Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สื่อการสอน เรื่องคอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่องานอาชีพ

สื่อการสอน เรื่องคอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่องานอาชีพ

Published by araya leknikom, 2021-09-26 03:16:07

Description: คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่องานอาชีพ

Search

Read the Text Version

คอมพวิ เตอรแ์ ละสารสนเทศเพอ่ื งานอาชีพ (Computer and Information for Careers) รหสั วิชา 20001 - 2001 หมวดวิชาสมรรถนะวิชาชีพ กลุ่มสมรรถนะวิชาชีพพื้นฐาน หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 สำ�นักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) กระทรวงศึกษาธิการ เรียบเรยี งโดย จดิ าภสั สัมพนั ธส์ มโภชน์ ผศ.ดร. เศรษฐชยั ชยั สนทิ

คอมพิวเตอรแ์ ละสารสนเทศเพอื่ งานอาชพี (Computer and Information for Careers) เลขรหสั มาตรฐานสากลประจำ�หนังสอื ISBN 978-616-211-XXX-X จัดพมิ พแ์ ละจดั จ�ำ หนา่ ยโดย... บริษทั วงั อักษร จ�ำกดั 69/3 ถนนอรณุ อมรินทร์ แขวงวดั อรุณ เขตบางกอกใหญ่ กรุงเทพฯ 10600 โทร. 0-2472-3293-5 โทรสาร 0-2891-0742 Mobile 08-8585-1521 Facebook : สำ�นกั พมิ พ์ วงั อักษร e-Mail : [email protected] www.wangaksorn.com ID Line : @wangaksorn พมิ พ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2562 จำ�นวนทพ่ี ิมพ์ 5,000 บาท สงวนลขิ สทิ ธิ์ตามพระราชบญั ญัติลขิ สิทธ์ิ พ.ศ. 2537 โดยบริษทั วังอกั ษร จ�ำกดั หา้ มน�ำส่วนใดส่วนหนงึ่ ของหนงั สอื เลม่ นไ้ี ปทำ� ซ�ำ้ ดดั แปลง หรอื เผยแพรต่ ่อสาธารณชน ไมว่ า่ รูปแบบใด ๆ นอกจากไดร้ บั อนญุ าต เป็นลายลกั ษณอ์ ักษรล่วงหนา้ จากทางบรษิ ัทฯ เทา่ น้ัน ช่ือและเคร่ืองหมายการคา้ อ่ืน ๆ ที่อา้ งองิ ในหนังสอื ฉบบั น้ี เป็นสิทธโิ ดยชอบดว้ ยกฎหมายของเจา้ ของแต่ละราย โดยบรษิ ทั วงั อักษร จำ� กัด มไิ ดอ้ ้างความเป็นเจ้าของแตอ่ ย่างใด

คอมพิวเตอรแ์ ละสารสนเทศเพ่อื งานอาชพี (Computer and Information for Careers) รหัสวิชา 20001 - 2001 จดุ ประสงคร์ ายวชิ า เพือ่ ให้ 1. เข้าใจหลักการและกระบวนการใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ การใช้ระบบปฏิบัติการ โปรแกรมสำ� เร็จรปู และอินเทอร์เน็ตเพ่ืองานอาชีพ 2. สามารถใชร้ ะบบปฏบิ ตั ิการคอมพวิ เตอร์ โปรแกรมส�ำเร็จรปู และเทคโนโลยีสารสนเทศตามลักษณะงานอาชพี 3. มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมและความรับผดิ ชอบในการใช้คอมพิวเตอรแ์ ละระบบสารสนเทศในงานอาชพี สมรรถนะรายวิชา 1. แสดงความรเู้ กยี่ วกบั หลกั การและกระบวนการใชค้ อมพวิ เตอร์ ระบบสารสนเทศ ระบบปฏบิ ตั กิ าร โปรแกรมสำ� เรจ็ รปู และอินเทอรเ์ นต็ เพอื่ งานอาชพี 2. ใช้ระบบปฏบิ ัติการในการจดั สภาพแวดลอ้ มและจัดสรรทรัพยากรต่าง ๆ บนเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ 3. ใชโ้ ปรแกรมส�ำเร็จรปู ในงานอาชพี ตามลักษณะงาน 4. สืบค้นขอ้ มลู สารสนเทศในงานอาชีพโดยใช้อินเทอรเ์ นต็ 5. ส่ือสารข้อมลู สารสนเทศโดยใชอ้ นิ เทอรเ์ น็ต ค�ำอธิบายรายวชิ า ศกึ ษาและปฏบิ ตั เิ กยี่ วกบั การใชค้ อมพวิ เตอรแ์ ละระบบสารสนเทศเพอ่ื งานอาชพี การใชร้ ะบบปฏบิ ตั กิ าร (Windows หรอื Mac OS) การใชโ้ ปรแกรมประมวลผลคำ� เพอ่ื จดั ทำ� เอกสารในงานอาชพี การใชโ้ ปรแกรมตารางทำ� การเพอื่ การค�ำนวณ ในงานอาชีพ การใช้โปรแกรมการน�ำเสนอผลงาน หรือการใช้โปรแกรมส�ำเร็จรูปอ่ืน ๆ ตามลักษณะงานอาชีพ การใช้ อินเทอร์เน็ตเพื่อสืบค้นและส่ือสารข้อมูลสารสนเทศในงานอาชีพ ผลกระทบของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ จริยธรรม และความรับผิดชอบในการใช้คอมพิวเตอรแ์ ละสารสนเทศในงานอาชีพ

ตารางวเิ คราะหส์ มรรถนะรายวชิ า วชิ า คอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพอ่ื งานอาชพี รหสั วชิ า 20001 - 2001 ท – ป – น 1 −2 − 2 จ�ำนวน 3 คาบ/สปั ดาห์ รวม 54 คาบ สมรรถนะรายวชิ า 1. แสดงความ ูร้เกี่ยว ักบหลักการและกระบวนการใช้ หนว่ ยที่ คอมพิวเตอร์ ระบบสารสนเทศ ระบบปฏิ ับ ิตการ โปรแกรมส�ำเ ็รจ ูรปและ ิอนเทอร์เ ็นตเพ่ืองานอา ีชพ 2. ใ ้ชระบบป ิฏ ับ ิตการในการ ัจดสภาพแวดล้อมและ ัจดสรรท ัรพยากร ่ตาง ๆ บนเครื่องคอมพิวเตอร์ 3. ใ ้ชโปรแกรม �สำเ ็รจ ูรปในงานอา ีชพตามลักษณะงาน 4. ืสบ ้คน ้ขอ ูมลสารสนเทศในงานอา ีชพโดยใ ้ชอินเทอ ์รเ ็นต 5. ่สือสารข้อมูลสารสนเทศโดยใ ้ชอินเทอร์เ ็นต 1. การใชค้ อมพวิ เตอร์และระบบสารสนเทศเพอื่ งานอาชีพ ✓ − −−− 2. การใชร้ ะบบปฏบิ ตั ิการ ✓ ✓ −−− 3. การใช้โปรแกรมประมวลผลคำ�เพ่อื จดั ทำ�เอกสารในงานอาชีพ ✓ ✓ −−− 4. การตกแตง่ และตรวจสอบเอกสาร ✓ − ✓− 5. การปรับแตง่ และจดั พิมพ์เอกสาร ✓ − ✓− − 6. การใชโ้ ปรแกรมตารางทำ�การเพ่ือการคำ�นวณในงานอาชพี ✓ − ✓− − 7. การใชโ้ ปรแกรมในการคำ�นวณ ✓ − ✓− − 8. การสรา้ งแผนภูมิ (Chart) และการพิมพร์ ายงาน (Print) ✓ − ✓− − 9. การใชโ้ ปรแกรมนำ�เสนองาน ✓ − ✓− − 10. การปรับแต่งงานนำ�เสนอและการสร้างกราฟ ✓ − ✓− − 11. การสร้างภาพเคลอ่ื นไหวในงานนำ�เสนอ ✓ − ✓− − 12. การใช้อนิ เทอรเ์ น็ตสบื คน้ ขอ้ มูลเพือ่ งานอาชีพและการสือ่ สาร ข้อมลู สารสนเทศ ✓ − − ✓✓ 13. ผลกระทบของการใช้เทคโนโลยีจรยิ ธรรมและความรับผิดชอบ ในการใช้คอมพิวเตอรก์ ับระบบสารสนเทศและงานอาชพี ✓ − −−−

คำ�นำ� วิชาคอมพิวเตอร์และสารสนเทศเพื่องานอาชีพ รหัสวิชา 20001 - 2001 จัดอยู่ในหมวดวิชา สมรรถนะวชิ าชีพ กล่มุ สมรรถนะวิชาชพี พืน้ ฐาน ตามหลักสตู รประกาศนยี บัตรวิชาชพี พุทธศักราช 2562 สำ�นกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา (สอศ.) กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ผเู้ ขยี นไดบ้ รหิ ารสาระการเรยี นรแู้ บง่ เปน็ 13 บทเรยี น ได้จัดแผนการจัดการเรียนรู/้ แผนการสอนทม่ี ่งุ เน้นฐานสมรรถนะ (Competency Based) และการบรู ณาการ (Integrated) ตรงตามจุดประสงค์รายวชิ า สมรรถนะรายวชิ า และคำ�อธบิ ายรายวชิ า ในแตล่ ะบทเรียนมุ่งใหค้ วามสำ�คญั ส่วนทีเ่ ป็นความรู้ ทฤษฎี หลักการ กระบวนการ และส่วนทีเ่ ปน็ ทักษะ ประสบการณ์ เรง่ พัฒนาบทบาทของผูเ้ รยี นเป็นผู้จดั การแสวงหาความรู้ (Explorer) เปน็ ผ้สู อนตนเองได้ สรา้ งองคค์ วามรใู้ หม่ และบทบาทของผสู้ อนเปลยี่ นจากผใู้ หค้ วามรมู้ าเปน็ ผจู้ ดั การชแี้ นะ (Teacher Roles) จดั สิ่งแวดล้อมเอื้ออำ�นวยต่อความสนใจเรยี นรู้ และเปน็ ผรู้ ่วมเรยี นรู้ (Co-investigator) จดั ห้องเรียนเปน็ สถานทท่ี ำ�งานรว่ มกนั (Learning Context) จดั กลมุ่ เรยี นรใู้ หร้ จู้ กั ทำ�งานรว่ มกนั (Grouping) ฝกึ ความใจกวา้ ง มงุ่ สรา้ งสรรคค์ นรนุ่ ใหม่ สอนความสามารถทน่ี ำ�ไปทำ�งานได้ (Competency) สอนความรัก ความเมตตา (Compassion) ความเชอ่ื มน่ั ความซอ่ื สตั ย์ (Trust) เปา้ หมายอาชพี อนั ยงั ประโยชน์ (Productive Career) และชวี ติ ทม่ี ศี กั ดศ์ิ รี (Noble Life) เหนอื สง่ิ อน่ื ใดเปน็ คนดี ทง้ั กาย วาจา ใจ มคี ณุ ธรรม จรรยาบรรณทางธรุ กจิ และวิชาชพี สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาระบบคณุ วฒุ วิ ชิ าชพี (Vocational Qualification System) ให้สอดคลอ้ งตามมาตรฐานอาชพี (Occupational Standard) เพอื่ สร้างภมู คิ ุ้มกัน เพ่มิ ขีดความสามารถ ในการแข่งขันของประเทศ กำ�ลังแรงงาน การพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติงานระดับชาติ (National Benchmarking) และการวเิ คราะหห์ นา้ ทก่ี ารงาน (Functional Analysis) เพอ่ื ใหเ้ กดิ ผลสำ�เรจ็ ในภาคธรุ กจิ อุตสาหกรรม และทุกสาขาอาชีพ เป็นการเตรียมความพร้อมของผู้เรียนเข้าสู่สนามการเเข่งขันใน ประชาคมอาเซยี น ขอขอบพระคุณท่านอาจารย์ผู้สอน ผู้ประสาทวิชาความรู้ เอกสาร หนังสือท่ีใช้ประกอบในการ เรยี บเรยี งไว้ ณ โอกาสน ้ี จิดาภัส สัมพันธ์สมโภชน์ ผศ.ดร. เศรษฐชัย ชัยสนิท

สารบัญ บทที่ 1 การใช้คอมพวิ เตอร์และระบบสารสนเทศ บทท่ี 2 การใชร้ ะบบปฏบิ ัติการ 27 ความรเู้ บอ้ื งต้นเก่ียวกบั ระบบปฏบิ ัตกิ าร เพอ่ื งานอาชีพ 1 28 ประเภทของระบบปฏบิ ตั ิการ 29 ความหมายและความเปน็ มา 2 หนา้ ทหี่ ลักของระบบปฏบิ ัตกิ าร 31 คอมพิวเตอรย์ คุ เครือขา่ ย (พ.ศ. 2553 − ปัจจุบัน) 4 ระบบปฏิบัติการ Windows 32 ประเภทของคอมพิวเตอร ์ 4 ระบบปฏบิ ตั กิ ารยูนิกซ์ (Unix) 33 องคป์ ระกอบของคอมพิวเตอร ์ 8 ระบบปฏบิ ัตกิ ารบนโทรศัพทม์ อื ถือ 34 แท็บเล็ต (Tablet) 19 การติดต้ัง Windows 10 35 แบบทดสอบและกิจกรรมการฝกึ ทักษะ 23 การติดตง้ั โปรแกรม Microsoft Office 2019 43 ใบงานที่ 1 26 แบบทดสอบและกจิ กรรมการฝกึ ทกั ษะ 46 ใบงานท่ี 2 50 บทท่ี 3 การใชโ้ ปรแกรมประมลผลค�ำเพื่อจดั ท�ำ เอกสารในงานอาชีพ 51 ความเป็นมาของโปรแกรมประมวลผลคำ� 52 บทที่ 4 การตกแตง่ และตรวจสอบเอกสาร 76 การเข้าสโู่ ปรแกรมและจบการทำ� งาน 52 แถบเมนแู ละชุดเมนูคำ� สงั่ (Toolbars and Menu) 53 การพมิ พ์สมการทางคณิตศาสตร์ (Equation) 78 การแทรกสญั ลกั ษณแ์ ละตวั อกั ษรพิเศษ การสรา้ งเอกสารใหม่ (New) 59 (Symbol and Special Character) 79 การบนั ทึกเอกสาร (Save) 62 การปดิ เอกสาร (Close) 65 การกำ� หนดหัวขอ้ ย่อย (Bullet) 82 การวาดและระบายสีพ้นื หลัง (Drawing and Fill) 84 การเปิดเอกสาร (Open) 68 การใช้สเี ส้นและการแรเงา (Filland Outline) 88 แบบทดสอบและกจิ กรรมการฝึกทักษะ 71 ใบงานที่ 3 74 การระบายสีพื้น (Fill Color Effects) 89 การสร้างอกั ษรศลิ ป์ (Word Art) 94 การสร้างเงาและภาพ 3 มติ ิ (Shadow and 3D) 96 บทท่ี 5 การปรับแตง่ และจัดพิมพเ์ อกสาร 120 การแทรกรปู ภาพ (Picture) 99 การตงั้ ค่าหนา้ กระดาษ (Page Setup) 122 การจดั การและตรวจสอบเอกสาร (Spelling & Grammar) 103 การกำ� หนดส่วนหวั และท้ายเอกสาร บอกข้นั ตอนการค้นหาค�ำและแทนท่ีคำ� (Header and Footer) 124 การปรบั รูปแบบตวั อกั ษร 126 (Find and Replace) 105 การแทนที่คำ� (Replace) 106 การจัดการประโยค (Paragraph) 133 การไปท่ี (Go To) 108 การพมิ พเ์ อกสารออกทางเครอ่ื งพมิ พ์ (Print) 135 การพิมพจ์ ดหมายเวยี น (Maillings) 137 การสร้างกราฟ (Chart) 108 แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทกั ษะ 114 การพิมพ์ซองจดหมาย (Envelopes) 143 ใบงานที่ 4 117 การตงั้ ก้นั หน้าก้ันหลงั (Indent) 144 การคดั ลอกรูปแบบต่าง ๆ ดว้ ย Format Painter 148 การพมิ พ์ข้อความเปน็ คอลัมน์ (Columns) 149 แบบทดสอบและกจิ กรรมการฝกึ ทกั ษะ 151 ใบงานท่ี 5 154

บทที่ 6 การใช้โปรแกรมตารางท�ำการ เพือ่ การค�ำนวณในงานอาชีพ 157 Microsoft Excel เบ้ืองต้น 159 การขยายขนาดของแถว (Row Height) 182 การสรา้ งสมุดงานใหม่ (New) 161 การคดั ลอกขอ้ มลู (Copy) 183 การบันทึกสมุดงาน (Save) 165 การตดั ข้อมูล (Cut) 185 การปดิ สมุดงาน (Close) 167 การคัดลอกขอ้ มูลโดยใชฟ้ ลิ แฮนเดลิ (Fill Handle) 186 การจัดการสมดุ งาน (Work Book) 168 การกำ� หนดขอ้ มลู แบบเรียงลำ� ดบั (Auto Fill) 187 การเลอื กเซลล์ (Cell) 170 การสร้างเส้นขอบตาราง (Border) 188 การสร้างตารางโดยใช้รปู แบบอตั โนมตั ิ การกรอกข้อมูล (Insert Data) 173 (Cell Styles) 190 การแกไ้ ขข้อมลู (Edit Data) การเปลย่ี นรูปแบบตวั อักษร 174 การผสานเซลลแ์ ละจดั ก่งึ กลาง (Merge Cell) 192 และขนาดตวั อกั ษร (Fonts) 175 การเรยี งล�ำดบั ข้อมลู (Sort) 194 การวางแนวของขอ้ ความ (Orientation) 196 การทำ� ตวั อกั ษรหนา เอียง และขีดเส้นใต ้ 176 การแทรกรูปภาพ (Insert Picture) 197 การจดั ข้อมูลใหอ้ ยกู่ งึ่ กลาง ชิดซ้ายหรือชิดขวา ของคอลัมน์ (Alignment) 179 การท�ำพ้นื หลัง (Background) 199 แบบทดสอบและกิจกรรมการฝกึ ทกั ษะ 202 การขยายขนาดของคอลมั น์ (Column Width) 180 ใบงานท่ี 6 205 บทท่ี 7 การใช้โปรแกรมในการค�ำนวณ 207 บทท่ี 8 การสรา้ งแผนภมู ิ (Chart) ชนดิ ข้อมูลใน Microsoft Excel 208 และการพมิ พร์ ายงาน (Print) 230 การปอ้ นสตู รการคำ� นวณ (Formula) 209 การคำ� นวณดว้ ยฟงั ก์ชันผลรวม (Sum) 214 แผนภมู ิ (Chart) 231 การหาคา่ สงู สดุ (Max) ตำ่� สุด (Min) การสร้างแผนภมู ดิ ้วยตวั ชว่ ยสรา้ งแผนภูมิ 231 และค่าเฉลีย่ (Average) 216 (Chart Wizard) 234 การเรียกใชฟ้ งั ก์ชนั จากแถบเคร่อื งมือทีใ่ ช้ลา่ สุด การเปลี่ยนรปู แบบของแผนภมู ิ 237 (Recently Used) 218 (Change Chart Type) 241 ฟงั ก์ชนั IF 220 การใส่รปู ภาพในแทง่ แผนภูมิ (Insert Picture) 244 การใชฟ้ งั กช์ นั NPER ค�ำนวณหาจ�ำนวน การพิมพ์รายงาน (Print) 247 ที่จะต้องผอ่ นชำ� ระเงนิ กู้ 222 แบบทดสอบและกจิ กรรมการฝกึ ทกั ษะ แบบทดสอบและกิจกรรมการฝกึ ทักษะ 224 ใบงานที่ 8 ใบงานท่ี 7 227 บทที่ 9 การใช้โปรแกรมน�ำเสนองาน 250 มุมมองตา่ ง ๆ ของ PowerPoint 257 ความรูเ้ บื้องต้นเก่ยี วกบั โปรแกรม การสร้างงานน�ำเสนอโดยใชธ้ มี (Themes) 260 251 การแก้ไขรูปแบบของตวั อกั ษร (Fonts) 262 Microsoft PowerPoint การเพมิ่ สไลด์ใหม่ (New Slide) 264 การเรียกใชแ้ ละการปดิ โปรแกรม Microsoft PowerPoint 252 การจดั เรียงสไลด์ (Slide Sorter) 266 การจัดพิมพ์งานน�ำเสนอ (Print) 268 การสร้างงานน�ำเสนอโดยใช้ตวั ชว่ ยสรา้ งเน้ือหา 254 แบบทดสอบและกิจกรรมการฝกึ ทักษะ 271 อตั โนมตั ิ (Templates) การสร้างผลงานดว้ ยตนเอง (New) 255 ใบงานท่ี 9 274

บทที่ 10 การปรับแตง่ งานน�ำเสนอ บทที่ 11 การสรา้ งภาพเคลอ่ื นไหว และการสร้างกราฟ 276 ในงานน�ำเสนอ 314 การเพ่มิ ข้อความในสไลด์โดยใช้กล่องข้อความ คำ� แนะนำ� ในการออกแบบการแสดงภาพน่ิง 315 (Text Box) 277 การทำ� ให้ข้อความและวตั ถเุ คล่ือนไหว 316 การกำ� หนดสีตัวอักษร (Font Color) 279 การกำ� หนดการเปล่ียน (Transition) ใหส้ ไลด ์ 317 การทำ� สัญลกั ษณ์แสดงหวั ขอ้ ยอ่ ย (Bullets) 279 การกำ� หนดความเรว็ ในการฉายแสดงสไลด์ การเพิม่ ข้อความในมุมมองหนา้ บนั ทกึ ย่อ (Duration) 319 (Note Page) 280 การกำ� หนดลกั ษณะพเิ ศษให้กับวตั ถุ การแทรกอักษรศิลป์ (WordArt) 281 (Animation) 321 การทำ� พน้ื หลังของสไลด์ (Background Styles) 286 การกำ� หนดลกั ษณะพเิ ศษเพิ่มเติมให้วัตถุ การวาดวัตถโุ ดยการใช้เคร่ืองมือรูปรา่ ง (Add Animation) 323 อตั โนมัติ (Shapes) 293 การกำ� หนดความเรว็ ในการแสดงภาพเคล่ือนไหว การแทรกรูปภาพออนไลน์ (Online Picture) 299 (Duration) 324 การแทรกรปู ภาพ (Picture) 300 การเพมิ่ เสยี ง เสยี งค�ำบรรยาย และภาพยนตร์ การแทรกแผนภมู ิ (Chart) 301 ไว้ในสไลด์ (Audio and Video) 326 การใสเ่ อฟเฟก็ ตต์ อนเปลยี่ นสไลด์ การกำ� หนดลกั ษณะในการเล่นเสยี ง (Playback) 327 (Slide Transition) 305 แบบทดสอบและกิจกรรมการฝึกทักษะ 307 แบบทดสอบและกิจกรรมการฝกึ ทักษะ 337 ใบงานท่ี 11 ใบงานท่ี 10 310 340 บทที่ 12 การใชอ้ ินเทอร์เนต็ สบื ค้นข้อมลู เพื่องานอาชพี บทท่ี 13 ผลกระทบของการใช้เทคโนโลยจี ริยธรรม และการสอ่ื สารข้อมูลสารสนเทศ 341 และความรบั ผดิ ชอบ ในการใชค้ อมพวิ เตอร์ ความเป็นมาของอนิ เทอร์เนต็ 343 กับระบบสารสนเทศและงานอาชพี 387 ความสามารถของอินเทอรเ์ น็ต 344 การละเมิดสิทธิในทรัพย์สินทางปญั ญาท่ีเผยแพร่ การเข้าเวบ็ ไซต์ 344 การเช่ือมต่อ Wireless โดย Windows 10 348 ทางอินเทอรเ์ นต็ 388 อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ 389 การเชื่อมตอ่ เขา้ สรู่ ะบบอินเทอร์เนต็ เวิลดไ์ วด์เว็บ 350 ประเภทของการกระทำ� ความผิด 391 ท�ำความรู้จกั กับ Mozilla Firefox 353 จดหมายอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (Electronic Mail) 354 กฎหมายปกป้องสิทธผิ ลงานบนอินเทอร์เน็ต 394 การใชก้ ฎหมายในเวบ็ ไซต ์ 396 หนา้ ทแี่ ละรูปแบบของโปรแกรมรบั –ส่งอี-เมล 356 สถานภาพทางกฎหมายของลายมอื ช่อื เครอื ขา่ ยสังคมออนไลน์ (Social Network) 360 ท�ำความรจู้ ักกบั Facebook 361 อิเล็กทรอนกิ ส์ 401 กฎหมายการธนาคารและการช�ำระเงนิ ทวติ เตอร์ (Twitter) 365 อิเล็กทรอนิกส ์ 402 การใชง้ าน Microsoft Outlook 2019 366 การเปดิ ใชง้ านโปรแกรม Microsoft พระราชบญั ญัติวา่ ดว้ ยการกระท�ำความผิด เกยี่ วกับคอมพวิ เตอร์ (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2560 403 Outlook 2019 369 แบบทดสอบและกิจกรรมการฝกึ ทกั ษะ 414 การสง่ จดหมาย (Send e−Mail) 372 แบบทดสอบและกิจกรรมการฝกึ ทักษะ 377 ใบงานท่ี 13 417 ใบงานที่ 12 380 บรรณานกุ รม 419

บทท.ี่ .. 1 การใช้คอมพิวเตอร์ และระบบสารสนเทศเพ่อื งานอาชพี แนวคดิ สาระการเรยี นรู้ คอมพิวเตอร์ หมายถึง เคร่ืองค�ำนวณอิเล็กทรอนิกส์ 1. ความหมายและความเปน็ มา ท่ีสามารถท�ำงานค�ำนวณผลและเปรียบเทียบค�ำนวณชุดค�ำส่ัง 2. คอมพวิ เตอร์ยคุ เครอื ขา่ ย (พ.ศ. 2553 − ปจั จุบัน) ด้วยความเร็วสูงอย่างต่อเนื่องและอัตโนมัติ ประกอบด้วย 3. ประเภทของคอมพิวเตอร์ องคป์ ระกอบทส่ี ำ� คญั 3 ส่วนใหญ่ ๆ คือ 1. Hardware ตัวเคร่อื ง 4. องคป์ ระกอบของคอมพวิ เตอร์ อปุ กรณต์ า่ ง ๆ 2. Software คำ� สง่ั หรอื โปรแกรม 3. Peopleware 5. แท็บเลต็ (Tablet) บคุ ลกรดา้ นคอมพวิ เตอร์ แท็บเลตพีซี (Teblet Personal Computer) คือ เครื่อง สมรรถนะประจำ�บท คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่สามารถพกพาได้และใช้หน้าจอัมผัส 1. เรยี นรกู้ ารใชค้ อมพวิ เตอรแ์ ละระบบสารสนเทศเพอ่ื งานอาชพี ในการท�ำงานเป็นอันดับแรก ออกแบบให้สามารถท�ำงาน 2. ปฏบิ ตั กิ ารใชค้ อมพวิ เตอรแ์ ละระบบสารสนเทศเพอ่ื งานอาชพี ได้ด้วยตวั เอง ได้อย่างถูกตอ้ ง แท็บเลต คอมพิวเตอร์ (Teblet Computer) หรือเป็นท่ี รู้จักกันว่า Teblet คือ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ที่สามารถใช้ขณะ เคลื่อนท่ีได้ขนาดกลางโดยใช้หน้าจอระบบสัมผัส (Capacitive) ในการท�ำงานเปน็ หลกั และสามารถใชน้ วิ้ สมั ผัสไดโ้ ดยตรง จุดประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม (Behavioral Objectives) หลังจากศึกษาจบบทเรยี นน้ีแล้ว นักศึกษาจะมคี วามสามารถดงั น้ี 1. บอกความหมายและความเป็นมาของ “คอมพิวเตอร์” 2. อธบิ ายคอมพิวเตอรย์ คุ เครอื ขา่ ย 3. อธบิ ายพรอ้ มจำ�แนกประเภทของเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ 4. อธบิ ายองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ 5. ศกึ ษาแทบ็ เล็ต (Tablet)

บทที่... 1 การใชค้ อมพิวเตอร์ และระบบสารสนเทศเพอ่ื งานอาชพี ความหมายและความเป็นมา คอมพิวเตอร์ มาจากค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษที่ว่า “Computer” หมายถึง เครื่องค�ำนวณ เป็นเครื่องค�ำนวณท่ีมีส่วนประกอบเป็นเคร่ืองกลไกหรือเคร่ืองไฟฟ้า ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ หมายถึง เครอ่ื งคำ� นวณอเิ ลก็ ทรอนกิ สท์ ส่ี ามารถทำ� งานคำ� นวณผลและเปรยี บเทยี บคา่ ตามชดุ คำ� สงั่ ดว้ ยความเรว็ สงู อย่างต่อเน่อื งและอตั โนมตั ิ ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ได้ให้ค�ำจ�ำกัดความของ “คอมพิวเตอร์” ไว้คอ่ นขา้ งกะทดั รัดว่า หมายถงึ เคร่ืองอิเล็กทรอนิกสแ์ บบอัตโนมตั ิ ท�ำหนา้ ท่เี สมือนสมองกล ใชส้ ำ� หรบั แก้ปัญหาต่าง ๆ ทั้งทงี่ า่ ยและซับซอ้ น โดยวธิ ีทางคณติ ศาสตร์ คอมพิวเตอร์ได้รับการพัฒนามาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2488 พัฒนาการทางคอมพิวเตอร์ได้ก้าวหน้าไป อย่างรวดเร็วและต่อเน่ือง จากอดีตคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้หลอดสุญญากาศ ขนาดใหญ่ ใชพ้ ลงั งานไฟฟา้ มาก และอายกุ ารใชง้ านตำ�่ เปลย่ี นมาใชท้ รานซสิ เตอรท์ ที่ ำ� จากซลิ กิ อนเลก็ ๆ ใช้พลังงานไฟฟ้าต�่ำ ผลิตได้จ�ำนวนมาก และราคาถูก ต่อมาสามารถสร้างเป็นทรานซิสเตอร์จ�ำนวน หลายแสนตวั บรรจบุ นชน้ิ ซลิ กิ อนเลก็ ๆ เปน็ วงจรรวมทเ่ี รยี กวา่ ไมโครชปิ (Microchip) และใชไ้ มโครชปิ เปน็ ชนิ้ ส่วนหลักที่ประกอบอยูใ่ นคอมพวิ เตอร์ ท�ำให้ขนาดของคอมพวิ เตอรเ์ ลก็ ลง ไมโครชิปที่มีขนาดเล็กนี้สามารถท�ำงานได้หลายหน้าที่ เช่น ท�ำหน้าที่เป็นหน่วยความจ�ำส�ำหรับ เกบ็ ขอ้ มลู ทำ� หนา้ ทเี่ ปน็ หนว่ ยควบคมุ อปุ กรณร์ บั เขา้ และสง่ ออก หรอื ทำ� หนา้ ทเ่ี ปน็ หนว่ ยประมวลผลกลาง ที่เรียกว่า ไมโครโพรเซสเซอร์ ซ่ึงหมายถึง หน่วยงานหลักในการคิดค�ำนวณ การบวกลบคูณหาร การเปรียบเทียบ การด�ำเนินการทางตรรกะ ตลอดจนการสั่งการเคลื่อนข้อมูลจากท่ีหนึ่งไปยังอีกที่หน่ึง หนว่ ยประมวลผลกลางนีเ้ รียกอกี อยา่ งวา่ ซพี ยี ู (Central Processing Unit : CPU)

บทท่ี 1 การใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพ่อื งานอาชีพ 3 ตง้ั แตป่ ระมาณปี พ.ศ. 2513 จนถงึ ปจั จบุ นั เปน็ ยคุ ของคอมพวิ เตอร์ รูปที่ 1.1 VLSI ที่ใช้วงจรรวมความจุสูงมาก (Very Large Scale Integration : VLSI) เช่น ไมโครโพรเซสเซอร์ท่ีบรรจุทรานซิสเตอร์นับหม่ืนนับแสนตัว ท�ำให้ ขนาดเคร่ืองคอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลง สามารถต้ังบนโต๊ะในส�ำนักงาน หรอื พกพาเหมอื นกระเปา๋ หวิ้ ไปในทต่ี า่ ง ๆ ได้ ขณะเดยี วกนั ระบบซอฟตแ์ วร์ กไ็ ดพ้ ฒั นาขดี ความสามารถสงู ขน้ึ มาก มโี ปรแกรมสำ� เรจ็ ใหเ้ ลอื กใชก้ นั มาก ท�ำใหเ้ กดิ ความสะดวกในการใช้งานอย่างกวา้ งขวาง ปัจจุบันมนุษย์สามารถน�ำคอมพิวเตอร์มาช่วยในการตัดสินใจและแก้ปัญหาให้ดีย่ิงขึ้น โดยจะมี การเก็บความรู้และข้อมูลต่าง ๆ เข้าไว้ในเคร่ือง สามารถเรียกค้นและดึงความรู้ที่สะสมไว้มาใช้งาน ให้เป็นประโยชน์ เนื่องจากประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกไม่ว่าจะเป็น สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น และประเทศ ในทวปี ยโุ รปไดใ้ ห้ความสนใจคน้ ควา้ และพฒั นาทางดา้ นน้กี ันอย่างจริงจงั จากคอมพิวเตอรท์ ่มี ีขนาดใหญ่ ใช้หลอดทรานซิสเตอร์จ�ำนวนมากได้พัฒนามาใช้แผ่นซิลิกอนขนาดเล็ก จนท�ำให้เกิดวงจรรวมบนแผ่น ซิลิกอน ที่เรียกว่า “ไอซี” ท�ำให้คอมพิวเตอร์มีขนาดเล็กลง ราคาถูกลง เรียกว่า “มินิคอมพิวเตอร์” ต่อมาได้พัฒนาเป็นวงจรรวมที่เอาทรานซิสเตอร์จ�ำนวนล้านตัวมารวมอยู่ในแผ่นซิลิกอนขนาดเล็ก และ ผลติ เปน็ หน่วยประมวลผลของคอมพิวเตอร์ ทซี่ บั ซ้อน เรยี กว่า ไมโครโพรเซสเซอร์ (Microprocessor) ซ่ึงเป็นเครื่องท่ีแพร่หลายและมีผู้ใช้งานกันทั่วโลก โดยเป็นคอมพิวเตอร์ที่มีขีดความสามารถสูง ใช้เพียง ชปิ เดยี วกส็ ามารถสรา้ งเปน็ หนว่ ยประมวลผลของเครอ่ื งทงั้ ระบบ หรอื เปน็ หนว่ ยความจำ� ทมี่ คี วามจสุ งู หรือ เป็นอุปกรณ์ควบคุมการท�ำงานต่าง ๆ ในขณะเดียวกันก็มีการพัฒนาของฮาร์ดดิสก์ให้มีขนาดเล็กลง แตร่ าคาถกู ลง เครอ่ื งไมโครคอมพวิ เตอรจ์ งึ มขี นาดเลก็ ลง เชน่ ปาลม์ ทอ็ ป (Palm Top) โนต้ บกุ๊ (Notebook) รูปที่ 1.2 เคร่อื งคอมพิวเตอร์

4 บทท่ี 1 การใชค้ อมพวิ เตอร์และระบบสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ คอมพิวเตอร์ยุคเครอื ข่าย (พ.ศ. 2533 - ปัจจุบัน) เมอื่ ไมโครคอมพวิ เตอรม์ ขี ดี ความสามารถสงู ขนึ้ ทำ� งานไดเ้ รว็ การแสดงผล การจดั การขอ้ มลู สามารถ ประมวลได้ครั้งละมาก ๆ จึงท�ำให้คอมพิวเตอร์สามารถท�ำงานหลายงานพร้อมกัน (Multitasking) ขณะเดียวกันก็มีการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในองค์กร โดยใช้เครือข่ายท้องถ่ินที่เรียกว่า Local Area Network (LAN) เม่อื เชอื่ มหลาย ๆ กลุ่มขององคก์ รเขา้ ดว้ ยกนั จะเกดิ เปน็ เครอื ข่ายคอมพวิ เตอร์ ขององคก์ ร เรยี กวา่ อนิ ทราเนต็ (Intranet) และหากนำ� เครอื ขา่ ยขององคก์ รเชอื่ มตอ่ เขา้ สเู่ ครอื ขา่ ยสากล ที่ตอ่ เชอ่ื มกนั ท่ัวโลก เรียกวา่ อนิ เทอร์เน็ต (Internet) คอมพิวเตอร์ในยุคปัจจุบันจึงเป็นคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อกัน ท�ำงานร่วมกัน ส่งเอกสารข้อความ ระหว่างกัน สามารถประมวลผลรูปภาพ เสียง และวีดิทัศน์ ไมโครคอมพิวเตอร์ในยุคน้ีจึงท�ำงานกับส่ือ หลายชนิดที่เรียกว่า สอ่ื ประสม (Multimedia) ประเภทของคอมพวิ เตอร์ คอมพวิ เตอรส์ ามารถจำ� แนกไดห้ ลายประเภท ขนึ้ อยกู่ บั ความแตกตา่ งของขนาดเครอื่ ง ความเรว็ ใน การประมวลผล และราคาเปน็ ขอ้ พจิ ารณาหลกั โดยทว่ั ไปนยิ มจำ� แนกประเภทคอมพวิ เตอร์ เปน็ 6 ประเภท ได้แก่ ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer) เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) มินิคอมพิวเตอร์ (Mini Computer) เซิร์ฟเวอร์คอมพวิ เตอร์ (Server Computer) ไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro Computer) และคอมพิวเตอรแ์ บบฝัง (Embedded Computer) ซึง่ มรี ายละเอยี ด ดงั นี้ 1. ซปุ เปอรค์ อมพวิ เตอร์ (Super Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพในการท�ำงานสูงสุด จึงมีราคาแพงมาก ความสามารถในการประมวลผล ทท่ี ำ� ไดม้ ากกวา่ พนั ลา้ นคำ� สง่ั ตอ่ วนิ าที ตวั อยา่ งการใชง้ าน คอมพิวเตอร์ประเภทน้ี เช่น การพยากรณ์อากาศ การทดสอบทางอวกาศ และงานอืน่ ๆ ที่มีการคำ� นวณ ท่ีซับซ้อน รูปท่ี 1.3 ซปุ เปอร์คอมพิวเตอร์ (Super Computer)

บทท่ี 1 การใชค้ อมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ 5 รปู ท่ี 1.4 เมนเฟรมคอมพวิ เตอร์ 2. เมนเฟรมคอมพวิ เตอรห์ รอื คอมพวิ เตอรข์ นาดใหญ่ (Mainframe Computer) (Mainframe Computer) เปน็ คอมพวิ เตอรท์ ม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ รองจากซปุ เปอรค์ อมพวิ เตอร์ สามารถรองรบั การทำ� งานจากผใู้ ช้ ได้หลายร้อยคนในเวลาเดียวกัน ประมวลผลด้วยความเร็วสูง มีหน่วยความจ�ำหลักขนาดใหญ่ ตลอดจนการจัดเก็บข้อมูล ได้เป็นจ�ำนวนมาก คอมพิวเตอร์เมนเฟรมนิยมใช้กับองค์กร ขนาดใหญท่ มี่ กี ารเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ของผใู้ ชจ้ ำ� นวนมากในเวลาเดยี วกนั เช่น งานธนาคาร การจองตั๋วเคร่ืองบิน การลงทะเบียน และ การตรวจสอบผลการเรยี นของนกั ศึกษา เป็นตน้ 3. มนิ คิ อมพวิ เตอรห์ รอื คอมพวิ เตอรข์ นาดกลาง (Mini รูปท่ี 1.5 มนิ คิ อมพวิ เตอร์ Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ท่ีมีประสิทธิภาพในการท�ำงาน (Mini Computer) น้อยกว่าเมนเฟรม แต่สูงกว่าไมโครคอมพิวเตอร์ และสามารถ รองรับการทำ� งานจากผใู้ ชไ้ ดห้ ลายคนในการทำ� งานท่ีแตกต่างกัน จากจดุ เรม่ิ ตน้ ในการพฒั นาทตี่ อ้ งการใหค้ อมพวิ เตอรป์ ระเภทนี้ ท�ำงานเฉพาะอย่าง เช่น การค�ำนวณทางด้านวิศวกรรม ท�ำให้ การพัฒนามินิคอมพิวเตอร์เติบโตอย่างรวดเร็ว ปัจจุบันธุรกิจ และองค์กรหลายประเภทนิยมน�ำมินิคอมพิวเตอร์มาใช้ในการ ให้บริการข้อมูลแก่ลูกค้า เช่น การจองห้องพักของโรงแรม การทำ� งานดา้ นบญั ชีขององค์กรธรุ กจิ เป็นต้น 4. เซริ ฟ์ เวอรค์ อมพวิ เตอร์ (Server Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ท่ีสนับสนุนการท�ำงานของคอมพิวเตอร์ เครือขา่ ย ซึง่ ใชใ้ นการจดั สรรและใชท้ รพั ยากรร่วมกัน เชน่ แฟม้ ข้อมลู โปรแกรมประยุกต์ อปุ กรณ์คอมพิวเตอร์ (เชน่ เครอื่ งพิมพ์และอุปกรณอ์ ่ืน ๆ) รปู ที่ 1.6 เซิร์ฟเวอร์คอมพิวเตอร์ (Server Computer)

6 บทท่ี 1 การใช้คอมพิวเตอรแ์ ละระบบสารสนเทศเพอื่ งานอาชพี 5. ไมโครคอมพิวเตอร์ (Micro Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ท่ีมีผู้นิยมใช้แพร่หลายมากที่สุด สง่ ผลใหก้ ารพฒั นาเครื่องไมโครคอมพิวเตอรม์ ีลกั ษณะและรูปแบบทแ่ี ตกต่างกนั เชน่ คอมพวิ เตอรต์ ้งั โตะ๊ (Desktop Computer) คอมพวิ เตอรพ์ กพา (Portable Computer) ซึง่ มรี ายละเอยี ด ดังนี้ 5.1 คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ (Desktop Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (Personal Computer หรือ PC) ท่ีมีขนาดเล็กเหมาะกับโต๊ะท�ำงานในส�ำนักงาน สถานศึกษา และท่ีบ้าน รปู ท่ี 1.7 คอมพิวเตอรต์ ั้งโต๊ะ (Desktop Computer) 5.2 คอมพวิ เตอรพ์ กพา (Portable Computer) เปน็ ไมโครคอมพวิ เตอรท์ ม่ี ขี นาดเลก็ เหมาะ แก่การพกพาไปใชใ้ นสถานท่ีตา่ ง ๆ ได้แก่ − Notebook Computer เปน็ คอมพวิ เตอรพ์ กพา ทมี่ นี ำ้� หนกั ประมาณ 2 − 4 กโิ ลกรมั อปุ กรณป์ ระกอบดว้ ยแปน้ พมิ พ์ ขนาดมาตรฐาน ปกติจะมเี ครอ่ื งอ่านแผน่ ดิสก์ โดยเฉพาะในปจั จบุ ัน จะมีเครือ่ งอ่านแผน่ ซีดรี อมดว้ ย รปู ที่ 1.8 Notebook Computer − Subnotebook Computer เปน็ คอมพวิ เตอร์ พกพาท่ีมีขนาดเล็กกว่าคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก โดยทั่วไปมีน�้ำหนัก นอ้ ยกว่า 2 กิโลกรมั เพอื่ เปน็ การลดขนาดและน�ำ้ หนัก ในบางครง้ั Subnotebook จะไม่มเี ครอื่ งอา่ นแผน่ ดสิ ก์ และจะใชก้ ารด์ บนั ทกึ สำ� หรับงานเฉพาะอยา่ งแทน รูปที่ 1.9 Subnotebook Computer − Laptop Computer มีน้ำ� หนักและขนาดใหญ่กวา่ คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก ปกติน�้ำหนักอยู่ระหว่าง 4 − 7 กิโลกรัม น�้ำหนัก ที่เพ่ิมข้ึนจากคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊กมาจากน้�ำหนักของฮาร์ดดิสก์และ จอแสดงผลทีม่ ขี นาดใหญ่กว่า รปู ท่ี 1.10 Laptop Computer

บทท่ี 1 การใช้คอมพวิ เตอร์และระบบสารสนเทศเพือ่ งานอาชีพ 7 − Hand−Held Computer ออกแบบขนึ้ เพอ่ื ใชง้ านเฉพาะอยา่ ง และนยิ มใชส้ ำ� หรบั งาน ท่มี กี ารเคลื่อนย้าย เช่น การนับจ�ำนวนสนิ คา้ เปน็ ตน้ รูปท่ี 1.11 Hand–Held Computer − Palmtop Computer เปน็ คอมพิวเตอรท์ ี่นยิ มใช้ จดั การเกย่ี วกบั ขอ้ มลู สว่ นบคุ คล ไดแ้ ก่ ปฏทิ นิ นดั หมายการประชมุ ทอี่ ยู่ และหมายเลขโทรศัพท์ การบันทึกส่ิงที่จะต้องท�ำ เป็นต้น Palmtop ใช้แป้นพิมพ์ท่ีแตกต่างจากแป้นพิมพ์มาตรฐาน และไม่มีฮาร์ดดิสก์ สำ� หรบั บันทึกข้อมลู รูปที่ 1.12 Palmtop Computer รปู ที่ 1.13 Pen Computer − Pen Computer เป็นคอมพิวเตอร์พกพา ท่ีใช้ปากกาเป็นอุปกรณ์ในการบันทึกข้อมูล ในบางคร้ังก็จะใช้ ปากกาในการเขียนข้อมูลลงบนหน้าจอ และในบางครั้งอาจจะใช้ ปากกานส้ี ำ� หรบั เปน็ อปุ กรณเ์ พอ่ื เลอื กการทำ� งานบนจอภาพ ระบบ ปากกาหรือ Pen System นี้ใช้โปรแกรมพเิ ศษเฉพาะระบบ และ เป็นคอมพิวเตอร์ท่ีถือว่าประสบความส�ำเร็จอย่างย่ิงในการพัฒนา คอมพิวเตอร์ประเภทนี้ เน่ืองจากมีผู้ใช้อย่างกว้างขวาง Pen Computer ประเภทที่ก�ำลังได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย คือ Personal Digital Assistant (PDA) หรือ Personal Communicator 6. คอมพิวเตอร์แบบฝัง (Embedded Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่ฝังในอุปกรณ์ต่าง ๆ นยิ มนำ� มาใชท้ ำ� งานเฉพาะดา้ น พจิ ารณาจากภายนอกจะไมเ่ หน็ วา่ เปน็ คอมพวิ เตอร์ แตจ่ ะทำ� หนา้ ทค่ี วบคมุ การท�ำงานบางอย่างของอุปกรณ์นั้น ๆ คอมพิวเตอร์ประเภทนี้ ได้แก่ เคร่ืองเล่นเกม ระบบเติมน้�ำมัน อัตโนมตั ิ โทรศัพทม์ ือถือ เป็นต้น

8 บทท่ี 1 การใช้คอมพิวเตอรแ์ ละระบบสารสนเทศเพ่ืองานอาชีพ องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ ส่วนต่าง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์แต่ละส่วน มีหน้าท่ีในการท�ำงานแต่ละอย่างที่แตกต่างกัน ออกไปตามความมุ่งหมายที่มนุษย์ได้สร้างข้ึน คอมพิวเตอร์จึงประกอบด้วยองค์ประกอบท่ีส�ำคัญ 3 ส่วนใหญ่ ๆ ด้วยกัน คือ 1. Hardware ตวั เครื่อง อุปกรณต์ ่าง ๆ 2. Software คำ� สงั่ หรอื โปรแกรม 3. Peopleware บคุ ลากรดา้ นคอมพิวเตอร์ Process Input Output Storage รปู ท่ี 1.14 องค์ประกอบของคอมพวิ เตอร์ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) เราสามารถแยกคำ� ศัพทข์ อง Hardware ออกเป็น 2 ส่วน คอื Hard แปลว่า ของแขง็ ส่วน Ware แปลว่า ผลติ ภัณฑ์ ดังนนั้ เมอ่ื น�ำมารวมกัน Hardware จงึ หมายถงึ อปุ กรณ์หรือผลติ ภัณฑ์ท่ีเป็นของแขง็ ซง่ึ ไดแ้ ก่ ส่วนประกอบทุกช้ินส่วนของเครื่องคอมพวิ เตอร์ หรอื อปุ กรณ์ท่ีจับต้องได้ เช่น จอภาพ ตวั เครอ่ื ง คยี บ์ อร์ด เมาส์ เครอ่ื งพิมพ์ โมเด็ม รวมทัง้ ชน้ิ ส่วนภายในตวั เครื่อง อุปกรณฮ์ ารด์ แวรป์ ระกอบด้วยส่วนประกอบทีส่ �ำคัญ 4 สว่ น คือ 1. หนว่ ยรบั ขอ้ มลู (Input Unit) ทำ� หนา้ ทร่ี บั ขอ้ มลู หรอื คำ� สง่ั จากภายนอกเขา้ สเู่ ครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ หรือเรียกว่า การอ่าน ข้อมูล เม่ือคอมพิวเตอร์อ่านข้อมูลแล้วจะน�ำเข้าไปเก็บไว้ในหน่วยความจ�ำหลัก

บทท่ี 1 การใชค้ อมพิวเตอรแ์ ละระบบสารสนเทศเพ่อื งานอาชีพ 9 จากนั้น จะน�ำค�ำส่ังไปปฏิบัติงานต่อไป อุปกรณ์รับข้อมูล (Input Devices) ได้แก่ แผงแป้นอักขระ หรอื คีย์บอรด์ เมาส์ โมเด็ม สแกนเนอร์ กลอ้ งดจิ ิตอล ไมโครโฟน จอยสตกิ๊ และจอแบบสมั ผสั เปน็ ต้น อุปกรณ์รับข้อมลู ทนี่ ยิ มใช้กันมากท่ีสุดมดี งั น ้ี Slate Drawing Pad Keyboard Mouse Microphone Scanner Digital Camera รูปท่ี 1.15 หน่วยรบั ข้อมูล (Input Unit) 1.1 เมาส์ (Mouse) เปน็ อปุ กรณร์ บั เขา้ ประเภทตวั ชท้ี ชี่ ว่ ยใหก้ ารใชง้ านงา่ ยขนึ้ ดว้ ยการใชเ้ มาส์ เลอื่ นตวั ชไ้ี ปยงั ตำ� แหนง่ ตา่ ง ๆ บนจอภาพ ในขณะทส่ี ายตาจบั อยทู่ จี่ อภาพกส็ ามารถใชม้ อื ลากเมาสไ์ ปมาได้ ระยะทางและทิศทางของตัวช้ีจะสัมพันธ์และเป็นไปในแนวทางเดียวกับการเล่ือนเมาส์ เมาส์แบ่งได้เป็น 2 แบบ คือ แบบทางกลและแบบใช้แสง − เมาส์แบบทางกล เป็นแบบท่ีใช้ลูกกลิ้งกลมท่ีมีน้�ำหนักและแรงเสียดทานพอดี เม่ือเล่ือนเมาส์ไปในทิศทางใดจะท�ำให้ลูกกล้ิงเคลื่อนไปมา เมาส์เป็นอุปกรณ์รับเข้าประเภทตัวช้ีท่ีช่วยให้ การใช้งานง่ายข้นึ ดว้ ยการใชเ้ มาส์ในทิศทางนัน้ ลูกกลิ้งจะท�ำให้กลไกซง่ึ ท�ำหน้าที่ปรับแกนหมนุ ในแกน X และแกน Y แล้วส่งผลไปเลื่อนต�ำแหน่งตัวชี้บนจอภาพ เมาส์แบบทางกลนี้มีโครงสร้างที่ออกแบบได้ง่าย มีรูปร่างพอเหมาะมือ ส่วนลูกกล้ิงจะต้องออกแบบให้กลิ้งได้ง่ายและไม่ล่ืนไถล สามารถควบคุมความเร็ว ไดอ้ ย่างต่อเนอ่ื งสัมพันธ์ระหวา่ งทางเดินของเมาส์และจอภาพ − เมาสแ์ บบใชแ้ สง อาศยั หลกั การสง่ แสงจากเมาสล์ งไปบนแผน่ รองเมาส์ (Mouse Pad) แผน่ รองเมาสซ์ ง่ึ เปน็ ตาราง (Grid) ตามแนวแกน X และ Y เมอ่ื เลอื่ นตวั เมาสเ์ คลอ่ื นไปบนแผน่ ตารางรองเมาส์ ก็จะมแี สงตัดผ่านตารางและสะทอ้ นข้ึนมาทำ� ให้ทราบต�ำแหนง่ ทล่ี ากไป เมาส์แบบน้ไี ม่ต้องใช้ลกู กล้ิงกลม แต่ต้องใช้แผ่นตารางรองเมาส์พิเศษ การใช้เมาส์จะเป็นการเล่ือนเมาส์เพ่ือควบคุมตัวช้ีบนจอภาพไปยัง ตำ� แหนง่ ท่ีต้องการ แลว้ ทำ� การยนื ยันด้วยการกดปมุ่ เมาส์

10 บทท่ี 1 การใช้คอมพิวเตอรแ์ ละระบบสารสนเทศเพื่องานอาชีพ Wireless Mouse เปน็ Mouse ทมี่ กี ารทำ� งานเหมอื น Mouse ทว่ั ไปเพยี งแตไ่ มม่ กี ารใช้ สายไฟต่อออกมาจากตัว Mouse ซึ่ง Mouse ชนิดน้ีจะมีตัวรับและตัวส่งสัญญาณ ซ่ึงทางด้านตัวรบั สัญญาณอาจจะเปน็ หวั ต่อแบบ PS/2 หรอื แบบ USB ทเี่ รียกว่า Thumb USB Receiver ซง่ึ ใช้ความถี่วทิ ยุ อยูท่ ่ี 27 MHz 1.2 สแกนเนอร์ (Scanner) คือ อุปกรณ์ซึ่งจับภาพและเปลี่ยนแปลงภาพจากรูปแบบของ อะนาล็อกเป็นดิจิตอล ซึ่งคอมพิวเตอร์สามารถแสดง เรียบเรียง เก็บรักษา และผลิตออกมาได้ภาพนั้น อาจจะเป็นรูปถ่าย ข้อความ ภาพวาด หรือแม้แต่วัตถุ 3 มิติ การท�ำงานของสแกนเนอร์จะใช้การฉายแสง บนเอกสารที่จะสแกน แสงจะผ่านกลับไปมาและภาพจะถูกจับโดยเซลล์ท่ีไวต่อแสงเรียกว่า Charg− Couple Device (CCD) แล้วเปลี่ยนคล่ืนของแสงที่สะท้อนกลับมาเป็นข้อมูลดิจิตอล หลังจากนั้น ซอฟต์แวร์ที่ใช้ส�ำหรับการสแกนภาพก็จะแปลงเอาสัญญาณเหล่านั้นกลับมาเป็นภาพบนคอมพิวเตอร์ อกี ทหี นงึ่ 1.3 คยี บ์ อรด์ (Keyboard) เป็นอปุ กรณ์รบั ข้ันพน้ื ฐานทีม่ ใี นคอมพวิ เตอร์ทุกเคร่อื ง ท�ำหน้าที่ รบั ขอ้ มลู จากการกดแปน้ แลว้ เปลย่ี นเปน็ รหสั เพอ่ื สง่ ตอ่ ไปยงั คอมพวิ เตอร์ แปน้ พมิ พจ์ ะมปี มุ่ ตง้ั แต ่ 50 แปน้ ข้ึนไป ส่วนใหญม่ ีแปน้ ตวั เลขแยกไวต้ ่างหากเพื่อใหก้ ารป้อนขอ้ มูลตัวเลขทำ� ได้งา่ ยและสะดวกข้ึน การวาง ตำ� แหนง่ แปน้ อกั ขระจะเปน็ ไปตามมาตรฐานของระบบพมิ พส์ มั ผสั ของเครอื่ งพมิ พด์ ดี ทมี่ กี ารใชแ้ ปน้ ยกแคร่ (Shift) เพ่ือท�ำให้พิมพ์ได้ท้ังตัวอักษร ตัวพิมพ์ใหญ่ และตัวพิมพ์เล็ก และมีการดัดแปลงแผงแป้นอักขระ ใหส้ ามารถใชง้ านไดท้ ง้ั ภาษาองั กฤษและภาษาไทย โดยใชก้ ลมุ่ แปน้ เดยี วกบั ภาษาองั กฤษ แตใ่ ชแ้ ปน้ พเิ ศษ แป้นหนึ่งท�ำหน้าที่สลับเปล่ียนการพิมพ์ภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษภายใต้การควบคุมของซอฟต์แวร์ อีกชั้นหน่ึง − Wireless Keyboard เป็น Keyboard ที่ท�ำงานโดยไม่ต้องต่อสายเข้ากับตัวเครื่อง คอมพิวเตอร์แต่จะมีอุปกรณ์ที่รับสัญญาณจากตัว Keyboard อีกทีหนึ่ง การท�ำงานจะใช้ความถ่ีวิทยุ ในการส่ือสาร ซ่งึ ความถี่ทีใ่ ช้จะอยทู่ ี่ 27 MHz อปุ กรณช์ นิดน้มี กั จะมาคกู่ ับอปุ กรณ์ Mouse ด้วย 2. หนว่ ยความจำ� หลกั (Memory Unit) ทำ� หนา้ ทร่ี บั ขอ้ มลู และคำ� สง่ั จากผใู้ ชภ้ ายนอกเขา้ ไปเกบ็ อยใู่ นอุปกรณ์เกบ็ ขอ้ มูลหรือหน่วยความจำ� หลัก (Main Memory) ค�ำสงั่ ทเี่ ก็บในส่วนความจำ� หลกั จะถูก น�ำไปตีความและส่ังท�ำงานที่หน่วยประมวลผลกลาง ท่ีเรียกว่า ซีพียู หน่วยความจ�ำหลักประกอบด้วย 2 สว่ น คอื 2.1 รอม (ROM : Read Only Memory) ท�ำหน้าที่ควบคุมการท�ำงาน ควบคุมการเขียน อา่ นข้อมลู ระหวา่ งหน่วยความจำ� ของซีพยี ู ควบคุมกลไกการท�ำงานท้งั หมดของระบบ เป็นหน่วยความจำ� ทีจ่ ะถูกอ่านได้เพยี งอย่างเดยี ว ท�ำหน้าท่ีเกบ็ คำ� สั่งหรือโปรแกรมควบคมุ ระบบงาน เช่น โปรแกรมส�ำหรบั แปลคำ� สงั่ จะบันทกึ เพิ่มเตมิ หรอื ลบท้ิงไม่ได้ และไม่สญู หายแม้ปดิ เครื่อง

บทท่ี 1 การใช้คอมพวิ เตอร์และระบบสารสนเทศเพ่ืองานอาชพี 11 2.2 แรม (RAM : Random Access Memory) หมายถงึ หนว่ ยความจำ� ทใี่ ชจ้ ดจำ� ขอ้ มลู และโปรแกรม ซึ่งผู้ใช้สามารถบันทึกและเรียกใช้ข้อมูลได้ตลอดเวลาที่เคร่ืองเปิดอยู่ แต่ข้อมูลนี้จะถูกลบ หายไปเมอ่ื ปิด เปน็ ตวั ชว่ ยในการทำ� ใหค้ อมพวิ เตอร์ท�ำงานไดเ้ รว็ ขึน้ CPU รนุ่ ใหมท่ ม่ี ีความเรว็ สูง กอ่ นจะ ท�ำการประมวลผลเครื่องจะมีการอ่านข้อมูลมาเก็บไว้ที่หน่วยความจ�ำก่อนเสมอ ถ้าเครื่องใดมีแรมมาก กย็ ่อมจะทำ� ใหม้ ีพน้ื ท่ใี นการเกบ็ ข้อมลู เพ่ือท�ำการประมวลผลมากเชน่ กัน แรมได้ถูกพฒั นาจาก DDR เป็น DDR2 จนมาถงึ DDR3 ซึ่งเป็นทีน่ ิยมใชก้ ันในปัจจุบนั นี้ DDR3 คอื มาตรฐานเมโมรยี คุ ใหมส่ ำ� หรบั เครอ่ื งคอมพวิ เตอรท์ ไี่ ดร้ บั การพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอ่ื งจากมาตรฐาน DDR และ DDR2 เพอ่ื ใหเ้ มโมรสี ามารถทำ� งานรว่ มกบั เมนบอรด์ และซพี ยี ไู ดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพมากยงิ่ ขนึ้ และความเรว็ ทเ่ี พม่ิ ขนึ้ ไมส่ ะสมความรอ้ นและใชพ้ ลงั งานตำ่� ซงึ่ ไดร้ บั การรบั รองมาตรฐานอยา่ งเปน็ ทางการ จากองค์กร JEDEC (Joint Electron Devie Engineering Council) ผู้ก�ำหนดมาตรฐานเทคโนโลยี ชิน้ สว่ นอเิ ล็กทรอนกิ ส์ระดับโลก DDR DDR2 DDR3 รูปที่ 1.16 RAM DDR, DDR2 และ DDR3 ในปัจจุบันนี้แรมได้ถูกพัฒนามาจนถึง DDR4 แล้ว ซึ่งบริษัทท่ีได้พัฒนาก็คือ Samsung ได้พฒั นาแรม (RAM) แบบ DDR4 DRAM ดว้ ยเทคโนโลยีการผลติ ท่ี 30 nm เป็นผลส�ำเร็จแล้ว DDR4 DRAM รนุ่ ใหม่นีม้ อี ัตราการรบั −ส่งข้อมลู ท่ี 2.1 Gbps (gigabits per second) ที่แรงดนั ไฟฟ้า 1.2 V เปรียบเทียบกับ DDR3 DRAM ที่ใช้แรงดันไฟฟ้าท่ี 1.35 V และ 1.5 V ที่การผลิตที่ 30 nm เท่ากัน เมอื่ นำ� ไปใชก้ บั โนต้ บกุ๊ จะลดการใชพ้ ลงั งานไดถ้ งึ 40 เปอรเ์ ซน็ ต์ (เทยี บกบั DDR3 DRAM ทใี่ ชแ้ รงดนั ไฟฟา้ 1.5 V)

12 บทท่ี 1 การใชค้ อมพวิ เตอรแ์ ละระบบสารสนเทศเพอื่ งานอาชพี DDR4 ใช้เทคโนโลยีใหม่ที่เรยี กวา่ Pseudo Open Drain (POD) ซึง่ ชว่ ยให้ลดการใช้ กระแสไฟฟา้ สง่ ผลใหป้ ระหยดั พลงั งาน โดยแรม DDR4 ของซมั ซงุ จะมอี ตั ราการรบั −สง่ ขอ้ มลู สงู คอื ตงั้ แต่ 1.6 Gbps ถึง 3.2 Gbps เม่อื เทียบกับ DDR3 ที่มคี วามเร็ว 1.6 Gbps และ DDR2 ทีม่ คี วามเร็ว 800 Mbps รปู ที่ 1.17 RAM DDR4 3. หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit) เรียกวา่ CPU หรอื สว่ นมันสมองของ คอมพวิ เตอร์ ท�ำหน้าทเ่ี ป็นศูนยก์ ลางควบคุมการทำ� งานของระบบคอมพิวเตอร์ทงั้ หมด โดยนำ� ขอ้ มลู ทไี่ ด้ จากหนว่ ยรบั ขอ้ มลู มาทำ� การประมวลผล โดยการคำ� นวณและเปรยี บเทยี บแลว้ สง่ ไปยงั หนว่ ยแสดงผล ซพี ยี ู ที่นิยมใช้ ได้แก่ Intel, ADM, Cyrix ซพี ยี ู หน่วยประมวลผลกลางประกอบด้วยหน่วยหลัก 2 หน่วย คือ 3.1 หน่วยควบคมุ (Control Unit) ท�ำหนา้ ทีป่ ระสานงานและควบคมุ การท�ำงานของระบบ คอมพิวเตอร์ โดยควบคุมการท�ำงานของหน่วยรับข้อมูลและหน่วยแสดงผล ควบคุมการท�ำงานของ หน่วยความจ�ำหลัก รวมทั้งหนว่ ยคำ� นวณและตรรกะ 3.2 หน่วยค�ำนวณและตรรกะ (Arithmetic and Logical Unit หรือ ALU) ท�ำหน้าที่ ค�ำนวณ (บวก ลบ คูณ หาร) เปรียบเทียบค่า (มากกว่า/น้อยกว่า) โดยรับข้อมูลจากหน่วยความจ�ำหลัก มาเก็บไว้ใน ALU ซึ่งในหน่วยนี้จะประกอบด้วยส่วนย่อย ๆ ที่เรียกว่า Register โดยหน่วย Register จะใช้เก็บค่าและข้อมูลต่าง ๆ ท่ีจะน�ำมาใช้ในการค�ำนวณ เมื่อค�ำนวณแล้วจะส่งผลลัพธ์ท่ีได้ไปยัง หนว่ ยความจ�ำหลักภายใต้การควบคุมของหน่วยควบคุม รูปท่ี 1.18 Central Processing Unit หรอื CPU