รายงานผลการดาเนินงาน (มคอ.7) สาหรบั หลักสตู รทีจ่ ัดการเรียนการสอน ตามเกณฑ์มาตรฐานหลกั สตู ร พ.ศ. 2558 หลักสตู รวิทยาศาสตรบณั ฑติ พ.ศ. 2559 สาขาวิชาเทคโนโลยีมลั ตมิ เี ดยี คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครปฐม ประจาปีการศึกษา 2562 (1 กรกฏาคม 2562 – 30 มิถุนายน 2563) วนั ที่ 30 มิถนุ ายน 2563
2 หลักสูตรวทิ ยาศาสตรบณั ฑิต สาขาวชิ าเทคโนโลยีมลั ตมิ เี ดยี (หลกั สตู รใหม)่ พ.ศ. 2559 เป็นหลักสตู รที่จัดการเรียนการสอนตามเกณฑ์มาตรฐานหลกั สูตร พ.ศ.2558 สาขาวิชาเทคโนโลยีมลั ตมิ เี ดีย คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครปฐม รายงานผลการดาเนนิ งานของหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑติ พ.ศ.2559 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม ประจาปกี ารศึกษา 2562 วนั ท่รี ายงาน 30 มถิ นุ ายน 2563
3 คานา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2553 กาหนดจุดมุ่งหมายและหลักการของการจัดการศึกษาท่ีมุ่งเน้นคุณภาพและมาตรฐาน และ กาหนดใหส้ ถาบนั อดุ มศึกษาดาเนนิ การประกันคุณภาพการศกึ ษารายหลกั สูตร ดงั นน้ั สาขาวิชาเทคโนโลยีมลั ติมเี ดีย คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม จึงได้นาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษามาใช้ในการบริหารจัดการและปฏิบัติงาน และในปี การศึกษา 2562 นี้ สาขาวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดียได้จัดทารายงานการประเมินตนเอง (SAR) ตาม องค์ประกอบคุณภาพและตัวบ่งช้ีของสานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) เพ่ือการประเมินและ ตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษาภายใน รายงานการประเมินตนเอง (SAR) ของสาขาวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย จัดทาสาหรับการประเมิน คุณภาพระดับหลักสูตรอย่างเป็นทางการโดยเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลตงั้ แต่วันที่ 1 กรกฏาคม 2562 – 30 มิถนุ ายน 2563 เป็นรายงานท่ีเสนอข้อมูลจานวน 6 องค์ประกอบ 14 ตัวบ่งชี้ ได้แก่ องค์ประกอบท่ี 1 การกากับ มาตรฐาน มี 1 ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบท่ี 2 บัณฑิต มี 2 ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบท่ี 3 นักศึกษา มี 3 ตัวบ่งชี้ องค์ประกอบท่ี 4 อาจารย์ มี 3 ตัวบ่งช้ี องค์ประกอบท่ี 5 หลักสูตร การเรียน การสอน การประเมินผู้เรียน มี 4 ตวั บง่ ช้ี และองคป์ ระกอบที่ 6 สิ่งสนบั สนุนการเรยี น มี 1 ตวั บ่งชี้ ผศ.ดร.ศลั ยพงศ์ วิชัยดิษฐ ประธานหลักสูตรเทคโนโลยมี ัลติมเี ดีย 30 มถิ นุ ายน 2563
4 สารบญั หน้า คานา สารบัญ บทสรปุ ผ้บู ริหาร หมวดที่ 1 ขอ้ มูลทว่ั ไป .............................................................................................................. 6 หมวดที่ 2 บณั ฑิต ........................................................................................................................ 9 หมวดที่ 3 นกั ศึกษา...................................................................................................................... 10 ตัวบ่งชี้ท่ี 3.1 การรบั นกั ศึกษา..................................................................................... 10 ตัวบง่ ชี้ท่ี 3.2 การสง่ เสริมและพัฒนานักศึกษา.........................................……………… 16 ตัวบง่ ชี้ที่ 3.3 ผลทเ่ี กิดกบั นกั ศกึ ษา............................................................................ 22 หมวดที่ 4 อาจารย์....................................................................................................................... 24 ตวั บ่งชีท้ ี่ 4.1 การบรหิ ารและพฒั นาอาจารย์............................................................. 24 ตัวบง่ ชท้ี ่ี 4.2 คณุ ภาพอาจารย์................................................................................... 32 ตัวบง่ ชท้ี ่ี 4.3 ผลทีเ่ กิดกบั อาจารย์............................................................................. 36 หมวดท่ี 5 ข้อมูลผลการเรียนรายวชิ าของหลกั สูตรและคุณภาพการสอนในหลักสูตร.................. 39 ตัวบ่งชี้ท่ี 5.1 สาระของรายวิชาในหลกั สูตร.............................................................. 40 ตัวบง่ ชี้ที่ 5.2 การวางระบบผูส้ อนและกระบวนการจดั การเรียนการสอน................. 45 ตวั บง่ ชี้ที่ 5.3 การประเมินผู้เรยี น.............................................................................. 49 ตัวบ่งชี้ที่ 5.4 ผลการดาเนนิ งานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดบั อดุ มศึกษาแห่งชาติ 54 หมวดท่ี 6 การบริหารหลักสตู ร.................................................................................................... 59 ตัวบ่งชี้ท่ี 6.1 สิง่ สนบั สนุนการเรียนรู้........................................................................ 59
5 บทสรุปผ้บู รหิ าร หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย จดั ทารายงานการประเมินตัวเองทั้งหมด 6 องค์ประกอบ จานวน 14 ตัวบ่งช้ี ซึ่งเป็นการจัดทารายงานตามตัวบ่งช้ีใหม่ ในการตรวจประกันคุณภาพ ระดับหลักสูตรจากการจัดทารายงานประเมินตนเองท้ังจานวน 11 ตัวบ่งช้ี มีผลคะแนนเฉล่ีย ผลการประเมิน อยใู่ นระดบั 3.25 จุดท่ีควรพัฒนาของหลักสูตรเทคโนโลยีมัลติมีเดีย คือ การเพ่ิมคุณวุฒิระดับปริญญาเอกและตาแหน่ง ทางวิชาการของอาจารย์ประจาหลกั สูตร ซึง่ ปัจจุบนั มีอาจารย์ประจาหลกั สตู รทอี่ ย่รู ะหวา่ งการขอตาแหน่งทาง วชิ าการจานวน 1 คน แนวทางการพัฒนาเพ่ือให้ผลการประเมินอยู่ในระดับดีมาก คือ การปรับปรุงแผนต่างๆให้สอดคล้อง กับมหาวิทยาลัยคือการผลิตบัณฑิตนักปฏิบัติ และนาแผนไปปรับปรุงกิจกรรมท่ีจัดในหลักสูตรเทคโนโลยี มัลตมิ เี ดียตอ่ ไป
6 หมวดท่ี 1 ขอ้ มูลท่วั ไป รหสั หลกั สูตร 25591471101865 อาจารย์ผู้รับผดิ ชอบหลกั สตู ร (รายละเอียดตารางท่ี 1.1-1 , 1.1-2) มคอ. 2 ปัจจุบนั หมายเหตุ 1. อาจารย์ ดร.ศลั ยพงศ์ วชิ ัยดิษฐ 1. ผศ.ดร.ศัลยพงศ์ วิชยั ดิษฐ (ระบคุ ร้งั ที/่ วนั ท่ีผ่านสภา มหาวทิ ยาลยั ) 2. อาจารย์สคุ นธา จันทาพนู 2. อาจารย์สุชารัตน์ จนั ทาพูนธยาน์ สภามหาวทิ ยาลยั ได้ 3. อาจารยเ์ มธาวรินทร์ สัจจะบรบิ ูรณ์ 3. อาจารย์ ดร.เมธาวรินทร์ สัจจะบริบรู ณ์ อนมุ ัตใิ นคราวประชุม ครงั้ ท่ี 10/2559 เมือ่ วันที่ 4. อาจารย์กุลยา เจรญิ มงคลวิไล 4. ผศ.อารีรตั น์ แก้วประดิษฐ์ 5 พฤศจกิ ายน 2559 5. อาจารยโ์ กวิทย์ ชนะเคน 5. อาจารยโ์ กวทิ ย์ ชนะเคน อาจารย์ประจาหลักสตู ร (รายละเอียดตารางที่ 1.1-1) 1. ผศ.ดร.ศลั ยพงศ์ วชิ ัยดิษฐ 2. อาจารย์สชุ ารตั น์ จันทาพูนธยาน์ 3. อาจารย์ ดร.เมธาวรินทร์ สัจจะบริบูรณ์ 4. ผศ.อารีรตั น์ แก้วประดิษฐ์ 5. อาจารย์โกวทิ ย์ ชนะเคน อาจารย์ผู้สอน (อาจารย์ประจาภายในสถาบนั ) (รายละเอียดตารางท่ี 1.1-2) 1. ผศ.ดร.ศลั ยพงศ์ วชิ ยั ดิษฐ 2. อาจารยส์ ุชารตั น์ จันทาพูนธยาน์ 3. อาจารย์ ดร.เมธาวรนิ ทร์ สัจจะบริบูรณ์ 4. ผศ.อารีรัตน์ แกว้ ประดิษฐ์ 5. อาจารย์โกวิทย์ ชนะเคน 6. อาจารย์กุลยา เจรญิ มงคลวิไล 7. อาจารยว์ ศิ วะ ส่ือสุวรรณ สถานทจี่ ัดการเรียนการสอน อาคารปฏิบัติการคอมพวิ เตอร์ คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม การกากับให้เป็นไปตามมาตรฐาน (ตวั บ่งช้ี 1.1) เกณฑก์ ารประเมิน ผลการดาเนนิ งาน หลักฐาน/ ตารางอ้างอิง 1 จานวนอาจารย์ผรู้ ับผดิ ชอบ หลักสูตรเทคโนโลยมี ลั ตมิ ีเดยี หลักสตู รใหม่ หลกั สูตร พ.ศ. 2560 มอี าจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสตู รที่ ตารางที่ 1.1-1 มีคุณวฒุ ิตามท่ี สกอ. กาหนด จานวน 5 คน
7 เกณฑ์การประเมิน ผลการดาเนนิ งาน หลักฐาน/ 2 คุณสมบัติของอาจารย์ ตารางอ้างอิง คุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ผ้รู ับผิดชอบหลกั สูตร ทั้ง 5 คน มีคุณวุฒิการศึกษาในสาขาที่ตรง ตารางที่ 1.1-1 และใกล้เคียงกับสาขาที่ทาการสอน ท้ังน้ี มี 3 คณุ สมบัติของอาจารย์ประจา อาจารย์ซ่ึงมีตาแหน่งทางวิชาการ 2 คน คือ หลักสูตร ผศ.ดร.ศัลยพงศ์ วิชัยดิษฐ และ อาจารย์ ดร. เมธาวรินทร์ สัจจะบริบูรณ์ ทั้งน้ี มีอาจารย์ ซ่ึงมี ต าแ ห น่ งท างวิช าการระดับ ผู้ช่ วย ศาสตราจารย์ 2 คน คือ ผศ.ดร.ศัลยพงศ์ วิชยั ดิษฐ และ ผศ.อารรี ตั น์ แก้วประดิษฐ์ คณุ สมบตั ิของอาจารยป์ ระจาหลกั สตู รสาขา เลม่ หลกั สตู ร เทคโนโลยีมัลตมิ เี ดยี มคี ุณวฒุ ใิ นสาขาที่ตรง หรือสมั พันธ์กบั สาขาวชิ าที่เปิดสอน 4 คณุ สมบัติของอาจารยผ์ สู้ อน หลักสูตรเทคโนโลยมี ัลตมิ เี ดีย หลักสตู รใหม่ เล่มหลักสูตร - อาจารยป์ ระจาหลักสูตร พ.ศ. 2560 มีผูส้ อนทเี่ ปน็ อาจารยป์ ระจา หลกั สูตรท่ีมคี ุณวุฒใิ นสาขาที่ตรงหรอื สมั พันธ์ กับสาขาวิชาที่เปิดสอน ตามท่แี สดงในตาราง ในเกณฑข์ ้อ 3 ขา้ งตน้ - อาจารยพ์ เิ ศษ หลกั สตู รเทคโนโลยมี ลั ตมิ ีเดยี หลกั สูตรใหม่ พ.ศ. 2560 ในปกี ารศึกษา 2560 ไม่มอี าจารย์ ผ้สู อนทเี่ ปน็ อาจารย์พเิ ศษ 5 คุณสมบตั ิของอาจารย์ที่ปรึกษา - วทิ ยานิพนธห์ ลักและอาจารย์ท่ี ปรกึ ษาการค้นคว้าอสิ ระ 6 คณุ สมบตั ิของอาจารยท์ ี่ปรกึ ษา - วิทยานพิ นธ์รว่ ม (ถ้ามี) 7 คุณสมบตั ิของอาจารย์ผู้สอบ - วิทยานิพนธ์ 8 การตพี ิมพเ์ ผยแพรผ่ ลงานของ - ผสู้ าเรจ็ การศึกษา 9 ภาระงานอาจารย์ท่ีปรกึ ษา - วทิ ยานพิ นธแ์ ละการค้นคว้า อิสระในระดับบณั ฑิตศึกษา
8 เกณฑก์ ารประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน หลกั ฐาน/ ตารางอ้างอิง 10 การปรับปรงุ หลักสูตรตามรอบ หลกั สูตรเทคโนโลยีมัลติมีเดยี เป็นหลกั สูตร ระยะเวลาท่ีกาหนด ใหม่ ได้รับการอนุมตั จิ ากสภามหาวิทยาลัยใน เลม่ หลักสตู ร การประชุมคร้ังท่ี 10/2559 วนั ท่ี 5 เดอื น พฤศจิกายน พ.ศ. 2559 ไดอ้ นมุ ัติหลักสูตรให้ เปดิ สอนภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2560 หมายเหตุ หลักสูตรระดับปริญญาตรี และหลักสูตรระดับประกาศนียบัตร ประเมินองค์ประกอบท่ี 1 ตามเกณฑ์ การประเมนิ ขอ้ 1 – 4 และขอ้ 10 สรปุ ผลการประเมินตนเอง ตวั บง่ ช้ี เป้าหมาย ผลการดาเนนิ งาน การบรรลเุ ปา้ หมาย 5 ข้อ 1.1 - ปรญิ ญาตรี 5 ขอ้ บรรลุ - บัณฑิตศึกษา 10 ข้อ ไมบ่ รรลุ ผลการวิเคราะห์จดุ เดน่ และโอกาสในการพฒั นา จุดเด่น 1. อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลักสูตรมีคุณสมบัติตรงตามข้อกาหนด โดยประกอบไปด้วย อาจารยท์ ่ีมีวุฒิ การศึกษาที่ตรงตามสาขาวิชา 1 ท่าน และ มีอาจารย์ท่ีมีคุณวุฒิการศึกษาระดับปริญญาเอก 2 ท่าน และมี อาจารยซ์ ง่ึ มีตาแหน่งทางวิชาการระดบั ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ 2 คน โอกาสในการพฒั นา 1. มอี าจารย์ประจาหลกั สตู รท่ีมีตาแหนง่ ทางวชิ าการ และมวี ุฒิระดบั ปรญิ ญาเอกเพิ่มมากข้ึน
9 หมวดที่ 2 บณั ฑิต ขอ้ มูลนกั ศกึ ษา ปีการ จา จานวนท่สี าเรจ็ การศึกษาตามหลกั สูตร อัตราการสาเรจ็ จานวนที่ จานวนท่ี อตั ราการคงอยู่ การศึกษาตาม คงอย่สู ิ้น ออก ศกึ ษา นวน (2) 97.62 เกณฑ์ (โดยรวม ปี ระหว่าง 90.48 ท่ีรับ 2558 2559 2560 2561 2562 ท่สี าเร็จก่อน การศึกษา เรียนจนสน้ิ 98.57 เขา้ ปีการศึกษา (1) เกณฑ)์ 2561 2561 (3) (4) 2560 42 - - - - - - 41 1 2561 84 - - - - - - 76 8 2562 70 - - - - - - 69 1 ปจั จยั ที่มีผลกระทบต่อจานวนนกั ศึกษา จานวนการรบั เข้าชน้ั ปที ี่ 1 ของนักศึกษากบั จานวนทน่ี ักศึกษาเข้า รายงานตัว และเขา้ ศกึ ษาจรงิ มจี านวนตา่ งกนั คือ จานวนที่เข้าเรียนจะมีจานวนน้อยกว่าจานวนจรงิ จานวนผู้สาเรจ็ การศกึ ษา ปีการศึกษาทรี่ บั เขา้ ปีการศกึ ษาท่ีสาเรจ็ การศึกษา 68 67 66 65 64 63 คา่ เฉลี่ย (ต้งั แต่ปีการศึกษาที่เร่ิมใช้ จานวนจบในรุ่น - - -- - - หลักสตู ร) จานวนรบั เข้าในรนุ่ - - -- - - ร้อยละของจานวนทีร่ ับเขา้ ในร่นุ - - - - - - ปัจจัยทีม่ ีผลกระทบต่อการสาเร็จการศึกษา เปิดรบั นักศกึ ษาปีที่ 2 ยังไมม่ ีนักศกึ ษาจบการศึกษา
10 หมวดที่ 3 นกั ศกึ ษา ตัวบง่ ช้ีท่ี 3.1 การรบั นักศกึ ษา ผรู้ บั ผิดชอบตัวบง่ ช้ี : ผศ.ดร.ศลั ยพงศ์ วิชยั ดิษฐ การเกบ็ ขอ้ มูล : (ปีการศึกษา 2562 : 1 กรกฎาคม 2562 – 30 มถิ ุนายน 2563) การรบั นกั ศกึ ษา เปา้ หมายเชิงปรมิ าณ : แรกเข้ามีจานวนเป็นไปตามแผนรับนักศึกษา 90 คน เป้าหมายเชิงคณุ ภาพ : นกั ศึกษาแรกเข้ามคี ุณสมบตั ิครบถ้วนตาม มคอ.2 กาหนด 1. สาเรจ็ การศกึ ษาระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลายหรอื เทียบเท่า 2. มคี ณุ สมบตั ิอนื่ ๆ ตามประกาศของมหาวิทยาลยั ราชภฏั นครปฐม เกณฑ์การประเมิน ผลการดาเนินงาน 1. มรี ะบบและกลไก 1.ระบบและกลไก ในการรบั นกั ศกึ ษา 1.1 ระบบการรบั นกั ศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยีมัลติมีเดีย มีระบบและกลไกการรับนักศึกษา โดย ด าเนิ น ก าร อ ยู่ ภ าย ใต้ ร ะบ บ แ ล ะ กล ไก ก าร รั บ นั ก ศึก ษ า ผ่ าน ก ร ะบ ว น ก าร ข อง ส ภ า มหาวิทยาลัย ดงั น้ี
11 ซงึ่ สว่ นท่ีดาเนนิ งานโดยสาขาวชิ า ประกอบดว้ ย
12 ในข้ันตอนนี้ สาขาวิชามีส่วนในการกาหนดแผนประชาสัมพันธ์การรับ นักศึกษา คือ หาช่องทางประชาสัมพันธ์ เช่น ประชาสัมพันธ์ผ่านเว็บไซต์ ผ่านทาง โซเชียลมีเดีย การ road show การเข้าถงึ ครแู นะแนวของโรงเรียนเปา้ หมาย เปน็ ตน้ นอกจากน้ีสาขาวิชามีส่วนในการคัดกรองนักศึกษากาหนดให้มีการ ทดสอบการวาดลายเส้นและการสอบสัมภาษณ์ โดยกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตรทา หน้าท่เี ป็นกรรมการสัมภาษณ์ผสู้ มัคร เพ่ือให้ไดน้ ักศึกษาท่ีมีคณุ สมบัตทิ ี่เหมาะสม ทง้ั นี้ สาขาวิชาได้กาหนดรายช่ือกรรมการสอบสัมภาษณ์เพื่อนาเสนอต่อมหาวิทยาลัยเพ่ือ ดาเนินการตามเวลาที่มหาวิทยาลัยกาหนด และสาขาวิชาทาการรายงานผลสอบต่อ มหาวทิ ยาลัย เมื่อการสอบสัมภาษณเ์ สร็จสน้ิ เมื่อมหาวิทยาลัยประกาศผลสอบเข้าศึกษาต่อแล้ว หากจานวนนักศึกษายัง ไม่ครบกาหนด สาขาวิชาจะทาการกาหนดเป้าหมาย แผนการรับนักศึกษา ในการรับ สมคั รรอบถัดไป หากมหาวิทยาลัยมีการรับสมคั รนกั ศกึ ษาเพิม่ 2. มีการน าระบ บ 2. การนาไปสูก่ ารปฏิบัติ และกลไกไปปฏิบตั ิ - ในการรับนักศกึ ษาปกี ารศึกษา 2562 ทางสาขาวชิ าฯ ได้มกี ารประชมุ แผนการ รับนักศึกษาช้ันปีท่ี 1 ตามท่ีกาหนดใน มคอ.2 จานวน 90 คน โดยกาหนดคุณสมบัติ ผู้สมัครจะต้องเป็นผู้สาเร็จการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเท่า มี การสอบสัมภาษณเ์ พอื่ คัดเลอื กนกั ศึกษา - สาขาวิชาได้กาหนดแผนประชาสัมพันธ์การรับนักศึกษา โดยกาหนดช่องทาง ประชาสมั พันธ์ กล่าวคือ ประชาสัมพันธ์ผา่ นทางโซเชียลมเี ดยี ทุกช่องทางเน้นช่องทาง จาก YouTube เพื่อนาเสนอผลงานนักศึกษาในรายวิชาเพื่อให้เป็นรูปธรรม การ Road Show การประชาสมั พันธ์เชงิ รุก รว่ มกบั คณะและมหาวทิ ยาลัย - ในการคัดกรองการรับนักศึกษา สาขาวิชากาหนดหัวข้อและเกณฑ์ท่ีใช้ใน การสัมภาษณ์ เพ่อื คัดกรองคุณภาพนกั ศึกษา ด้วยการสอบสมั ภาษณ์ การใช้ทักษะดา้ น Drawing ขั้นพื้นฐาน และกาหนดรายชื่อกรรมการสอบสัมภาษณ์ เพื่อเสนอต่อ มหาวิทยาลัย จากน้ันหลังการสอบสัมภาษณ์ คณะกรรมการนาคะแนนที่ได้จากการ สัมภาษณ์มาเรียงลาดับคะแนน และส่งให้มหาวิทยาลัย เพื่อเป็นสารสนเทศในการ ประกาศผลการคัดเลือกนักศกึ ษา - ท้ังนี้ในปีการศึกษา 2562 มีนักศึกษาสมัคร 3 รอบ จานวนทั้งส้ิน 94 คน และผ่านการคัดเลือกเข้ารับการศึกษา จานวนทั้งสิ้น 70 คน ซึงในการคัดเลือกนั้น พิจารณาจากทักษะพื้นฐานทางด้านมัลติมีเดียของนักศึกษา และมีบางส่วนท่ีไม่มา รายงานตัวในวันประกาศผล จึงทาให้ยอดที่ผ่านการคัดเลือกน้ันน้อยกว่ายอดจากการ รบั สมคั ร 3 . มี ก ารป ระ เมิ น 3. การประเมินกระบวนการ กระบวนการ สาหรับการรับนักศึกษาใหม่ของปีการศึกษา 2562 ซึ่งทาการรับสมัคร นักศึกษาแล้วน้ัน พบว่าผ่านการคัดเลือกเข้ารับการศึกษา จานวนท้ังส้ิน 70 คน แต่ยัง ไม่ถงึ เกณฑ์ท่ที างหลักสูตรกาหนดไว้จานวน 90 คน และจากการท่ีอาจารย์ผู้รับผิดชอบ หลักสูตร ได้ทาการสารวจความประสงค์ของผู้เข้าศึกษาต่อ ด้วยการสัมภาษณ์ และ
13 สังเกต พบว่า 1) มสี าขาวิชาทางดา้ นคอมพิวเตอรท์ ่ีใกล้เคียง ทเี่ ปิดรับสมคั รใหเ้ ลอื กมาก 2) เกิดวิกฤติจานวนผู้เข้าศึกษาใหม่ของสถาบันอุดมศึกษา เน่ืองจากจานวน นักเรียนลดลง และรัฐบาลส่งเสริมให้นักเรียน ม.3 เข้าศึกษาในระดับอาชีวะมากข้ึน และสถาบันการศึกษาด้านอาชีวะมีการเปิดการศึกษาระดับปริญญาตรี เพ่ือรองรับ นกั ศึกษาของตน 4. มีการป รับ ป รุง 4.การปรบั ปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน พัฒนากระบวนการ จากผลการประชุมของคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตรตามข้อ 3.1 จากผลการประเมิน สาขาวิชาจงึ ดาเนินการดังน้ี สาหรับการรับนักศึกษาในปีถัดไป สาขาวิชาได้หาแนวทางในการจัดทา ช่องทางการประชาสัมพันธ์เพ่ิมเติม ในส่วนของการประชาสัมพันธ์หลักสูตรจากร่นุ พี่สู่ รุ่นน้องให้เพิ่มมากขึ้น ผ่านช่องทางโซเชียลมีเดียมากขึ้น การประชาสัมพันธ์ผ่านทาง ฝ่ายแนะแนวโรงเรยี น การทาโปสเตอร์ แผ่นพับ ประชาสัมพนั ธข์ ้อมูลสาขา การเตรยี มความพร้อมกอ่ นเขา้ ศึกษา เป้าหมายเชงิ ปริมาณ : นกั ศึกษาแรกเขา้ ทุกคนมีการเตรยี มความพร้อมตามทห่ี ลักสูตรกาหนดก่อนเขา้ ศึกษา ปัญหาของนกั ศึกษาแรกเขา้ การปรับตวั จากการเรยี นในระดับมัธยมศึกษาสู่การเรยี นในระดับอุดมศึกษา กลยทุ ธ์ในการแกป้ ญั หา จัดให้มีอาจารย์ทีป่ รึกษา และจัดกจิ กรรมเพอื่ เสริมสร้างพ้ืนฐานความรู้และทักษะที่จาเป็นในการเรียน ระดับอดุ มศึกษา เป้าหมายเชิงคณุ ภาพ : นักศึกษามีความพร้อมทจี่ ะเรียนได้ตลอดหลกั สตู ร เกณฑ์การประเมิน ผลการดาเนินงาน 1. มรี ะบบและกลไก 1. ระบบและกลไก ในการเตรยี มความ - ในการจัดการศึกษาของของมหาวิทยาลัยนั้น มหาวิทยาลัยจะทาการ พรอ้ มก่อนเขา้ ศกึ ษา เตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษาท้ังด้านการใช้ชวี ิตในรว้ั มหาวทิ ยาลัย และดา้ นการ เตรียมพรอ้ มด้านทกั ษะวชิ าการใหก้ บั นักศึกษาใหม่ของทกุ ๆ สาขาวชิ า ประกอบไป ด้วยด้านวิชาการ ค่ายทักษะวิชาการ รวมท้ังการเตรียมความพร้อมด้าน คอมพิวเตอร์ ซ่ึงสอดคล้องกับกิจกรรมปรบั พ้ืนฐานทางด้านมัลติมีเดีย การวาดภาพ การลงสี การปรับพื้นฐานทางด้านคณิตศาสตร์สาหรับคอมพิวเตอร์ และ ภาษาอังกฤษ ซึ่งนักศึกษาทุกคนจะต้องผ่านเกณฑ์วัดระดั บความรู้ก่อนจบ การศกึ ษา - เม่ือเสร็จสิ้นการจัดการเตรียมความพร้อมของมหาวิทยาลัยเรียบร้อยแล้ว สาขาวิชาจะเริ่มการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษาของนักศึกษาใหม่เช่นกัน ขั้นตอนการเตรยี มความพร้อมก่อนเข้าศึกษาของสาขาวชิ า เป็นดังน้ี 1) กรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร ประชุมเพ่ือหาแนวทางการจัดการเตรียม ความพร้อมแก่นักศึกษาใหม่ และจัดทาแผนการเตรยี มความพร้อม ซึ่งประกอบด้วย การเตรียมความพร้อมด้านการใช้ชีวิตการเรียนกิจกรรมการอยู่ร่วมกับรุ่นพี่ เพื่อน
14 การทางานเป็นส่วนรวม และการเตรียมความพร้อมด้านทักษะทางวิชาการด้าน คณิตศาสตร์สาหรับคอมพิวเตอร์ โดยการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการจากอาจารย์ผู้สอน ในรายวิชาซ่ึงนาปัญหาที่พบจากปีการศึกษา 2561 มาปรับกระบวนการเรียนการ สอนเพื่อให้ในปีการศึกษา 2562 นักศึกษามีผลการเรียนรู้ท่ีดีขึ้น รวมถึงการเตรียม ความพร้อมทางด้านเทคโนโลยีมัลติมีเดีย ประกอบด้วยกิจกรรมทางด้านการวาด เส้นขั้นพ้ืนฐาน การลงสีข้ันพื้นฐาน ซึ่งสอดคล้องกับรายวชิ าท่ีใช้ในการจดั การเรียน การสอน เช่น คอมพิวเตอร์กราฟิก องค์ประกอบศิลป์สาหรับผลิตงานมัลติมีเดีย และนาผลการจัดการเรยีนรู้ไปเผยแพร่ทางสื่อประชาสัมพันธ์โซเชียลมีเดีย การ เตรยี มความพรอ้ มดา้ นภาษาอังกฤษเพอ่ื ใชป้ ระกอบวชิ าชีพไดร้ ะหว่างเรยี น 2) นกั ศึกษาใหม่ได้รบั การเตรยี มความพร้อมตามแผนที่จดั ไว้ 3) สาขาวิชาสรปุ ผลการจัดการเตรยี มความพรอ้ ม เพอ่ื เปน็ แนวทางสาหรบั ปี ถัดไป นอกจากน้ี สาขาวิชายังจัดการเตรียมความพร้อมสาหรับนักศึกษาในแต่ละ ชนั้ ปี เพอ่ื ให้เกิดความพรอ้ มในการเรยี นมากย่ิงขึน้ โดยมีข้ันตอนด้งน้ี 1) กรรมการผู้รบั ผดิ ชอบหลกั สตู ร ประชมุ เพอื่ จดั โครงการพัฒนานักศกึ ษา 2) จัดทาแผนพัฒนานกั ศกึ ษาประจาปี 3) ดาเนินโครงการตามแผนพัฒนานกั ศกึ ษา 4) สรุปโครงการท่ีดาเนินงาน เพ่ือเป็นแนวทางในการจัดทาโครงการและ สรุปแผนพฒั นานกั ศึกษาในปีถดั ไป 2. มีการน าระบ บ 2. การนาไปสกู่ ารปฏิบตั ิ และกลไกไปปฏิบตั ิ ในปีการศึกษา 2562 หลักสูตรได้ดาเนินการเตรียมความพร้อมของ นักศึกษาใหม่ ดงั นี้ 1) กรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร ประชุมหาแนวทางในการเตรียมความ พร้อมนักศึกษาใหม่ 2 ด้าน ในการประชุมคร้ังท่ี 2/61 วันศุกร์ท่ี 23 กุมภาพันธ์ 2561 โดยมีมติ ดงั น้ี 1. ด้านการใช้ชวี ิตในการเรยี นและการสรา้ งขวญั กาลังใจแกน่ กั ศึกษา จัด ให้มโี ครงการปฐมนเิ ทศนักศกึ ษา บายศรีสู่ขวัญ 2. ด้านการเตรียมความพร้อมทางวิชาการ โดยกาหนดให้มีโครงการ อบรมเพ่ือปรบั พ้ืนความร้ทู างด้านคณิตศาสตร์ และเทคโนโลยมี ลั ตมิ เี ดยี 2) เมอ่ื มหาวิทยาลัยดาเนินการปฐมนิเทศนกั ศึกษา และเตรียมความพรอ้ ม แก่นักศึกษาใหม่ในระดับมหาวิทยาลัยแล้ว สาขาวิชาได้ดาเนินการโครงการ การ ปฐมนิเทศและบายศรีสู่ขวัญแก่นักศึกษาใหม่ โดยมีกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร อาจารย์ผ้สู อนให้คาแนะนา ช้ีแนะ สร้างขวญั และกาลังใจแกน่ ักศกึ ษาใหม่ เพอ่ื ให้ใช้ ชีวิตในมหาวิทยาลัยอย่างมีความสุข และได้ดาเนินโครงการปรับพ้ืนความรู้ด้าน คณิตศาสตร์ โดยมีอาจารยก์ ากับ ให้คาปรกึ ษาและดแู ล 3 . มี ก ารป ระ เมิ น 3. การประเมนิ กระบวนการ กระบวนการ จากปีการศึกษาที่ผ่านมา หลักสูตรมีการเตรียมความพร้อมทางด้าน วิชาการแก่นักศึกษาใหม่ เพื่อให้อาจารย์ผู้สอนได้ทาการเก็บข้อมูลทักษะในการ เรียนรู้ของนักศึกษาด้านเทคโนโลยีมัลติมีเดีย โดยจัดโครงการปรับพ้ืนความรู้ด้าน
15 เทคโนโลยมี ัลติมีเดยี ดังนั้นในปีการศกึ ษา 2562 กรรมการผู้รบั ผิดชอบหลักสูตรมีการประชุม ใน การประชุมครั้งท่ี 2/61 วันศุกร์ท่ี 23 กุมภาพันธ์ 2561เพ่ือจัดการเตรียมความ พร้อมสาหรับนักศึกษาใหม่ ทางสาขาวิชาไดด้ าเนินการส่งโครงการบัณฑิตนกั ปฏิบัติ จานวน 3 โครงการไปยังสานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน ดังนี้ 1. โครงการ อบรมเชิงปฏิบัติการทักษะการวาดภาพ (Drawing) 2. โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ การลงสี แสง และเงาด้วยคอมพิวเตอร์ (Digital Painting) 3. โครงการพัฒนา ศักยภาพภาษาองั กฤษ 4. มีการป รับ ป รุง 4. การปรบั ปรุง/พฒั นากระบวนการจากผลการประเมิน พัฒนากระบวนการ นักศึกษาเข้าร่วมการเตรียมความพร้อมทางด้านทักษะการใช้ชีวิต พบว่า จากผลการประเมนิ สามารถทากิจกรรมร่วมกับรุ่นพี่ เพ่ือนได้เป็นอย่างดี ส่วนทางด้านมัลติมีเดีย พบว่า นักศึกษามีผลการเรียนรู้ท่ีดี มีผลงานในช้ันเรียน ผลงานที่ทาการเผยแพร่เกิดความ เป็นผู้นากล้าแสดงออกในการนาเสนอผลงาน ทางด้านคณิตศาสตร์สาหรับ คอมพวิ เตอร์นนั้ พบว่าผเู้ รียนมีผลการเรยี นท่ดี ีข้ึน มีคะแนนทดี่ ีขึ้นจากปี 2561 สว่ น ทางด้านภาษาอังกฤษ มีผลการเรียนท่ีดีข้ึนสามารถส่ือสารและสร้างสื่อมัลติมีเดียที่ ใช้คาสือ่ สารเปน็ ภาษาองั กฤษได้ ซ่ึงในปีการศึกษาถัดไปทางสาขาวิชามีความคิดเห็นว่าจะดาเนินการจัด กิจกรรมเตรียมความพร้อมสาหรับนักศึกษาให้เข้มข้นมากขึ้น ประกอบด้วย การ เตรียมความพร้อมด้านทักษะชีวิตร่วมกับมหาวิทยาลัย การเตรียมความพร้อม ทางด้านเทคโนโลยีมัลติมีเดีย ท่ีมีการสอดแทรกเพิ่มเติมในรายวิชาการเรียนการ สอนมากข้ึน การเตรียมความพร้อมทางด้านคณิตศาสตร์สาหรับคอมพิวเตอร์ การ เตรียมความพรอ้ มทางด้านทักษะภาษาอังกฤษ และการเตรียมความพร้อมทางด้าน วิชาพืน้ ฐานฟิสกิ ส์ เคมี ชวี วิทยา ซง่ึ เป็นรายวชิ าที่นักศึกษาจะตอ้ งเรียน 5 . มี ผ ล จ า ก ก า ร 5. ผลจากการปรับปรงุ เหน็ ชัดเจน ปรับปรุงเห็นชัดเจน นักศึกษาท่ีเข้าร่วมอบรมโครงการเชิงปฏิบัติสามารถผลิตช้ินงาน ผลงาน เป็นรปู ธรรม ออกเผยแพร่ ส่งเข้าประกวด และสร้างรายได้ระหว่างเรียนได้ นักศึกษามีผลการ เรียนอยูใ่ นเกณฑ์ดี ผา่ นรายวิชาท่ีเก่ยี วขอ้ งกบั การอบรมโครงการฯ สรุปผลการประเมินตนเอง ตัวบง่ ช้ี เป้าหมาย ผลการดาเนินงาน การบรรลเุ ป้าหมาย 4 คะแนน 3.1 3 คะแนน บรรลุ ไมบ่ รรลุ ผลการวิเคราะหจ์ ุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา จุดเดน่ 1. สาขาวิชาฯ มรี ะบบและกลไก ในการเตรียมความพร้อมนักศกึ ษาแรกเข้า 2. มีการวางแผน ปรบั ปรงุ และตดิ ตามการรบั นักศกึ ษาใหม่
16 โอกาสในการพฒั นา 1. เพิ่มการประชาสัมพันธ์หลักสูตรของสาขาฯ ให้มีความหลากหลายช่องทาง เช่น การออก road show ตามโรงเรียนมัธยม ทางสื่อออนไลน์ เว็บไซดส์ าขาวชิ า สื่อสงั คมออนไลน์ เปน็ ตน้ รายการหลักฐาน 3.1.1 เลม่ หลักสตู รวิทยาศาสตรบณั ฑิต ปี 2560 3.1.2 คาส่ังแตง่ ต้ังกรรมการสอบข้อเขยี นและการสอบสมั ภาษณ์การรบั นกั ศึกษาใหม่ 3.1.3 โครงการปรับพ้นื ความรทู้ างดา้ นเทคโนโลยมี ัลตมิ เี ดยี (บณั ฑติ นกั ปฏบิ ัติ) 3.1.4 รายงานการประชมุ ที่เก่ยี วขอ้ ง ตัวบง่ ชท้ี ่ี 3.2 การส่งเสรมิ และพัฒนานักศกึ ษา ผู้รบั ผดิ ชอบตวั บง่ ช้ี : อาจารย์สุชารัตน์ จนั ทาพูนธยาน์ การเกบ็ ขอ้ มูล : (ปกี ารศึกษา 2562 : 1 กรกฎาคม 2562 – 30 มิถนุ ายน 2563) การควบคมุ การดูแลการใหค้ าปรึกษาวชิ าการและแนะแนวแก่นกั ศกึ ษาในระดับปริญญาตรี เปา้ หมายเชิงปริมาณ : อตั ราการลาออกกลางคันไมเ่ กินร้อยละ 10 เปา้ หมายเชิงคุณภาพ : นักศึกษามีความพร้อมทางการเรียน เกณฑ์การประเมิน ผลการดาเนนิ งาน 1. มีระบบและกลไกในการ 1.ระบบและกลไก ค ว บ คุ ม ก า ร ดู แ ล ก า ร ให้ หลักสูตรเทคโนโลยีมลั ตมิ ีเดีย มรี ะบบและกลไกในการส่งเสริมและพฒั นา คาปรึกษาวิชาการและแนะ นักศึกษา ดงั นี้ แนวแก่นักศกึ ษา 1.1 ด้านการควบคุมการดูแลการให้คาปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่ นกั ศึกษาในระดบั ปรญิ ญาตรี - หลักสูตรแต่งต้ังอาจารย์ท่ีปรึกษาสาหรับนักศึกษาใหม่ในแต่ละปี โดยพิจารณาจากจานวนนักศึกษาใหม่และอาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลักสตู รท่ีมี ความพร้อมเปน็ อาจารย์ที่ปรกึ ษาในปนี ั้น ๆ - ในการดูแลนักศึกษาของอาจารย์ที่ปรึกษาซึ่งมีหน้าท่ีให้คาปรึกษา ในทุกด้านแก่นักศึกษา กาหนดให้อาจารย์ที่ปรึกษาทุกคน ต้องมีช่ัวโมงโฮม รูม (Home Room) เพื่อให้คาปรึกษาอย่างน้อย อาทิตย์ละ 1 คร้ัง และ ควรมีช่องทางติดต่อกับนักศึกษาของตนเพ่ือให้การดูแลนักศึกษาอย่าง ใกลช้ ิด - ในการทาการเรียนการสอนของอาจารย์ผู้สอน กาหนดให้อาจารย์ ผู้สอนทุกคน ต้องมีเว็บไซต์ของอาจารย์ ระบบบทเรียนออนไลน์ (LMS) เพื่อเป็นช่องทางในการส่อื สารแลกเปลีย่ นขอ้ มูล ใหค้ าปรกึ ษากับผูเ้ รยี น - กาหนดให้อาจารย์ผู้สอนต้องมีช่ัวโมงสาหรับให้คาปรึกษาแก่ นกั ศึกษาทกุ ๆอาทิตย์ - ในส่วนของกิจกรรมที่ดาเนินการโดยนักศึกษาสาขาวิชาวิชาได้มี การแต่งต้ังอาจารย์ท่ีปรึกษาชมรมเพ่ือกากับและดูแลดาเนินกิจกรรมของ
17 ชมรมฯ ซ่ึงในปีการศึกษา 2562 นักศกึ ษาไดจ้ ัดต้ังชมรมรวมพลคนสร้างสื่อ โดยทางสาขาวชิ ามีมตใิ ห้กาหนดให้ อ.โกวทิ ย์ ชนะเคน เปน็ ท่ีปรึกษาชมุ นมุ - หลักสูตรประเมินผลการให้คาปรึกษาและแนะแนวนักศึกษา เพื่อ นาผลประเมินมาแก้ปัญหา ให้คาปรึกษา ให้ทันต่อเหตุการณ์ และพัฒนา นกั ศึกษาใหด้ ยี ่ิงขึน้ 2. มกี ารนาระบบและกลไกไป 2.การนาไปสกู่ ารปฏบิ ัติ ปฏบิ ตั ิ ในปีการศกึ ษา 2562 หลกั สูตรไดด้ าเนินงานดงั นี้ 1.1 ด้านการควบคุมการดูแลการให้คาปรึกษาวชิ าการและแนะแนวแก่ นักศกึ ษาในระดับปรญิ ญาตรี หลักสูตรได้มีมติในการจัดหาอาจารย์ท่ีปรึกษาแก่นักศึกษาใหม่ ปี 2562 มีนักศึกษาแรกเข้า จานวน 70 คน แบ่งเป็น 2 หมู่เรียน โดย กาหนดให้ อ.ดร. ธัญนันทร์ สัจจะบริบูรณ์ และ อาจารย์ โกวิทย์ ชนะเคน เป็นอาจารย์ที่ปรึกษามีหน้าท่ีให้คาแนะนาและแนะแนวแก่นักศึกษาท้ัง ด้านการลงทะเบียน การพัฒนาทางด้านวิชาการและการใช้ชีวิต เพ่ือให้ นักศกึ ษาสามารถเรยี นร้ใู นระดับอุดมศกึ ษาได้อย่างมีความสขุ (รายงานการ ประชุมครง้ั ที่ 6/2562) - อาจารย์ท่ีปรึกษา มีช่องทางการติดต่อกับนักศึกษาอย่างใกล้ชิด ผ่านเว็บไซต์สาขาวิชา โทรศัพท์ เฟซบุ๊คสาขาวิชา เฟซบุ๊คกลุ่มระหว่าง อาจารยท์ ่ปี รกึ ษาและนกั ศึกษา และอน่ื ๆ - อาจารย์ผู้สอนมีช่องทางติดต่อกับนักศึกษาผ่านเว็บไซต์สาขาวิชา เฟซบุ๊คสาขาวิชา เฟซบุ๊คกลุ่มระหว่างผู้สอนและนักศึกษา เว็บไซต์อาจารย์ ระบบบทเรยี นออนไลน์ และอืน่ ๆ - ในการประชมุ หลักสตู รแต่ละครงั้ อาจารยท์ ่ีปรกึ ษา อาจารย์ผู้สอน และอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ทาการแลกเปลี่ยนข้อมูล หรือปัญหาท่ี เกิดกับนักศึกษาทั้งด้านการเรียน และการใช้ชีวิต เพ่ือหาแนวทางการ ช่วยเหลอื นักศึกษา - อาจารย์ท่ีปรึกษาโครงงานมีช่องทางการติดต่อกับนักศึกษาหลาย ช่องทาง และทาการควบคุมตดิ ตาม และให้คาปรึกษาแก่นกั ศกึ ษา - หลักสูตรสรุปผลการให้คาปรึกษาและแนะแนว เพ่ือวิเคราะห์ ปัญหาและแนวทางแก้ไข รวมถึงเพ่ือจัดโครงการพัฒนานักศึกษาท่ี เหมาะสม 3. มกี ารประเมินกระบวนการ 3. การประเมนิ กระบวนการ ในปีการศึกษา 2562 อาจารย์ประจาหลักสตู ร ได้ดาเนนิ การประเมิน ความพึงพอใจการดาเนินงานของหลักสูตรฯ ในด้านการให้คาปรึกษา พบวา่ มีคะแนนเฉลีย่ รวมอยูใ่ นระดบั มาก โดยมรี ายละเอียดดงั นี้ ประเดน็ ข้อคดิ เหน็ 2561 2562 ไดร้ บั ความสะดวกในการตดิ ตอ่ กบั อาจารย์ท่ีปรึกษา 4.31 4.43 ชอ่ งทางติดต่อกบั อาจารยท์ ่ปี รึกษามเี พยี งพอ 4.29 4.26
18 อาจารย์ที่ปรึกษาให้คาปรึกษาเรื่องการลงทะเบียน 4.29 4.31 เรียน การเรียน การใชช้ ีวติ ระหวา่ งเรียน 4.20 4.41 อาจารย์ท่ีปรึกษาให้ความสนใจติดตามผลการเรียน 4.22 4.47 ของนักศึกษาและช่วยเหลือให้นักศึกษาเรียนเป็นไป 4.26 4.35 ตามระยะเวลาของหลกั สูตร อาจารยท์ ป่ี รึกษาให้ความชว่ ยเหลอื แก่นักศกึ ษาใน ด้านอื่นๆ นอกเหนือจากดา้ นวิชาการและการใชช้ วี ติ รวม 4. มี ก ารป รับ ป รุงพั ฒ น า 4.การปรับปรุง/พฒั นากระบวนการจากผลการประเมิน กระบ วน ก ารจากผ ลการ จากการประเมินกลไกการให้คาปรึกษาจากอาจารย์ที่ปรึกษา พบว่า ประเมิน นักศึกษามีปัญหาในการเรียนวิชา ฟิสิกส์ เคมี และชีววิทยา ทางอาจารย์ท่ี ปรึกษาจึงได้ดาเนินการปรับเปลี่ยนแผนการเรียนท้ัง 3 วิชา จากปกติจะอยู่ ในเทอมเดียวกันทั้ง 3 วิชา ปรับเปลี่ยนเป็นไม่ให้ทั้ง 3 วิชาอยู่ในภาคเรียน เดียวกัน เพ่ือลดความกังวลในการเรียน โดยปรับให้นักศึกษาได้เรียนวิชา เคมี ฟิสิกส์ และชีววิทยา เป็นเทอมละ 1 วิชา ส่งผลต่อกระบวนการเรียน ของนกั ศึกษา เห็นได้จาก อัตราการคงอยขู่ องนกั ศกึ ษาชน้ั ปีที่ 3 อตั ราการคงอยู่ รอ้ ยละ 97.62 อตั ราการคงอยู่ของนักศึกษาชนั้ ปที ี่ 2 อัตราการคงอยู่ รอ้ ยละ 90.48 อัตราการคงอยูข่ องนกั ศกึ ษาชน้ั ปีที่ 1 อตั ราการคงอยู่ ร้อยละ 98.57 ซง่ึ พบวา่ อัตราการลาออกอยู่ไม่เกินรอ้ ยละ 10 5. มีผลจากการปรับปรุงเห็น 5. ผลจากการปรับปรุงเห็นชดั เจน ชดั เจนเป็นรูปธรรม 6. มีแนวทางปฏิบัติท่ีดีโดยมี 6. แนวทางปฏบิ ัตทิ ด่ี ี หลักฐานเชิงประจักษ์ยืนยัน และกรรมการผู้ตรวจประเมิน สามารถให้เหตุผลอธิบายการ เป็นแนวปฏิบัตทิ ดี่ ีได้ชัดเจน การพฒั นาศกั ยภาพนกั ศกึ ษาและการเสรมิ สรา้ งทกั ษะการเรยี นรู้ในศตวรรษท่ี 21 เป้าหมายเชิงปริมาณ : นักศึกษาในแตล่ ะชนั้ ปีได้รับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ทส่ี ง่ เสริม การเรียนร้ทู ัง้ 5 ดา้ น เปา้ หมายเชิงคุณภาพ : นักศึกษามีทักษะการเรยี นร้ใู นศตวรรษที่ 21 เกณฑ์การประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน 1. มีระบบและกลไกในการ 1.ระบบและกลไก ดา้ นการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสรมิ สร้างทักษะ พัฒนาศักยภาพนักศึกษา การเรียนรูใ้ นศตวรรษท่ี 21 ดังน้ี และการเสรมิ สรา้ งทกั ษะการ เรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21
19 2. มีการนาระบบและกลไก 2.การนาไปส่กู ารปฏบิ ัติ ไปปฏบิ ัติ ในด้านการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและการเสรมิ สร้างทักษะการเรียนรู้ ในศตวรรษท่ี 21 ปีการศึกษา 2562 สาขาวิชาได้ร่วมกันประชุมจัดทาแผนงาน การพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 ให้ สอดคล้องกบั หลักสูตรโดยอาจารย์ประจาหลักสูตรร่วมกันจัดทาแผนที่ส่งเสริม ผลการเรียนรู้ 5 ด้านและนักศึกษาได้เข้าร่วมกิจกรรมท่ีจัดให้ดังนี้แสดงดัง ตารางด้านล่าง กจิ กรรม ดา้ น ช้ันปี ผลการดาเนินงาน -กจิ กรรม การวาด 1.ด้านคุณธรรม 1,2,3 นกั ศึกษาสามารถนา เส้นและลงสีดว้ ย จรยิ ธรรม ความรู้ไปประยกุ ต์ใช้ใน คอมพวิ เตอร์ การทางานวิจัย ออกแบบผลงานกราฟิก -กิจกรรม ศกึ ษาดู 2. ดา้ นความรู้ ไดโ้ ดยไมล่ อกเลยี นแบบ งานและแลกเปล่ียน ทักษะเชาว์ปัญญา ผลงานและสามารถ เรียนรดู้ า้ นวิชาชพี อ้างองิ ผลงานได้ กับสถาน ประกอบการ/ 1,2,3 นกั ศึกษาไดร้ บั ความรู้ หน่วยงานภาครัฐ ดา้ นเทคโนโลยสี มัยใหม่ มาใช้กับการออกแบบ ผลงานเพ่ือนาไป ประยกุ ต์ใช้กับการเรียน และการทาผลงานโปร เจ็ค วิจัยได้
20 -โครงการราชภัฏ 3. ด้านทักษะทาง 1,2,3 1.นกั ศึกษานาความรู้ นครปฐมวิชาการ ปญั ญา จากการเรยี น ส่งผลงาน ครัง้ ที่ 3 ให้ 4. ดา้ นทักษะ เข้าประกวดใน นกั ศกึ ษา ความสมั พนั ธ์ ระดบั ชาตแิ ละไดร้ ับ - แขง่ ขันทกั ษะ ระหวา่ งบุคคลและ ผลงานการต์ นู แอนเิ มชนั วิชาการ พ.จ.น.ก. ความรับผิดชอบ รางวัลชนะเลิศอันดบั ท่ี ประจาปี 2562 5. ดา้ นทกั ษะการ 1 ชอื่ ผลงาน “เด็กข้ี -การสง่ เสรมิ ให้ วเิ คราะหเ์ ชงิ ตวั เลข สงสยั กบั ววิ ัฒนาการ นกั ศึกษาส่งผลงาน การสอื่ สารและการ เงินตราของไทย” ใน ดา้ นเทคโนโลยี ใชเ้ ทคโนโลยี โครงการ \"วิวัฒนาการ มัลตมิ เี ดยี เพื่อการ สารสนเทศ เงนิ ตราไทย\" จัดโดย ประกวดแขง่ ขนั พิพธิ ภณั ฑเ์ หรียญ -กิจกรรมอบรมเชิง กษาปณานุรักษแ์ ละ ปฏิบตั กิ าร Pre, พพิ ธิ บางลาพู กรมธนา Pro and Post- รกั ษ์ มสี มาชิกในทีม Production ประกอบดว้ ย นาย ทิวากร ภ่งู าม นาย ปฏิวตั ิ ดเี อ็ม นาย ธนกฤต ชืน่ ฤทัย นาย ปรญิ ญา โชติสงฆ์ นาย กติ ฑพิ ชั ร์ กนั เอม 2.นกั ศึกษานาความรู้ และทักษะมาใชใ้ นการ แข่งขนั ทางวชิ าการ พ.จ.น.ก ไดร้ ับรางวัล รองชนะเลิศอันดับทหี่ น่ึง 3.นกั ศกึ ษาส่งผลงานเขา้ ประกวดในกจิ กรรม Smart Start Idea by GSB Startup ประจาเดือน มีนาคม, เมษายน,พฤษภาคม พ.ศ.2563ไดร้ ับรางวลั ชนะเลิศอันดบั 1 ระดับ มหาวิทยาลยั - หลักสตู รประชุมเพื่อสรุปผล ผลสมั ฤทธ์ิทไ่ี ด้จากการดาเนินโครงการตาม แผนพฒั นานกั ศกึ ษา เพ่ือนามาปรับปรุงและพฒั นาหัวข้อ เนือ้ หา ของโครงการ ในคร้ังถดั ไป
21 3. มกี ารประเมินกระบวนการ 3. การประเมนิ กระบวนการ ได้ดาเนินการประเมินความพึงพอใจการดาเนินงานของหลักสูตรฯ ใน ผ่านระบบแบบสอบถามออนไลน์ ประเด็นข้อคิดเห็น ปี 2561 ปี 2562 1. ดา้ นหลักสตู ร 4.27 4.30 2. ด้านกระบวนการคดั เลอื กนักศึกษา 4.03 4.36 3. ดา้ นอาจารยผ์ ูส้ อน 4.35 4.38 4. ดา้ นการจัดการเรยี นการสอน 4.36 4.40 4. มีการปรับปรุงพั ฒ นา 4.การปรับปรุง/พฒั นากระบวนการจากผลการประเมนิ กระบวนการจากผลการ โดยคณะกรรมการประจาหลักสูตรสรุปผลการการประเมิน ผลการ ประเมิน ดาเนินงาน จัดการความรู้ในกระบวนการการพัฒนาศักยภาพนักศึกษาและ ทกั ษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ซ่ึงจะเห็นได้จากการมีส่วนร่วมของนักศึกษา ในการทากิจกรรมการต่าง ๆ และนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ เช่น การส่งผลงาน ไปประกวดในเวทีต่าง ๆ ส่งผลให้นักศึกษาได้รับรางวัลต่าง ๆ ทั้งในระดับ มหาวิทยาลัยและระดบั ชาติ สรปุ ผลการประเมินตนเอง ตวั บง่ ชี้ เปา้ หมาย ผลการดาเนนิ งาน การบรรลเุ ปา้ หมาย 3 คะแนน 3.2 3 คะแนน บรรลุ ไมบ่ รรลุ ผลการวเิ คราะห์จุดเดน่ และโอกาสในการพัฒนา จดุ เด่น 1. สาขาวิชาฯ มีระบบและกลไกในการควบคุมการดูแลการให้คาปรึกษาวิชาการและแนะแนวแก่ นกั ศกึ ษาและการพัฒนาศักยภาพนกั ศกึ ษาและการเสริมสรา้ งทกั ษะการเรยี นรู้ในศตวรรษที่ 21 2. นักศึกษาส่วนใหญ่ มีศักยภาพทางด้านทักษะทีจ่ าเป็นในศตวรรษที่ 21 เช่น โครงการและกิจกรรม ต่าง ๆ โดยการมีโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการท่ีเก่ียวกับเทคโนโลยีท่ีทันสมัย ทาให้ได้ความรู้และ ทักษะท่เี หมาะสมตอ่ สาขาวิชาชีพ โอกาสในการพัฒนา 1. จัดต้ังชมรมเพื่อส่งเสริมให้เกิดความร่วมมือกันระหว่างนักศึกษาในสาขาวิชา เพื่อเป็นศูนย์กลางใน การแลกเปลยี่ นความรู้ความคดิ เหน็ ประสบการณ์ระหว่างนักศึกษา รวมทงั้ ช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ ที่จาเป็นแกน่ กั ศกึ ษา รายการหลกั ฐาน 3.2.1 แบบรายงานสรปุ โครงการพฒั นานกั ศึกษา
22 รายการหลกั ฐาน 3.2.2 รายงานการประชมุ ท่เี ก่ียวข้อง 3.2.3 คาส่งั กองพัฒนานักศกึ ษาท่ี 3/2562 เรอ่ื ง แตง่ ตัง้ ทปี่ รึกษาชมุ นุม ประจาปีการศึกษา 2561 3.2.4 รายงานสรุปผลการประเมินความพึงพอใจต่อหลกั สูตร ตวั บง่ ช้ีที่ 3.3 ผลท่ีเกดิ กับนักศึกษา ผ้รู บั ผิดชอบตัวบ่งช้ี : อาจารยโ์ กวทิ ย์ ชนะเคน การเก็บขอ้ มลู : (ปีการศึกษา 2562 : 1 กรกฎาคม 2562 – 30 มิถนุ ายน 2563) อัตราการคงอยู่ของนักศึกษา การสาเรจ็ การศกึ ษา ความพงึ พอใจและการจดั การข้อร้องเรยี นของนักศึกษา เปา้ หมายเชิงปรมิ าณ : อัตราการคงอยรู่ อ้ ยละ 80 และ อตั ราการจบการศึกษารอ้ ยละ 80 เปา้ หมายเชิงคุณภาพ : นักศึกษาเป็นบัณฑติ ทมี่ คี วามรู้ความสามารถทางด้านเทคโนโลยี เกณฑ์การประเมิน ผลการดาเนนิ งาน 1. มี ก ารราย งาน ผ ล ก าร 1. รายงานผลอตั ราการคงอย่ขู องนักศกึ ษา ดาเนนิ งานในบางเรอ่ื ง ในปกี ารศึกษา 2562 นกั ศึกษาหลกั สูตรเทคโนโลยีมัลติมีเดีย มีอัตรา การคงอยู่ของนักศึกษา เป็นดังนี้ ปี จานวน จานวนท่ี จานวนท่ี อัตราการคงอยู่ การศกึ ษา ท่เี ข้า คงอยสู่ ิ้น ออก 100 รับ ปี ระหว่าง (1) การศึกษา เรียนจน 2561 สน้ิ ปี (3) การศึกษา 2561 (4) 2560 42 41 1 97.62 2561 84 76 8 90.48 2562 70 69 1 98.57 ส า ข า วิ ช า ได้ ด า เนิ น ก า ร ห ล า ย ช่ อ ง ท า ง ใ ห้ นั ก ศึ ก ษ า ห รื อ อ า จ า ร ย์ ผู้รับผิดชอบหลักสูตรร้องเรียนได้หลายช่องทาง เช่น ร้องเรียนโดยตรงต่อ ประธานสาขา ผ่านเว็บไซด์ของสาขาวิชา ผ่านอาจารย์ท่ีปรึกษา หรือผ่าน ตัวแทนหมู่เรียน เป็นตน้ 2. มี ก ารราย งาน ผ ล ก าร กระบวนการจัดการขอ้ ร้องเรยี น ดาเนินงานครบทุกเรื่องตาม 1. หลังจบกระบวนการเรียนการสอน นักศึกษาต้องทาแบบประเมิน คาอธบิ ายในตวั บง่ ช้ี ความพงึ พอใจพร้อมทง้ั ข้อเสนอแนะอน่ื ๆ รวมไปถงึ ขอ้ รอ้ งเรียนต่าง ๆ 2. หากผลรายงานในระบบพบข้อร้องเรียนเกิดขึ้น จะแบ่งออกเป็น 2 กรณี ดงั น้ี ก.กรณีเป็นเรื่องท่ัวไปท่ีไม่ร้ายแรงมาก จะดาเนินการให้อาจารย์ ผ้สู อน หรือ อาจารยท์ ป่ี รึกษาเปน็ คนจดั การในเร่อื งการร้องเรยี นน้ัน ๆ
23 ข.กรณเี ป็นเรอ่ื งใหญ่ทรี่ า้ ยแรงส่งผลกระทบในวงกว้าง จะดาเนนิ การ ประชุมโดยคณาจารยป์ ระจาหลกั สตู ร พิจารณาและหาข้อแก้ไข้ร่วมกัน 3 . มี แ น ว โ น้ ม ผ ล ก า ร ในปีการศึกษา 2562 มีการรายงานผลที่มแี นวโน้มท่ีดี คือ รายงานผล ดาเนนิ งานท่ีดขี ้ึนในบางเร่ือง อัตราการคงอยู่ของนักศึกษามีแนวโน้มที่ดี จากตารางแสดงอัตราการคงอยู่ ของนักศึกษา จะเห็นว่ามีอัตราการคงอยู่อยู่ในระดับท่ีสูงมาก และไม่มีการ เขียนข้อรอ้ งเรียนต่อสาขาวชิ า สรุปผลการประเมินตนเอง ตวั บง่ ช้ี เป้าหมาย ผลการดาเนนิ งาน การบรรลุเป้าหมาย 2 คะแนน บรรลุ 3.3 2 คะแนน ไมบ่ รรลุ รายการหลกั ฐาน 3.3.1 ข้อมูลการคงอยขู่ องนักศกึ ษา ปี 2562 สรปุ ผลการประเมินตนเอง องคป์ ระกอบที่ 3 : นกั ศึกษา ตัวบ่งชี้ เปา้ หมาย ผลการดาเนนิ งาน คะแนนการประเมิน 3 คะแนน 3.1 3 คะแนน 3 ข้อ 3 คะแนน 2 คะแนน 3.2 3 คะแนน 3 ขอ้ 8 /3 = 2.66 คะแนน 3.3 2 คะแนน 2 ขอ้ ระดับคุณภาพ ปานกลาง ค่าเฉลีย่ จากการประเมิน 3 ตัวบง่ ชี้ (คะแนนเต็ม 5 คะแนน)
24 หมวดท่ี 4 อาจารย์ ตวั บ่งช้ีที่ 4.1 การบริหารและพฒั นาอาจารย์ ผูร้ ับผิดชอบตวั บ่งช้ี : อาจารย์สุชารตั น์ จนั ทาพนู ธยาน์ การเกบ็ ข้อมลู : (ปีการศึกษา 2562 : 1 กรกฎาคม 2562 – 30 มิถุนายน 2563) การรับและแต่งตงั้ อาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลักสูตร เป้าหมายเชิงปรมิ าณ : อาจารย์ประจาหลกั สูตรมีจานวนไม่น้อยกวา่ 5 คน เป้าหมายเชงิ คุณภาพ : อาจารยป์ ระจาหลักสตู รมคี ณุ สมบัตสิ อดคลอ้ งตามเกณฑ์มาตรฐานหลกั สูตรที่ สกอ.กาหนด เกณฑ์การประเมิน ผลการดาเนนิ งาน 1. มีระบบและกลไกในการรับและ 1. ระบบและกลไก แ ต่ งต้ั งอ า จ า ร ย์ ผู้ รั บ ผิ ด ช อ บ หลักสูตรมีระบบและกลไกการรับและแต่งตั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบ หลกั สตู ร หลักสูตรสอดคล้องกับระเบียบมหาวิทยาลัย โดยทาการสารวจข้อมูล จานวนอาจารย์ เพื่อวิเคราะหแ์ ละวางแผนอตั รากาลังในการเตรยี มความ พร้อมเพื่อทดแทนอาจารย์ท่ีเกษียณอายุราชการหรือลาออกในแต่ละปี การศกึ ษา มีแนวทางการดาเนนิ การ ดงั น้ี หลักสตู รมกี ลไกการรับและแต่งต้งั อาจารย์ในกรณีอัตรากาลงั ไม่ เพยี งพอ ดังน้ี 1) หลักสตู รกาหนดคุณสมบตั ิอาจารย์ตามมาตรฐานหลักสตู ร 2) หลักสตู รขออนุมัติอัตรากาลังจากมหาวิทยาลัย 3) การรบั และแต่งต้ังอาจารย์ผ้รู บั ผิดชอบหลกั สูตร จะดาเนินการ สรรหาอาจารย์ผรู้ ับผดิ ชอบหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ตาม ระเบยี บข้อบังคับมหาวิทยาลัย ดงั นี้ - แหงพระราชบญั ญัติมหาวทิ ยาลัยราชภฏั พ.ศ. 2547 - พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ร ะ เบี ย บ ข า ร า ช ก า ร พ ล เรื อ น ใน สถาบนั อดุ มศกึ ษา พ.ศ. 2547 และทีแ่ กไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) - ขอบังคับมหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครปฐม ว่าดวยการบริหารงาน บุคคลพนกั งานมหาวทิ ยาลัย พ.ศ. 2555 - ประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม เร่ือง เกณ ฑ ความสามารถภาษาอังกฤษสาหรับการคัดเลือกอาจารย พ.ศ. 2560 และ ทีแ่ กไขเพิ่มเติม - ประกาศคณะกรรมการบริหารงานบุคคลมหาวิทยาลัย เรื่อง หลกั เกณฑและวธิ กี ารกาหนดอัตราเงินเดือนสาหรับคุณวฒุ ิเพอ่ื การบรรจุ และแตงตง้ั เปนพนกั งานมหาวทิ ยาลัย พ.ศ. 2558 4) หลักสูตรมีสว่ นร่วมในการรับและแต่งตั้งอาจารย์ ดังน้ี - กาหนดตัวแทนของหลักสูตรเป็นส่วนหน่ึงของคณะกรรมการ คัดเลอื ก
25 - กาหนดใหม้ อี าจารยพ์ ่เี ล้ยี งเพือ่ คอยให้คาแนะนาทางวิชาการ - ประเมินผลการดาเนินงานของอาจารย์ ข้ันตอนการขออนุมัติเพ่ือเปิดรับและแต่งต้ังอาจารย์ผู้รับผิดชอบ หลักสูตรโดยผ่านสภามหาวทิ ยาลัยสามารถเขียนแผนภาพ ดงั น้ี 5) หลักสูตรได้วางแผนและจัดทาแผนอัตรากาลังอาจารย์ระยะยาว ให้ เพิ่มเป้าหมายที่สาคัญคือการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ให้ได้ อาจารย์ท่ีมีคุณสมบัติท้ังปริมาณและคุณภาพที่สอดคล้องกับ เกณฑ์ มาตรฐานหลักสตู ร ดังน้ี 2. มีการนาระบบและกลไกไป 2.การนาไปสูก่ ารปฏิบัติ ปฏบิ ัติดาเนนิ การ หลักสูตรมีการนาระบบและกลไกไปปฏิบัติดาเนินการ พบว่า ปี การศึกษา 2562 ไม่มีอาจารย์เกษียณหรือลาออก แต่มีเนื่องจากมีการ เป็นหลักสตู รใหม่ปี 2562 หลักสูตรจึงมอี ัตรากาลังเพียงพอ ดังแสดงใน ตาราง
26 แผนบรหิ ารหลกั สตู รด้านจานวนอาจารยป์ ระจาหลักสตู ร ใหเ้ ปน็ ไปตามาตรฐานหลักสูตร จานวนอาจารย์ประจาหลกั สตู ร จานวนอาจารย(์ คน) ปีการศกึ ษา 2562 2563 2564 2565 2566 จานวนอาจารยป์ ระจาหลกั สตู รทงั้ หมด 5 5 5 5 5 จานวนอาจารย์ประจาหลักสตู รท่ี 00000 เกษียณอายรุ าชการ จานวนอาจารย์ประจาหลกั สูตรทล่ี าออก 0 0 0 0 0 จานวนอาจารยป์ ระจาหลกั สตู รทยี่ า้ ยงาน 0 0 0 0 0 จานวนอาจารย์ประจาหลกั สตู รทล่ี า 01111 ศึกษาต่อ จานวนอาจารย์ประจาหลักสตู รทร่ี บั ใหม่ 0 1 1 1 1 อตั ราอาจารย์ประจาหลักสตู รรอการบรรจุ 0 0 0 0 0 การบริหารหลกั สตู รดา้ นจานวนอาจารย์ ผา่ น ผ่าน ผา่ น ผา่ น ผ่าน เกณฑ์ เกณฑ์ เกณฑ์ เกณฑ์ เกณฑ์ ประจาหลกั สตู รให้เปน็ ไปตามาตรฐาน หลักสตู ร 3. มกี ารประเมนิ กระบวนการ 3. การประเมนิ กระบวนการ มขี ั้นตอน ดังนี้ 1) คณะกรรมการผู้รบั ผิดชอบหลกั สูตรประชมุ เพ่ือประเมนิ กระบวนการรบั และแต่งตั้งอาจารยผ์ รู้ ับผิดชอบหลกั สูตร 2) อภิปรายแลกเปลีย่ นความคิดเหน็ ถึงข้อดีและขอ้ บกพรอ่ งของ กระบวนการ 3) ลงมติท่ปี ระชุมเพ่ือประเมนิ กระบวนการ 4) ปรบั ปรุงพัฒนากระบวนการจากผลการประเมนิ ในปตี ่อไป 4 . มี ก า ร ป รั บ ป รุ ง พั ฒ น า 4.การปรับปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมนิ กระบวนการจากผลการประเมนิ ในปีการศึกษา 2562 สนับสนุนให้อาจารย์ ผลิตผลงานวิชาการ ขอทุนวิจัย เผยแพร่ผลงานวิชาการ และขอตาแหน่งทางวิชาการเพ่ิมข้ึน เพื่อเป็นการเพ่ิมศักยภาพอาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลกั สูตร ตามตัวช้ีวัดด้าน ตาแหน่งทางวิชาการ ซ่ึงทาในปีการศึกษา 2562 มีอาจารย์ได้รับ ตาแหน่งทางวิชาการ 2 ท่าน คือ ผศ.ดร.ศลั พงศ์ วชิ ัยดิษฐ และ ผศ.อารี รตั น์ แก้วประดิษฐ์ มีอาจารย์อยู่ระหว่างขอกาหนดตาแหน่งทางวิชาการ จานวน 1 คน คือ อ.สุชารัตน์ จันทาพูนธยาน์ อาจารย์ในหลักสูตรมี การนาเสนอผลงานวิชาการและผลิตงานวจิ ัยอยา่ งต่อเน่อื ง 5. มีผลจากการปรับปรงุ เห็นชัดเจน 5. ผลจากการปรับปรุงเหน็ ชดั เจน เป็นรปู ธรรม 6. มี แ น วท างป ฏิ บั ติ ท่ี ดี โด ย มี 6. แนวทางปฏบิ ตั ทิ ดี่ ี หลักฐานเชิงประจักษ์ยืนยันและ กรรมการผู้ตรวจประเมินสามารถ ให้ เห ตุ ผ ล อ ธิ บ า ย ก า ร เป็ น แ น ว ปฏบิ ัตทิ ี่ดไี ด้ชดั เจน
27 การบริหารอาจารย์ เป้าหมายเชิงปริมาณ : อาจารยผ์ ู้รบั ผิดชอบหลกั สตู ร ครบตามเกณฑท์ ่ี สกอ. กาหนด เปา้ หมายเชิงคุณภาพ : อาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบหลักสูตรมีคุณวุฒิตามเกณฑท์ ่ี สกอ. กาหนด เกณฑ์การประเมนิ ผลการดาเนินงาน 1. มีระบบและกลไกในบริหาร 1.ระบบและกลไก ส่งเสรมิ 1) กาหนดหน้าท่ีรับผิดชอบให้กับอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรปฏิบัติหน้าท่ี ตามโครงสร้างการบริหาร ทางานร่วมกับคณะและมหาวิทยาลัยเพื่อขับเคล่ือน หลกั สตู รใหเ้ ป็นไปตามเกณฑม์ าตรฐาน ประกอบด้วย - ประธานหลกั สตู ร - อาจารย์ดูแลงานดา้ นแผนและงบประมาณ - อาจารย์ดแู ลงานด้านประกันคณุ ภาพ - อาจารยด์ ูแลงานดา้ นกจิ กรรมนกั ศึกษา - อาจารยด์ ูแลงานดา้ นวชิ าการ 2) กาหนดระยะเวลาในการพัฒนาตนเองทั้งด้านการศึกษาเพ่ือเพิ่มคณุ วุฒิทาง การศึกษาและการขอตาแหน่งทางวิชาการ โดยจัดอัตรากาลังและภาระงานให้ สอด ค ล้ องกั บ ห น้ าท่ี แ ล ะค วาม รับ ผิด ช อบ ข องอาจ ารย์ แ ต่ ล ะค น โด ยจ ะได้ รับ งบประมาณสนับสนุนคนละ 10,000 บาท/ปี เพ่ือให้เกิดประสิทธิภาพในการบริหาร อาจารย์ 3) จัดรายวิชาสอนให้กับอาจารย์โดยพิจารณาจากความเช่ียวชาญและความ ตอ้ งการในการพัฒนาศักยภาพของอาจารย์เป็นหลัก ทาให้เกิดประสิทธิภาพในการ สอนและเกิดความเชยี่ วชาญทางวิชาการ 4) สนับสนุนให้อาจารย์ทางานวิจัยและนาเสนอผลงานวิชาการร่วมกับ นักศึกษาในเวทรี ะดบั ชาติ ข้นั ตอนการบริหารอาจารย์เขยี นแผนภาพ ดงั น้ี
28 2. มีการนาระบบและกลไกไป 2.การนาไปสกู่ ารปฏิบตั ิ ปฏิบัตดิ าเนนิ การ ในปีการศึกษา 2562 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีหน้าที่รับผิดชอบในการ บริหารหลักสูตรร่วมกัน โดยแยกตามหน้าท่ีท่ีได้รับคาส่ังแต่งต้ัง และมีการประชุม หลักสูตรอย่างต่อเนื่อง หลักสูตรสามารถบริหารจัดการอัตรากาลังได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ - ทางสาขาดาเนินการจัดทาแผนการการพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบ และ อาจารย์ทุกคนมีภาระงานเป็นไปตามเกณฑ์ท่ีมหาวิทยาลัยกาหนดทั้งด้านการสอน การนิเทศ การพัฒนาตนเอง ตลอดจนการวจิ ัยและการนาเสนอผลงานทางวิชาการ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ดังตารางตอ่ ไปนี้ - สาขาวางแผนพัฒนาอาจารย์โดยมีการแจ้งให้อาจารย์ส่งแผนศึกษาต่อและทา ผลงานวิชาการแผนศึกษาตอ่ ระดบั ปรญิ ญาเอก
29 และได้ดาเนนิ การสารวจความพึงพอใจของอาจารยป์ ระจาหลักสูตรต่อการ บริหารจัดการหลกั สตู ร โดยมีรายละเอียดดังตารางต่อไปน้ี ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจของอาจารย์ 2561 2562 ตอ่ การดาเนินงานของหลกั สตู ร ด้านการบริหารอาจารย์และหลักสตู ร 4.66 4.46 ด้านการกากับ/ติดตาม/ประเมนิ ผลและพัฒนา 4.47 4.57 กระบวนการเรียนการสอนของอาจารย์ ดา้ นการส่งเสริมและพฒั นาอาจารย์ 4.40 4.56 ความพึงพอใจตอ่ สิง่ สนับสนนุ การเรียนรู้ 3.60 3.64 รวม 4.28 4.51 3. มีการประเมินกระบวนการ 3. การประเมินกระบวนการ มีข้นั ตอน ดังนี้ 1) ประชมุ คณะกรรมการผู้รบั ผดิ ชอบหลักสูตรเพื่อประเมินกระบวนการการ บรหิ ารอาจารย์ 2) อภิปรายแลกเปลีย่ นความคดิ เห็นถึงข้อดีและข้อบกพร่องของกระบวนการ 3) ลงมติทีป่ ระชุมเพ่ือประเมนิ กระบวนการ 4) ปรับปรงุ พัฒนากระบวนการจากผลการประเมินในปตี ่อไป 4 . มี ก า ร ป รั บ ป รุ ง พั ฒ น า 4.การปรบั ปรุง/พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน กระบวนการจากผลการประเมนิ ในปีการศึกษา 2562 สนับสนุนให้อาจารย์มีภาระงานตามเกณ ฑ์ท่ี มหาวทิ ยาลยั กาหนด โดยกาหนดหน้าทร่ี บั ผดิ ชอบตามคาส่งั ทร่ี บั มอบหมาย นอกจากนี้ในปีการศึกษา 2562 อาจารย์ในหลักสูตรได้ผลการประเมินภาระ งานในระดับดีข้ึนไปทุกคน จากการปฏิบัติหน้าท่ีตามคาส่ังท่ีได้รับมอบหมาย มี ภาระงานสอนเกินกว่าเกณฑ์ขั้นต่าท่ีมหาวิทยาลัยกาหนด มีงานวิจัย และการ นาเสนอผลงานวชิ าการอยา่ งตอ่ เนื่อง รวมถึงอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีจานวนและคุณสมบัติตรงตามเกณฑ์ท่ี สกอ.กาหนด โดยได้ผลการประเมินภาระงานในระดับดีข้ึนไปทุกคน มีจานวนการ ตพี มิ พ์ผลงานวจิ ัยเพิ่มขึน้ และมกี ารนาเสนอผลงานทางวิชาการอย่างต่อเน่ือง 5. มีผลจากการปรับปรุงเห็น 5. ผลจากการปรับปรุงเห็นชดั เจน ชดั เจนเปน็ รปู ธรรม 6. มีแนวทางปฏิบัติท่ีดีโดยมี 6. แนวทางปฏิบัติทดี่ ี หลักฐานเชิงประจักษ์ยืนยันและ ก ร ร ม ก า ร ผู้ ต ร ว จ ป ร ะ เมิ น สามารถให้เหตุผลอธิบายการ เปน็ แนวปฏิบตั ทิ ี่ดีไดช้ ดั เจน
30 การส่งเสรมิ และพัฒนาอาจารย์ เป้าหมายเชิงปรมิ าณ : อาจารย์ผรู้ บั ผดิ ชอบหลกั สูตร ครบตามเกณฑ์ท่ี สกอ. กาหนด เปา้ หมายเชิงคณุ ภาพ : อาจารย์ผู้รบั ผดิ ชอบหลกั สูตรมคี ุณวุฒิตามเกณฑท์ ี่ สกอ. กาหนด เกณฑ์การประเมิน ผลการดาเนินงาน 1. มีระบบและกลไก 1.ระบบและกลไก ในการส่งเสริมและ หลกั สูตรมกี ลไกการบรหิ ารการส่งเสริมและพัฒนาอาจารย์ ดังนี้ พฒั นาอาจารย์ 1) สนับสนุนอาจารย์ที่ไม่มีคุณวุฒิทางการศึกษาระดับปริญญาเอกให้ศึกษาต่อ ในระดบั ปรญิ ญาเอก 2) สนับสนุนให้อาจารย์ผลิตผลงานวิชาการเพื่อขอตาแหนง่ ทางวิชาการ 3) ทาแผนอัตรากาลังด้านการสอน การกาหนดอาจารย์ผู้สอนในรายวิชาที่มี ความเชี่ยวชาญ มีกระบวนการประเมินการสอน และการทวนสอบทุกภาคการศึกษา เพื่อให้อาจารยม์ ีมาตรฐานทางวชิ าการ 4) สนับสนุนการทาวิจัยและการบริการวิชาการของอาจารย์ และการทาวิจัย รว่ มระหว่างอาจารยแ์ ละนักศกึ ษา ขน้ั ตอนการสง่ เสรมิ และพฒั นาอาจารยเ์ ขยี นแผนภาพ ดังน้ี แนวปฏิบัตทิ ดี่ ี พฒั นาอาจารย์ คุณวฒุ ทิ างการ ตาแหนง่ ทาง วจิ ัย/ผลงาน ศึกษา วชิ าการ วิชาการ ปรับปรุงผลการ ประเมนิ ผลการดาเนินการ ดาเนนิ งาน จัดการความรู้ 2. มีการนาระบบและ 2.การนาไปสู่การปฏบิ ัติ ก ล ไ ก ไ ป ป ฏิ บั ติ ปีการศกึ ษา 2562 หลักสตู รมีการนาระบบและกลไกไปปฏิบัติดาเนนิ การ ดาเนินการ พบว่า มีการพัฒนาอาจารย์ ดังนี้ 1. ส่งเสริมการผลิตผลงานวิชาการเพื่อขอตาแหน่งทางวชิ าการ 2. ส่งเสริมการทาวิจัยและนาเสนอผลงานวชิ าการระหวา่ งอาจารยแ์ ละนกั ศกึ ษา 3. สนบั สนุนใหอ้ าจารย์พฒั นาตนเองตามโครงการที่จัดโดยหน่วยงานภายใน และหน่วยงานภายนอกมหาวิทยาลัย
31 4. จดั อตั รากาลังตามความเช่ียวชาญและตามความต้องการพัฒนาอาจารย์ 5. จดั หาทรัพยากรและสื่อประกอบการสอนท่ที ันสมัยและมีประสทิ ธภิ าพ 3 . มี ก า ร ป ร ะ เมิ น 3. การประเมินกระบวนการ มีขั้นตอน ดังนี้ กระบวนการ 1) ประชมุ คณะกรรมการหลกั สูตรเพอื่ ประเมินกระบวนการการพฒั นาอาจารย์ 2) อภิปรายแลกเปลย่ี นความคิดเห็นถงึ ข้อดีและข้อบกพร่องของกระบวนการ 3) ลงมติท่ปี ระชมุ เพ่ือประเมินกระบวนการ 4) ปรบั ปรุงพัฒนากระบวนการจากผลการประเมินในปตี ่อไป นอกจากน้ีหลักสูตรจะมีอาจารย์ได้รับตาแหน่งทางวิชาการ จานวน 2 คน มี อาจารย์ที่ได้ทุนศึกษาต่อต่างประเทศระดับปริญญาเอกจากกระทรวงวิทยา ศาสตร์ และเทคโนโลยี จานวน 1 ทา่ น อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีจานวนและคุณสมบัติตรงตามเกณฑ์ท่ี สกอ. กาหนดและคาดการณ์ว่าภายใน 2 - 3 ปี อาจารย์ท่ีมีคุณวุฒิทางการศึกษาในระดับ ปริญญาเอกมีจานวนเพิ่มมากข้ึน และมีตาแหน่งทางวิชาการเป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ เพม่ิ มากข้ึน 4 . มี ก า ร ป รั บ ป รุ ง 4.การปรบั ปรุง/พฒั นากระบวนการจากผลการประเมนิ พั ฒ น า ก ร ะ บ ว น ก า ร จากผลการประเมิน 5 . มี ผ ล จ า ก ก า ร 5. ผลจากการปรับปรุงเหน็ ชัดเจน ปรับปรุงเห็นชัดเจน เป็นรูปธรรม 6. มีแนวทางปฏิบัติที่ 6. แนวทางปฏิบตั ิทดี่ ี ดี โ ด ย มี ห ลั ก ฐ า น เชิ ง ป ร ะ จั ก ษ์ ยื น ยั น แ ล ะ ก ร ร ม ก า ร ผู้ ต ร ว จ ป ร ะ เมิ น ส า ม า ร ถ ใ ห้ เหตุผลอธิบายการเป็น แ น ว ป ฏิ บั ติ ที่ ดี ได้ ชัดเจน สรุปผลการประเมินตนเอง ตัวบ่งช้ี เป้าหมาย ผลการดาเนินงาน การบรรลุเป้าหมาย 3 คะแนน 4.1 3 คะแนน บรรลุ ไมบ่ รรลุ จุดเด่น 1. อาจารยม์ ผี ลงานทางวชิ าการพรอ้ มสาหรับการขอตาแหนง่ ทางวชิ าการเพม่ิ ขึ้นอย่างต่อเนอ่ื ง 2. อาจารย์มจี านวนงานวจิ ัยและการนาเสนอผลงานทางวชิ าการในระดบั ชาตขิ นึ้ ไปอย่างตอ่ เนือ่ ง
32 3. หลกั สตู รมีการวางแผนการจัดอตั รากาลังอยา่ งเป็นระบบ ทาใหก้ ารบรหิ ารและพัฒนาอาจารยม์ ี ประสิทธิภาพ โอกาสในการพฒั นา 1. หลักสูตรเป็นท่ยี อมรับของสังคมและเปน็ ท่ีต้องการของประเทศ 2. หลกั สตู รมีเครอื ข่ายทางวชิ าการทัง้ ระดับท้องถิ่นและระดับประเทศ 3. หลกั สตู รมเี ครือขา่ ยศิษย์เก่าและผู้ใชบ้ ณั ฑติ ทีม่ ีประสทิ ธิภาพ 4. หลกั สตู รไดร้ ับการสนบั สนุนทง้ั ดา้ นอาจารย์ ทรพั ยากร และงบประมาณจากมหาวทิ ยาลัย 5. มหาวิทยาลยั ไดร้ ับการยอมรับทางวชิ าการ รายการหลักฐาน 4.1.1 รายงานการประชุมของหลักสตู รวา่ ด้วยการบริหารและพัฒนาอาจารย์ 4.1.2 ระเบยี บ/ประกาศ/ขอ้ บงั คับของมหาวทิ ยาลัย 4.1.3 คาส่ังแต่งตัง้ คณะกรรมการหลักสตู ร 4.1.4 ประกาศผลการประเมินความดคี วามชอบ 4.1.5 ระบบและกลไกการรับและแต่งตัง้ อาจารย์ประจาหลกั สตู ร 4.1.6 คาสัง่ ให้อาจารย์เข้ารว่ มอบรม/โครงการ 4.1.7 แบบประเมนิ ความพงึ พอใจอาจารยป์ ระจาหลักสูตร 4.1.8 มคอ.2 ตวั บ่งช้ที ่ี 4.2 คณุ ภาพอาจารย์ (เฉพาะอาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบหลกั สตู ร) ผู้รับผดิ ชอบตัวบ่งช้ี : ผศ.ดร.ศัลยพงศ์ วิชัยดษิ ฐ ผลการดาเนินงาน หลกั ฐาน/ตารางอา้ งอิง ตารางที่ 1.1-1 - ร้อยละอาจารย์ทีม่ ีวุฒปิ รญิ ญาเอก ร้อยละ 40 ตารางท่ี 4.2-1 - ผลงานวชิ าการของอาจารย์ 3 Proceeding 4.2.1 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรท่ีมีคุณวุฒิปริญญาเอก (ปีการศึกษา 256 2 : 1 กรกฎาคม 2562 – 30 มิถนุ ายน 2563) จานวนอาจารย์ตามคณุ วฒุ กิ ารศึกษา หน่วยวัด ผลการ หลกั ฐาน/ตาราง ดาเนินงาน อา้ งองิ อาจารย์วฒุ ิปรญิ ญาตรี คน - อาจารย์วฒุ ิปรญิ ญาโท คน - อาจารยว์ ฒุ ปิ รญิ ญาเอก คน 3 ตารางที่ 1.1-1 รวมจานวนอาจารย์ประจาท้งั หมด (นบั รวมท่ีลาศกึ ษาต่อ) คน 2 ตารางท่ี 1.1-1 5 -
33 จานวนอาจารยต์ ามคุณวุฒกิ ารศึกษา หนว่ ยวัด ผลการ หลักฐาน/ตาราง ดาเนินงาน อ้างองิ อาจารยว์ ฒุ ิปรญิ ญาตรี คน - อาจารย์วฒุ ปิ รญิ ญาโท คน - ร้อยละอาจารยป์ ระจาทมี่ ีวฒุ ิปริญญาตรี ร้อยละ 3 ตารางท่ี 1.1-1 รอ้ ยละอาจารย์ประจาทมี่ วี ฒุ ปิ รญิ ญาโท รอ้ ยละ ร้อยละอาจารยป์ ระจาทมี่ วี ุฒิปรญิ ญาเอก รอ้ ยละ 40 - 60 - - - เกณฑก์ ารประเมิน แปลงคา่ ร้อยละของอาจารยป์ ระจาหลกั สูตรท่มี ีคุณวุฒปิ ริญญาเอกเป็นคะแนนระหวา่ ง 0-5 หลักสตู รระดบั ปรญิ ญาตรีคา่ รอ้ ยละของอาจารยผ์ ้รู บั ผิดชอบหลกั สตู รที่มคี ุณวฒุ ปิ ริญญาเอกที่ กาหนดใหเ้ ป็นคะแนนเตม็ 5 = รอ้ ยละ 20 ขึน้ ไป หลักสตู รระดบั ปรญิ ญาโทค่าร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลกั สูตรที่มคี ุณวุฒปิ ริญญาเอกท่ี กาหนดให้เป็นคะแนนเตม็ 5 = รอ้ ยละ 60 ขนึ้ ไป หลักสูตรระดับปริญญาเอกค่าร้อยละของอาจารย์ผรู้ ับผดิ ชอบหลกั สูตรท่มี ีคุณวุฒิปริญญาเอกท่ี กาหนดใหเ้ ป็นคะแนนเตม็ 5 = ร้อยละ 100 สรปุ ผลการประเมินตนเอง ตวั บง่ ช้ี เปา้ หมาย ผลการดาเนนิ งาน การบรรลเุ ปา้ หมาย บรรลุ ป.ตรี รอ้ ยละ 20 ป.ตรี รอ้ ยละ 40 ไม่บรรลุ ระดับคะแนน 5 4.2.1 ป.โท ร้อยละ 60 ป.เอก ร้อยละ 100 ผลการวเิ คราะหจ์ ุดเด่นและโอกาสในการพฒั นา จุดเดน่ 1. อาจารย์ผรู้ ับผิดชอบหลกั สูตรที่ยงั ไม่มคี ุณวุฒิปรญิ ญาเอก อยูใ่ นระหวา่ งดาเนินการขอศึกษาตอ่ 2. อาจารยม์ กี ารนาเสนอผลงานวชิ าการอย่างต่อเนื่อง โอกาสในการพัฒนา 1. อาจารยม์ กี ารนาเสนอผลงานวิชาการอยา่ งต่อเน่ือง 2. มหาวทิ ยาลยั มอบทนุ สนบั สนุนกรณตี ีพิมพผ์ ลงานวิชาการในฐานข้อมลู ที่มี impact factor สงู 4.2.2 ร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรท่ีดารงตาแหน่งทางวิชาการ (ปีการศึกษา 2562 : 1 กรกฎาคม 2562 – 30 มถิ ุนายน 2563) จานวนอาจารยต์ ามคุณวฒุ ิการศึกษา หน่วยวดั ผลการ หลักฐาน/ตาราง ดาเนินงาน อา้ งอิง ศาสตราจารย์ คน - - รองศาสตราจารย์ คน - - ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ คน 2 ตารางท่ี 1.1-1
34 จานวนอาจารย์ตามคุณวุฒิการศกึ ษา หนว่ ยวดั ผลการ หลักฐาน/ตาราง ดาเนินงาน อา้ งองิ ศาสตราจารย์ คน รองศาสตราจารย์ คน - - อาจารย์ทไี่ มม่ ตี าแหนง่ ทางวิชาการ คน - - รวมจานวนอาจารยป์ ระจาท้งั หมด (นบั รวมทล่ี าศึกษาตอ่ ) ร้อยละ 3 รวมอาจารยป์ ระจาทมี่ ีตาแหนง่ วชิ าการ (ผศ., รศ. และ ศ.) ร้อยละ ตารางท่ี 1.1-1 ร้อยละอาจารย์ประจาทีม่ ีตาแหนง่ วิชาการ (ผศ., รศ. และ ศ.) รอ้ ยละ 5 ตารางท่ี 1.1-1 ตารางท่ี 1.1-1 2 ตารางที่ 1.1-1 40 เกณฑก์ ารประเมิน แปลงค่าร้อยละของอาจารย์ประจาหลักสูตรทด่ี ารงตาแหน่งทางวิชาการเป็นคะแนนระหวา่ ง 0-5 หลกั สูตรระดบั ปริญญาตรี ค่าร้อยละของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรท่ีดารงตาแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ รวมกันทก่ี าหนดใหเ้ ปน็ คะแนนเตม็ 5 = รอ้ ยละ 60 ขนึ้ ไป หลักสูตรระดบั ปริญญาโท ค่าร้อยละของอาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบหลกั สตู รทด่ี ารงตาแหน่งผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ รวมกันท่ีกาหนดให้เป็นคะแนนเตม็ 5 = ร้อยละ 80 ขนึ้ ไป หลกั สตู รระดับปรญิ ญาเอก คา่ ร้อยละของอาจารย์ผูร้ บั ผิดชอบหลักสูตรท่ดี ารงตาแหนง่ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์ รวมกนั ที่กาหนดให้เปน็ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 100 สรุปผลการประเมินตนเอง ตัวบ่งช้ี เปา้ หมาย ผลการดาเนินงาน การบรรลุเปา้ หมาย บรรลุ ป.ตรี ร้อยละ 40 ป.ตรี ร้อยละ 40 ไมบ่ รรลุ ระดับคะแนน 3.33 4.2.2 ป.โท รอ้ ยละ 40 ป.เอก รอ้ ยละ 60 ผลการวิเคราะหจ์ ุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา จุดเด่น 1. อาจารยผ์ รู้ บั ผิดชอบหลักสูตรอยูร่ ะหว่างการพฒั นาผลงานวชิ าการเพื่อขอตาแหนง่ ทางวิชาการ โอกาสในการพัฒนา 1. มหาวทิ ยาลยั ให้การสนบั สนนุ ใหอ้ าจารย์พฒั นาผลงานวชิ าการและการขอตาแหนง่ ทางวิชาการ
35 เกณฑ์การประเมิน หลักสูตรระดับปริญญาตรี ค่าร้อยละของผลรวมถว่ งนา้ หนักของผลงานวิชาการของอาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลกั สตู รที่กาหนดใหเ้ ปน็ คะแนนเต็ม 5 = รอ้ ยละ 20 ขึ้นไป หลักสตู รระดบั ปริญญาโท คา่ ร้อยละของผลรวมถ่วงน้าหนักของผลงานวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลกั สตู รทก่ี าหนดใหเ้ ปน็ คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 40 ขึน้ ไป หลกั สตู รระดบั ปริญญาเอก คา่ ร้อยละของผลรวมถว่ งนา้ หนักของผลงานวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรท่กี าหนดให้เป็น คะแนนเต็ม 5 = ร้อยละ 60 ขึ้นไป สรุปผลการประเมนิ ตนเอง ตัวบง่ ช้ี เป้าหมาย ผลการดาเนนิ งาน การบรรลุเป้าหมาย บรรลุ ป.ตรี รอ้ ยละ 20 ร้อยละ 12 ไมบ่ รรลุ ระดบั คะแนน 3 4.2.3 ป.โท รอ้ ยละ 40 ป.เอก รอ้ ยละ 60 ผลการวิเคราะห์จุดเด่นและโอกาสในการพฒั นา จดุ เดน่ 1. อาจารยพ์ ัฒนางานวิจัยและผลงานทางวิชาการอยา่ งต่อเน่อื ง 2. อาจารยน์ าเสนอผลงานวิชาการในระดับชาติ และตีพิมพ์ในวารสารท่ีอยู่ในฐาน TCI อย่างตอ่ เนื่อง โอกาสในการพฒั นา 1. มหาวิทยาลัยใหก้ ารสนับสนนุ ใหอ้ าจารย์พัฒนาผลงานวชิ าการและการขอตาแหน่งทางวิชาการ รายการหลกั ฐาน 4.2.1 เล่มหลกั สตู ร / ประวตั ิอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลกั สูตร 4.2.2 เอกสารบทความวิจยั / เอกสารบทความทางวิชาการ / เอกสารตอบรับการเผยแพร่ 4.2.3 ประกาศมหาวิทยาลยั เรื่อง การใหท้ ุนสนับสนนุ เผยแพร่ผลงานวชิ าการ / การศึกษาต่อ
36 ตัวบ่งชีท้ ี่ 4.3 ผลทีเ่ กิดกบั อาจารย์ ผ้รู ับผดิ ชอบตวั บ่งชี้ : อ.ดร.ธญั นันทร์ สจั จะบริบูรณ์ การเก็บขอ้ มลู : (ปีการศกึ ษา 2562 : 1 กรกฏาคม 2562 ถึงวันที่ 30 มิถนุ ายน 2563) อัตราการคงอยู่ของอาจารย์และความพึงพอใจของอาจารย์ผู้รับผิดชอบ เป้าหมายเชิงปรมิ าณ : อาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบหลักสูตร ครบตามเกณฑท์ ่ี สกอ. กาหนด เป้าหมายเชิงคณุ ภาพ : อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลกั สตู รมีคุณวฒุ ิตามเกณฑท์ ี่ สกอ. กาหนด เกณฑ์การประเมิน ผลการดาเนินงาน 1. มีการรายงานผลการ 1. ดา้ นอัตราการคงอยู่ของอาจารย์ ดาเนินงานในบางเรอ่ื ง หลักสตู รมอี ัตราการคงอย่ขู องอาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลกั สตู ร ครบจานวนตามท่ี สกอ. กาหนด คดิ เป็นร้อยละ 100 โดยไม่มอี าจารยเ์ กษียณหรือลาออกเลย ดงั ตารางแสดงอัตราการคงอย่ขู องอาจารย์ จานวนอาจารย์ผรู้ บั ผิดชอบหลกั สูตร อัตราคงอยู่ ตาม มคอ.2 2562 555 2. มีการรายงานผลการ ความพงึ พอใจของอาจารย์ตอ่ การบรหิ ารหลกั สตู ร ด า เนิ น ง า น ค ร บ ทุ ก เรื่ อ ง สาขาวชิ าให้ความสาคญั ตอ่ ระบบการบริหารจัดการหลกั สูตร และเพ่ือ ตามคาอธิบายในตัวบง่ ช้ี ตอบให้ได้วา่ การบริหารจดั การหลกั สตู รในรอบปที ผ่ี า่ นมา (ปีการศกึ ษา 2562) มี ความเหมาะสมหรอื ไม่ ทางสาขาวชิ าจึงวดั ระดับความพงึ พอใจของอาจารย์ ผรู้ ับผดิ ชอบหลกั สูตรตอ่ การบริหารจดั การหลกั สูตรโดยใช้แบบสอบถามจาก อาจารย์ประจาหลักสูตร ทั้ง 5 คน พบว่า อยใู่ นระดบั มาก เทา่ กบั ปี 2561 3 . มี แ น ว โ น้ ม ผ ล ก า ร จากการรายงานผลในปกี ารศึกษา 2562 พบวา่ ดาเนินงานทดี่ ขี ้ึนในบางเรือ่ ง 1. อัตราการคงอยู่ของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีแนวโน้มที่ดี เนื่องจากปีการศึกษา 2562 มีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรครบจานวน 5 คน และมีคุณสมบตั ติ ามท่ี สกอ. กาหนด ซง่ึ อาจารย์แตล่ ะทา่ นมผี ลงานวิจยั ดงั น้ี ชื่อผวู้ จิ ยั ชื่อผลงาน แหลง่ ท่เี ผยแพร่ วันทีเ่ ผยแพร่ ธญั นันทร์ สจั จะบริบรู ณ์ ก า ร ป ร ะ เ มิ น งานประชุมวิชาการ วันที่ 8 มนี าคม 2562ณ ศัลยพงศ์ วชิ ัยดิษฐ ประสิทธิภาพของ ระดบั ชาติ Actis & มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี โกวทิ ย์ ชนะเคน รูปแบบการเรียนรู้ NCOBA 2019 ราชมงคลธญั บรุ ี สุคนธา จันทาพูน ผ่านเครือข่ายสังคม กลุ ยา เจริญมงคลวิไล สาห รับ ห้ องเรีย น ก ลั บ ด้ า น โด ย ใช้ โ ค ร ง ง า น เป็ น ฐ า น ส า ห รั บ ง า น คอมพวิ เตอรก์ ราฟิก ปริญญา โชติสงฆ์ การพัฒนาส่ือโมช่ัน งานประชมุ วชิ าการ วันที่ 22 – 24 มีนาคม กุลยา เจรญิ มงคลวไิ ล อิ น โ ฟ ก ร า ฟิ ก เพื่ อ ระดบั ปรญิ ญาตรี 2562 โกวิทย์ ชนะเคน เปรียบเทียบกับการ ดา้ นคอมพวิ เตอร์ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ใช้ส่ือแบบโปสเตอร์ ภมู ภิ าคอาเซยี น เชียงราย สาห รับ เบื้ อ งห ลัง ครงั้ ท่ี 7 AUC2 ข อ ง ก า ร เรี ย น รู้ 2019 Infographic
37 ทวิ ากร ภู่งาม การพัฒนาสื่อโมชัน งานประชุมวิชาการ วันที่ 22 – 24 มีนาคม กุลยา เจรญิ มงคลวิไล อิ น โ ฟ ก ร า ฟิ ก เพ่ื อ ระดับ ปริญ ญ าตรี 2562 โกวิทย์ ชนะเคน เปรียบเทียบกับการ ด้ า น ค อ ม พิ ว เต อ ร์ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ใช้ส่ือแบบโปสเตอร์ ภู มิ ภ า ค อ า เซี ย น เชยี งราย ส า ห รั บ ปั ญ ห า ค ร้ั ง ท่ี 7 AUC2 อาหารขยะล้นเมอื ง 2019 สรปุ ผลการประเมนิ ตนเอง ตัวบง่ ช้ี เปา้ หมาย ผลการดาเนินงาน การบรรลุเปา้ หมาย ........2..... คะแนน 4.3 2 คะแนน บรรลุ ไมบ่ รรลุ ผลการวิเคราะห์จุดเด่นและโอกาสในการพัฒนา จดุ เดน่ 1. อาจารย์มีผลงานวิจยั และการเขา้ ร่วมการประชุมทางวชิ าการอย่างต่อเนื่อง โอกาสในการพัฒนา 1. มหาวิทยาลัยสนับสนนุ ใหอ้ าจารยเ์ พม่ิ คุณวุฒิในระดบั ปรญิ ญาเอก 2. มหาวทิ ยาลยั สนับสนนุ ใหอ้ าจารย์ทาตาแหน่งทางวชิ าการ สรุปผลการประเมินตนเอง องค์ประกอบที่ 4 : อาจารย์ ตวั บ่งชี้ เป้าหมาย ผลการดาเนนิ งาน คะแนนการประเมิน 4.1 3 คะแนน 3 3 4.2.1 ป.ตรี ร้อยละ 20 ป.ตรี รอ้ ยละ 40 5 ป.โท ร้อยละ 60 ระดบั คะแนน 5 ป.เอก ร้อยละ 100 4.2.2 ป.ตรี ร้อยละ 40 ป.ตรี ร้อยละ 40 3.33 ป.โท รอ้ ยละ 40 ระดับคะแนน 3.33 ป.เอก รอ้ ยละ 60 ป.ตรี ร้อยละ 20 4.2.3 ป.โท รอ้ ยละ 40 ป.ตรี รอ้ ยละ 12 3 ป.เอก รอ้ ยละ 60 4.2.4 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 2.00 0 0 มนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ 0.20 4.3 2 คะแนน 2 2 คา่ เฉลี่ยจากการประเมนิ 5 ตัวบ่งชี้ (คะแนนเต็ม 5 คะแนน) 14.33 /5 = 2.86 คะแนน ระดบั คุณภาพ ปานกลาง
38 ผลการวิเคราะหจ์ ดุ เดน่ และโอกาสในการพัฒนา องค์ประกอบท่ี 4 จุดเดน่ 1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรท่ียงั ไม่มีคุณวฒุ ิปรญิ ญาเอก อยูใ่ นระหวา่ งดาเนินการขอศึกษาต่อ 2. อาจารย์มีผลงานทางวิชาการพรอ้ มสาหรับการขอตาแหน่งทางวชิ าการเพิ่มขนึ้ 3. อาจารยม์ ีผลงานวิจยั และการเขา้ รว่ มการประชมุ ทางวิชาการอยา่ งตอ่ เนื่อง 4. หลักสตู รวางแผนการจัดอัตรากาลังอย่างเปน็ ระบบ ทาให้การบริหารและพัฒนามปี ระสิทธภิ าพ โอกาสในการพฒั นา 1. หลกั สตู รเป็นที่ยอมรบั ของสังคมและเป็นท่ีต้องการของประเทศ 2. หลักสตู รมีเครอื ข่ายทางวชิ าการท้ังระดับท้องถน่ิ และระดับประเทศ 3. หลกั สูตรไดร้ บั การสนับสนุนทง้ั ดา้ นอาจารย์ ทรัพยากร และงบประมาณจากมหาวิทยาลัย 4. มหาวทิ ยาลัยไดร้ บั การยอมรับทางวิชาการ 5. มหาวทิ ยาลยั ให้การสนับสนนุ ให้อาจารย์พฒั นาผลงานวชิ าการและการขอตาแหนง่ ทางวิชาการ
39 หมวดท่ี 5 ขอ้ มลู ผลการเรยี นรายวิชาของหลักสตู รและคณุ ภาพการสอนในหลักสูตร ขอ้ มูลผลการเรียนรายวิชาของหลักสูตร สรปุ ผลรายวิชาศึกษาท่ัวไปทีเ่ ปิดสอนในภาค/ปีการศึกษา (นามาจาก มคอ5 ของแตล่ ะวชิ า) ชอื่ วิชา ภาค/ ผลการเรยี น จานวนนกั ศกึ ษา รหัสวิชา ปกี ารศึกษา A B+ B C+ C D+ D F I W ลง สอบ ทะเบียน ผ่าน 4011105 ฟสิ ิกสเ์ บ้อื งต้น 1/62 1 0 0 4 0 23 3 32 0 1 64 31 4021115 เคมที ่ัวไป 1/62 1 4 4 2 52 1 0 4033107 ชวี วทิ ยา 1/62 0 64 63 1500133 1/62 5 0 40 11 0 7 1 0 1500134 ภาษาไทยเพ่อื การสื่อสาร 1/62 1 20 5 10 15 7 8 3 0 0 64 63 2500114 ภาษาองั กฤษเพอื่ การสื่อสาร 1/62 3 6 0 5 5 17 4 25 0 2000112 จริยธรรมและทกั ษะชวี ิต 1/62 0 69 66 4000124 การเมอื งการปกครองไทย 1/62 3 1 24 11 6 9 9 0 1500135 การคิดและการตดั สินใจ 2/62 2 11 10 13 19 2 8 5 0 0 65 40 ภาษาองั กฤษเพอ่ื การทางาน 2 3 1 3 2 14 10 30 0 1 3 8 9 10 2 0 63 54 0 70 65 0 65 35 33 33 สรปุ ผลรายวิชาเอกทเี่ ปดิ สอนในภาค/ปีการศึกษา (นามาจาก มคอ5 ของแต่ละวชิ า) ชอ่ื วิชา ภาค/ ผลการเรยี น จานวนนักศึกษา รหสั วิชา ปีการศึกษา A B+ B C+ C D+ D F I W ลง สอบ ทะเบียน ผา่ น 4011105 ฟสิ ิกส์เบ้อื งต้น 1/62 1 0 0 4 0 23 3 32 0 1 64 31 4021115 เคมีท่ัวไป 1/62 1 4 4 2 52 1 0 0 64 63 4033107 ชวี วิทยา 1/62 5 0 40 11 0 7 1 0 0 64 63 7191101 คณติ ศาสตรแ์ ละสถติ ฯิ 1/62 14 4 4 32 11 0 0 5 0 0 70 65 7193603 มัลติมีเดยี เพื่อการศึกษา 1/62 11 3 8 6 5 33 33 7191105 องค์ประกอบศิลปฯ์ 1/62 24 20 18 0 4 0 0 4 0 0 70 66 7191201 ระบบคอมพิวเตอรฯ์ 1/62 33 12 9 9 4 0 0 0 0 0 70 67 7193901 การวจิ ยั เบอ้ื งต้นฯ 1/62 3 7 8 15 1 34 33 7192703 การสร้างภาพฯ 2 มติ ิ 2 1/62 11 4 8 3 5 1 1 33 33 7193601 การออกแบบและพฒั นา 1/62 10 6 4 7 4 1 2 34 34 สื่อมลั ติมเี ดีย 7193705 การสร้างภาพฯ 3 มิติ 1 1/62 14 7 4 4 3 2 34 34 7193103 ภาษาองั กฤษสาหรบั 1/62 1 9 13 2 2 5 1 33 33 เทคโนโลยมี ัลตมิ ีเดยี 2 7191102 ภาษาอังกฤษสาหรบั 2/62 4 14 4 30 13 0 0 5 0 0 70 65 เทคโนโลยีมัลตมิ ีเดยี 1 7191106 แนวคิดและทฤษฎฯี 2/62 20 12 5 11 15 0 0 2 0 0 65 63 7191302 ระบบฐานขอ้ มูล 2/62 1 9 7 9 13 12 12 3 0 0 66 63 7192107 การเขยี นบทและฯ 2/62 6 17 34 0 0 0 0 4 0 0 61 57 7192401 การออกแบบปฏิสมั พนั ธ์ฯ 2/62 7 17 14 8 7 2 0 5 0 1 61 55 7192701 คอมพวิ เตอรก์ ราฟกิ 2/62 36 25 3 1 0 0 0 1 0 0 66 65 7192702 การสร้างภาพฯ 2 มติ ิ 1 2/62 31 9 6 2 3 0 2 2 0 0 55 53 7192704 การออกแบบและตัดต่อฯ 2/62 36 7 14 1 1 0 1 2 0 0 62 60
40 ชื่อวชิ า ภาค/ ผลการเรยี น จานวนนกั ศึกษา รหสั วชิ า ปกี ารศกึ ษา A B+ B C+ C D+ D F I W ลง สอบ ทะเบียน ผ่าน 7193109 การถา่ ยภาพดจิ ิทลั 2/62 14 2 6 4 3 4 1 34 33 7193706 การสรา้ งภาพฯ 3 มติ ิ 2 2/62 9 10 3 3 4 4 1 34 34 7193708 ภาพยนตร์แอนิเมชนั ฯ 2/62 9 2 5 6 2 24 22 7193602 แนวโนม้ และประเด็นฯ 2/62 1 3 7 9 6 8 34 34 7193302 การออกแบบและพัฒนา 2/62 13 13 6 2 34 34 เวบ็ เพจฯ 7193902 โครงงานฯ 1 2/62 13 6 2 3 4 6 34 28 ตัวบ่งช้ีท่ี 5.1 สาระของรายวิชาในหลกั สตู ร ผู้รบั ผดิ ชอบตัวบ่งช้ี : ผศ.ดร.ศลั ยพงศ์ วิชยั ดษิ ฐ การเก็บข้อมลู : (ปีการศึกษา 2562 : 1 กรกฏาคม 2562 ถึงวนั ที่ 30 มิถุนายน 2563) การออกแบบหลักสตู รและสาระรายวชิ าในหลักสูตร เปา้ หมายเชิงปริมาณ : หลกั สตู รเทคโนโลยีมลั ติมีเดีย หลกั สตู รปรบั ปรุง 2560 เป้าหมายเชิงคุณภาพ : หลักสูตรเทคโนโลยีมัลติมีเดยี ตามมาตรฐาน TQF เกณฑ์การ ผลการดาเนนิ งาน ประเมนิ 1. มีระบบและ 1.ระบบและกลไก ก ล ไก ใน ก า ร หลกั สูตรเทคโนโลยมี ลั ตมิ ีเดยี หลักสูตร พ.ศ.2560 โดยมหี ลกั คดิ ในการออกแบบ อ อ ก แ บ บ หลักสูตร ให้เขา้ กบั ระบบและกลไกของมหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครปฐม ซึ่งกาหนดระบบและ หลักสูตรและ กลไกการออกแบบ/ปรบั ปรุงหลกั สูตร ตามแผนภาพ ดังน้ี สาระรายวิชาใน หลกั สูตร
41 หลกั สูตรฯ ไดท้ าตามระบบและกลไกทม่ี หาวิทยาลยั กาหนด ดังน้ี 1. กรรมการบรหิ ารหลกั สูตร ทาการรวบรวมข้อมูลผูม้ ีส่วนได้สว่ นเสยี 2. เมอ่ื ถึงกาหนดครบรอบการออกแบบหรอื เมือ่ สาขาสารวจความเป็นไปได้ว่าควรมีการ พฒั นาหรือปรบั ปรงุ หลักสูตรแล้ว 3. สาขาจะทาการเสนอต่อมหาวทิ ยาลยั เพ่ือแต่งตง้ั คณะกรรมการพัฒนา/ปรบั ปรงุ หลักสูตร จากนั้น คณะกรรมการฯ ดาเนินการพัฒนา/ปรับปรุงหลักสูตร โดยการทาร่าง มคอ. 2 และวิพากยห์ ลกั สูตร ซง่ึ สาขามกี ระบวนการวิเคราะห์ความเหมาะสมของสาระรายวิชา โดย อิงจาก มคอ.1 ของสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และวิเคราะห์ความเหมาะสมและ ทันสมัยของรายวิชา จากข้อมูลท่ีได้จากผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง เช่น ผู้ใช้บัณฑิต บัณฑิต ผู้ทรงคุณวุฒิ หรือจากการวิเคราะห์สภาพสังคมปัจจุบันและแนวโน้มในอนาคต เพื่อให้ได้
42 คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ โครงสร้างหลักสูตร คาอธิบายรายวิชาที่เหมาะสม และ อืน่ ๆ ท่จี าเปน็ ในการตอ่ การบริหารและจัดการหลกั สูตรให้มปี ระสิทธิภาพ 4. จากน้ัน ทาการเสนอร่างต่อคณะ ต่อสภามหาวิทยาลัย ซึ่งหากคณะ หรือสภา มหาวิทยาลัยเห็นควรให้แก้ไข สาขาจะทาการปรับแก้จนได้ร่าง มคอ.2 ทส่ี มบรู ณ์ แล้วจึงทา การเสนอตอ่ สกอ. เพ่ือพจิ ารณา 2 . มี ก า ร น า 2.การนาไปสกู่ ารปฏบิ ัติ ระบบและกลไก สาหรับการพฒั นาหลักสูตร พ.ศ. 2560 สาขาเทคโนโลยมี ัลติมีเดีย ไดเ้ ริ่มพฒั นาหลักสตู ร ไ ป ป ฏิ บั ติ ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2559 เพ่ือใหเ้ ข้าหลกั เกณฑ์ TQF ตามข้นั ตอนดังนี้ ดาเนินการ 1. สาขาทาวิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือพัฒนาหลักสูตร และสารวจผู้ใช้บัณฑิต เพื่อให้ ทราบข้อมูลเก่ยี วกับคุณลักษณะบณั ฑิตท่พี ึงประสงค์ มอบหมายอาจารย์ประจาหลักสตู รไป ศกึ ษาหลักสูตรทส่ี อดคลอ้ งตามมหาวิทยาลัยต่าง ๆ เพอ่ื วิเคราะห์และสังเคราะห์รายวิชาท่ีมี ความทันสมยั 2. เสนอรายช่ือแต่งตั้งคณะกรรมการร่างหลกั สตู ร 3. ประชุมคณะกรรมการร่างหลักสูตรเพื่อพิจารณา ปรัชญา วัตถุประสงค์ของ หลักสูตร รายวิชาในหลักสูตร การวัดผลตาม 5 โดเมน ทั้งนี้สาขาทาการวิเคราะห์รายวิชา จากหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศ (เทคโนโลยีมัลตมิ ีเดีย) จากนั้นทาการลดบางรายวิชาที่ เห็นว่าไม่ทันสมัย และเพ่ิมรายวิชาที่ทันสมัยต่อสถานการณ์ปัจจุบัน นอกจากน้ันยังปรับ สาระรายวิชาให้เหมาะสมกับปัจจุบัน และทบทวนแผนท่ีการเรียนรู้รายวิชาให้เหมาะสม และปรับข้ันตอนในหมวดอ่ืน ๆ เช่น การรับนักศึกษา การรับและพัฒนาอาจารย์ การทวน สอบ และอ่ืนๆ ให้เหมาะสมกบั สภาพปัจจุบัน 4. เสนอแตง่ ต้งั ผูท้ รงคุณวฒุ ิทวนสอบร่างหลกั สูตร 5. ประชุมทวนสอบรา่ งหลกั สตู ร 6. เสนอแต่งตั้งผทู้ รงคุณวฒุ ิและกรรมการวิพากษ์หลกั สูตร ประกอบดว้ ย ผูท้ รงคุณวุฒิดา้ นวชิ าการด้านคอมพวิ เตอร์ ผใู้ ช้บณั ฑิต 7. นาเสนอต่อคณะกรรมการคณะ 8. นาเสนอต่อสภาวิชาการ 9. นาเสนอต่อสภามหาวทิ ยาลยั 10. สง่ หลกั สตู รให้กับ สกอ. รบั ทราบ ซ่ึงในรอบการน้ี หลักสูตรได้ดาเนินการวิเคราะห์ความต้องการของสังคมที่มีผลต่อ หลักสตู รเทคโนโลยีมลั ติมีเดีย โดยนาข้อมูลจากความต้องการของผใู้ ชบ้ ัณฑติ ตลาดแรงงาน การวิเคราะห์แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ ทิศทางความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ความ ต้องการศึกษาของนักเรียน แนวโน้มประชากร เพ่ือวิเคราะห์ทิศทางและแนวโน้มของ หลกั สูตร ทาให้ไดค้ ณุ ลักษณะของบณั ฑิตทพี่ ึงประสงค์ ดังนี้ 1. มีความรู้ความสามารถทางด้านเทคโนโลยีมัลติมีเดีย ทั้งภาคทฤษฎีและ ภาคปฏิบตั ิ และมีความสามารถในการประยกุ ตใ์ ช้ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ 2. มีทักษะความสัมพันธ์และสามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคมและท้องถ่ินได้ดี สามารถทางานรว่ มกบั ผอู้ ื่น มีทกั ษะการบริหารจดั การและทางานเปน็ หมู่คณะ 3. มีคุณลักษณะพิเศษทางด้านการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีมัลติมีเดีย ให้สอดคล้อง
43 กบั ความต้องการขององคก์ ร 4. มเี จตคตทิ ี่ดดี ้านคณุ ธรรม จริยธรรม รบั ผดิ ชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม 5. มคี วามพรอ้ มในการทางานในประชาคมอาเซยี น จากการวิเคราะห์โครงสร้างหลักสูตรที่เหมาะกับการพัฒนาบัณฑิตให้มีคณุ ลกั ษณะ ที่พึงประสงค์ และสอดคล้องกับประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐาน หลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2558 รวมถึง มคอ.1 สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ โดย กาหนดใหม้ ีจานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไมน่ ้อยกว่า 130 หน่วยกิต มรี ายวชิ าทั้งวิชา เฉพาะด้าน และวิชาเลือกเสรี ท่ีเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน มีสาระรายวิชาทาง ทฤษฎี และปฏบิ ัตทิ ีเ่ หมาะสมต่อการพฒั นาคุณลักษณะของบัณฑติ ในแตล่ ะรายวชิ ามคี าอธิบายรายวชิ าท่ีมีเน้ือหาเหมาะสมกับชอ่ื วชิ า มจี านวนหน่วย กิต และมีเนื้อหาท่ีครอบคลุมครบถ้วนในส่ิงที่ควรเรียน มีจุดเน้นในวิชาเอก มีความต่อเน่ือง เชือ่ มโยงสมั พันธก์ ันในกลมุ่ รายวิชาทีม่ ีความต่อเนื่องกัน การเปิดรายวิชาของหลักสูตรมีการวางแผนให้เปิดตามลาดับของรายวิชา ที่ต้อง เรียนตามลาดับก่อนหลัง และให้ความสาคัญกับการเปิดรายวิชาทฤษฎีควบคู่กับรายวิชา ปฏิบัติ ซึ่งถือเป็นจุดเน้นของหลักสูตร รวมถึงการเปิดรายวิชาเป็นไปตามข้อกาหนดของ หลักสตู รเพื่อใหน้ กั ศึกษาสาเรจ็ การศึกษาได้ทันตามเวลาที่กาหนดในหลกั สูตร นอกจากนี้หลักสูตรยังได้ดาเนินการปรับแผนการเรียนของนักศึกษาให้มีค วาม เหมาะสมกบั นกั ศกึ ษาแต่ละร่นุ และมีการเปดิ รายวิชาให้นกั ศกึ ษาเลือกได้อยา่ งอิสระ 3. มีการประเมิน 3. การประเมินกระบวนการ กระบวนการ มีการรวบรวมข้อมูลจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ซึ่งในการพัฒนาหลักสูตรปี 2560 น้ัน กรรมการบริหารหลักสูตรได้นาข้อมูลจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมาวิเคราะห์เพื่อให้เห็นความ ต้องการการใช้บัณฑิตได้ครอบคลมุ และนามาพัฒนาหลักสูตรปี 2560 นอกเหนือจากน้ันแล้ว ในการออกแบบหลักสูตรและสาระรายวิชาในหลักสูตรและ การปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าในศาสตร์สาขาวิชาน้ันๆ จากการเก็บ ข้อมูลจากการสัมภาษณ์บัณฑิต ผู้ใช้บัณฑิต วิเคราะห์สถานการและแนวโน้มในศาสตร์ด้าน เทคโนโลยี การปรับปรุงหลักสตู รให้ทนั สมัยตามความก้าวหนา้ ในศาสตรส์ าขาวิชาน้นั ๆ เป้าหมายเชิงปรมิ าณ : ทุกรายวิชาทเ่ี ปิดสอนมีความทนั สมยั เปา้ หมายเชิงคุณภาพ : รายวชิ าที่เปดิ สอนมีความทนั สมัยตามศาสตรข์ องสาขาเทคโนโลยีมัลตมิ เี ดีย เกณฑ์การประเมิน ผลการดาเนนิ งาน 1. มีระบบและกลไกในการปรับปรุง 1.ระบบและกลไก หลักสูตรให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าใน หลักสตู รเทคโนโลยีมัลติมีเดยี มีการจัดทาหลกั สตู รใหม่ให้ ศาสตร์สาขาวชิ านัน้ ๆ ทันสมยั มคี วามกา้ วหนา้ ในศาสตร์ โดยมีขั้นตอน ดงั นี้ 1. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรประชุมวิเคราะห์ หลักสูตรเทคโนโลยีมัลติมีเดียจากแหล่งสถานศึกษาต่าง ๆ และนาผลการสารวจความคิดเห็นจากผูใ้ ช้บัณฑิต ความคิดเห็น ของผู้ประกอบการและผ้นู าชุมชนความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
44 มาใช้ประกอบการพิจารณา เพ่ือตัด หรือเพิ่มรายวิชา และ ปรับ-เพิ่ม-ลดเนื้อหาของรายวิชาต่าง ๆ รวมถึงปรับจานวน ชว่ั โมงทฤษฎี และปฏิบตั ิที่เหมาะสม 2. นาข้อมูลจากความต้องการของผู้ใช้บัณ ฑิ ต ตลาดแรงงาน การวิเคราะห์แผนพัฒนาเศรษฐกิจแห่งชาติ ทิศทางความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ความต้องการศึกษาของ นักเรียน แนวโน้มประชากร เพ่ือวิเคราะห์ทิศทางและแนวโน้ม ของหลักสูตร 3. คณะกรรมการท่ีรับผิดชอบยกร่างหลักสูตรใหม่ และจัดประชุมผู้ทรงคุณวุฒิ มีการนาข้อเสนอแนะไปปรับ หลักสตู ร และนาข้อเสนอผทู้ รงคณุ วฒุ ิพิจารณาเหน็ ชอบ 4. คณะกรรมการผรู้ บั ผดิ ชอบหลกั สตู รจดั ทาหลกั สูตร ตามแบบ มคอ.2 5. จั ด ก ารวิพ าก ษ์ ห ลั ก สู ต ร ด าเนิ น ก ารผ่ าน คณะกรรมการประจาคณะ สภาวิชาการ สภามหาวิทยาลัย และส่งหลกั สูตรให้ สกอ. รบั ทราบตามลาดับ ในระหว่างช่วงการใช้หลักสูตร สาขาวิชากาหนดให้ อาจารย์ผู้รับผดิ ชอบหลกั สูตรได้มีการทบทวนความทันสมัยของ รายวิชาที่จะเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษา เพ่ือให้รายวิชาที ความทนั สมัยต่อศาสตรด์ า้ นเทคโนโลยมี ลั ตมิ ีเดีย 2. มีการนาระบบและกลไกไปปฏิบัติ 2.การนาไปสกู่ ารปฏิบตั ิ ดาเนินการ หลักสูตรเทคโนโลยมี ัลตมิ เี ดียไดด้ าเนนิ การตามระบบและ กลไกในการจัดทาหลกั สูตรให้ทันสมัยตามความกา้ วหนา้ ด้าน เทคโนโลยีมลั ติมีเดยี โดยพิจารณาจากขอ้ มูลที่ไดจ้ ากการ วเิ คราะหค์ วามพงึ พอใจของผใู้ ชบ้ ณั ฑิต และคณุ ลักษณะบณั ฑิต ท่ตี อ้ งการ เพื่อนามาประชุมพิจารณาคณะกรรมการรา่ ง หลักสตู ร ประชมุ พิจารณารายวิชา เนื้อหารายวิชา ซึ่ง รายละเอียดต่างๆ ท่ีได้จากการพิจารณาหลักสูตรเดิม ความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยี ความพึงพอใจของผูใ้ ชบ้ ัณฑิต ความตอ้ งการบัณฑติ ของสถานประกอบการ ความต้องการ ศกึ ษาตอ่ ของนักเรียนระดบั ช้นั มธั ยมปลาย เพือ่ เป็นแนวทางใน การพัฒนาหลักสตู ร จนไดห้ ลักสตู ร พ.ศ.2560 และเปิดทาการ สอนในปกี ารศกึ ษา 2560 3. มีการประเมนิ กระบวนการ 3. การประเมินกระบวนการ จากการประเมินกระบวนการระบบและกลไก หลักสูตร เทคโนโลยีมัลติมีเดีย ได้ดาเนินการจัดทาหลักสูตร พ.ศ. 2560 ให้ทันสมัยตามความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยีโดยพิจารณา องค์ประกอบหลาย ๆ ส่วน และมเี น้ือหาหลกั สูตรครบถว้ นตาม
45 มคอ.1 สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ นอกจากนี้จากการทวบทวนตรวจสอบเน้ือหารายวิชาก่อน เปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษา ทาให้รายวิชาที่เปิดสอนมีการ เรียนการสอนท่ที ันสมยั ตอ่ สถานการปจั จุบนั สรปุ ผลการประเมนิ ตนเอง ตัวบง่ ชี้ เป้าหมาย ผลการดาเนินงาน การบรรลเุ ปา้ หมาย 3 คะแนน บรรลุ 5.1 3 คะแนน ไม่บรรลุ รายการหลักฐาน 5.1.1 มคอ. 2 หลกั สตู รเทคโนโลยีมลั ติมีเดีย หลกั สตู รใหม่ 2560 ตัวบ่งช้ีท่ี 5.2 การวางระบบผูส้ อนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน ผรู้ ับผดิ ชอบตัวบง่ ชี้ : ผศ.ดร.ศัลยพงศ์ วชิ ัยดษิ ฐ การเก็บขอ้ มูล : (ปกี ารศึกษา 2562 : 1 กรกฏาคม 2562 ถงึ วันที่ 30 มถิ นุ ายน 2563) การกาหนดผู้สอน เป้าหมายเชิงปริมาณ : ทุกรายวชิ าทเี่ ปิดสอนมีอาจารย์ผู้สอนท่มี ีคุณสมบตั ิเหมาะสม เป้าหมายเชิงคุณภาพ : อาจารย์ผู้สอนได้สอนในรายวิชาท่ีเหมาะสม ตามคุณวุฒิ ประสบการณ์ ความ เช่ยี วชาญ และความตอ้ งการทาผลงานทางวชิ าการ เกณฑ์การ ผลการดาเนินงาน ประเมิน 1. มีระบบและ 1.ระบบและกลไก ก ล ไก ใน ก าร สาขาวิชาเทคโนโลยมี ัลตมิ เี ดีย มีระบบและกลไก ในการพิจารณากาหนดผสู้ อน ดังน้ี กาหนดผสู้ อน 1. สาขาวชิ าส่งแผนการเรยี นให้สานกั สง่ เสริมวิชาการและงานทะเบยี น 2. สานกั ส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน ส่งขอ้ มูลรายวชิ าท่ีต้องเปิดสอนมาให้สาขา ทาการกาหนดผู้สอน 3. สาขาทาการตรวจสอบความครบถว้ นของรายวชิ าทจี่ ะเปดิ สอน 4. สาขาประชมุ เพ่ือพิจารณาอาจารย์ผู้สอน โดยพิจารณาจากความรู้ ความเช่ียวชาญ ประสบการณ์ในการวิจัย ผลงานทางวิชาการ และแผนการพัฒนาตนเองในการเข้าสู่ ตาแหนง่ ทางวิชาการของอาจารยแ์ ต่ละทา่ น 5. ในกรณีท่ีมีความจาเป็น เช่นอาจารย์ในหลักสูตรมีภาระงานสอนมากหรือไม่มี ผู้เชี่ยวชาญในรายวิชาใด ๆ ท่ีจะเปิดสอน หลักสูตรจะมีการเชิญผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก ท้ัง จากภายนอกหลักสูตร หรือภายนอกมหาวิทยาลัย มาเป็นอาจารย์พิเศษ โดยพิจารณาจาก คณุ วุฒิ ความเชย่ี วชาญทต่ี รงกับรายวิชานัน้ ๆ 6. จากน้ันทาการส่งข้อมูลการจัดผู้สอนต่อคณะ และ สานักส่งเสริมวิชาการเพื่อ ดาเนินการตอ่ ไป
46 ทั้งนี้หลักสูตรได้กาหนดให้อาจารย์ 1 ท่าน สอนได้ไม่เกิน 3 รายวิชาต่อภาค การศึกษา เพื่อให้นักศึกษาได้เจอผู้สอนที่หลากหลาย และในหน่ึงปีการศึกษากาหนดให้ อาจารย์สอนไมน่ ้อยกว่า 2 รายวชิ าตามเกณฑ์ สกอ. กาหนด 2 . มี ก า ร น า 2.การนาไปสกู่ ารปฏิบตั ิ ระบบและกลไก ในปีการศึกษา 2562 ท้งั ภาคเรยี นท่ี 1 และ ภาคเรียนที่ 2 น้ัน หลกั สูตรไดด้ าเนนิ การ ไ ป ป ฏิ บั ติ พจิ ารณาผู้สอนตามรายวชิ าที่ถกู จัดส่งมาจากสานักสง่ เสริมวชิ าการและงานทะเบยี น โดยได้ ดาเนนิ การ ประชมุ เพ่ือปรกึ ษาหาผสู้ อนที่มีความเหมาะสมในการสอนในแตร่ ายวิชา มีความเช่ยี วชาญ ในศาสตรท์ ีเ่ ก่ียวข้องวชิ าที่ทาการสอน และในรายวชิ าทอี่ าจารยต์ ้องการทาผลงานวชิ าการ ซึง่ ในทงั้ สองภาคเรยี น มผี ู้สอนเพียงพอ และไม่มกี ารเชิญอาจารยพ์ ิเศษ โดยไดป้ ระชมุ เพือ่ กาหนดผสู้ อนภาคเรียนท่ี 1/2562 และ 2/2562 ในการประชุมครัง้ ท่ี 2/2561 เมือ่ วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2561 3. มีการประเมิน 3. การประเมนิ กระบวนการ กระบวนการ ในการจัดรายวิชาสอนในแต่ละภาคการศึกษา หลักสูตรมีการประเมินความเหมาะสม ของรายวิชาสอน โดยพิจารณาจากรายวิชาในแต่ละชั้นปีที่จัดส่งมาจากสานักส่งเสริม วิชาการฯ โดยทบทวนลาดับการเรียนรายวิชาก่อนหลัง เพื่อให้เหมาะต่อการเรียนรายวิชา ที่ต่อเนื่องของนักศึกษา และจัดจานวนรายวิชาแก่อาจารย์ผู้สอนให้ตามโหลดภาระงาน ความเชย่ี วชาญ ประสบการณ์ ความตอ้ งการทาผลงานวชิ าการ ซึ่งในภาคเรียนท่ี 1/2562 และ ภาคเรียนท่ี 2/2562 พบวา่ รายวชิ าในแตล่ ะภาค การศกึ ษาที่ถูกจดั ส่งมาจากสานักสง่ เสรมิ วิชาการฯ มีลาดบั การเรียนทเ่ี หมาะสมแล้ว จงึ ไมม่ ี การปรบั เปลี่ยนแต่อย่างใด 4 . มี ก า ร 4.การปรับปรุง/พฒั นากระบวนการจากผลการประเมิน ปรับปรุงพัฒนา ในปีการศึกษา 2562 อาจารย์ผู้สอนในรายวิชามีคุณสมบัติท่ีเหมาะสมตามความ ก ระบ วน ก าร เชี่ยวชาญ มีประสบการณ์ในรายวิชาที่สอน และสอนในรายวิชาท่ีตรงกับความต้องการทา จ า ก ผ ล ก า ร ผลงานทางวิชาการ ทาให้นักศึกษาได้รับความรู้อย่างเต็มท่ีจากอาจารย์ผู้สอน นอกจากนี้ ประเมนิ อาจารย์ท่ีปรึกษายังทาการสอนในหมู่เรียนที่ปรึกษาของตน ทาให้ได้สังเกตพฤติกรรม และ ให้คาปรึกษาแกน่ กั ศกึ ษาได้อย่างใกล้ชิด การกากับ ติดตาม และตรวจสอบการจัดทาแผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจดั การเรียนการสอน เป้าหมายเชิงปรมิ าณ : เป้าหมายเชิงคุณภาพ : เกณฑ์การประเมิน ผลการดาเนนิ งาน 1. มีระบบและกลไกใน การกากับ 1.ระบบและกลไก ติ ดตาม และตรวจสอบการจัดท า หลักสตู รมกี ารกากับ ตดิ ตาม และตรวจสอบการจัดทา แผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) แผนการเรียนรู้ (มคอ.3 และ มคอ.4) และการจดั การเรยี นการ และการจัดการเรียนการสอน สอน ซ่ึงสอดคล้องกับข้นั ตอนของมหาวทิ ยาลยั ดังนี้ 1. คณะกรรมการสาขากากบั ติดตาม และตรวจสอบการ จัดทา มคอ. 3 และ มคอ.4 ของอาจารย์ผ้สู อนและกาหนดใหส้ ่ง ก่อนเปิดภาคการศึกษา 1 สปั ดาห์
47 2. กาหนดให้ผู้สอนจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ให้ สอดคล้องกับรายละเอียดของรายวิชาตามท่ีกาหนดไว้ใน มคอ.2 ทัง้ หวั ข้อเนือ้ หา วิธกี ารวดั ผลประเมนิ ผล เกณฑก์ ารประเมนิ ผล 3. กาหนดให้ผู้สอนทาการแจกแผนการจัดการเรียนรู้ ให้กับนักศึกษาได้รับทราบในคาบแรก โดยสามารถตรวจสอบได้ จากผลการประเมินของนักศกึ ษาพบวา่ อาจารย์ผู้สอนในหลักสูตร ทุกคน มกี ารแจกแนวการจัดการเรียนร้ใู หก้ ับนักศึกษาครบถ้วน 4. จากน้ันเมื่อสิ้นภาคการศึกษา มหาวิทยาลัยจัดทาการ ประเมินการเรียนการสอน และส่งผลการประเมินไปยังผู้สอน แล้วสาขาวิชานาผลการประเมินมาประชุมวิเคราะห์คุณภาพของ การสอน เพ่ือให้อาจารย์ผู้สอนได้พิจารณาว่าเห็นควรมีการ ปรับปรุงรายวิชาหรือไม่ อย่างไร และจะมีการปรับปรุง มคอ.3 อยา่ งไรในการสอนครั้งต่อไป และ/หรือเพ่ิมกิจกรรมเสริมหลักสูตร แกน่ กั ศกึ ษาตามสมควร โดยการทวนสอบผลสัมฤทธก์ิ ารเรียนรู้ 5. เมื่อสิ้นปีการศึกษา หลักสูตรทาการสรุปการจัดการ เรียนการสอนด้วย มคอ.7 เพื่อและวิเคราะห์ ปัญหา แผนการ พัฒนา แผนการปรับปรุง และรายงานต่อคณะ และมหาวิทยาลัย ตามลาดับ การจดั การเรยี นการสอนในรายวิชาต่าง ๆ ของหลกั สูตร รายวิชาทฤษฎี มีการควบคุมมาตรฐานการเรียนรู้ โดยอาจารย์ ผู้สอนมีการประชุมเพ่ือจัดกระบวนการเรียนการสอนให้เป็นใน ทิศทางเดียวกัน มีการจัดการเรียนการสอนในแนวเดียวกัน (มคอ. 3 ชุดเดียวกัน) มีการใช้ข้อสอบชุดเดียวกัน สอบในเวลาเดียวกัน และมกี ารตัดเกรดร่วมกนั 2. มีการนาระบบและกลไกไปปฏิบัติ 2.การนาไปสูก่ ารปฏบิ ตั ิ ดาเนินการ ในปีการศึกษา 2562 เมอ่ื กาหนดรายวิชาสอนแล้ว ผู้สอนได้ จัดทา มคอ.3 และ มคอ.4 ของรายวิชาผ่านระบบ MIS ของ มหาวิทยาลัย ซ่ึงระบบ มคอ.3/4 ได้กาหนดจุดเน้นหลักและรอง ตามแผนที่การเรียนรู้รายวิชาตามท่ีกาหนดไว้ใน มคอ.2 และ อาจารย์ผู้สอนกาหนดวิธีการวัดประเมินผลที่เหมาะสม ซ่ึงระบบ มคอ. 3/4 ได้กาหนดเวลาจดั ทา มคอ. ตามมหาวิทยาลยั กาหนด ประธานสาขามีหน้าท่ีควบคุมติดตามการจัดส่ง มคอ. 3/4 ผา่ นระบบ ทาให้ มคอ. 3 และ 4 ของรายวิชา ตรงกบั ที่กาหนดใน มคอ. 2 และทันต่อการใช้งานตามข้อกาหนดของเกณฑ์มาตรฐาน โดยมีกาหนดส่ง มคอ. 3/4 ในภาคการศึกษาที่ 1/2562 ภายใน วันที่ 19 กรกฎาคม 2562 และ ภาคเรียนท่ี 2/2562 ภายในวันท่ี 28 กุมภาพันธ์ 2563 กรณีที่มีผู้สอนท่ีไม่จัดทา มคอ.3 /4 ตาม รอบเวลา สานักส่งเสริมวิชาการ จัดทาการรายงานผลต่อ
48 มหาวทิ ยาลัย และมหาวิทยาลัยทาการลงโทษตามระเบียบ ซ่ึงในปี การศึกษา 2561 ผู้สอนที่ทาการเรียนการสอนของหลักสูตร เทคโนโลยีมัลติมเี ดยี ไดจ้ ัดทา มคอ. 3/4 ครบตามเวลาทุกคน เม่ือเปิดภาคการศึกษาในช่ัวโมงแรก ได้กากับให้ผู้สอนมี การแจกและทาความเข้าใจการเรียนรู้รายวิชานั้น ๆ แก่ผู้เรียน และดาเนินการสอน การวัดประเมินผลตามแผนการสอนท่ีได้ กาหนดไว้ใน มคอ. 3/4 เมื่อสิ้นภาคการศึกษาสาขาวิชาได้ทาการประชุมเพื่อ พิจารณาผลการศึกษาที่เกิดกับนักศึกษาในแต่ละรายวิชา และ หาทางปรับแก้เพื่อให้การเรียนการสอนในภาคเรียนถัดไปมี ประสทิ ธิภาพมากขน้ึ 3. มีการประเมินกระบวนการ 3. การประเมินกระบวนการ จ า ก ก า ร ป ร ะ เมิ น ก ร ะ บ ว น ก า ร พ บ ว่ า อ า จ าร ย์ ทุ ก ท่ าน ได้ ดาเนินการตามระบบและกลไก เน่ืองจากมหาวิทยาลัยมีนโยบาย การลงโทษ กรณอี าจารยผ์ ้สอนไมจ่ ัดทา มคอ.3 และ มคอ.4 จะไม่ อนุญาตใหส้ อน และมผี ลการพจิ ารณาการขน้ึ ขั้นเงนิ เดือน 4. มีการปรับปรุงพัฒนากระบวนการ 4.การปรบั ปรุง/พฒั นากระบวนการจากผลการประเมิน จากผลการประเมนิ เน่ืองจากการกากับ ติดตามการจัดทาแผนการสอน และการ จัดการเรียนสอน ในปีการศึกษา 2562 มีผลการดาเนินการตาม ระบบท่ีดีแล้ว ดังนั้นประธานสาขาจึงกาชับให้อาจารย์ผู้สอน ดาเนนิ การตามระบบนีใ้ นภาคการศกึ ษาถัด ๆ ไป สรุปผลการประเมินตนเอง ตัวบง่ ช้ี เป้าหมาย ผลการดาเนินงาน การบรรลเุ ปา้ หมาย 3 คะแนน บรรลุ 5.2 3 คะแนน ไม่บรรลุ รายการหลกั ฐาน 5.2.1 รายงานการประชุมท่เี กยี่ วข้อง 5.2.2 แบบสรุปการสง่ มคอ.3/4 ภาคเรียนท่ี 1/2562 และ 2/2562 5.2.3 ข้อมูลการเจ้งเตือนการสง่ มคอ. 3 และ มคอ. 4
49 ตวั บง่ ช้ที ่ี 5.3 การประเมนิ ผเู้ รียน ผู้รับผดิ ชอบตัวบง่ ช้ี : อ.ดร.ธัญนันทร์ สจั จะบริบรู ณ์ การเก็บข้อมูล : (ปีการศึกษา 2562 : 1 กรกฏาคม 2562 ถงึ วันท่ี 30 มถิ นุ ายน 2563) การประเมนิ ผลการเรียนรตู้ ามกรอบมาตรฐานคณุ วุฒริ ะดับอดุ มศกึ ษาแห่งชาติ เปา้ หมายเชิงปรมิ าณ : 1. ทุกรายวิชามกี ารประเมนิ ผลการเรยี นร้ตู ามกรอบมาตรฐานคุณวุฒริ ะดบั อุดมศึกษา แหง่ ชาติ 2. ทุกรายวชิ าใชว้ ธิ กี ารประเมินและเคร่ืองมือทีห่ ลากหลาย เปา้ หมายเชิงคณุ ภาพ : วิธีการประเมนิ เครื่องมือการประเมิน เกณฑก์ ารประเมินสอดคล้องและสะท้อนผล การเรยี นรู้ไดอ้ ย่างเหมาะสม เกณฑ์การประเมนิ ผลการดาเนินงาน 1. มีระบบและกลไกในการ 1.ระบบและกลไก ประเมนิ ผลการเรียนรู้ตาม หลกั สตู รเทคโนโลยมี ลั ตมิ ีเดีย มีขน้ั ตอนการประเมินผูเ้ รียน ดงั ตอ่ ไปน้ี กรอบมาตรฐานคณุ วุฒิ การประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวฒุ ิระดบั อุดมศึกษา ระดบั อดุ มศึกษาแห่งชาติ แหง่ ชาติ 1. เมื่อเปิดภาคการศึกษา นักศึกษาทาการลงทะเบียนตามรายวิชาท่ี กาหนดในแผนการเรียนท่เี ปดิ สอน 2. ในชวั่ โมงแรกของการเรยี น อาจารยผ์ ู้สอนทาการแจกแนวการสอน ตาม มคอ. 3/4 ของแต่ละรายวิชา 3. จากนั้นผู้สอน และผู้เรียน ทาความเข้าใจเกณฑ์การประเมินการ เรียนการสอน หรือทั้งผู้เรียนและผู้สอนร่วมกันปรับและกาหนดเกณฑ์ให้ เหมาะสม และต้องมีการชี้แจงเรื่องสัดส่วนและวิธีการเก็บคะแนน โดยจะมี ท้ังคะแนนเก็บที่ได้จากข้อสอบปรนัย อัตนัย การบ้าน รายงาน การนาเสนอ และการสังเกตพฤติกรรม เปน็ ต้น แลว้ เก็บหลักฐานเกณฑ์การให้คะแนนเพื่อ เป็นหลกั ฐานในการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในแต่ละรายวิชา 4. ผู้สอนดาเนินการจัดการเรียนรู้ และเม่ือครบกาหนดการ ประเมินผลตามเกณฑ์ ผู้สอนจะจัดทาการประเมินผลการสอนตามกรอบ TQF ตามที่เหมาะสมสอดคลอ้ งกับจุดเนน้ ของรายวชิ านั้น ๆ แล้วแจ้งผลต่อ ผู้เรียน พร้อมท้ังประเมินความเหมาะสมของการสอนและเครื่องมือในการ สอนและการประเมินผล และ/หรอื ปรบั แก้ให้เหมาะสมแกผ่ ู้เรียนแต่ละกลมุ่ 5. เมื่อสิ้นสุดภาคการศึกษา ผู้สอนทาการประเมินผลผู้เรียน ตามที่ กาหนดไว้ใน มคอ.3 และรายงานผล ต่อสาขาวิชา คณะ และมหาวิทยาลัย ตามลาดบั 6. ผเู้ รียนทาการประเมนิ ผ้สู อน และสรุปผลตามแบบ มคอ.5 หรือ มคอ.6 7. จากนั้นสาขาวิชาทาการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจาก คณะกรรมการทวนสอบ ซึ่งคณะกรรมการทวนสอบมีการตรวจสอบจาก มคอ.3 และมคอ.5 พร้อมทั้งเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลการเรียน โดย นาผลการประเมินท้ังจากผู้เรียนและผู้สอนมาประเมิน เพ่ือปรับแก้
50 กระบวนการเรียน การสอน และการวัดผลให้เหมาะสม และมีประสิทธิภาพ ในแตล่ ะรายวิชาท่จี ะเปดิ สอนในรอบปีถัดไป 2. มีการนาระบบและกลไก 2.การนาไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ ไปปฏบิ ตั ดิ าเนนิ การ ในปีการศึกษา 2562 หลักสูตรมีการนาระบบและกลไกไปสู่การ ปฏบิ ัติ/ดาเนินการ ซงึ่ มผี ลการดาเนินการ ดงั นี้ 1. เม่ือเปิดภาคการศึกษา คณะกรรมการบริหารหลักสูตรร่วมกัน วิเคราะห์ผลการเรียนรู้แต่ละรายวิชาตามกรอบมาตรฐานคุณ วุฒิ ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) ท่ีระบุไว้ใน มคอ.2 ของหลักสูตร และให้ ผู้สอนดาเนินการตามข้ันตอนการเรียนรู้ท่ีกาหนด และช้ีแจงแนวทางและ เกณฑ์การประเมินผลแก่ผู้เรยี น 2. ระหว่างภาคศึกษา ผู้สอนทาการประเมินผู้เรียนตามแนวทางท่ี กาหนดใน มคอ. 3 3. เม่ือสิ้นภาคการศึกษาผู้สอนทาการประเมินผลตามเกณฑ์ที่กาหนด และรายงานผลต่อผู้เรียน และผู้เรียนทาการประเมินผลผู้สอนผ่านระบบ MIS 4. ในปีการศึกษา 2562 ผู้สอนได้รายงานผลการจัดการเรียนการสอน ด้วยแบบ มคอ. 5 และ มคอ. 6 ภายในเวลาที่กาหนดตามเกณฑ์มาตรฐานฯ ผ่านระบบ MIS โดยภาคเรียนที่ 1/2562 มีกาหนดส่งไม่เกินวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2563 และภาคเรียนที่ 2/2562 ไม่เกินวันที่ 10 กรกฎาคม 2563 โดยมีหลกั สตู ร คณะ และสานกั สง่ เสรมิ วิชาการเปน็ ผูก้ ากับติดตาม 3. มกี ารประเมนิ กระบวนการ 3. การประเมนิ กระบวนการ ในปีการศึกษา 2562 พบว่ารายวิชาที่ทาการจัดการเรียนการสอนใน หลักสูตรเทคโนโลยีมัลติมีเดีย ได้มีการจัดส่ง มคอ. 5/6 ผ่านระบบ MIS ภายในวันที่กาหนดทุกวิชา และทุกรายวิชามีการประเมินผลการเรียนรู้ตาม กรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ ครบถ้วน และสอดคล้องตามกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) ซึ่งถือเป็นแนวปฏิบัติที่ดีสาหรับปี การศกึ ษาถัดไป 4. มีการปรับปรุงพัฒ นา 4.การปรบั ปรงุ /พัฒนากระบวนการจากผลการประเมิน กระบวนการจากผลการ ประธานสาขาวิชา ได้กาชับให้อาจารย์ผู้สอนดาเนินการประเมินผลการ ประเมนิ จัดการเรียนการสอน และจัดส่งรายงาน มคอ.5 ซ่ึงในปี 2562 นี้ยังไม่ได้ทา การตรวจสอบปญั หาท่ีระบุไว้ แตจ่ ะดาเนนิ การในปี 2563 เพื่อปรบั ปรงุ แกไ้ ข ปัญหาทพ่ี บต่อไปอย่างเข้มงวด
Search