ั น้ี ผวู้ ิจยั ไดก้ ำหนดขอบเขตของการวจิ ัย 2 ด้าน ดงั น้ี 1. ดา้ นนิยามศัพทเ์ ชิงปฏิบัตกิ าร

การเปรียบเทียบ หมายถึง การศึกษาตัวแปรที่มีตั้งแต่ 2 ตัวแปรขึ้นไป และผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้น หลังจากการเปรียบเทียบตัวแปร โดยการพยายามศึกษาถึงสาเหตุ หรอื ผลความแตกต่างของตวั แปรทงั้ สอง ตัว แปรแรกได้แก่ วรรณคดีเรื่อง ขนุ ชา้ งขนุ แผน ตัวแปรท่สี องไดแ้ ก่ ละครโทรทศั น์เรอ่ื ง วันทอง สัมพันธบท (Intertextuality) หมายถึง ซ่ึงถือกำเนิดขึ้นมาโดย Kristeva (1980) นักวิชาการชาว บัลแกเรีย โดยผ้วู ิจยั จะใชค้ ำวา่ “สัมพนั ธบท” ท่ี นพพร ประชากุล (2543) เป็นผแู้ ปลเอาไว้ เนอื่ งจากเป็นคำท่ี ใช้กันอย่างแพร่หลาย และมีความหมายตรงตัวกับความหมายที่ Kristeva ได้นิยามเอาไว้มาก ที่สุด Kristeva (1980) อธิบายไว้ว่า ตัวบท (Text) ใด ๆ ก็ตาม ล้วนเป็นการดูดซึมและดัดแปลงมาจากอีกตัวบท อื่น ๆ สัมพันธบทจงึ เป็นการสร้างตัวบทใหมต่ ัวบทหนึ่ง โดยใช้วตั ถุดิบจากตัวบทเดิมทีม่ ีอยู่แล้ว (A.A. Berger, 1992 อ้างใน กาญจนา แก้วเทพ, 2553) หรอื คือความสมั พันธร์ ะหวา่ งตัวบทในกระบวนการสร้างความหมายของ ตัว บทหนึ่งที่เป็นตัวบทใหม่โดยอาศัยการอ้างอิง หรือหยิบยืมความหมายจากตัวบทเดิมที่มีอยู่แล้ว มาใช้เป็น วตั ถุดิบรว่ มในการสรา้ งตัวบทใหม่ด้วย นพพร ประชากุล(2543, อ้างใน กาญจนา แก้วเทพ, 2553) เป็นผ้เู รียกตวั บทแรกว่า “ตัวบทต้นทาง” และ เรียกตัวบทที่ถูกสร้างมาจากตัวบทแรกว่า “ตัวบทปลายทาง” และยังเสนอแนวทางในหารวิเคราะห์ เปรียบเทยี บตวั บทท้ังสองท้งั (ลินนิ แสงพัฒนะ, 2558.: 680) วรรณคดีเรือ่ ง ขุนช้างขุนแผน หมายถึง วรรณคดี เปรียบได้กับหนังสือทีไ่ ด้รับการยกย่องว่าแตง่ ดี มี คณุ คา่ ใชภ้ าษาทไี่ พเราะ ทำใหผ้ อู้ า่ นเกิดอารมณ์สะเทือนใจ โดยวรรณคดีเร่อื งขุนช้างขุนแผน ไดร้ บั การยกย่อง จากวรรณคดีสโมสร ในสมัยรัชกาลที่ 6 ให้เป็นยอดกลอนเสภา ซึ่งวรรณคดีเรื่องขุนช้างขุนแผน เป็นเรื่องราว ความรักของขุนช้าง ขุนแผน และนางวันทอง จุดเริ่มต้นของเรื่องราวความรัก การแย่งชิงที่ไม่มีที่สิ้นสุด จน กลายเปน็ โศกนาฏกรรมอนั โศกเศรา้ ในตอนท้ายของเรื่อง ละครโทรทัศน์เรื่อง วันทอง หมายถึง การดัดแปลงหรือการแปรรูปวรรณกรรม ให้เป็นบทละคร โทรทัศน์ (Adaptation) ด้วยการนำนวนยิ าย เรอื่ งสน้ั วรรณกรรม เรียงความหรอื งานเขยี นประเภทอืน่ มาสร้าง เป็นบทละครโทรทศั น์ ละครโทรทัศน์เร่ือง วันทอง เป็นการสรรสรา้ งละครโทรทัศน์ โดยการนำวรรณคดี เรื่อง ขุนชา้ งขนุ แผน มาดัดแปลงรูปแบบ ผ่านการถา่ ยทอดเรื่องราวของตัวละครหลัก คอื นางวนั ทอง การสอดแทรก แนวคิด women empowerment สทิ ธสิ ตรีมากยง่ิ ขนึ้ ขัดกบั หลักธรรมในอดีตท่ีผูช้ ายเปน็ ใหญ่ ซง่ึ แตกต่างไป จากวรรณคดีเรื่องขุนช้างขนุ แผน ที่ผู้ชายมีสิทธแิ ละอำนาจการตดั สินใจมากกว่าผู้หญิง แต่ยังคงการลำดับเนอื้ เร่ืองตามโครงเรือ่ งเดิมของวรรณคดี 2. ขอบเขตด้านประชากรในการวิจยั 2.2 วรรณคดเี รือ่ ง ขนุ ช้างขุนแผน วรรณกรรมเรื่องนี้ได้กล่าวถึง ครอบครัวสามครอบครัว คือ ครอบครัวของขุนไกรพลพ่ายรับราชการ ทหาร มีภรรยาชอ่ื นางทองประศรี มลี ูกชายด้วยกันชื่อ พลายแกว้ (ขุนแผน) ครอบครัวของขุนศรวี ิชัย เศรษฐี ใหญ่ของเมอื งสพุ รรณบุรี รับราชการเป็นนายกองกรมชา้ งนอก ภรรยาชือ่ นางเทพทอง มีลกู ชายชอื่ ขุนชา้ ง ซึ่ง

หัวล้านมาแต่กำเนิด และครอบครัวของพันศรโยธา เป็นพ่อค้า ภรรยาชื่อ ศรีประจัน มีลูกสาวรูปร่างหน้าตา งดงามชอ่ื นางพิมพลิ าไลย (วนั ทอง) ซ่งึ ท้งั สามครอบครัวนั้นเป็นเพื่อนกัน เมอื่ ทง้ั สามเติบโตข้นึ ขุนช้างท่ีหลงรัก นางวันทองตั้งแต่เด็ก จึงคิดที่จะอยากได้นางมาครอบครอง แต่นางกลับมีใจให้ขุนแผนรูปงาม ทั้งคู่จึงเกิดการ แย่งชิงตัวนางวันทอง จึงทำให้เกิดเรื่องวุ่นวาย เมื่อเรื่องถึงพระพันวษาจงึ ได้ตดั สินโทษว่านางวันทองนัน้ สองใจ ไมย่ อมเลอื กชายคนใดคนหนงึ่ นนั่ เปน็ เหตทุ ำใหน้ างวนั ทองต้องถกู ประหารชีวิตในท่สี ุด 2.2 ละครโทรทัศนเ์ รื่อง วนั ทอง ละครชุดโทรทัศน์เรื่องนี้ เป็นเรื่องราวของนางวันทอง หญิงสาวรปู งามที่ถูกตราหน้าว่าเป็นผู้หญิงสอง ใจ ที่กำลังถูกพระพันวษาพิพากษา หลังเกิดศึกชิงตัวนางวันทองระหว่าง ขุนแผนและขุนช้าง อดีตเพื่อนรักที่ หลงรักผหู้ ญงิ คนเดียวกัน และเพือ่ เป็นการยุติเร่ืองราวท้ังหมด พระพันวษาจึงย่นื คำขาดใหว้ ันทองต้องเลือก ว่า เธอจะอยู่กับใคร แต่วันทองกลับเลือกไม่ได้ ทำให้พระพันวษาโกรธจัดสั่งประหารชีวิตเธอทันที เพื่อเรียกร้อง ความเป็นธรรมให้กับตนเอง วันทองจึงขอใช้โอกาสสุดท้ายเล่าเรื่องราวความรักอันซับซ้อนนี้ให้สังคมได้รับรู้ และแสดงให้เห็นถึงสิทธสิ ตรที ่คี วรได้รับโอกาสในการปกป้องตนเองของหญิงสาวในสมัยก่อน 2.3 แนวคิดเรื่องสัมพันธบท (Intertextuality) ตัวบทแรกที่มีการสร้างเรียกว่า “ตัวบทต้นทาง” และตวั บทต่อไป ที่มีการสร้างมาจากตัวบทแรกเรียกวา่ “ตวั บทปลายทาง” (พเิ ชฐ แสงทอง. 2555: 261-270) ซึ่งเป็นการวิเคราะห์เปรียบเทียบ ว่า ระหว่างตัวบทต้นทางไปตัวบทปลายทางว่ามีมีการคงเดิมตามบทแรก อะไรบ้าง และอะไรเพิ่มเติมเปล่ียนแปลงไปจากเดมิ รวมทั้งสาเหตุการเปล่ียนแปลง ซึ่งพิจารณาจากการขยาย ความ (Extension) การตดั ทอน (Reduction) และการดัดแปลง (Modification) โดยในการศกึ ษาเร่อื งละคร รีเมกนั้นมีลักษณะสัมพันธบทแบบการดัดแปลง คือ การสร้างที่มาจากโครงเรื่องเดียวกันแต่มีการดัดแปลง เนอื้ หาในแตล่ ะเวอร์ชนั่ ทีแ่ ตกต่างกนั ผลการวจิ ยั พบว่า 1. การเปรยี บเทยี บสมั พันธบทวรรณคดีเร่อื ง ขนุ ชา้ งขนุ แผน กบั ละครโทรทศั น์เร่ือง วันทอง ผลการวิจัยพบวา่ ลักษณะสมั พันธบทการเล่าเรื่องของละครโทรทัศน์เร่ือง วนั ทอง โดยได้รับโครงเร่ือง จากวรรณคดีเรื่อง ขุนช้างขุนแผน มีการคงเดิม การขยายความ และการดัดแปลงในบางองค์ประกอบของการ เลา่ เรือ่ ง ดงั น้ี 1.1. การคงเดิม (Convention) พบว่า ตัวบทต้นทางวรรณคดีเรื่อง ขุนช้างขุนแผน กับตัวบท ปลายทางละครโทรทศั น์เรื่อง วันทอง มีสิ่งที่คงเดิมคอื การคงเดิมของตัวละคร ฉาก และเหตุการณ์สำคญั ของ วรรณคดีเรื่อง ขุนช้างขุนแผน เพื่อคงโครงเรื่องเดิมในการเขียนบทละครโดยไม่มีการดัดแปลง ดังตาราง เปรยี บเทยี บ ดังตอ่ ไปนี้

การคงเดมิ (Convention) วรรณคดเี ร่อื ง ตวั ละคร ฉาก เหตกุ ารณ์ ขนุ ช้างขุนแผน 1. นางพมิ เปลย่ี นชือ่ วันทอง ไดแ้ ก่ ขรวั ตา นางวัน ได้แก่ ฉาก ณ เรือนหอ ได้แก่ เหตุการณ์ท่ขี ุนชา้ งนำ ขุนช้างลวงวา่ พลายแก้วตาย ทอง นางศรปี ระจนั และ ของขนุ แผน/วนั ทอง และ กระดูกมาหลอกวันทองและแมศ่ รี ขุนชา้ ง ฉากที่วดั ปา่ เลไลย ประจัน 2. ขนุ แผนข้นึ เรือนขนุ ชา้ ง ได้แก่ ขนุ แผน ขุนชา้ ง ได้แก่ เรอื นขนุ ช้าง ได้แก่ เตรียมของขลังไปชิงตัว แกว้ กริยา และกุมารทอง วันทอง, เป่ามนตร์ให้คนในเรือนขุน ช้างหลับใหล, สลับตัวระหว่างนาง วันทองกับนางแก้วกิริยา และให้ เงินนางแกว้ กิริยาไถต่ วั เอง 3. กำเนิดพลายงาม ได้แก่ วันทอง ขุนช้าง ได้แก่ เรือนของขุนช้าง, ได้แก่ นางวันทองคลอดพลาย พลายงาม ทองประศรี กลางป่าลึก, เรือนนางทอง งาม, ขุนช้างลวงพลายงามไปฆ่าใน และขุนแผน ประศรี, คุกในกรุงศรีอยุธยา ป่า, นางวันทองนำตัวพลายงามไป และพระราชวังหลวง ฝากไว้กับขรัวนาก, พลายงามพบ นางทองประศรี และพลายงามพบ ขนุ แผน 4. กำเนิดกุมารทองบุตรนาง ได้แก่ ขุนช้าง ขุนแผน ได้แก่ พระราชวัง, เรือน ได้แก่ ขุนช้างทูลความเท็จแก่พระ บวั คลี่ พระพันวษา หมื่นหาญ หมื่นหาญ, ป่าที่ขุนแผน พนั วษา, พระพันวศาโกรธขนุ แผนท่ี และกมุ ารทอง ตระเวนไพร และลานวดั ละเลยต่อหน้าท่ี, ความสัมพันธ์ของ ขุนแผนกับนางบัวคล่ี, ขุนแผนโดน สั่งลงโทษให้ไปตระเวนไพร และ ขนุ แผนปลุกเสกกุมารทอง 5. ขนุ ชา้ งถวายฎีกา ไดแ้ ก่ วนั ทอง ขนุ ช้าง ได้แก่ เรือนของขุนช้าง ได้แก่ จมื่นไวยลอบขึ้นเรือนขุน ขุนแผน จมื่นไวย(พลาย และพระราชวัง กรุงศรี ช้างแล้วพานางวันทองหนี, ขุนช้าง งาม) ทองประศรี และ อยธุ ยา ร่างคำร้องถวายฎีกา แล้วลอยคอ พระพนั วษา มายังเรือพระที่นั่งของสมเด็จพระ พันวษาเพื่อถวายฎีกาและขุนแผน เสกคาถาและขี้ผึ้งให้นางวันทองทา ปาก 6.ฆา่ นางวนั ทอง ไดแ้ ก่ นางวนั ทอง ขนุ ได้แก่ ตะแลงแกง และ ได้แก่ นางวันทองสั่งลาพลาย ช้าง และขนุ แผน เรอื นแม่ทองประศรี งาม และหมู่ญาติ และพลายงามก็ รำพนั ถงึ นางวันทองผ้เู ป็นแม่

1.2. การตัดทอน (Reduction) พบว่า ตัวบทต้นทางวรรณคดีเรื่อง ขุนช้างขุนแผน กับตัวบทปลายทาง ละครโทรทศั น์เรื่อง วันทอง มีส่ิงท่ตี ัดทอนคอื การตัดตัวบทตน้ ทางออก เพื่ออรรถรสนการรับชมมากย่ิงขึ้นของ บทละครโทรทศั น์ ดังตารางเปรยี บเทยี บ ดงั ตอ่ ไปนี้ การตดั ทอน (Reduction) วรรณคดีเรื่อง ตวั ละคร ฉาก เหตกุ ารณ์ ขุนชา้ งขนุ แผน 1. นางพมิ เปล่ยี นช่ือวนั ทอง ได้แก่ ยายกลอยกับ ได้แก่ ฉากถูกตัดทอนทั้งสิน ได้แก่ เหตุการณ์การเก็บกระดูก ขุนช้างลวงว่าพลายแก้วตาย ยายสาย สองฉากประกอบด้วยฉาก ป่า คนตาย เหตุการณ์วันทองด่ายาย ชา้ และพิธตี ักขวัญวนั ทอง กลอยและยายสาย 2. ขนุ แผนข้นึ เรือนขนุ ชา้ ง ได้แก่ นางสีจันทน์ ได้แก่ ขุนแผนขอร้องให้พราย และนางทองประศรี ขุนช้างเปิดตูเพื่อเข้าไปหาวันทอง, - พรายผู้จงรักพักดี, ขุนแผนได้นาง แก้วกิริยา และสิ่งของที่มีคา่ ในบา้ น ขนุ ชา้ งหายไป 3. กำเนิดพลายงาม ได้แก่ พลายงาม ทอง ได้แก่ กลางป่า, วัด, ได้แก่ นางวนั ทองคลอดพลายงาม ประศรี และขุนแผน เรือนนางทองประศรี, คุกใน , ขุนช้างลวงพลายงามไปฆ่าในป่า, ก ร ุ ง ศ ร ี อ ย ุ ธ ย า แ ล ะ นางวันทองนำตัวพลายงามไปฝากไว้ พระราชวงั หลวง กับขรัวนาก, พลายงามพบนางทอง ประศรี และพลายงามพบขุนแผน 4. กำเนิดกุมารทองบตุ รนาง ได้แก่ นางสีจันทร์ ได้แก่ เรือนของขุนแผน ได้แก่ นางบัวคลี่ปรึกษาแม่เรื่อง บัวคลี่ จะแต่งงาน , นางสีจันทร์ให้ คำปรึกษาแก่นางบัวคลี่, ขุนแผน กรดี ท้องนางบวั คลี่ 5. ขนุ ช้างถวายฎกี า - - - 6.ฆา่ นางวนั ทอง ได้แก่ ขุนช้าง นาง ได้แก่ ฉากพลายงามปัด ได้แก่ เหตุการณ์ ขุนช้างสะดุด แก้วกิริยา และนางลาว มือขนุ แผน และนางสายทอง เท้าตัวเองล้มลงบนกองขี้หมา และ ทอง อำลานางศรปี ระจนั พลายงามได้เข้าไปนวดนางวันทอง ผู้เป็นแม่

1.3.การขยายความ (Extension) พบว่า ตัวบทต้นทางวรรณคดีเรื่อง ขุนช้างขุนแผน กับตัวบทปลายทาง ละครโทรทัศน์เรื่อง วันทอง มีสิ่งท่ีขยายความ คือ การขยายความจากตัวละคร ฉาก เหตุการณ์ในเรื่องให้มี รายละเอียดและเปน็ การอธิบายเรื่องราวใหช้ ัดเจนมากยง่ิ ขึน้ ดงั ตารางเปรยี บเทียบ ดงั ต่อไปนี้ การขยายความ (Extension) วรรณคดีเร่อื ง ตวั ละคร ฉาก เหตุการณ์ ขุนช้างขนุ แผน 1. นางพิมเปลี่ยน ได้แก่ นางน้อยและนายศร ไดแ้ ก่ ฉากท่ีถกู นำเข้ามาใช้คือ ได้แก่ เหตุการณ์ขุนช้างใช้ยา ชื่อวันทอง ขุนช้าง ฉากตำหนกั ของหมอทำเสนห่ ์ เสน่ห์ เหตุการณ์นายศรพบกับ ลวงว่าพลายแก้ว นางสายทอง ตาย ได้แก่ ขุนแผน วันทอง ผี ได้แก่ การขยายความของตัว ได้แก่ หมื่นหาญจิตใจโหด, 2. ขุนแผนขึ้นเรือน พราย และหม่ืนหาญ ฉาก ได้แก่ ฉากในป่า กุมารทองช่วยเหลือพ่อ, ขุนช้าง ขนุ ชา้ ง จิตใจโหดเหี้ยม ทำร้ายแม้กระท่ัง ผู้หญิง และขุนแผนเช้าไปชิงตัววัน ทอง ได้แก่ วันทอง ขุนช้าง ได้แก่ เรือนของขุนช้าง, ได้แก่ นางว ันทองคลอด ขุนแผน และทองประศรี เรือนนางทองประศรี และคุกใน พลายงาม, ขุนช้างลวงพลายงาม 3. กำเนดิ พลายงาม กรุงศรอี ยธุ ยา ไปฆ่าในป่า, นางวันทองนำตัว พลายงามไปฝากไว้กับขรัวนาก, พลายงามพบนางทองประศรี และ พลายงามพบขนุ แผน ได้แก่ พระมเหษี กุมาร ได้แก่ เรือนของขนุ ช้าง ได้แก่ กุมารทองเข้าต่อสู้กับ 4. กำเนิดกุมารทอง ทอง วนั ทอง และนางเทพทอง หมื่นหาญ, หมื่นหาญหนีมาอยู่ที่ บตุ รนางบัวคล่ี เรือนขุนช้าง และขุนแผนให้โหง พรายไปแจ้งจมื่นศรีเรื่องไม่ไว้ใจ หวั หนา้ ตระเวนไพร ได้แก่ ศรีประจัน นางเทพ ได้แก่ พระพันวษาสั่งให้ 5. ขุนชา้ งถวายฎีกา ทอง นางวันทอง และศรพระ - ประหารชีวิตนางวนั ทอง ยา ไดแ้ ก่ พลายงาม ได้แก่ ฉากที่ตะแลงแกง ไดแ้ ก่ เหตกุ ารณพ์ ลายงามขี่ม้า 6.ฆา่ นางวันทอง มาตะแลงแกง และชาวบ้านต่าง พากันโศกเศร้าเสียใจ

1.4.การดัดแปลง (Modification) พบว่า ตวั บทตน้ ทางวรรณคดีเรอื่ ง ขุนชา้ งขนุ แผน กับตัวบทปลายทาง ละครโทรทัศน์เรื่อง วันทอง มีสิ่งท่ีดัดแปลงคือ การดัดแปลงตัวบทต้นทาง ให้มีลักษณะตัวละคร ฉาก และ เหตกุ ารณ์ในเรอื่ งใหม้ คี วามแตกตา่ งไปจากเดมิ ดังตารางเปรยี บเทยี บ ดงั ตอ่ ไปนี้ การดัดแปลง (Modification) วรรณคดีเรอื่ ง ตัวละคร ฉาก เหตุการณ์ ขนุ ชา้ งขุนแผน 1. นางพิมเปลี่ยน ได้แก่ ขุนช้าง นางวันทอง ได้แก่ พลายแก้วตาย มีฉากท่ี ได้แก่ เหตุการณ์การพบกัน ชื่อวันทอง ขุนช้าง และนางศรีประจนั ถกู ดดั แปลงคอื ฉากแนว ต้นโพธิ์ ของขรัวตากับวันทอง และ ลวงว่าพลายแก้ว เหตกุ ารณก์ ารลม้ ต้นโพธ์พิ ษิ ฐาน ตาย ได้แก่ วันทอง แก้วกริยา ได้แก่ ขุนแผนคิดถึงลาวทอง, 2. ขุนแผนขึ้นเรือน พระพันวษา และขุนชา้ ง ขุนแผนทำพิธีก่อนเข้าไปช่วยวัน ขนุ ชา้ ง - ทอง, วันทองกอดขุนแผน และ ความสัมพันธ์ระหว่างขุนแผนกับ แกว้ กิริยา ได้แก่ วันทอง ขุนช้าง ได้แก่ กลางป่า, วัด, เรือนทอง ได้แก่ นางวันทองคลอดพลาย 3. กำเนิดพลายงาม ขุนแผน พลายงาม และทอง ประศรี, คุกในกรุงศรีอยุธยา และ งาม, ขุนช้างลวงพลายงามไปฆ่า ประศรี พระราชวัง ในป่า, พลายงามพบนางทองประ ศรี และพลายงามพบขุนแผน ไดแ้ ก่ นางบัวคลี่ ได้แก่ ความรักระหว่างขนุ แผน 4. กำเนิดกุมารทอง กับนางบัวคลี่, บุคคลที่เป็นคนฆ่า บตุ รนางบัวคล่ี - นางบัวคล่ี, ผู้ที่บอกเรื่องยาพิษใน อาหารแก่ขุนแผน และการใช้ ภาษาของขุนแผน 5. ขุนชา้ งถวายฎกี า - ได้แก่ ละครโทรทัศน์เรื่องวัน - ทอง ทั้งเรื่องมีการดัดแปลง เนอื้ หา ไดแ้ ก่ ขุนแผน ได้แก่ ฉากทตี่ ะแลงแกง ไ ด ้ แ ก ่ เ ห ต ุ ก า ร ณ์ ก ่ อ น 6.ฆ่านางวันทอง ประหารนางวันทอง และวัน ทองถกู ประหารชีวิต

วรรณคดีเรื่อง ขุนช้างขุนแผน มีจำนวนตอนทั้งสิ้น 43 ตอน ซึ่งมากกว่าละครโทรทัศน์เรื่อง วันทอง มีจำนวนทั้งสิ้น 16 ตอน จะเห็นได้ว่าละครโทรทัศน์เรื่อง วันทอง นั้น ได้คัดเลือกเนื้อหาจากวรรณคดีขุนช้าง ขุนแผนทปี่ รากฏเพียง 6 ตอนเท่าน้นั ไดแ้ ก่ 1.นางพมิ เปล่ยี นชอ่ื วนั ทอง ขุนช้างลวงว่าพลายแก้วตาย 2.ขุนแผน ขึ้นเรือนขุนช้าง 3.กำเนิดพลายงาม 4.กำเนิดกุมารทองบุตรนางบัวคลี่ 5.ขุนช้างถวายฎีกา และ 6.ฆ่านางวัน ทอง ซงึ่ รายละเอียดของวรรณคดีถูกตดั ทอนไปบางสว่ นท่ี และมีการขยายความรวมไปถึงการดัดแปลงเนื้อเร่ือง ของวรรณคดีให้ผู้ชมมีอรรถรสในการรับชมบทละครยิ่งขึ้น แต่ยังคงเดิมถึงโครงเรื่องเดิมให้ผู้รับชมที่ได้จดจำ ภาพในวรรณคดีเรือ่ งขุนชา้ งขุนแผน ได้ทราบถึงแก่นเรื่องของละครเร่ืองนี้ ทำให้ได้อรรถรสในการรบั ชมในอกี รูปแบบหน่งึ ท่แี ตกต่างไปจากการรบั ชมในรูปเดมิ ของตัวบทตน้ ทาง 2. การวเิ คราะห์เนอื้ หาวรรณคดีเร่ือง ขนุ ชา้ งขนุ แผน ท่ีนำเสนอผ่านบทละครโทรทัศน์เร่ืองวันทอง ผลการวจิ ัยพบวา่ เน้ือหา หมายถงึ น. ใจความสำคัญ, ข้อสำคญั , สาระสำคัญ (ราชบญั ฑิตยสถาน, 2554:ออนไลน์) เน้ือหาวรรณคดีเร่อื ง ขุนชา้ งขนุ แผน จงึ หมายถึง ใจความสำคัญที่ถูกนำเสนอผ่านบทละคร โทรทศั นเ์ รอื่ ง วันทอง จากผลการวจิ ยั ปรากฏจำนวน 15 ตอน ดงั ตารางต่อไปน้ี วรรณคดเี ร่อื ง ขนุ ช้างขนุ แผน เน้อื หาทปี่ รากฏ 1. ตอน นางพิมเปลี่ยนชื่อวันทอง ขุนช้างลวง ปรากฏในละครโทรทศั น์เรื่อง วันทอง ตอนที่ 1, 2 วา่ พลายแก้วตาย 2. ตอน นางศรีประจันยกนางวันทองใหข้ นุ ช้าง ปรากฏในละครโทรทัศนเ์ รื่อง วนั ทอง ตอนท่ี 3 3. ตอน ขุนแผนตอ้ งพรากนางลาวทอง ปรากฏในละครโทรทศั นเ์ รื่อง วนั ทอง ตอนท่ี 4 4. ตอน กำเนิดกุมารทองบุตรนางบวั คล่ี ปรากฏในละครโทรทัศนเ์ ร่ือง วนั ทอง ตอนท่ี 4, 5 5. ตอน ขนุ แผนขนึ้ เรือนขุนช้าง ปรากฏในละครโทรทัศน์เรื่อง วนั ทอง ตอนท่ี 5, 6 6. ตอน ขุนแผนข้นึ เรือนขุนชา้ ง ไดน้ างแก้วกิรยิ า ปรากฏในละครโทรทัศนเ์ รื่อง วันทอง ตอนที่ 5, 6 7. ตอน ขุนแผนพานางวนั ทองหนี ปรากฏในละครโทรทัศนเ์ ร่ือง วนั ทอง ตอนที่ 6, 7, 8, 9 8. ตอน ขนุ ชา้ งตามนางวนั ทอง ปรากฏในละครโทรทศั น์เรื่อง วันทอง ตอนที่ 6, 7, 8, 9, 10 9. ตอน ขุนช้างฟ้องวา่ ขุนแผนเปน็ ขบถ ปรากฏในละครโทรทัศนเ์ รื่อง วนั ทอง ตอนท่ี 6, 7 10. ตอน ขนุ แผนลุแก่โทษ ปรากฏในละครโทรทัศนเ์ ร่ือง วันทอง ตอนที่ 10 11. ตอน ขนุ แผนชนะความขุนช้าง ปรากฏในละครโทรทศั นเ์ รื่อง วนั ทอง ตอนที่ 10 12. ตอน ขนุ ช้างเปน็ โทษ ปรากฏในละครโทรทัศน์เร่ือง วนั ทอง ตอนท่ี 14 13. ตอน กำเนดิ พลายงาม ปรากฏในละครโทรทศั นเ์ รื่อง วันทอง ตอนที่ 11, 12, 13 14. ตอน ขุนช้างถวายฎกี า ปรากฏในละครโทรทศั น์เร่ือง วันทอง ตอนท่ี 1 - 16 15. ตอน ฆา่ นางวนั ปรากฏในละครโทรทศั นเ์ รื่อง วนั ทอง ตอนที่ 15, 16

ละครโทรทัศน์เรื่อง วันทอง ได้นำเนื้อหาในวรรณคดขี ุนช้างขุนแผนไปเพียงบางสว่ นเท่านัน้ เช่น การ คงเดิมของชื่อตัวละครที่ปรากฏในวรรณคดี และเหตุการณ์สำคัญของเรื่อง ดังที่ปรากฏในตอนของละคร โทรทัศน์เรือ่ งวนั ทองจำนวน 15 ตอน นอกจากนีก้ ารประพันธบ์ ทละครโดยมวี รรณคดีเร่ืองขนุ ช้างขุนแผน เป็น ตัวบทต้นทาง ล้วนต้องมีการดัดแปลงเนื้อหา และมีการเพิ่มตัวละคร เพื่อเพิ่มอรรถรสในการรับชม และเป็น การนำเสนอเน้ือหาในมุมมองที่ต่างไปจากเดิม ดังนั้นเนอื้ หาที่ปรากฏในละครโทรทัศน์เร่ือง วันทอง ได้แก่ การ คงเดมิ ของช่อื ตัวละคร การคงเดิมของฉาก และการคงเดิมของเหตกุ ารณส์ ำคัญของเร่ือง อภิปรายผลการวจิ ัย จากผลการศกึ ษาพบว่า การเปรียบเทยี บวรรณคดีเรื่อง ขุนช้างขนุ แผน ท่มี ีอทิ ธิพลต่อสมั พันธบทละคร โทรทศั นเ์ ร่อื ง วันทอง มีขอ้ แตกตา่ งแบง่ ได้ 2 ประการ ได้แก่ 1. สมั พนั ธบท จากการเปรียบเทยี บวรรณคดีเรอื่ ง ขนุ ช้างขนุ แผน ตวั บทตน้ ทาง สู่ตอ่ สัมพันธบทละคร โทรทศั นเ์ ร่อื ง วนั ทอง ตวั บทปลายทาง มกี ารดดั แปลงการเล่าเรื่องที่แตกต่างไปจากตวั บทตน้ ทางได้แก่ การคง เดิม การขยายความ การตัดทอน และการดัดแปลง ทำให้เนื้อเรื่องละครโทรทัศน์เรื่อง วันทอง มีเอกลักษณ์ที่ เฉพาะตัว ปรับให้เหมาะสมกับบริบทละครโทรทัศน์ และสังคมไทย ซึ่งจำนวนตอนของละครโทรทัศน์เรือ่ ง วัน ทอง ตวั บทปลายทาง กย็ งั มจี ำนวนตอนน้อยกวา่ ตัวบทตน้ ทาง ซึง่ แสดงให้เห็นถึงเอกลักษณข์ องบทละครไทย ทไี่ ม่มีเน้อื หาท่ยี ดื ยาวจนเกนิ ไป จงึ ทำใหเ้ กดิ การดดั แปลงการเลา่ เรื่องจากตัวบทต้นทาง อย่างชดั เจน 2. การวิเคราะหเ์ นอื้ หาวรรณคดีเร่ือง ขุนช้างขนุ แผน ท่นี ำเสนอผา่ นบทละครโทรทัศน์เรื่องวันทอง ซ่ึง เนื้อหาวรรณคดีที่ปรากฏนั้นเป็นใจความสำคัญของวรรณคดีเรื่อง ขุนช้างขุนแผน จึงมีการนำเสนอที่ปรากฏ เด่นชัดทั้งหมด 15 ตอน ได้แก่ 1. ตอน นางพิมเปลี่ยนชื่อวันทอง ขุนช้างลวงว่าพลายแก้วตาย 2. ตอน นางศรี ประจันยกนางวันทองให้ขุนชา้ ง 3. ตอน ขุนแผนต้องพรากนางลาวทอง 4. ตอน กำเนิดกุมารทองบุตรนางบัวคล่ี 5. ตอน ขุนแผนขึ้นเรือนขุนช้าง 6. ตอน ขุนแผนขึ้นเรือนขุนช้าง ได้นางแก้วกิริยา 7. ตอน ขุนแผนพานางวันทอง หนี 8. ตอน ขุนช้างตามนางวันทอง 9. ตอน ขุนช้างฟ้องว่าขุนแผนเป็นขบถ 10. ตอน ขุนแผนลุแก่โทษ 11. ตอน ขุนแผนชนะความขุนช้าง 12. ตอน ขุนช้างเป็นโทษ 13. ตอน กำเนิดพลายงาม 14. ตอน ขุนช้างถวาย ฎีกา และ 15. ตอน ฆา่ นางวนั ใจความสำคัญท่ปี รากฏนัน้ เปน็ การคงเดิมของช่ือตัวละคร การคงเดิมของฉากท่ี ประกอบสถานการณ์ของเรื่อง และเหตุการ์สำคัญของเรื่อง โดยละครโทรทัศน์เรื่องวันทองนั้นมีการดัดแปลง และขยายความเนื้อหา เพื่ออรรถรสของบทละครโทรทัศน์ไทยท่ีมีการตัดทอนรายละเอียดของเนื้อหาบางสว่ น และมจี ำนวนตอนท่ีน้อยกว่าตวั บทตน้ ทางอย่างเชน่ วรรณคดเี ร่ือง ขนุ ชา้ งขุนแผน ข้อเสนอแนะ คณะผู้วิจัยขอเสนอแนะแนวทาง 2 ประการทจ่ี ะนำงานวิจัย “การเปรยี บเทยี บวรรณคดเี ร่ือง ขุนช้าง ขุนแผน ที่มีอทิ ธพิ ลต่อสมั พนั ธบทละครโทรทศั น์ เร่ือง วนั ทอง” ไปใชป้ ระโยชน์ ดงั น้ี 1. ควรนำเอาบทวิเคราะห์เปรียบมาศึกษาเพื่อให้เห็นแนวความคิดที่เปลี่ยนไปของบริบทสังคมท่ี เปล่ียนไปตามเวลา

2. สามารถนำเอาไปศึกษาเพิ่มเติมเพื่อประกอบการเรียนรู้ หรือเป็นแนวทางการฝึกวิจารณ์บทละคร ในรปู แบบเชิงเปรยี บเทยี บ จากแนวคดิ สัมพนั ธบทได้ บรรณานกุ รม กาญจนา แกว้ เทพ. (2553). สมั พนั ธบท: เหลา้ เก่าในขวดใหม่ในสอ่ื สารศึกษา. วารสารนเิ ทศศาสตร.์ ค่กู รรม ประวัติศาสตรก์ บั นิยาย ตอนที่ 1 ทำไมญีป่ ุ่นบกุ ไทย. สบื ค้นเม่ือ 15 กุมภาพนั ธ์ 2565,จาก http://goo.gle/Y9Kani. กฤตญิ า กวีจารุกรณ.์ (2561). บทความการนําเสนองานวจิ ัย การตีความบทละครโทรทัศนเ์ พอื่ การกำกบั การแสดง. กรงุ เทพฯ ; ภาควชิ าศิลปการละคร คณะอกั ษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ดวงมน จิตร์จำนง. (2534). คุณคา่ และลักษณะเดน่ ของวรรณคดีสมยั รตั นโกสินทรต์ อนตน้ (พ.ศ.2325- 2394).วทิ ยานพิ นธ์อักษรศาสตรดษุ ฎีบณั ฑิต,จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . ถิรนนั ท์ อนวชั ศิริวงศ.์ (2543). นิเทศศาสตร์กบั เรอ่ื งเลา่ และการเลา่ เร่อื ง : วิเคราะหก์ ารศกึ ษาจินตคดี- จินตทัศน์ในสื่อรว่ มสมยั . (พมิ พค์ รงั้ ที่ 1.). โครงการสอ่ื สนั ตภิ าพ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลยั . ธนกร เพชรสินจร.(2557).วเิ คราะหต์ ัวละครชายขอบในเสภาเรื่องขุนช้างขนุ แผน:อำนาจ พนื้ ท่ี และ การเมืองในวรรณกรรมไทย.มหาวทิ ยาลัยราชภฏั บรุ รี ัมย์. ธรี า ศขุ สวัสด์ิ ณ อยุธยา. (2560). สัมพนั ธบทในนทิ านไวยากรณ์ของ เอริค ออรเ์ ซนนา. สืบค้นเมอ่ื 15 กุมภาพนั ธ์ 2565, จาก http://cmuir.cmu.ac.th/handle/6653943832/65938. พมิ พม์ าดา พัฒนอลงกรณ.์ (2564). ‘วนั ทอง’ มมุ 'พิมพม์ าดา' คนเขยี นบท ขอแกต้ า่ งหญิงทถ่ี กู ตีตราว่า สองใจ. จาก https://www.bangkokbiznews.com/lifestyle/933837 คน้ เมื่อ 17 กุมภาพนั ธ์ 2564. รน่ื ฤทัย สัจจพันธ์. (2523). ความรูท้ ว่ั ไปทางภาษาและวรรณกรรมไทย. กรงุ เทพมหานคร : ภาควิชา ภาษาไทย คณะมนุษย์ศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยรามคำแหง. ______________. (2553). วรรณศลิ ป์ในวรรณคดีที่ไดร้ บั การยกยอ่ งจากวรรณคดสี โมสร. วารสาร ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒวจิ ยั และพัฒนา 4 (กรกฎาคม ๒๕๕๓) : 3. วิชาญ สว่างพงศ.์ (2530). การวิเคราะหค์ า่ นิยมจากวรรณคดีสมัยรัตนโกสนิ ทร์ (ชว่ งรชั กาลที่ 1 ถงึ รชั กาลท่ี 3).ปริญญานิพนธก์ ารศึกษามหาบณั ฑติ , มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ. ศุภร บุนนาค. (2516). สมบัตกิ วขี นุ ช้างขุนแผน. พมิ พค์ รั้งที่ 2. พระนคร:แพร่พทิ ยา.เสภาเรื่องขนุ ช้างขนุ แผน. กรุงเทพฯ : สำนักพมิ พ์บรรณาคาร. อมรรตั น์ เป่ียมดนตรี. (2558). การใชว้ รรณกรรมขุนชา้ งขุนแผนเพ่อื ส่งเสริมการทอ่ งเท่ียวเชิงวัฒนธรรมใน จงั หวดั สพุ รรณบุรี. Veridian E-Journal มหาวิทยาลัยศลิ ปากร.