138 อุปกรณ์เชื่อมต่อต่าง ๆ เช่นเว็บแคมคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อ่ืนที่เก่ียวข้องโดยองค์ประกอบของ ระบบ AR มีดงั นี้ 2.2.1 ตัว Marker (หรือMarkup) ซึ่งเป็นเคร่ืองหมายหรือสัญลักษณ์ หรือรูปภาพท่ี กำหนดไว้เป็นตัวเปรยี บเทยี บ กับสง่ิ ทเี่ กบ็ ไว้ในฐานขอ้ มลู (Marker Database) 2.2.2 กล้องวีดีโอ กล้องเว็บแคม กล้องโทรศัพท์มือถือ หรือตัวจับ Sensor อื่นๆ เพ่ือทำการการวิเคราะห์ภาพ (Image Analysis) และวิเคราะห์จาก marker ประเภทอื่น ๆ ท่ีกำหนด ไว้ โดยระบบจะทำการคำนวณค่าตำแหน่งเชิง 3 มิติ (Pose Estimation) ของ Marker เทียบกับ กล้อง 2.2.3 ส่วนแสดงผล อาจเป็นจอภาพคอมพิวเตอร์ หรือจอภาพโทรศัพท์มือถือ หรือ อ่นื ๆ 2.2.4 ซอฟต์แวร์หรือส่วนประมวลผลเพ่ือสร้างภาพหรือวัตถุแบบสามมิติ กระบวนการสร้างภาพสองมิติจากโมเดล 3 มิติ (3D Rendering) เปน็ การเพ่มิ ข้อมูลเขา้ ไปในภาพโดย ใช้คา่ ตำแหน่งเชิง 3 มิตทิ ่ีคำนวณได้จนไดภ้ าพหรอื ข้อมูลซอ้ นทับไปบนภาพจริง 2.3 ประเภทของ Augmented Reality (AR) Augmented Reality หรือ AR แบ่งเป็น 2 ประเภท ดงั น้ี 2.3.1 Marker-based AR เราคงเคยได้ยินและใช้งาน QR code ถือเป็นตัวอย่าง พ้ืนฐานของ Marker-based AR ส่วนบาร์โค้ดถือเป็น AR markers ในรูปแบบ ท่ีง่ายที่สุดท่ีพบเห็นได้ ท่วั ไป ส่วนรปู ภาพทม่ี สี ีสันและมีความหมายคือตัวอย่างของรปู แบบ Marker-based ท่ีซับชอ้ นมากขึ้น โดยหลักการทำงานคือเมื่อเราใช้มือถือสแกนรูปภาพท่ีมีลักษณะ เป็นรูปแบบ ดังเช่น บาร์โค้ด หรอ QR code ผ่านทางกล้อง ซอฟต์แวร์ จะจดจำภาพและใส่รปู ภาพดิจิตอลหรอภาพดิจิตอลเคลื่อนที่ลง บนหน้าจอ นอกจากน้ี Marker-based AR ยังรู้จักกันในชื่อ Recognition- based AR ซ่ึงหลักการ ทำงาน 2.3.2 Location-based AR แอพพลิเคชน่ั ด้าน AR ท่ใี ช้ กนั อย่างแพร่หลายมักจะใช้ วิธีการนี้ โดยที่หลักการทำงาน คือเมื่อเราใช้กล้องของสมาร์ทโฟนที่มีการติดตั้งแอพพลิเคชัน Location-based AR ไว้ ส่องไปในสถานท่ีหนึ่งๆ บนโลก GPS ซอฟต์แวร์ท่ีมอี ยู่ภายในสมาร์ทโฟนจะ จดจำได้ว่าสถานท่ี ดังกล่าวคือส่วนใดของโลก หลังจากนั้นแอพพลิเคช่ันจะส่งข้อมูล ดิจิตอลท่ี เกี่ยวข้องกับสถานท่ีดังกล่าว เข้าไปยังภาพสถานที่จริง ในขณะนั้น ซึ่งทั้งนี้ยังขึ้นอยู่กับทิศทางและ ตำแหน่งทบ่ี ันทึกได้ จากอุปกรณต์ รวจจบั เช่น accelerometer หรือ gyroscope 2.4 Augmented Reality หรือ AR มาใชใ้ นด้านการศกึ ษา ในยุคปัจจุบนั เทคโนโลยี AR ได้เรม่ิ เข้ามีบทบาทในดา้ นการศึกษามาช่วยเป็นส่ือการเรียนการ สอน ตัวอย่างที่เห็นเด่นชัดและเป็นรู้จักของคนส่วนใหญ่คือแอพพลิเคชัน Star Walk 2 ที่ใช้ใน iPhone หรือ iPad ซ่ึงเป็นแอพพลิเคลชันท่ีได้ผนวก AR เข้ากับเทคโนโลยี Global Positioning System หรือ GPS ทำให้ผู้ใช้สามารถใช้กล้องของสมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ตส่องขึ้นไปบนท้องฟ้ายาม ค่ำคืน แล้วสามารถเห็นกลุ่มดาวและช่ือของกลุ่มดาวต่างๆ ซ้อนกับภาพจริง ซ่ึงช่วยให้การเรียนรู้ชื่อ และตำแหนง่ ของกลุ่มดาวเปน็ ไปอย่างมีประสิทธภิ าพ
139 ภาพที่ 5.25 แอพพลิเคชนั Star Walk 2 ท่มี า: https://www.androidlista-th.com/item/android-apps/679182/ com-vitotechnology-starwalk2free/ ภาพที่ 5.26 แอพพลิเคชัน Quiver vision ทม่ี า: http://www.quivervision.com/ ปัจจุบันเทคโนโลยี Augmented Reality หรือ AR เป็นเทคโนโลยีสารสนเทศชนิดหนึ่งที่ สามารถนำมาประยุกต์ใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนในยุคปัจจุบันอย่างแพร่หลายและสะดวกสบายทำ ใหผ้ ้ใู ชเ้ หน็ ภาพเสมือนจรงิ ไดร้ อบ โดยไม่จำเป็นจะตอ้ งเดินทางไปสถานทจ่ี รงิ 3. คอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน (Computer-Assisted Instruction) คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเปน็ บทเรียนและกิจกรรมการเรยี นการสอนท่ีถูกจัดกระทำไว้อย่างเป็น ระบบและมีแบบแผน โดยใชค้ อมพิวเตอร์นำเสนอและจัดการ เพ่อื ให้ผู้เรยี นได้มีปฏิสัมพันธ์โดยตรงกับ บทเรียนนั้น ๆ ตามความสามารถของตนเอง ซึ่งเรยี กกันโดยทัว่ ไปว่าบทเรียน ซเี อไอ (CAI) ยอ่ มาจาก คำในภาษาอังกฤษว่า Computer-Assisted Instruction การจัดโปรแกรมการสอนโดยใช้ คอมพวิ เตอรช์ ่วยสอนในปจั จุบนั มักอยู่ในรปู ของส่อื ประสม (Multimedia) หมายถึงนำเสนอไดท้ ั้งภาพ ข้อความ เสียง ภาพเคลื่อนไหวฯลฯ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นสื่อการเรียนการสอนที่เหมาะกับ
140 การศึกษาด้วยตนเอง และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนสามารถโต้ตอบกับบทเรียนได้ตลอด ซึ่งจะมีข้อมูล ป้อนกลับเพื่อให้ผู้เรียนเรียนรู้บทเรียนได้อย่างถูกต้อง และเข้าใจในเนื้อหาวิชาของบทเรียนน้ัน ๆ ใน ยคุ ปัจจุบัน (ประมาณหลังปีคศ. 2000 เป็นต้นมา) เป็นยุคของบทเรียนคอมพวิ เตอรใ์ นลักษณะของส่ือ อเิ ล็กทรอนกิ ส์ทใ่ี ชง้ านบนอนิ เทอรเ์ นต็ (Internet Based) จะหมายถงึ คำดังตอ่ ไปนี้ e-Learning หมายถงึ การเรียนรู้ด้วยส่ืออิเล็กทรอนกิ ส์ e-Education หมายถงึ การศกึ ษาด้วยสือ่ อิเล็กทรอนกิ ส์ e-Training หมายถึง การฝกึ อบรมด้วยสือ่ อเิ ล็กทรอนิกส์ d-Learning หมายถึง การเรยี นรูท้ างไกลดว้ ยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ c-Learning หมายถงึ การเรยี นรรู้ ่วมกันด้วยสอ่ื อเิ ล็กทรอนิกส์ m-Learning ห ม าย ถึ ง ก ารเรีย น รู้ด้ วย ค อ ม พิ ว เต อ ร์แบ บ พ ก พ าห รือ โทรศัพท์มือถอื 3.1 ลักษณะคอมพวิ เตอรช์ ่วยสอน คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเป็นบทเรียนท่ีช่วยการเรียนการสอน และมโี ปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วย จัดบทเรียนใหเ้ ปน็ ระบบและเหมาะสมกับนกั เรียนแตล่ ะคน โดยมีลักษณะสำคญั ๆ ดังน้ี 3.1.1 เริม่ จากสิ่งท่รี ูไ้ ปสสู่ ง่ิ ที่ไมร่ ู้ จดั เน้ือหาเรยี งไปตามลำดบั จากง่ายไปสยู่ าก 3.1.2 การเพิ่มเน้ือหาให้กบั ผู้เรียนต้องคอ่ ย ๆ เพ่ิมทีละนอ้ ย และมีสาระใหม่ไม่มาก นกั นกั เรียนสามารถเรียนรูไ้ ดด้ ้วยตนเองอยา่ งเข้าใจ 3.1.3 แต่ละเน้ือหาต้องมีการแนะนำความรู้ใหม่เพียงอย่างเดียวไม่ให้ที่ละมาก ๆ จนทำใหผ้ ู้เรียนสบั สน 3.1.4 ในระหว่างเรียนต้องให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมกับบทเรียน เช่น มีคำถามมีการตอบ มที ำแบบฝึกหดั แบบทดสอบ ซง่ึ ทำให้ผเู้ รียนสนใจอยู่กบั การเรียนไมน่ ่าเบื่อหนา่ ย 3.1.5 การตอบคำถามท่ีผิด ต้องมีคำแนะนำหรือทบทวนบทเรียนเก่าอีกคร้ัง หรือมี การเฉลย ซ่ึงเป็นการเพิ่ม เนื้อหาไปด้วย ถ้าเป็นคำตอบท่ีถูกผู้เรียนได้รับคำชมเชย และได้เรียน บทเรยี นต่อไปทกี่ ้าวหน้าขึน้ 3.1.6 ในการเสนอบทเรียนต้องมีการสรุปท้ายบทเรียนแต่ละบทเรียนช่วยให้เกิด การวัดผลได้ดว้ ยตนเอง 3.1.7 ทุกบทเรียนต้องมีการกำหนดวัตถุประสงค์ไว้ให้ชัดเจนซ่ึงช่วยให้แบ่งเน้ือหา ตามลำดับได้ดี 3.2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ชว่ ยสอน คอมพิวเตอรช์ ่วยสอนท่ีนำมาใชใ้ นปัจจบุ ันมีอยู่มากมายหลายรูปแบบ นกั วิชาการและนักการ ศกึ ษา ทงั้ ในประเทศและต่างประเทศไดจ้ ัดแบง่ ประเภทตามลักษณะการใชด้ งั นี้ 3.2.1 คอมพิวเตอร์ใช้เพ่ือการสอน (Tutorial) เป็นโปรแกรมท่ีสร้างข้ึนในลักษณะ ของบทเรียนท่ีลอกเลียนแบบ การสอนของครู กล่าวคอื มีบทนำ มีคำบรรยาย ซึ่งประกอบด้วยทฤษฎี กฎเกณฑ์ แนวคิดที่สอนหลังจากท่ีนักเรียนได้ศึกษาแล้วก็มีคำถาม (Question) เพ่ือใช้ในการ ตรวจสอบความเข้าใจของ นักเรียน มีการป้อนกลับ ตลอดจนมีการเสริมแรงและสามารถให้นักเรียน ยอ้ นกลับไปเรียนบทเรียนเดิมได้ หรือข้ามบทเรียนท่ีได้เรียนรู้ แล้วได้นอกจากนี้ยังสามารถบันทึกการ เรยี นของนักเรยี นไว้ได้ เพื่อใหค้ รนู ำขอ้ มูลการเรียนของแต่ละคนกลบั ไปแกไ้ ขนักเรยี นบางคนได้
141 3.2.2 คอมพิวเตอร์ใช้เพื่อการฝึก (Drill and Practice) แบบฝึกส่วนใหญ่ใช้เพ่ือ เสริมทักษะเม่ือครูได้สอน บทเรียนบางอย่างไปแล้ว จุดมุ่งหมายเพื่อฝึกหัดกับคอมพิวเตอร์เพื่อวัด ระดับ หรือให้ฝึกจนถึงระดับที่ยอมรับได้ บทเรียนประเภทน้ี จึงประกอบด้วยคำถามและคำตอบ การ เตรียมคำถามต้องเตรียมไว้มาก ๆ ซ่ึงผู้เรียนควรได้สุ่มข้ึนมาฝึกเองได้ สิ่งสำคัญของการฝึกคือต้อง กระตุ้นให้นักเรียนอยากทำ และตื่นเต้นกับการทำแบบฝึกหัดนั้น ซ่ึงอาจมีภาพเคล่ือนไหว คำพูด โต้ตอบ มีการแข่งขัน เช่น จับเวลา หรือสร้างรูปแบบท่ีท้าทายความสามารถในการคิด และการ แกป้ ัญหา 3.2.3 คอมพิวเตอร์ใช้เพื่อสร้างสถานการณ์จำลอง (Simulation) โปรแกรม ประเภทนเี้ ป็นโปรแกรมท่ีใช้จำลองสถานการณ์ให้ใกล้เคียงกับสถานการณ์ในชีวิตจรงิ ของนักเรียนโดย มีเหตุการณ์สมมุติต่าง ๆ อยู่ในโปรแกรม และผู้เรียนสามารถท่ีจะเปลี่ยนแปลง หรือจัดกระทำได้ สามารถมีการโต้ตอบ และมีตัวแปร หรือทางเลือกหลาย ๆ ทาง การสร้างสถานการณ์จำลองข้ึน เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ เม่ือสถานการณ์จริงไม่สามารถทำได้ เช่น การเคล่ือนท่ีของลูกปืน การ เดินทาง ของแสงการหักเหของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า หรือการทำปฏิกิริยาทางเคมีท่ีอาจเกิดการระเบิดข้ึน หรือ การเจริญเติบโตนี้ใช้เวลานาน หลายวันการใช้คอมพิวเตอร์ สร้างสถานการณ์จำลองจึงมีความจำเป็น อย่างมาก 3.2.4 คอมพิวเตอร์ใช้เพ่ือเป็นเกมในการเรียนการสอน (Instructional Game) โปรแกรมประเภทน้ีนับเป็นแบบพิเศษของแบบจำลองสถานการณ์ โดยมีการแข่งขันเป็นหลัก ซ่ึง สามารถเล่นได้คนเดียวหรือหลายคน ก่อให้เกิดการแขง่ ขันและร่วมมือกัน ก่อให้เกิดการเรียนรู้ได้มาก โดยการเพมิ่ คณุ คา่ ทางการศกึ ษาจดุ มงุ่ หมาย เน้ือหา และกระบวนการทเี่ หมาะสม 3.2.5 คอมพิวเตอร์ใชเ้ พ่ือการทดสอบ (Test) เป็นโปรแกรมท่ีใช้รวมแบบทดสอบไว้ และสมุ่ ขอ้ สอบตามจำนวนที่ตอ้ งการ โดยที่ขอ้ สอบเหลา่ นนั้ ผ่านการสร้างมาอยา่ งดีมีความเชือ่ ถือได้ ในการวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนโปรแกรมมีการตรวจข้อสอบให้คะแนนวิเคราะห์และประเมินผลให้ ผู้สอบได้ทราบทันที นอกจากนั้นยังนำคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมาใช้ในลักษณะอ่ืน ๆ เช่น การนำเสนอ ประกอบการสอน การใชเ้ พอื่ ฝกึ แกป้ ญั หาการสาธิต เปน็ ตน้ ภาพท่ี 5.27 แสดงตวั อย่างบทเรียนคอมพิวเตอรช์ ่วยสอน
142 4. ระบบการเรียนการสอนทางไกล (Distance Learning) การเรียนการสอนทางไกล หมายถึง การเรียนการสอนท่ีผู้เรียนและผู้สอนอยู่ไกลกัน ใช้ วิธีการถ่ายทอดเนื้อหาสาระ และประสบการณ์โดยอาศัยส่ือประสมในหลายรูปแบบ ได้แก่ สื่อที่เป็น หนังสือ สื่อทางไปรษณีย์ ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ วิทยุกระจายเสียง โทรทัศน์ การประชุมทางไกล ด้วยภาพและเสียง (Video Conference) อินเทอร์เน็ต เป็นต้น ช่วยให้ผู้เรียนท่ีอยู่ต่างถิ่นต่างที่กัน สามารถศึกษาความรู้ได้ 4.1 องคป์ ระกอบของระบบการเรยี นการสอนทางไกล องค์ประกอบที่สำคญั ของระบบการเรียนการสอนทางไกล มีดังน้ี 4.1.2 ผู้เรียนเน้นผเู้ รียนเป็นศนู ย์กลางที่มีอิสระในการกำหนด เวลา สถานท่ี และวิธี เรียน โดยผู้เรียนสามารถเรียนรู้จากแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้ได้หลายรูปแบบ เช่น จากการสอนสด โดยผา่ นการสอ่ื สารทางไกลและเรยี นผา่ นระบบสารสนเทศทางอินเทอร์เน็ต เปน็ ต้น 4.1.3 ผู้สอนเน้นการสอนโดยใช้การส่ือสารทางไกลแบบ 2 ทาง และอาศัยสื่อ หลากหลายชนิดซง่ึ ชว่ ยใหผ้ เู้ รียนได้ดว้ ยตนเองหรือเรยี นเสริมภายหลังได้ 4.1.4 ระบบบริหารและการจัดการ จัดโครงสร้างอื่น ๆ เพื่อเสริมการสอน เช่น การ จัดศูนย์วิทยุบริการ จัดระบบอาจารย์ที่ปรึกษาระบบการผลิตสื่อ และจัดส่งสื่อให้ผู้เรียนโดยตรง เป็น ตน้ 4.1.5 การควบคุมคุณภาพ จัดทำอย่างเป็นระบบและดำเนินการต่อเนื่องสม่ำเสมอ โดยเน้นการควบคุมคุณภาพในด้านขององค์ประกอบของการสอน เช่น ขั้นตอนการวางแผนงาน ละเอียด กระบวนการเรียนการสอน วธิ ีการประเมนิ ผลและการปรบั ปรงุ กระบวนการ เปน็ ตน้ 4.1.6 การติดต่อระหว่างผู้เรียน ผู้สอน และสถาบันการศึกษาเป็นการติดต่อแบบ 2 ทาง โดยใชโ้ ทรทัศน์ โทรสาร ไปรษณยี ์อีเลก็ ทรอนกิ ส์ เปน็ ต้น 4.2 กระบวนการเรยี นการสอน 4.2.1 การเรียน - การสอน การเรียนทางไกลอาศัยครูและอุปกรณ์การสอน สามารถใช้สอนนักเรียนได้มากกว่า 1 ห้องเรียน และได้หลายสถานท่ีซ่ึงจะเหมาะกับวิชาที่นักเรียน หลาย ๆ แห่งต้องเรยี นเหมือน ๆ กัน เช่น วิชาพนื้ ฐานซึ่งจะทำให้ไมต่ ้องจา้ งครูและซ้ืออุปกรณ์สำหรับ การสอนในวิชาเดียวกันของแต่ละแห่ง การสอนนักเรียนจำนวนมาก ๆ ในหลายสถานท่ีครูสามารถ เลือกให้นักเรียนถามคำถามได้ เนื่องจากมีอุปกรณ์ช่วยในการโต้ตอบ เช่น ไมโครโฟน กล้องวีดีทัศน์ และ จอภาพเปน็ ต้น 4.2.2 การถาม – ตอบ ขั้นตอนที่สำคัญอย่างหนึ่ง คือการใช้คำถามเพ่ือให้เกิดการ โต้ตอบหรือมีปฏิสัมพันธ์ ส่ือท่ีใช้อาจเป็นโทรศัพท์ หรือกล้องวิดีทัศน์ในระบบการสอนทางไกลแบบ วดี โิ อคอนเฟอเรนซ์ หรือโทรสาร หรือไปรษณยี ์อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ซงึ่ เป็นการถามตอบภายหลัง 4.2.3 การประเมินผล รูปแบบการประเมินผลการเรียนการสอนทางไกลน้ันผู้เรียน สามารถส่งการบ้าน และทำแบบทดสอบโดยใช้ไปรษณยี ์อเิ ล็กทรอนิกส์ หรืออาจเป็นรปู แบบการ ประเมินผลในห้องเรียนปกติ (ในห้องสอบทีจ่ ัดไว)้ เพ่ือผสมผสานกันไปกบั การเรยี นทางไกล
143 ภาพที่ 5.28 การเรยี นการสอนทางไกลผา่ นดาวเทยี ม DLTV ทม่ี า: https://www.dltv.ac.th/teachplan/episode/26857 ดังน้ันการนำเอาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการสอนทางไกลจะประสบผลมากหรือน้อย ข้ึนอยู่กับว่าผู้นำมาใช้เข้าใจแนวคิดหลักการตลอดจนมีการวางแผนและเตรียมการไว้เป็นอย่างดี โดย คำนึงถึงการสร้างปฎิสัมพันธ์ระหว่างครูกับนักเรียนให้มากจะทำให้การเรียนการสอนน่า สนใจย่ิงขึ้น การใช้ส่ือและอุปกรณ์การสอ่ื สารอย่างหลากหลายทำให้เกิดสภาวะยึดหยุ่นของการจัด ซงึ่ หมาะสมกับ สภาวะการณ์ในปัจจุบันโดยท้ังหมดทำให้บรรลุเป้าหมายที่สำคัญคือความสามารถในการกระจาย โอกาสทางการศึกษา และยกระดบั คณุ ภาพของการศึกษา จงึ กลายเป็นทางลดั ที่เอื้อต่อการเรียนหลาย ประเภทและไปส่กู ารพัฒนาคุณภาพการศึกษา 5. M-Learning Mobile (Devices) ห ม ายถึ ง อุ ป ก รณ์ ก ารสื่ อส ารแบ บ พ กพ าห รือ เค ล่ื อน ท่ี เช่ น โทรศัพทม์ อื ถอื และเคร่ืองเล่น หรอื แสดงภาพท่ีพกพาติดตัวไปได้ Learning หมายถึงการเรียนรู้ เป็นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมอนั เน่ืองมาจากบุคคลปะทะกับ สิ่งแวดล้อมจึงเกิดประสบการณ์ การเรียนรู้เกิดข้ึนได้เมื่อมีการแสวงหาความรู้ การพัฒนาความรู้ ความสามารถของบุคคลให้มีประสทิ ธิภาพดีข้ึน รวมไปถึงกระบวนการสร้างความเขา้ ใจ และถ่ายทอด ประสบการณ์ทเ่ี ปน็ ประโยชน์ต่อบุคคล M-Learning (mobile learning) หมายถึง การจัดการเรียนการสอนหรือบทเรียนสำเร็จรูป (Instruction Package) ท่ีนำเสนอเน้ือหาและกิจกรรมการเรียนการสอนผ่านเทคโนโลยีไร้สาย (wireless telecommunication network) และเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ต ผู้เรยี นสามารถเรียนได้ทุกที่ และทุกเวลา โดยไม่ต้องเชื่อมต่อโดยใช้สายสัญญาณ ผู้เรียนและผู้สอนใช้เครื่องมือสำคัญ คือ อุปกรณ์ประเภทเคลื่อนที่ได้โดยสะดวกและสามารถเชื่อมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์โดยไม่ต้องใช้ สายสัญญาณแบบเวลาจริง ได้แก่ Notebook Computer, Portable computer, Tablet PC, Cell Phones ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนซึ่งสามารถจัดเป็นประเภทของอุปกรณ์ คอมพวิ เตอรแ์ บบพกพาได้ 3 กลุม่ ใหญ่ หรือจะเรียกว่า 3Ps
144 1. PDAs (Personal Digital Assistant) คือคอมพิวเตอร์แบบพกพาขนาดเล็กหรือขนาด ประมาณฝ่ามือ ที่รจู้ ักกันท่ัวไปได้แก่ Pocket PC กับ Palm เครื่องมือส่ือสารในกลุ่มน้ียงั รวมถึง PDA Phone ซ่งึ เปน็ เคร่ือง PDA ที่มีโทรศพั ทใ์ นตวั สามารถใชง้ านการควบคุมดว้ ย Stylus เหมือนกับ PDA ทุกประการ นอกจากนี้ยังหมายรวมถึงเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กอ่ืนๆ เช่น lap top, Note book และ Tablet PC อีกด้วย 2. Smart Phones คือโทรศัพท์มือถือ ท่ีบรรจุเอาหน้าที่ของ PDA เข้าไปด้วยเพียงแต่ไม่มี Stylus แต่สามารถลงโปรแกรมเพิ่มเติมเหมือนกับ PDA และ PDA phone ได้ ข้อดีของอุปกรณ์กลุ่ม นี้คือมีขนาดเล็กพกพาสะดวกประหยัดไฟ และราคาไม่แพงมากนัก คำว่าโทรศัพท์มือถือ ตรงกับ ภาษาอังกฤษ ว่า hand phone ซึ่งใช้คำนี้แพร่หลายใน Asia Pacific ส่วนในอเมริกา นิยมเรียกว่า Cell Phone ซึง่ ยอ่ มาจาก Cellular telephone ส่วนประเทศอื่นๆ นยิ มเรียกว่า Mobile Phone 3. iPod, เคร่ืองเล่น MP3 จากค่ายอื่นๆ และเครื่องท่ีมีลักษณะการทำงานท่ีคล้ายกัน คือ เคร่ืองเสียงแบบพกพก iPod คือช่ือรุ่นของสินค้าหมวดหนึ่งของบริษัท Apple Computer, Inc ผู้ผลิตเคร่ืองคอมพิวเตอร์แมคอินทอช iPod และเคร่ืองเล่น MP3 นับเป็นเครื่องเสียงแบบพกพาที่ สามารถรับข้อมูลจากคอมพิวเตอร์ด้วยการต่อสาย USB หรือ รับด้วยสัญญาณ Blue tooth สำหรับ ร่นุ ใหม่ๆ มีฮารด์ ดิสก์จุได้ถึง 60 GB. และมีชอ่ ง Video out และมีเกมส์ให้เลือกเล่นได้อกี ด้วย (พูลศรี เวศยอ์ ฬุ าร, 2553) ภาพที่ 5.18 แสดงภาพ อุปกรณ์การส่ือสารแบบเคลือ่ นที่ ภาพที่ 5.29 แสดงภาพพัฒนาการอุปกรณ์การสอ่ื สาร ทีม่ า: http://www.dashe.com/blog/mobile-learning สำหรับพัฒนาการของ m-Learning เป็นพัฒนาการนวัตกรรมการเรียนการสอนมาจาก นวัตกรรมการเรียนการสอนทางไกล หรือ d-Learning (Distance Learning) และการจัดการเรียน การสอนแบบ e-Learning (Electronic Learning) ดังภาพประกอบต่อไปน้ี
145 ภาพที่ 5.30 แสดงภาพพฒั นาการของ M-Learning ทีม่ า: http://ecet.ecs.ru.acad.bg/cst04/Docs/sIV/428.pdf เพื่อให้เกิดความเข้าใจท่ีดีขึ้นต่อเอ็มเลิร์นนิ่ง จึงขอเสนอแบบจำลองการเรียนรู้ของเอ็มเลิร์นนิ่งดัง ภาพประกอบต่อไปนี้ ภาพที่ 5.31 แสดงภาพพฒั นาการของ M-Learning ทม่ี า: http://thaimlearning.blogspot.com/2007/02/mobile-learning-mlearning.html จากแบบจำลองกระบวนการเรียนรู้ของเอ็มเลิร์นน่ิงในรูปที่ 1 น้ันแสดงให้เห็นกระบวนการ เรยี นรขู้ องเอม็ เลริ น์ น่งิ ซ่งึ ประกอบด้วย 5 ขัน้ ตอน คอื ข้ันท่ี 1 ผเู้ รยี นมคี วามพรอ้ ม และเครือ่ งมอื ขัน้ ท่ี 2 เช่อื มต่อเขา้ สู่เครอื ขา่ ย และพบเน้ือหาการเรยี นทตี่ อ้ งการ ข้นั ที่ 3 หากพบเนื้อหาจะไปยงั ขนั้ ที่ 4 แตถ่ า้ ไม่พบจะกลับเข้าสู่ขน้ั ท่ี 2
146 ข้ันท่ี 4 ดำเนินการเรียนรู้ ซึ่งไม่จำเป็นที่จะต้องอยใู่ นเครือข่าย ขัน้ ที่ 5 ไดผ้ ลการเรยี นรู้ตามวัตถปุ ระสงค์ จากคำอธิบายดังกล่าวข้างต้นจะเห็นได้ว่า เอ็มเลิร์นนิ่งนั้นเกิดขึ้นไดโ้ ดยไรข้ ้อจำกัด ดา้ นเวลา และสถานท่ี ที่สำคัญขอเพียงแต่ผู้เรียนมีความพร้อมและเคร่ืองมือ อีกทั้งเครือข่ายมีเน้ือหาที่ต้องการ จึงจะเกิดการเรียนรู้ขน้ึ แล้วจะไดผ้ ลการเรยี นรูท้ ี่ปรารถนา หากขาดเนอ้ื หาในการเรียนรู้ กระบวนการ ดังกล่าวจะกลายเป็นเพียงการสื่อสาร กับเครือข่ายไร้สายนน่ั เอง จึงอาจจะเป็นพันธกิจใหม่ของนักการ ศึกษา นักวิชาการ โดยเฉพาะอย่างย่ิงผู้ท่ีเก่ียวข้องในด้านการผลิตบทเรียนสำหรับเอ็มเลิร์นน่ิงที่ควร จะเร่งดำเนินการออกแบบ พัฒนา ผลิต และกระจายส่ือท่ีมีประสิทธิภาพสำหรับการเรียนด้วยเอ็ม เลิรน์ นิง่ (พลู ศรี เวศย์อฬุ าร, 2553) สรปุ เทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึง การนำเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการข้อมูลอย่างเป็นระบบ และประมวลผลข้อมูลเพื่อให้เป็นสารสนเทศ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน ได้อย่างรวดเร็ว ถู ก ต้ อ ง ต ร งต า ม ค ว า ม ต้ อ งก า ร ข อ งผู้ ใช้ ค ว า ม ส ำ คั ญ ข อ งเท ค โ น โล ยี ส า ร ส น เท ศ ท า งก า ร ศึ ก ษ า 1. เทคโนโลยีทำให้มนุษย์มีการเปล่ียนแปลงสภาพความเป็นอยู่วิถีชีวิตและการประกอบอาชีพ 2. เทคโนโลยีทำให้มีการเปล่ียนแปลงทางด้านวิชาการ ในวิธีการเรียนการสอน การบริหารและการ จัดการ 3. เทคโนโลยีทำให้มีการเปล่ียนแปลงสถานการณ์ของการเรียนรู้การจัดประสบการณ์ในการ เรียนการสอน 4. เทคโนโลยสี ารสนเทศทำใหผ้ เู้ รียนผสู้ อนปรับพฤตกิ รรมการเรียนรู้ องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ คือส่วนต่าง ๆ ที่ทำให้ระบบสารสนเทศทำงานบรรลุ เป้าหมายที่วางไว้ 1.บุคคลากร (People) 2.ระเบียบปฏิบัติงาน (Procedure) 3. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) 4. ซอฟต์แวร์ (Software) 5. ขอ้ มูล (Data) 6. เครือข่าย (Network) การประยกุ ต์ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศเพือ่ การส่ือสารการศกึ ษา 1. อินเทอร์เน็ตมีประโยชน์ต่อการศึกษามากทำให้มหาวิทยาลัยต่างๆ ต่ืนตัวต่อการใช้ ทั้งนี้ เพราะว่าในระบบเครือข่ายมีข้อมูลข่าวสารท่ีต้องการมากมาย จึงมีอัตราการขยายตัวของผู้ใช้สูงและ ครอบคลุมทุกแห่งท่ัวโลก จึงทำให้คนส่วนใหญ่ใช้อินเทอร์เน็ตดังนี้ 1. การสื่อสาร 2. การเลือกซื้อ สนิ คา้ 3. การค้นหา 4. ความบันเทิง 5. การศึกษาหรือการเรยี นผา่ นสอื่ อิเลก็ ทรอนกิ ส์ การประยุกตใ์ ช้ เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเรียนการสอนด้วยระบบการจัดการเรียนการสอนแบบLMS (Learning Management System) และ CMS (Content Management System) 1.1 Moodle 1.2 Mooc 2. เทคโนโลยี Augmented Reality หรือ AR 3. คอมพิวเตอร์ช่วยสอน 4.ระบบการเรียนการสอน ทางไกล 5. M-Learning การศึกษาเร่ิมเปล่ียนแปลงไปอันเน่ืองมาจากอิทธิพลของสภาพแวดล้อมของเทคโนโลยี สารสนเทศ ซ่ึงอาศัยสื่อท่ีทันสมัยโดยเฉพาะเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้เกิดการไหลเวียนของข้อมูล ข่าวสารในเวลาอันส้ัน การศึกษาหาข้อมูลและการเรียนรู้ส่ิงต่าง ๆ เพียงแต่ปลายน้ิวสัมผัส โดยอาศัย
147 เครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Internet) ผู้คนสามารถติดต่อสัมพันธ์กันผ่านจอคอมพิวเตอร์มากย่ิงข้ึน การ เรียนรู้ในยุคเทคโนโลยสี ารสนเทศไม่ได้จำกัดอยเู่ ฉพาะห้องเรยี นและครู การเรยี นการสอนแบบด้งั เดิม จะลดน้อยลง ความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนและผู้สอนเปลี่ยนไป เกิดเป็นกระบวนการเรียนรู้แบบใหม่ จึงมีความจำเป็นอย่างเรง่ ด่วนท่ีทุกฝ่ายจะต้องช่วยกันพัฒนาองค์ความรูใ้ หม่จากองค์ความรู้เดิมทมี่ ีอยู่ เพ่อื ก่อใหเ้ กิดประโยชน์มากท่สี ุด แบบฝกึ หดั ท้ายบท 1. เทคโนโลยสี ารสนเทศหมายถึงอะไร 2. องค์ประกอบของระบบสารสนเทศประกอบไปด้วยอะไรบ้างพร้อมอธิบาย 3. นักศึกษาได้ใช้อนิ เทอรเ์ นต็ กับชีวิตประจำวันดา้ นใดบา้ งและใชป้ ระโยชนท์ างด้านใด 4. ระบบ LMS กับระบบ CMS มคี วามแตกต่างกนั อย่างไร 5. จงยกตวั อยา่ งรปู แบบการเรยี นการสอนออนไลน์ ในรูปแบบ MOOC มา 2 รปู แบบพร้อมอธิบาย 6. เทคโนโลยี Augmented Reality กบั M-Learning มาชว่ ยการเรยี นการสอนอย่างไรบ้าง 7. คอมพิวเตอรช์ ่วยสอนมีกี่ประเภทอะไรบา้ งพร้อมอธบิ าย 8. ดว้ ยสถานการณ์โรคระบาดท่ที ำใหผ้ ูเ้ รียนกับผูส้ อนไม่สามารถมาเรียนมาสอนในห้องเรียนได้ นกั ศึกษาคิดวา่ การเรยี นการสอนออนไลนน์ น้ั มีความสำคัญหรอื ไม่ อยา่ งไรจงอธบิ ายมาพอสังเขป 9. จงยกตัวอย่างรปู แบบการเรยี นการสอนทางไกลท่ีนกั ศกึ ษาเคยไดเ้ รียนหรือรูจ้ ักมา 1 ตวั อยา่ งพร้อม ท้งั อธบิ าย 10. หากนกั ศึกษาเป็นครู นักศกึ ษาจะจดั รูปแบบการเรียนการสอนออนไลน์อย่างไร
148 เอกสารอา้ งองิ กิดานนั ท์ มลทิ อง. (2540) เทคโนโลยีการศกึ ษาและนวัตกรรม. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ชวนชม. ชม ภมู ิภาค. (2535) เทคโนโลยที างการสอนและการศึกษา. กรุงเทพฯ: ประสานมติ ร ทกั ษิณา สวนานนนท์ และฐานิศรา เกยี รตบิ ารมี. (2546). พจนานุกรมศัพทค์ อมพิวเตอร์และ อนิ เทอรเ์ นต็ .พมิ พ์ครง้ั ท่ี 10. กรุงเทพฯ : ว.ี ทซี ี.คอมมิวนิเคชัน่ บทเรยี นออนไลน์ EdX. (2563). [ออนไลน์] ได้จาก: https://www.edx.org/ [สบื ค้นเมื่อ 1 มนี าคม 2563]. บทเรยี นออนไลน์ Coursera. (2563). [ออนไลน์] ได้จาก: https://www.coursera.org/ [สืบคน้ เมือ่ 1 มีนาคม 2563]. บทเรยี นออนไลน์ Khan Academy. (2563). [ออนไลน์] ได้จาก: https://www.khanacademy.org/ [สืบคน้ เม่อื 1 มนี าคม 2563]. บทเรยี นออนไลน์ Udemy. (2563). [ออนไลน์] ได้จาก: https://www.udemy.com/ [สบื ค้นเมอ่ื 1 มีนาคม 2563]. บทเรยี นออนไลน์ Canvas. (2562). [ออนไลน์] ได้จาก: https://www.canvas.net/ [สบื ค้นเมอ่ื 1 มีนาคม 2563]. บทเรยี นออนไลน์ FutureLearn. (2563). [ออนไลน์] ไดจ้ าก: https://www.futurelearn.com/ [สืบค้นเมอ่ื 1 มีนาคม 2563]. บทเรียนออนไลน์ Udacity. (2554-2562). [ออนไลน์] ไดจ้ าก: https://www.udacity.com/ [สบื คน้ เม่อื 1 มนี าคม 2563]. บทเรยี นออนไลน์ Open Education Europa. (2562). [ออนไลน์] ไดจ้ าก: https://ec.europa.eu/jrc/en/open-education/mooc [สืบค้นเมื่อ 1 มนี าคม 2563]. บทเรียนออนไลน์ The Open University. (2542-2020). [ออนไลน์] ไดจ้ าก: https://www.open.edu/openlearn/free-courses [สืบคน้ เมือ่ 1 มนี าคม 2563]. พจนานกุ รมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. [ออนไลน์] ได้จาก: http://rirs3.royin.go.th/newsearch/word-2-search.asp [สืบค้นเมือ่ 8 เมษายน 2559] พูลศรี เวศย์อุฬาร. (2553) . m-learning (เอม็ เลิรน์ น่งิ ) and u-learning (ยูเลริ น์ น่ิงบทความวชิ าการ
149 เพอ่ื สงั คมแหง่ การเรยี นรู้ ไดจ้ าก http://thaimlearning.blogspot.com/2007/02/mobile-learning-mlearning.html [สืบค้นเม่อื พฤษภาคม 2563]. [ออนไลน์] มหาวิทยาลัยสุโขทยั ธรรมาธริ าช. (2546). สารสนเทศและการวจิ ยั การบริหารการศึกษา. นนทบุรี : มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธริ าช. ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ: บรษิ ัทนานมีบุค๊ ส์พับลเิ คชนั่ ส์ จำกัด. ศศลักษณ์ ทองขาว และคณะ. (2559). คอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม.่ กรงุ เทพฯ: แมคกรอ-ฮิล อินเตอรเ์ นชัน่ เนล เอน็ เตอร์ไพรส์ แอลแอลซี ศูนยเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร. ความหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ. [ออนไลน์]. ได้จาก: http://ops.go.th/ictc/index.php/icic-km/it-library/48-it-articles/89- informationtechnology?showall=&start=1 [สืบคน้ เม่ือ 8 เมษายน 2559] สถาบันการพลศกึ ษา วทิ ยาเขตสุพรรณบุร.ี (2554). เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือการเรียนรู.้ [ออนไลน์]. สบื ค้นเม่อื 1 พฤษภาคม 2561, ได้จาก : http://www.ipesp.ac.th/learning/071001/- chapter3/UN3_3.htm หริพล ธรรมนารกั ษ.์ (2558). นวตั กรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา : ยคุ ดิจิทลั . กรุงเทพฯ : ทริปเพิ้ล กรุ๊ป จำกดั . Support Thai Mooc (2561). [ออนไลน์] ไดจ้ าก: https://support.thaimooc.org/help-center/categories/9/course-online [สบื ค้นเม่อื 7 มกราคม 2563].
150
151 บทที่ 6 กฎหมาย จริยธรรมและจรรยาบรรณในการใช้เทคโนโลยีดิจทิ ลั ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ศศกิ ญั ชณา เย็นเอง จรรยาบรรณนับเป็นหลักธรรมข้ันพ้ืนฐานที่มนุษย์ทุกคนทุกอาชีพควรตระหนัก และยึดถือเป็น หลักการปฎิบัติ หากผู้ประกอบอาชีพใดขาดจรรยาบรรณในอาชีพ ก็อาจส่งผลกระทบให้กับวงการ วิชาชีพ และเกิดผลเสียต่อตนเอง ในยุคเทคโนโลยีดิจิทัลต้องยอมรับกับการใช้อินเทอร์เน็ต ท่ี กว้างขวางในประเทศไทย โดยเฉพาะโลกโซเชียลเน็ตเวิร์ค เป็นที่นิยมในการใช้งานเป็นอย่างมากใน ประเทศไทย โดยการมีโซเชียลเน็ตเวิร์คนี้จะมีการนำเสนอความคิดเห็นของตนเองได้ หากผู้ใช้งานใช้ ในทางท่ีดีก็อาจสร้างผลกำไร รายได้ให้แก่ผู้ใชไ้ ดเ้ ปน็ กอบเป็นกำ แต่ถ้าหากใช้ในทางที่ไม่ดีก็อาจส่งผล กระทบแก่ตนเองถึงข้ันร้ายแรงก็มี หากแต่เพียงผู้ใช้ต้องรู้จักการนำเสนอ การแสดงความคิดเห็นท่ี เหมาะสม ไม่ไปรบกวนผู้อน่ื ความม่ันคงประเทศซึง่ ทำใหส้ ่งผลกระทบ ซึ่งสิ่งเหล่านี้เปน็ สทิ ธขิ์ องแต่ละ บุคคล ซ่ึงเรียกว่าเสรีภาพบนอินเทอรเ์ น็ต การนำเสนอเสริภาพบนอินเทอร์เน็ตมีท้ังทางบวกและทาง ลบ จึงเกิดการกำหนดสิทธิเสรีภาพบนอินเทอร์เน็ตข้ึน โดยการใช้กฎหมายทางคอมพิวเตอร์คุ้มครอง สิทธิเสรีภาพบนอินเทอร์เน็ตเกิดข้ึน โดยผู้ใช้ต้องมีคุณธรรม จริยธรรม หรือจรรยาบรรณในการใช้ คอมพิวเตอร์ ในยคุ เทคโนโลยดี ิจทิ ลั นี้ กฎหมาย จริยธรรมและจรรยาบรรณ ในท่ีนข้ี อสรปุ กฎหมาย จรยิ ธรรมและจรรยาบรรณ เอาไวอ้ ย่างคร่าว ๆ ว่า กฎหมายเปน็ คำสั่งหรอื ขอ้ บังคับของรฐั ผู้ใดไมป่ ฏิบตั ติ ามจะต้องไดร้ ับโทษ ทร่ี ะบุไว้ จริยธรรมเป็น สิ่งที่ควรประพฤติควรทำ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามก็ไม่ต้องรับโทษทางกฎหมาย บ้านเมือง แต่อาจถูกลงโทษทางสังคม จริยธรรมประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ส่วนดังนี้ 1. ความรู้ (cognitive) คือ ความเข้าใจในเหตผุ ลของความถกู ต้องแยกออกจากความไม่ถูกต้องได้ 2. ความสำนึก (affective) คือ ความพึงพอใจ ศรัทธา เล่ือมใส ในจริยธรรมมาเป็นแนวในการประพฤติปฏิบัติ 3. องค์ประกอบด้านการแสดงออก (Moral conduct) คือ การท่ีบุคคลตัดสินใจประพฤติดีใน สถานการณต์ ่าง ๆ จรรยาบรรณหรือเรียกอีกอย่างว่า ประมวลจริยธรรม (Code of Conduct) หมายถึง \"ประมวลความประพฤติที่ผู้ประกอบ อาชีพการงานแต่ละอย่างกำหนดขึ้น เพื่อรักษาและส่งเสริม เกยี รตคิ ุณช่อื เสียงและฐานะของสมาชกิ อาจเขียนเปน็ ลายลักษณ์อักษรหรือไม่ก็ได้
152 ตารางที่ 6.1 ตารางเปรยี บเทียบขอ้ แตกตา่ งระหวา่ งกฎหมาย จรยิ ธรรม จรรยาบรรณ กฎหมาย จริยธรรม จรรยาบรรณ เปน็ คำส่ัง กฎเกณฑ์ ข้อบังคับ เป็นหลักประพฤติปฏิบัติให้ทำ เป็นหลักประพฤติปฏิบัติให้ทำ ในสง่ิ ท่ถี ูกตอ้ ง ดีงาม ในส่งิ ท่ีถกู ต้อง ดีงาม ออกโดยรฐั เกดิ จากสงั คม ออกโดยกลุ่มวชิ าชีพ เปน็ ลายลกั ษณอ์ กั ษร เปน็ เรือ่ งความสมัครใจ เปน็ ลายลักษณอ์ กั ษร มี บ ท ล งโท ษ ท่ี ชั ด เจ น แ ล ะ ไมม่ ีบทลงโทษสำหรบั ผทู้ ฝ่ี ่าฝืน อาจมีบทลงโทษสำหรับผู้ท่ีฝ่า แน่นอน ฝืน มี วัต ถุ ป ระส งค์ เพ่ื อ ล งโท ษ มีวัตถุประสงค์เพื่อยกระดับ มีวัตถุประสงค์เพ่ือควบคุมความ ผู้กระทำผดิ คุณค่าทางจติ ใจคน ประพฤติของผู้ประกอบวิชาชีพ ตา่ ง ๆ สรุปได้ว่า จริยธรรมกับกฎหมายเป็นส่งิ ท่ีมคี วามสมั พันธ์กนั อยา่ งใกล้ชดิ แลว้ จริยธรรมยังเป็น ท่มี าของสงิ่ ท่ีเรียกว่า จรรยาบรรณ ซึ่งเป็นหลักประพฤตปิ ฏบิ ัติสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพต่างๆ วชิ าชีพ หลายสาขาต่างก็มีจรรยาบรรณเป็นของตนเอง เพ่ือควบคุมความประพฤตแิ ละเป็นแนวปฏิบตั ิสำหรับ ผู้ท่ีประกอบวิชาชีพน้ันๆ เช่น แพทย์ วิศวกร ทนายความ เภสัชกร ซ่ึงโดยภาพรวมแล้วไม่ว่าจะ ประกอบวิชาชีพใดก็ตามต้องอยู่ในกรอบทั้ง กฎหมาย จริยธรรม โดยเฉพาะจรรยาบรรณวิชาชีพของ ตนเอง การที่เราจะดำเนินชีวิตได้ดีนั้น ควรปฏิบัติตามกฎหมาย มีความรู้ทางกฎหมาย และควรมี คุณธรรมจริยธรรม และจรรยาบรรณ เน่ืองจากกฎหมายบางข้อไม่ครอบคลุมในเร่ืองจรรยาบรรณ ถ้า หากเรามีความรู้ด้านกฎหมายแล้ว และมีจรรยาบรรณร่วมด้วยจะทำให้เราออกห่างสิ่งผิดกฎหมาย ไดม้ ากทส่ี ุด โดยจะไม่ใช้คำวา่ รเู้ ท่าไม่ถึงการณ์ อีกต่อไป จรยิ ธรรมเกย่ี วกับการใช้เทคโนโลยคี อมพิวเตอร์และสารสนเทศ ICT ETHICS จริยธรรมเก่ียวกับการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศแล้ว จะกล่าวถึงใน 4 ประเด็น ท่ีรจู้ กั กันในลกั ษณะตวั ยอ่ วา่ PAPA ประกอบด้วย 1. ความเปน็ ส่วนตัว (Privacy) 2. ความถกู ต้อง (Accuracy) 3. ความเปน็ เจา้ ของ (Property) 4. การเขา้ ถึงขอ้ มลู (Data accessibility) 1. ความเป็นส่วนตัว (Privacy) ความเป็นส่วนตัวของข้อมูลและสารสนเทศ โดยทั่วไป หมายถึงสิทธิทจี่ ะอยู่ตามลำพงั และเปน็ สิทธิทเ่ี จ้าของสามารถทีจ่ ะควบคุมขอ้ มูลของตนเองในการเปิด ให้ผู้อื่น สิทธิน้ีใช้ได้ครอบคลุมท้ังบุคคล กลุ่มบุคคล และองค์การต่าง ๆ ตัวอย่างข้อมูลท่ีได้รับ ผลกระทบจากความเป็นสว่ นบคุ ล เช่น ขอ้ ความในจดหมายอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ทีถ่ ูกควบคุมโดยผใู้ หบ้ ริการ อีเมล์ หรอื ขอ้ มูลที่ผใู้ ชล้ งทะเบยี นในการเข้าเยย่ี มชมเว็บไซต์ เปน็ ตน้
153 ประเดน็ ที่เกี่ยวกับความเปน็ สว่ นตัวทเี่ ป็นข้อนา่ สงั เกตดังน้ี 1.1 การเข้าไปดูข้อความในจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ และการบันทึกข้อมูลในเคร่ือง คอมพิวเตอร์ รวมทงั้ การบันทกึ -แลกเปล่ียนขอ้ มูลทีบ่ คุ คลเขา้ ไปใช้บริการเวบ็ ไซต์และกล่มุ ขา่ วสาร 1.2 การใช้เทคโนโลยีในการติดตามความเคลื่อนไหวหรือพฤติกรรมของบุคคล เช่น บริษัทใช้คอมพิวเตอร์ในการตรวจจับหรือเฝ้าดูการปฏิบัติงาน/การให้บริการของพนักงาน ทำให้ สูญเสียความเปน็ ส่วนตัวซง่ึ การกระทำเชน่ น้ถี อื เป็นการผดิ จรยิ ธรรม 1.3 การใชข้ อ้ มลู ของลกู ค้าจากแหลง่ ต่าง ๆ เพือ่ ผลประโยชน์ในการขยายตลาด 1.4 การรวบรวมหมายเลขโทรศัพท์ ท่ีอยู่อีเมล์ หมายเลขบัตรเครดิต และข้อมูลส่วน บุคคลอ่ืน ๆ เพ่ือนำไปสร้างฐานข้อมูลประวตั ลิ ูกคา้ ข้นึ มาใหม่ แลว้ นำไปขายให้กับบริษทั อ่ืน 2. ความถูกต้องของข้อมูล (Accuracy) ในการจัดทำข้อมูลและสารสนเทศให้มีความ ถกู ต้องน่าเช่ือถอื นั้น ขอ้ มูลควรได้รับการตรวจสอบความถกู ตอ้ งกอ่ นท่ีจะนำเขา้ ฐานข้อมลู รวมถงึ การ ปรับปรุงข้อมูลให้มคี วามทันสมัยอยูเ่ สมอ นอกจากนคี้ วรให้สทิ ธิแก่บุคคลในการเข้าไปตรวจสอบความ ถูกต้องของข้อมูลของตนเองได้ เช่น ผู้สอนสามารถดูคะแนนของนักศึกษาในความรับผิดชอบหรือท่ี สอนเพอ่ื ตรวจสอบวา่ คะแนนทีป่ ้อนไม่ถูกแก้ไขเปลยี่ นแปลง เป็นตน้ 3. ความเป็นเจ้าของ (Intellectual property) สิทธิความเป็นเจ้าของ หมายถึง กรรมสิทธ์ิในการถือครองทรัพย์สิน ซึ่งอาจเป็นทรัพย์สินทั่วไปท่ีจับต้องได้ เช่น คอมพิวเตอร์ รถยนต์ หรืออาจเปน็ ทรัพยส์ ินทางปัญญา (ความคิด) ท่จี ับต้องไมไ่ ด้ เช่น บทเพลง โปรแกรม คอมพิวเตอร์ แต่ สามารถถา่ ยทอดและบันทึกลงในสื่อตา่ งๆ ได้ เชน่ ส่งิ พมิ พ์ เทป ซีดีรอม เป็นต้น ทรพั ย์สนิ ทางปัญญา Intellectual property ทรัพย์สินทางปญั ญา อยู่ภายใต้การคุ้มครองของกฎหมาย 3 ประการคอื 3.1 ความลบั ทางการค้า (Trade secrets) 3.2 ลขิ สทิ ธิ์ (Copyright) 3.3 สทิ ธบิ ัตร (Patents) 3.1 ความลับทางการค้า (Trade Secrets) หมายถงึ ส่ิงท่ีเปน็ ผลผลติ ทางปัญญา เช่น สูตร กรรมวิธีการผลิต และรูปแบบสินค้า เครื่องมือ ซึ่งไม่เก่ียวข้องกับสาธารณชนในการที่จะเปิดเผย ใน กรณีท่ธี ุรกิจอาจมีความลับทางส่วนผสมทางการผลิต กอ็ าจจดทะเบียนความลับทางการค้าก็ได้ โดยที่ ธุรกิจจะไม่ยอมเปิดเผยสูตรให้ผู้ใด และเร่ืองการคุ้มครองจะข้ึนอยู่กับแต่ละรัฐ ตัวอย่างเช่น ความลับ ในการผลิตเคร่ืองด่ืมยี่ห้อหน่ึง, ความลับในการผลิตน้ำพริก เป็นต้น ซ่ึงผู้อื่นท่ีมิใช่เจ้าของความลับจะ ทราบครา่ ว ๆ เท่านนั้ วา่ สว่ นผสมหลกั คอื อะไรแต่ไม่ทราบรายละเอยี ดจริง 3.2 ลิขสิทธิ์ (Copyright) เป็นสิทธิในการกระทำใด ๆ เกี่ยวกับงานที่สร้างสรรค์ข้ึน เช่น งานเขียน งานดนตรี และงานศิลปะ ซ่ึงเป็นสิทธิที่ได้รับการคุ้มครองในการคัดลอกหรือทำซ้ำผลงาน
154 ถึงแม้ว่าผลงานน้ันจะนำเสนอทางอินเทอร์เน็ต และตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์จะคุ้มครองผลงาน นน้ั ๆ เปน็ เวลา 50 ปี หลังจากทงี่ านไดค้ ดิ คน้ หรอื ตงั้ แตท่ มี่ ีการแสดงผลงานเป็นครงั้ แรก งานสร้างสรรคท์ ่ีมีลขิ สิทธ์ิ - งานวรรณกรรม เชน่ หนงั สือ จุลสาร สง่ิ เขยี น ส่งิ พมิ พ์ โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ - งานนาฏกรรม เช่น งานเกีย่ วกบั การรำ การเตน้ การทำท่า - งานศิลปกรรม เช่น งานทางด้านจิตรกรรม ประติมากรรม ภาพพิ มพ์ สถาปตั ยกรรม ภาพถ่าย - งานดนตรีกรรม เช่น เน้ือร้อง ทำนอง และรวมถึงโน้ตเพลงท่ีได้แยกและเรียบ เรยี งเสียงประสาน - งานโสตทัศนวัสดุ เชน่ วีดโี อเทป แผ่นเลเซอร์ดิสก์ เป็นตน้ - งานภาพยนตร์ - งานสิ่งบันทกึ เสยี ง เช่น เทปเพลง CD เปน็ ตน้ - งานแพร่เสียงแพร่ภาพ เช่น การนำออกเผยแพร่ทางสถานีกระจายเสียงหรือ โทรทัศน์ 3.3 สิทธิบัตร (Patent) หมายถึง หนังสือที่สำคัญท่ีรัฐออกให้แก่บุคคลเพื่อคุ้มครองการ ประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่ๆ หรือออกแบบผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ซ่ึงสิทธิบัตรจะมีอายุ 20 ปีนับตั้งแต่วันขอรับ สทิ ธิบตั ร ลิขสิทธิแ์ ละสทิ ธิบัตรแตกต่างจากความลับทางการค้าตรงทีผ่ ลผลิตท่ีไดร้ ับความคุ้มครองจาก ลขิ สิทธิ์และสทิ ธิบตั รเป็นสงิ่ ท่เี ปดิ เผยตอ่ สาธารณะ เพราะสร้างข้ึนเพอ่ื ใหค้ นทวั่ ไปใช้ ตัวอย่างเคร่อื งหมายทางการค้าที่มลี ขิ สทิ ธิ์ ห้ามปลอมแปลงและลอกเลยี นแบบ ภาพท่ี 6.1 เครื่องหมายสำหรับสินคา้ (Goods Marks) ทีม่ า: https://www.nike.com/th/ ภาพท่ี 6.2 เครื่องหมายรับรอง (Certification Mark) ท่มี า: https://today.line.me/th/pc/article
155 ภาพท่ี 6.3 เครื่องหมายบรกิ าร (Service Mark) ท่ีมา: https://sites.google.com/site/mugglestory/type-of-airlines-1 ภาพที่ 6.4 ตัวอยา่ งข้อตกลงการใชซ้ อฟต์แวร์ License Agreement การคัดลอกโปรแกรมคอมพิวเตอร์ให้กับเพ่ือน เป็นการกระทำที่จะต้องพิจารณาให้รอบคอบ ก่อนวา่ โปรแกรมท่ีจะทำการคัดลอกนั้นเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ทผี่ ใู้ ชม้ สี ทิ ธิในระดับใดตัวอยา่ งเช่น Copyright หรือ Software license - ตอ้ งซอ้ื ลิขสิทธ์ิ และมีสิทธใิ ชต้ ามเง่ือนไข Shareware - ใหท้ ดลองใชไ้ ด้กอ่ นทีจ่ ะตัดสินใจซื้อ Freeware - ใช้งานได้ฟรี คดั ลอก และเผยแพรใ่ ห้ผ้อู น่ื 4. การเขา้ ถึงข้อมูล (Data Accessibility) การเข้าใช้งานโปรแกรมหรือระบบคอมพิวเตอร์ มักจะมีการกำหนดสิทธิตามระดับของผู้ใช้งาน ท้ังนี้เพ่ือเป็นการป้องกันการเข้าไปดำเนินการต่าง ๆ กับข้อมูลของผู้ใช้ท่ีมีส่วนเกี่ยวข้อง และเป็นการรักษาความลับของข้อมูล ดังน้ันในการพัฒนาระบบ คอมพวิ เตอร์ จึงได้มีการออกแบบรกั ษาความปลอดภัยในการเข้าถงึ ของผ้ใู ช้ และการเข้าถึงข้อมูลของ ผอู้ นื่ โดยไม่ไดร้ บั ความยินยอมนั้นกถ็ ือเป็นการผิดจรยิ ธรรมเช่นเดยี วกบั การละเมิดข้อมูลสว่ นตัว อาชญากรรมคอมพวิ เตอร์ การใชค้ อมพิวเตอร์เป็นเครือ่ งมือในการก่ออาชญากรรม 1. การขโมยหมายเลขบัตรเครดิต 2. การแอบอ้างตัว เป็นการแอบอ้างตวั ของผู้กระทำต่อบุคคลท่ีสามวา่ ตนเปน็ อีกคนหน่ึง การ กระทำในลักษณะน้ีจะใช้ลกั ษณะเฉพาะตวั ได้แก่ หมายเลขบตั รประชาชน
156 3. การสแปมทางคอมพิวเตอร์ เป็นการกระทำโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการ หลอกลวงผอู้ ืน่ เช่น การส่งขอ้ ความ หรอื โฆษณาแตไ่ มเ่ ป็นความจรงิ เป็นต้น ลักษณะของอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ ตวั อยา่ งลกั ษณะการกระทำที่เป็นอาชญากรรมคอมพวิ เตอร์ใน 3 ประเด็นคอื 1. การเขา้ ถงึ และการใช้คอมพิวเตอร์โดยไม่ได้รบั อนญุ าต 2. การก่อกวนหรือการทำลายข้อมูล 3. การขโมยขอ้ มูลและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ การก่อกวนหรือการทำลายข้อมูลด้วยโปรแกรมประสงค์ร้าย เป็นการใช้โปรแกรมท่ีมุ่งเน้น เพื่อการก่อกวนและทำลายระบบข้อมูลคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะ พบมากในปัจจุบันและสร้างความ เสยี หายตอ่ ขอ้ มลู และระบบคอมพิวเตอร์เป็นอยา่ งมาก กลมุ่ โปรแกรมประสงคร์ ้ายต่างๆ มดี งั นี้ 1. ไวรัสคอมพิวเตอร์ (Computer Virus) 2. เวริ ์มหรอื หนอนอินเทอร์เนต็ (Worm) 3. มา้ โทรจนั (Trojan horses) 4. ขา่ วหลอกลวง (Hoax) 5. การทำให้ระบบปฏเิ สธการใหบ้ รกิ าร (Denial of Service หรอื DoS) 1. ไวรัสคอมพิวเตอร์ (Computer Virus) เป็นโปรแกรมท่ีออกแบบมาเพ่ือดัดแปลงโปรแกรม คอมพวิ เตอรอ์ ื่น โปรแกรมท่ีตดิ ไวรสั จะเพิ่มจำนวนตัวเองอยา่ งรวดเร็ว ซง่ึ อาจแฝงตวั อยู่ในไฟล์หรือส่ือ เก็บข้อมลู เชน่ แผน่ ดิสก์ ฮาร์ดดิสก์ ในการสร้างความเสียหายจะแบง่ เปน็ 2 ลักษณะคอื 1.1 ไวรัสที่แสดงข้อความรบกวนหรือทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานช้าลง แต่จะไม่ทำลาย ข้อมูล 1.2 ทำลายการทำงานของระบบคอมพิวเตอร์ ได้แก่ การลบไฟล์ การปิดเคร่ือง คอมพวิ เตอร์ ไวรัสแพร่กระจายโดยอาศัยคนกระทำการอย่างใดอย่าง เช่น รันโปรแกรม อ่านอีเมล์ เปิดดู เว็บเพจ หรือเปิดไฟล์ท่ีแนบมา ไวรัสคอมพิวเตอร์จะแบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ 1. ทำงานบน Boot sector เรียกว่า ไวรัสระบบ (system virus) จะทำงานเมื่อเร่ิมเปิดระบบ 2. ไวรัสติดที่แฟ้มงานหรือ โปรแกรม ไวรัสชนิดน้ีจะฝังตัวอยู่ตามไฟล์ต่าง ๆ ส่วนใหญ่จะเป็นไฟล์ที่มีนามสกุลเป็น .exe และ .com โดยปกติการติดไวรัสประเภทนี้มาจากการดาวน์โหลดไฟล์หรือโปรแกรมจากอินเทอร์เน็ต หรือ การเปิดไฟล์ที่แนบมากับอีเมล์ 3. แมโครไวรัส (Macro virus) เป็นไวรัสท่ีทำงานบนโปรแกรมท่ีใช้ ภาษาแมโคร เชน่ โปรแกรมประมวลผลคำ และโปรแกรมตารางคำนวณ 2. เวิร์มหรือหนอนอินเทอร์เน็ต (Worm) เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่ีจะกระจายตัวเอง เช่นเดียวกับไวรสั แตแ่ ตกต่างกันทีไ่ วรัสต้องใหม้ นษุ ย์สง่ั การเรียกใชง้ าน ในขณะท่เี วริ ์มจะแพร่กระจาย
157 จากคอมพิวเตอรส์ ู่คอมพิวเตอร์เคร่อื งอ่นื ๆ โดยผ่านทางอีเมล์ และอนิ เทอร์เน็ต ลกั ษณะที่เดน่ ของเวิร์ มคือ สามารถสำเนาซ้ำตัวมันเองได้อย่างมหาศาลภายในเวลาเพียงไม่กี่นาที ตัวอย่างเวิร์มที่รู้จักกัน แพร่หลาย เช่น “Nimda”, “W32.Sobig”, “W32.bugbear”, “W32.blaster” และ “Love Bug” เปน็ ตน้ 3. ม้าโทรจัน (Trojan horses) เป็นโปรแกรมที่แตกต่างจากไวรัสและเวิร์มที่ม้าโทรจันจะไม่ กระจายตัวเองไปยังคอมพิวเตอร์เครื่องอื่น ๆ โปรแกรมม้าโทรจันจะแฝงตัวอยู่กับโปรแกรมอ่ืน ๆ ที่ อาจส่งผ่านทางอีเมล์ เช่น zipped_files.exe และ เมื่อมีการเรียกใช้ไฟล์ โปรแกรมก็จะลบไฟล์ท่ีอยู่ ในฮาร์ดดสิ ก์ 4. ขา่ วหลอกลวง (Hoax) เปน็ การสง่ ขอ้ ความต่อ ๆ กนั เหมือนจดหมายลูกโซ่เพื่อให้เกิดความ เข้าใจผิด โดยอาศยั เทคนิคทางจิตวทิ ยาทำใหข้ ่าวสารนั้นนา่ เชอ่ื ถือ เชน่ “Virtual Card for You” “Life is Beautiful” “FAMILY PICTURES” โปรดอยา่ ดมื่ ..... เครอ่ื งดื่มยห่ี อ้ ..... โปรดอยา่ ใชม้ ือถือยี่ห้อ..... 5. การทำให้ระบบปฏิเสธการให้บรกิ าร (Denial of Service) เป็นการโจมตีเว็บไซต์เพื่อไม่ให้ เว็บไซตน์ ้ันติดต่อสื่อสารกับคอมพวิ เตอร์เครื่องอื่น ๆ ได้ การโจมตีอาจมาจากเครื่องคอมพิวเตอรเ์ พียง เครอื่ งเดยี ว หรือจากคอมพวิ เตอรจ์ ำนวนมากท่ีถกู ควบคมุ สั่งการ ข้อสังเกตเพือ่ การตรวจสอบวา่ เคร่ืองคอมพิวเตอรไ์ ดร้ ับไวรสั เวิร์ม และมา้ โทรจนั หรอื ไม่ 1. มีข้อความหรอื ภาพแปลก ๆ แสดงบนจอภาพ 2. มเี สียงท่ีผิดปกตหิ รอื เสยี งเพลงเปดิ ข้นึ เปน็ บางเวลา 3. หน่วยความจำคอมพวิ เตอร์ลดน้อยกวา่ ทค่ี วรจะเป็น 4. โปรแกรมหรือไฟล์หายไป โดยทผี่ ใู้ ชไ้ ม่ได้ลบทง้ิ 5. มโี ปรแกรมแปลกปลอมเขา้ มา 6. ขนาดของไฟลใ์ หญ่ผดิ ปกติ 7. การทำงานของไฟล์หรือโปรแกรมผิดปกตจิ ากเดิม การขโมยข้อมูลและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เช่น การเข้าถึงข้อมูลหรือเคร่ืองคอมพิวเตอร์โดย ไม่ได้รับอนุญาต การขโมยหมายเลขบัตรเครดิตจากฐานข้อมูลการบัญชี เป็นต้น อาจเกิดจาก บุคคลภายนอกหรอื ภายในองค์กร ควรมกี ารตดิ ต้ังอปุ กรณ์ปอ้ งกันและรกั ษาความปลอดภัย และตรวจ การเข้าออกของบุคคลที่มาติดต่ออย่างเป็นระบบ รวมถึงวางมาตรการในการใช้อุปกรณ์อย่างเข้มงวด โดยมวี ธิ ีการป้องกนั การเข้าถึงขอ้ มลู และคอมพิวเตอร์
158 1. การใช้ชื่อผู้ใช้ (username) หรือรหัสประจำตัวผู้ใช้ (user ID) และรหัสผ่าน (password) ควรหลกี เล่ยี งการกำหนดรหสั ท่เี ป็นวนั เกดิ หรอื รหัสอน่ื ๆ ที่แฮกเกอร์สามารถเดาได้ 2. การใช้วัตถุใด ๆ เพื่อการเข้าสู่ระบบ ตัวอย่างเช่น การใช้บัตรเอทีเอ็ม (ATM) เพื่อทำ ธุรกรรมเกี่ยวกับบัญชีธนาคาร ซ่ึงโดยปกติจะใช้บัตรควบคู่กับเลขระบุเฉพาะตัว ประกอบด้วยตัวเลข 4 หลัก เลขระบุเฉพาะตัวก็เป็นรหัสผ่านท่ีเจ้าของควรให้ความสำคัญ เช่น ไม่ควรใช้ปีเกิด หรือการ เขียนลงบนบตั ร 3. ควรสรา้ ง password ทย่ี ากตอ่ การคาดเดา และไมค่ วรให้เคร่ืองจำ password - ไมใ่ ชค้ ำใดๆ ทีม่ อี ยู่ในพจนานุกรม - ไม่ใช้คำใดๆ ที่เกี่ยวข้องกับตัวเรา เช่น อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ วันเกิด ชื่อสัตว์เล้ียง ช่ือเล่น เป็นต้น - ไม่จดรหัสผ่านเกบ็ ไว้ไม่วา่ จะในทใี่ ดๆ กต็ าม - ไมบ่ อกรหสั ผา่ นกบั ผอู้ ่นื ไม่วา่ จะดว้ ยเหตผุ ลใดๆ ก็ตาม - ให้ใช้ตัวอกั ษร ตัวเลข และตวั อกั ษรพิเศษ รว่ มกันแบบสมุ่ - ไม่ควรใหเ้ ครอ่ื งจำ password 4. การใช้อปุ กรณ์ชวี ภาพ (Biometric Devices) เปน็ การใช้อุปกรณ์ที่ตรวจสอบลักษณะส่วน บคุ คลเพื่อการอนุญาตใช้โปรแกรม เชน่ การตรวจสอบเสียง ลายนว้ิ มอื ฝ่ามือ ลายเซ็น ม่านตา และ รูปหนา้ เปน็ ต้น โดยอุปกรณ์จะทำการแปลงลักษณะส่วนบุคคลให้อยใู่ นรูปดจิ ิตอล แลว้ เปรียบเทียบ กบั ข้อมลู ทจี่ ดั เกบ็ ในคอมพิวเตอร์ ถา้ ข้อมูลไมต่ รงกนั คอมพิวเตอรก์ ็จะปฏเิ สธการเข้าสู่ระบบ ภาพท่ี 6.5 ตวั อย่างอุปกรณช์ ีวภาพทใี่ ชต้ รวจสอบลกั ษณะบคุ คล ท่ีมา: https://my.dek-d.com/ และ https://www.beartai.com/news/mobilenews 5. ระบบเรียกกลับ (Callback System) เป็นระบบทผ่ี ้ใู ชร้ ะบุชอ่ื และรหสั ผ่านเพ่ือขอเขา้ ใช้ ระบบปลายทาง หากข้อมลู ถูกตอ้ งคอมพวิ เตอร์กจ็ ะเรยี กกลบั ให้เขา้ ใช้งานเอง การใช้งานในลักษณะน้ี จะมปี ระสิทธิภาพมากขน้ึ ถ้าผ้ขู อใชร้ ะบบใชเ้ คร่ืองคอมพวิ เตอรจ์ ากตำแหน่งเดมิ คือจากบ้าน หรือท่ี ทำงาน (หมายเลขโทรศัพท์เดิม)
159 จรรยาบรรณในการใช้งานคอมพิวเตอร์ จรรยาบรรณ หมายถึง ประมวลความประพฤติที่ผู้ประกอบอาชีพการงานแต่ละอยา่ งกำหนด ขึ้นเพ่ือรักษา และส่งเสริมเกียรติคุณ ช่ือเสียง และฐานะของสมาชิก เช่น จรรยาบรรณแพทย์ จรรยาบรรณครู หรือ จรรยาบรรณผู้สื่อข่าว เป็นต้น ผู้ประกอบอาชีพท่ีเกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์แต่ ละอาชีพควรมีจรรยาบรรณเพื่อเป็นขอบเขตในการประพฤติตนของผู้ท่ีประกอบอาชีพนั้น เช่น จรรยาบรรณของนักวิเคราะห์ระบบท่ีควรจดจำไว้เสมอว่าไม่ควรเปิดเผยความลั บของบริษัทที่ตนทำ หน้าท่ีนักวิเคราะห์ระบบอยู่ หรือจรรยาบรรณของโปรแกรมเมอร์ไม่ควรเขียนโปรแกรมไวรัสแนบไป กับโปรแกรมทก่ี ำลงั พฒั นาให้กบั บรษิ ทั เป็นต้น จรรยาบรรณในการใชค้ อมพิวเตอร์ มดี ังน้ี 1. จะต้องไมใ่ ช้คอมพวิ เตอรเ์ พื่อก่ออาชญากรรมหรอื ละเมิดสทิ ธิของผู้อื่น 2. จะต้องไม่ใช้คอมพวิ เตอร์รบกวนผู้อนื่ 3. จะตอ้ งไมท่ ำการสอดแนม แกไ้ ข หรอื เปิดดูไฟลเ์ อกสารของผอู้ น่ื กอ่ นได้รับอนุญาต 4. จะต้องไมใ่ ช้คอมพวิ เตอร์ในการโจรกรรมข้อมลู ข่าวสาร 5. จะต้องไมใ่ ชค้ อมพิวเตอร์สรา้ งหลกั ฐานเทจ็ 6. จะต้องไมใ่ ชค้ อมพวิ เตอร์ในการคัดลอกโปรแกรมท่ีมีลขิ สิทธ์ิ 7. จะต้องไม่ใชค้ อมพิวเตอร์ในการละเมดิ การใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอรโ์ ดยท่ีตนเองไม่มีสทิ ธ์ิ 8. จะต้องไม่ใชค้ อมพิวเตอรเ์ พอื่ นำเอาผลงานของผู้อ่นื มาเป็นของตนเอง 9. จะต้องคำนงึ ถึงส่งิ ทเี่ กิดขน้ึ กับสงั คม ทีจ่ ะตามมาจากการกระทำน้ัน 10. จะต้องใชค้ อมพวิ เตอรโ์ ดยเคารพกฎ ระเบยี บ กติกา และมารยาท กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำไมจึงตอ้ งมีการออกกฎหมายเทคโนโลยสี ารสนเทศ ? 1. ความกา้ วหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทำใหม้ ีผูใ้ ช้เทคโนโลยสี ารสนเทศมาก ข้ึน 2. กฎหมายจะทำใหเ้ กิดความน่าเชือ่ ถือและความเชอื่ ม่ันในการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนกิ ส์ และพาณิชย์อเิ ล็กทรอนิกส์ (E-Commerce E-Business) 3. ทกุ องคก์ รกำลงั ก้าวเข้าสู่สังคมสารสนเทศ มีความพยายามท่ีจะลดการใช้กระดาษเอกสาร หนั มาใช้ข้อมูลทางอเิ ล็กทรอนิกสแ์ ทน และนำมาแลกเปล่ยี น (EDI) กนั ไดง้ ่าย 4. การดำเนนิ การทางธุรกิจผ่านอินเทอรเ์ นต็ มากข้ึน เช่น การฝากถอนเงนิ อัตโนมัติการทำ ธรุ กรรมอเิ ล็กทรอนิกส์ และการตดิ ตอ่ ส่อื สารแบบไร้พรมแดนมกี ารซื้อขายสินคา้ ผ่านอนิ เทอร์เน็ตมาก ขึ้น 5. มกี ารบริหารรายการย่อยขององค์กรผ่านทางเครือข่าย มีการทำงานระบบออนไลน์ที่ สามารถเปิดบริการการทำงานได้ตลอดย่ีสิบสช่ี ่ัวโมง
160 แต่เดิมคณะรัฐมนตรีได้อนุมัติกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศของไทย เม่ือวันที่ 15 ธันวาคม 2541 ให้กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีโดยศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์ แห่งชาตเิ ป็นผู้รา่ งมีการกำหนดกฎหมายท่ีจะรา่ งทงั้ สนิ้ 6 ฉบับ 1. กฎหมายธุรกรรมอเิ ล็กทรอนิกส์ 2. กฎหมายลายมอื ชอื่ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ 3. กฎหมายอาชญากรรมทางคอมพวิ เตอร์ 4. กฎหมายคุม้ ครองขอ้ มูลส่วนบุคคล 5. กฎหมายวา่ ด้วยการโอนเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ 6. กฎหมายลำดบั รองรัฐธรรมนญู มาตรา 78 แหง่ รัฐธรรมนูญราชอาณาจักรไทย ตอ่ มา จงึ ไดร้ วมเอากฎหมายธุรกรรมทางอิเลก็ ทรอนิกสแ์ ละกฎหมายวา่ ดว้ ยลายมือช่ือ อิเล็กทรอนกิ ส์ผนวกเข้าไว้เป็นฉบับเดยี วกนั ดงั นน้ั กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศของไทยในปัจจุบัน จงึ มีทัง้ สิน้ 5 ฉบบั ได้แก่ 1. พระราชบัญญัติว่าดว้ ยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 2. พระราชบญั ญัติวา่ ด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพวิ เตอร์ พ.ศ. 2550 3. รา่ งพระราชบัญญตั ิว่าด้วย รา่ งพระราชบญั ญตั วิ า่ ดว้ ยการคมุ้ ครองข้อมลู สว่ นบุคคล พ.ศ… 4. ร่างพระราชบญั ญัตวิ ่าดว้ ยการโอนเงนิ ทางอเิ ล็กทรอนกิ ส์ พ.ศ… และ 5. ร่างพระราชบัญญัติว่าดว้ ยการพัฒนาโครงสร้างพน้ื ฐานสารสนเทศ จากขา้ งต้นกจ็ ะเห็นได้ว่า ในปัจจบุ นั มีกฎหมายเกยี่ วกบั เทคโนโลยีเพยี ง 2 ฉบบั ทมี่ ผี ล บังคับใช้ หลกั เกณฑก์ ารเกบ็ รกั ษาขอ้ มูลจราจรทางคอมพวิ เตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ หมายถึง ข้อมูลเก่ียวกับการติดต่อส่ือสารของระบบ คอมพิวเตอร์ ซึ่งแสดงถึงแหลง่ กำเนิด ต้นทาง ปลายทาง เส้นทาง เวลา วันที่ ปรมิ าณ ระยะเวลาชนิด ของบริการ หรืออื่นๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการติดต่อส่ือสารของระบบคอมพิวเตอร์น้ัน ซ่ึงข้อมูลจราจร คอมพิวเตอร์ที่สำคัญก็คือ หมายเลขไอพี หรือไอพีแอดเดรส (Internet Protocol Address -- IP Address) ท่ีคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องท่ีต่ออยู่บนเครือข่ายจะมีหมายเลขรหัสประจำเครื่อง และ คอมพวิ เตอร์ แต่ละเครอื่ งทั่วโลกจะตอ้ งไมซ่ ำ้ กัน ผู้ให้บริการแก่บคุ คลทัว่ ไปในการเข้าสู่อินเทอร์เนต็ สามารถจำแนกได้ 4 ประเภท 1. ผู้ประกอบกิจการโทรคมนาคมและการกระจายภาพและเสียง (Telecommunication and Broadcast Carrier) 2. ผู้ให้บริการการเขา้ ถงึ ระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ (Access Service Provider) 3. ผู้ใหบ้ ริการเชา่ ระบบคอมพิวเตอร์ หรือให้เช่าบริการโปรแกรมประยกุ ตต์ ่างๆ
161 4. ผู้ให้บริการร้านอินเทอร์เน็ต มีหน้าท่ีต้องเก็บรักษาข้อมูลที่สามารถระบุตัวบุคคลเวลาของ การเข้าใช้ และเลิกใช้บรกิ าร และหมายเลขไอพี ผู้ให้บริการมีหน้าที่ในการจัดเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ตามพระราชบัญญัติว่า ด้วยการกระทำความผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 ซึ่ง กำหนดว่าผู้ให้บริการมีหน้าท่ีในการ จัดเก็บข้อมูลคอมพิวเตอร์ไว้ ไม่น้อยว่า 90 วัน นับต้ังแต่ที่ข้อมูลนั้นได้เข้าสู่ระบบ เพ่ือเป็น พยานหลักฐานในการ สบื สวนสอบสวน และตดิ ตามผ้กู ระทำผิดมาลงโทษ พระราชบัญญตั วิ ่าด้วยการกระทำความผิดเกีย่ วกบั คอมพวิ เตอร์ พ.ศ. 2550 พระราชบญั ญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกีย่ วกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 มผี ลบังคบั ใชไ้ ป แล้วต้งั แตว่ ันที่ 18 กรกฎาคม 2550 เรามาทำความเขา้ ใจวา่ ทำอย่างไรถงึ จะไมเ่ สยี่ งกับ ความผดิ ทางอาญาตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ทคี่ วรทราบ มาตรา 5 ผู้ใดเข้าถงึ โดยมชิ อบซง่ึ ระบบคอมพิวเตอร์ท่ีมีมาตรการปอ้ งกัน การเขา้ ถึง โดยเฉพาะ และมาตรการนัน้ มไิ ด้มีไวส้ ำหรบั ตน ต้องระวางโทษจำคุกไมเ่ กิน 6 เดือน หรือปรบั ไมเ่ กนิ 10,000บาท หรือทั้งจำท้งั ปรับ มาตรา 6 ผู้ใดล่วงรมู้ าตรการป้องกันการเข้าถงึ ระบบคอมพิวเตอรท์ ่ี ผู้อืน่ จดั ทำข้ึนเปน็ การ เฉพาะ ถ้านำมาตรการดังกล่าวไปเปิดเผยโดยมชิ อบในประการทน่ี ่าจะเกดิ ความเสยี หายแก่ ผู้อ่ืน ต้อง ระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1 ปี หรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทง้ั จำท้ังปรับ มาตรา 7 ผ้ใู ดเข้าถึงโดยมิชอบซงึ่ ข้อมลู คอมพวิ เตอร์ที่มีมาตรการ ป้องกันการเขา้ ถึง โดยเฉพาะ และมาตรการน้นั มไิ ด้มีไวส้ ำหรบั ตน ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกนิ 2 ปี หรอื ปรับไมเ่ กิน 40,000บาท หรือทั้งจำทง้ั ปรับ มาตรา 8 ผ้ใู ดกระทำด้วยประการใดโดยมิชอบดว้ ยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์เพื่อดกั รบั ไว้ซึง่ ข้อมลู คอมพิวเตอร์ของ ผอู้ น่ื ที่อยรู่ ะหวา่ งการสง่ ในระบบคอมพิวเตอร์ และขอ้ มูลคอมพิวเตอรน์ นั้ มิได้ มไี ว้เพ่ือประโยชนส์ าธารณะหรือเพ่ือใหบ้ คุ คลทว่ั ไปใช้ประโยชนไ์ ด้ตอ้ ง ระวางโทษจำคุกไมเ่ กนิ 3 ปี หรอื ปรับไมเ่ กนิ 60,000 บาท หรอื ทัง้ จำทั้งปรับ มาตรา 9 ผูใ้ ดทำให้เสยี หาย ทำลาย แกไ้ ข เปลี่ยนแปลง หรอื เพิ่มเติมไมว่ า่ ท้ังหมด หรอื บางส่วน ซงึ่ ของผู้อ่ืนโดยมชิ อบ ตอ้ งระวางโทษจำคุกไมเ่ กนิ ข้อมลู คอมพวิ เตอรห์ ้าปี หรอื ปรบั ไม่เกนิ หนึ่งแสนบาท หรือทั้งจำท้งั ปรบั มาตรา 10 ผู้ใดกระทำด้วยประการใดโดยมชิ อบ เพ่ือให้การทำงานของระบบคอมพวิ เตอร์ ของผู้อน่ื ถูกระงับ ชะลอ ขดั ขวาง หรือรบกวนจนไม่สามารถทำงานตามปกติไดต้ ้องระวางโทษจำคุก ไมเ่ กนิ 5 ปี หรือปรบั ไม่เกิน 100,000 บาท หรือทัง้ จำทงั้ ปรับ
162 มาตรา 11 ผ้ใู ดส่งข้อมูลคอมพวิ เตอร์หรอื จดหมายอิเล็กทรอนิกสแ์ ก่บุคคล อ่ืนโดยปกปิด หรือปลอมแปลงแหล่งท่ีมาของการสง่ ข้อมลู ดงั กลา่ ว อนั เป็นการรบกวนการใช้ระบบคอมพวิ เตอร์ของ บุคคลอ่นื โดยปกตสิ ุข ตอ้ งระวางโทษปรับไมเ่ กิน 100,000 บาท มาตรา 12 ถ้าการกระทำความผิดตามมาตรา 9 หรอื มาตรา 10 (1) ก่อใหเ้ กดิ ความเสียหายแก่ประชาชน ไม่วา่ ความเสยี หายน้ันจะเกดิ ข้ึนในทนั ที หรอื ในภายหลัง และไมว่ ่าจะเกดิ ขึน้ พร้อมกันหรือไม่ ต้องระวางโทษจำคุกไมเ่ กนิ 10 ปีและปรบั ไมเ่ กิน 200,000 บาท (2) เปน็ การกระทำโดยประการทน่ี า่ จะเกิดความเสยี หายต่อข้อมูลคอมพิวเตอร์ หรอื ระบบ คอมพวิ เตอรท์ ่ีเก่ียวกบั การรักษาความม่ันคงปลอดภยั ของประเทศ ความปลอดภยั สาธารณะ ความมั่นคง ในทางเศรษฐกิจของประเทศ หรอื การบรกิ ารสาธารณะ หรอื เป็นการกระทำ ขอ้ มลู คอมพวิ เตอร์ หรือระบบคอมพิวเตอร์ทม่ี ีไวเ้ พื่อประโยชน์สาธารณะ ต้องระวางโทษจำคกุ ตั้งแต่ 30 ถึง 50 ปี และปรับต้งั แต่ 60,000 บาทถึง 300,000 บาท ถ้าการกระทำความผิดตาม (2) เป็นเหตใุ ห้ผู้อ่นื ถึงแก่ความตาย ต้องระวางโทษจำคุก ตัง้ แต่ 10 ถงึ 20 ปี มาตรา 13 ผใู้ ดจำหนา่ ยหรือเผยแพรช่ ุดคำส่งั ทีจ่ ดั ทำข้ึนโดยเฉพาะเพ่ือนำไป ใช้เป็นเครื่องมือ ในการกระทำความผดิ ตามมาตรา 5 มาตรา 6 มาตรา 7 มาตรา 8 มาตรา 9 มาตรา 10 หรอื มาตรา 11 ต้องระวางโทษจำคกุ ไม่เกิน 1 ปี หรอื ปรับไม่เกนิ 20,000 บาท หรือทัง้ จำทัง้ ปรับ มาตรา 14 ผใู้ ดกระทำความผิดทรี่ ะบไุ ว้ดังต่อไปนี้ ต้องระวางโทษจำคกุ ไม่เกิน 5 ปี หรอื ปรบั ไม่เกิน 100,000 บาท หรอื ทั้งจำทง้ั ปรบั (1) นำเข้าสรู่ ะบบคอมพวิ เตอรซ์ ่งึ ข้อมูลคอมพวิ เตอร์ปลอมไม่วา่ ท้ังหมดหรือบางสว่ น หรือข้อมูลคอมพิวเตอร์อนั เป็นเท็จ โดยประการทีน่ ่าจะเกดิ ความเสยี หายแก่ผู้อ่นื หรอื ประชาชน (2) นำเข้าสรู่ ะบบคอมพวิ เตอร์ซง่ึ ขอ้ มลู คอมพวิ เตอร์อนั เป็นเท็จ โดยประการทนี่ ่าจะ เกิด ความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศหรือก่อใหเ้ กิดความตื่นตระหนกแกป่ ระชาชน (3) นำเข้าสรู่ ะบบคอมพวิ เตอรซ์ งึ่ ขอ้ มูลคอมพิวเตอรใ์ ด ๆ อันเปน็ ความผิดเกีย่ วกบั ความม่นั คง แหง่ ราชอาณาจักรหรอื ความผิดเก่ียวกับการก่อการรา้ ยตามประมวลกฎหมายอาญา (4) นำเขา้ สู่ระบบคอมพิวเตอร์ ซง่ึ ขอ้ มูลคอมพวิ เตอร์ใด ๆ ที่มลี กั ษณะอันลามก และข้อมลู คอมพิวเตอรน์ น้ั ประชาชนทว่ั ไปอาจเขา้ ถึงได้ (5) เผยแพรห่ รือสง่ ต่อซึ่งข้อมูลคอมพวิ เตอร์โดยรอู้ ยู่แลว้ ว่าเป็นขอ้ มูลคอมพิวเตอร์ ตาม (1) (2) (3) หรอื (4) มาตรา 15 ผู้ให้บริการผูใ้ ดจงใจสนบั สนนุ หรือยินยอมให้มี การกระทำความผิดตามมาตรา 14 ในระบบคอมพิวเตอร์ท่ีอยู่ในความควบคมุ ของตน ต้องระวางโทษเช่นเดยี วกับผู้กระทำความผดิ ตาม มาตรา 14
163 มาตรา 16 ผู้ใดนำเขา้ สูร่ ะบบคอมพวิ เตอร์ ท่ีประชาชนทั่วไปอาจเข้าถึงไดซ้ ่งึ ข้อมลู คอมพิวเตอร์ทีป่ รากฏเปน็ ภาพของผู้อนื่ และภาพนั้นเปน็ ภาพที่เกิดจากการสรา้ งข้ึน ตัดตอ่ เตมิ หรือ ดัดแปลงด้วยวิธกี ารทางอิเลก็ ทรอนกิ สห์ รือวธิ กี ารอ่ืนใด ทงั้ นโี้ ดยประการทนี่ า่ จะทำให้ผอู้ ่ืนนั้น เสยี ช่ือเสียง ถกู ดูหม่นิ ถูกเกลยี ดชงั หรอื ไดร้ ับความอับอาย ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่ เกิน60,000 บาท หรอื ทั้งจำทั้งปรบั มาตรา 17 ผใู้ ดกระทำความผิดตามพ.ร.บ.น้ี นอกราชอาณาจักรและ (1) ผ้กู ระทำความผิดนั้นเป็นคนไทย และรัฐบาลแหง่ ประเทศทค่ี วามผดิ ไดเ้ กิดขน้ึ หรือผ้เู สยี หายไดร้ อ้ งขอให้ลงโทษ หรือ (2) ผูก้ ระทำความผดิ น้นั เปน็ คนต่างด้าว และรัฐบาลไทย หรือคนไทยเป็นผเู้ สยี หาย และผู้เสียหายได้ร้องขอให้ลงโทษ จะต้องรบั โทษภายในราชอาณาจักร พระราชบัญญตั ิว่าด้วยการกระทำความผิดเกยี่ วกบั คอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2560 พ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์ หรอื พระราชบัญญัติ (พ.ร.บ.) วา่ ด้วยการกระทำความผดิ เกยี่ วกบั คอมพิวเตอร์ ฉบับล่าสุดได้มีการประกาศใชเ้ มื่อเดอื นพฤษภาคม พ.ศ.2560 ซงึ่ เป็น พ.ร.บ. คอมพวิ เตอร์ ฉบับ 2 โดยมสี าระสำคัญของพ.ร.บ. ดงั นี้ 1. ฐานความผิดที่เก่ียวข้องกับคอมพิวเตอร์ (มาตรา 5-16) - การเข้าถึงระบบคอมพวิ เตอร์ (มาตรา 5) - การล่วงรู้ถึงมาตรการปอ้ งกันการเขา้ ถึง (มาตรา 6) - การเข้าถึงข้อมลู คอมพวิ เตอร์ (มาตรา 7) - การดกั ข้อมูลคอมพวิ เตอร์โดยมชิ อบ (มาตรา 8) - การรบกวนขอ้ มูลคอมพวิ เตอร์ (มาตรา 9) - การรบกวนระบบคอมพวิ เตอร์ (มาตรา 10) - การสง่ สแปมเมล์ Spam Mail (มาตรา 11) - การกระทำความผิดต่อความมัน่ คง (มาตรา 12) - การจำหนา่ ย / เผยแพรช่ ุดคำสง่ั เพ่อื ใช้กระทำความผดิ (มาตรา 13) - การปลอมแปลงข้อมลู คอมพิวเตอร์ / เผยแพร่เน้ือหาอันไมเ่ หมาะสม (มาตรา 14) - ความรับผิดของผใู้ ห้บริการ (มาตรา 15) - การเผยแพรภ่ าพจากการตัดตอ่ / ดัดแปลง (มาตรา 16) 2. เขต (ประเทศ) อำนาจของศาลในการพิจารณาคดี (มาตรา 17) 3. อำนาจของพนกั งานเจ้าหนา้ ทีต่ ามกฎหมายใหม่ (มาตรา 18-21) อำนาจของเจ้าพนักงานโดยเด็ดขาด (1) มีหนงั สือสอบถาม / ใหส้ ง่ คำชแ้ี จง ให้ถ้อยคำ (2) เรียกขอ้ มลู จราจรทางคอมพิวเตอร์ (3) สงั่ ให้สง่ มอบข้อมูลผู้ใชบ้ ริการตามมาตรา 26 อำนาจของเจา้ พนักงานทีต่ ้องขออำนาจศาล
164 (4) ทำสำเนาข้อมูลคอมพิวเตอร์ ข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ (5) ส่ังให้บุคคลส่งมอบข้อมลู คอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์ท่ีใช้จดั เก็บข้อมลู คอมพวิ เตอร์ (6) ตรวจสอบหรอื เข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ ข้อมลู คอมพวิ เตอร์ (7) ถอดรหสั ลบั ของข้อมลู คอมพิวเตอร์ (8) ยึดหรืออายดั ระบบคอมพิวเตอร์ 4. อำนาจของ รมต.ไอซีที ระงบั การทำให้เผยแพร่ (มาตรา 20) 5. บทกำหนดโทษสำหรับพนกั งานเจา้ หน้าท่ี หากเปดิ เผย หรือประมาท (มาตรา 22-24) 6. ขอ้ มลู ทใี่ ช้เป็นพยานหลักฐาน ตอ้ งไม่เกดิ จากการจูงใจ หรอื ข่มขู่ (มาตรา 25) 7. การจัดเกบ็ ขอ้ มูลจราจรทางคอมพิวเตอรข์ องผ้ใู หบ้ ริการ (มาตรา 26) 8. ข้อกำหนดใหป้ ฎบิ ัตติ ามพ.ร.บ.นี้ (มาตรา 27 - 30) เปรียบเทียบพรบ.คอมพิวเตอร์ฉบับเกา่ และฉบับใหม่ เหมอื นและตา่ งกันอยา่ งไร ต้งั แตท่ ่ีไดม้ ีการปรับปรงุ แก้ไขพรบ.คอมพิวเตอร์ฉบบั ใหม่เพ่ือประกาศใชแ้ ทนฉบับเก่า เช่อื วา่ ยงั มี ผูใ้ ช้งานอนิ เทอร์เน็ตส่วนใหญ่ท่ยี ังไม่ทราบและยงั ไม่เข้าใจถึงความสำคญั ของพรบ.ฉบับน้ี วันนี้เราจงึ จะมาสรปุ ความสำคัญและความแตกต่างของพรบ.คอมพวิ เตอรฉ์ บับเดิมกบั ฉบบั ล่าสดุ ให้ได้ทราบกัน ความแตกตา่ งของพรบ.คอมพิวเตอรฉ์ บับปี 2550 และ ปี 2560 ทใ่ี ช้อยใู่ นปัจจุบนั ไมใ่ ช่พรบ.ฉบบั แรกที่ถูกประกาศใช้ แตเ่ ป็นฉบับท่ี 2 ซ่งึ ได้มีการแก้ไขเพิ่มเตมิ มาจาก ฉบบั แรก โดยเน้นเรอื่ งของบทลงโทษ ได้แก่ 1. การนำเข้าข้อมูลอนั เป็นเท็จที่กอ่ ใหเ้ กิดความเสียหายตอ่ ความมน่ั คงของประเทศและ ประชาชน จากท่ีพรบ.ฉบับเดิม กำหนดโทษจำคกุ ตงั้ แต่ 3-15 ปี และปรับตั้งแต่ 6 หมืน่ บาทแตไ่ มเ่ กนิ 2 แสนบาท เปลีย่ นเปน็ ตอ้ งระวางโทษจำคุกตัง้ แต่ 1-7 ปี และปรับต้ังแต่ 2 หม่ืน – 1.4 แสนบาท รวมถึงการกระทำทก่ี ่อใหเ้ กิดความแก่ประชาชน พรบ. ปี 2560 ก็ไดก้ ำหนดระวางโทษจำคกุ ไมเ่ กนิ 10 ปี และปรบั ไม่เกนิ 2 แสนบาท 2. ในประเดน็ ของผู้ให้บริการที่ไม่ลบเนื้อหาท่ผี ิดกฎหมาย ซงึ่ ระบุไว้ในพรบ.ฉบับเดิม ท่ผี ู้ ให้บริการจะไดร้ ับโทษก็ต่อเมื่อมีเจตนาที่จะสนบั สนนุ หรือยินยอมเทา่ นน้ั แต่ในพรบ.ฉบับใหม่ จะมี การระบุความรับผิดชอบก็ต่อเม่อื ผใู้ หบ้ รกิ ารร่วมมือหรือรู้เห็นเปน็ ใจเท่านน้ั หากผใู้ ห้บริการไดร้ บั การ แจง้ เตือนแล้วลบข้อมลู เหล่านั้นทิ้งกจ็ ะไม่ตอ้ งรบั โทษแต่อย่างใด สว่ นการสง่ ขอ้ ความในลักษณะของ Spam mail ในพรบ. ปี 2560 กไ็ ด้มกี ารเพม่ิ โทษจากโทษปรับไม่เกนิ 1 แสนบาท เป็นโทษปรับไมเ่ กิน 2 แสนบาทดว้ ย 3. ในพรบ.คอมพิวเตอร์ ปี 2560 ยังได้มีการเพมิ่ การกระทำทกี่ อ่ ความเสยี หายให้แก่ระบบ คอมพิวเตอร์ ให้มโี ทษจำคกุ ไมเ่ กนิ 2 ปแี ละปรับไม่เกิน 2 แสนบาท รวมถึงการกระทำท่ีกอ่ ใหเ้ กดิ ความเสยี หายตอ่ ระบบความมน่ั คง ทีแ่ ต่เดมิ ไม่มีโทษเฉพาะ พรบ.ฉบับใหมไ่ ด้มกี ารกำหนดโทษจำคุก ตั้งแต่ 1-10 ปี และปรับตัง้ แต่ 2 หมนื่ – 2 แสนบาท ใครทย่ี ังไม่รู้ว่าพรบ.คอมพวิ เตอร์มีการแก้ไขและปรับปรุงเพ่ิมเตมิ จากฉบับแรกและไดม้ ีการ ประกาศใช้เรยี บร้อยแลว้ ตอ้ งทำการอัพเดทความรู้โดยดว่ น เพราะหากพลาดพลัง้ ทำอะไรลงไปในโลก ออนไลน์โดยไม่ไดไ้ ตรต่ รองล่วงหน้า อาจจะเข้าขา่ ยการกระทำความผดิ ตามพรบ.คอมพวิ เตอรก์ ็เปน็ ได้
165 ความสำคัญของพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 และที่ปรับปรงุ แกไ้ ข พ.ศ. 2560 1. การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์ ไม่ว่าจะเป็นการแชท การโพส หรือทำอะไรก็ตาม โดยท่ี ไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของ จะมีความผิดทันทีตามมาตราที่ 5 จำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทงั้ จำทง้ั ปรับ 2. การนำข้อมูลรหัสผ่าน หรือวิธีการเข้าสู่ระบบท่ีถูกป้องกันไว้ไปเปิดเผยจะมีความผิดตาม มาตราท่ี 6 จำคกุ ไม่เกิน 1 ปี หรือปรบั ไมเ่ กิน 20,000 บาท หรือทงั้ จำทั้งปรบั 3. หากใครลอบเข้าถึงข้อมูลโดยไม่ได้รับอนุญาต มีความผิดตามมาตราที่ 7 มีโทษจำคุกไม่ เกิน 2 ปี หรือปรับไมเ่ กิน 40,000 บาท หรอื ทัง้ จำทัง้ ปรับ 4. การดักล็อคไว้ซึ่งคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นซ่ึงอยู่ระหว่างการส่งคอมพิวเตอร์น้ันมิได้มีไว้เพ่ือ ประโยชน์สาธารณะ มีความผิดตามมาตรา 8 จำคกุ ไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 40,000 บาท หรอื ท้ัง จำทง้ั ปรบั 5. การเปล่ียนแปลงแก้ไขทำลายไม่ว่าท้ังหมดหรือบางส่วน หรือไม่ได้รับอนุญาตจากเจ้าของ มีโทษตามมาตราที่ 9 จำคกุ ไมเ่ กิน 5 ปี หรือปรบั ไมเ่ กนิ 100,000 บาท หรอื ท้งั จำท้งั ปรับ 6. การทำให้ระบบคอมพิวเตอรข์ องผอู้ ่ืนไมส่ ามารถทำงานได้ตามปกติ เช่น การปลอ่ ยไวรัส มี โทษจำคุกไมเ่ กนิ 5 ปี หรือปรับไม่เกนิ 100,000 บาท หรือทัง้ จำทัง้ ปรบั ตามมาตราที่ 10 7. การส่งข้อมูลทางอีเมลหรือทางแชทบล็อค โดยปกปิดหรือปลอมแปลมแหล่งที่มีมา ถือว่า เป็นความผิดตามมาตราท่ี 11 โทษคือปรบั ไมเ่ กนิ 100,000 บาท 8. ผู้ใดกระทำความเสียหายแก่ระบบหรือข้อมูลคอมพิวเตอร์ ส่งผลกระทบต่อบุคคลทั่วไป มี โทษจำคุกไม่เกิน 10 ปี หรือปรับไม่เกิน 200,000 บาท และถ้าหากความเสียหายนั้นส่งผลต่อ สาธารณะ เศรษฐกิจ หรือความมั่นคงของประเทศ จำคุก 3-15 ปี และปรับ 60,000-300,000 บาท และถ้าการกระทำคร้ังนี้ทำให้ผู้อ่ืนถึงแก่ความตาย จำคุก 5-20 ปี และปรับ 100,000-200,000 บาท ตามมาตราท่ี 12 9. จำหน่ายหรือเผยแพร่ชุดโปรแกรมท่ีจัดทำขึ้น เพื่อนำไปใช้กระทำความผิดต้องได้รับโทษ ตามมาตราท่ี 13 จำคกุ ไมเ่ กิน 1 ปี หรอื ปรบั ไม่เกนิ 20,000 บาท หรอื ท้ังจำทง้ั ปรบั 10. นำขอ้ มูลทผี่ ิด พ.ร.บ. เข้าสรู่ ะบบคอมพวิ เตอร์ เช่น ข้อมูลปลอม ทจุ ริต หลอกลวง ข้อมูล ความผิดเกี่ยวกับความม่ันคงของประเทศ แล้วเผยแพร่ส่งต่อข้อมูลโดยรู้อยู่แล้วว่าผิด มีโทษจำคุกไม่ เกิน 5 ปี หรอื ปรบั ไม่เกิน 100,000 บาท หรือทง้ั จำทงั้ ปรับ ตามมาตราท่ี 14 11. หากผู้ใดให้ความร่วมมือ ยินยอม รู้เห็นเป็นใจให้มีการกระทำผิดจำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือ ปรบั ไมเ่ กิน 100,000 บาท หรอื ท้ังจำท้ังปรบั ตามมาตราท่ี 15 12. การเผยแพร่ภาพตัดต่อ ต่อเติม ดัดแปลงภาพ ไม่ว่าจะด้วยวิธีใดที่ทำให้ผู้อ่ืนเสียช่ือเสียง ถูกดูหม่ิน หรือถูกเกลียดชัง ให้ได้รับความอับอาย ต้องได้รับโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี และปรับไม่เกิน 200,000 บาท ตามมาตราท่ี 16 13. การส่งรูปภาพแชร์ของผู้อ่ืน เช่น สวัสดี อวยพร ไม่ผิด ถ้าไม่เอาภาพไปใช้ในเชิงพาณิชย์ หารายได้ ภาพดอกไม้ หรอื ภาพถา่ ยศิลปะท่ีถูกตัดต่อและส่งเป็นข้อความสวัสดี หรือ คำอวยพรต่างๆ นั้นไม่ถือว่าเข้าข่ายความผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ตามมาตรา 16 หากแต่ต้องเป็นภาพตัดต่อบุคคล เทา่ นั้น จงึ จะมคี วามผิดตาม พ.ร.บ.คอมพวิ เตอร์
166 นี่เป็นเพียงส่วนหน่ึงของ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ที่มีผลบังคับใช้แล้ว ซึ่งยังมีอีกหลายประเด็นที่ ส่งผลกระทบต่อการใช้งานส่ือสังคมออนไลน์ ดังน้ันจึงควรรู้กฎกติกาการใช้งานไว้ก่อน ก็จะช่วย ปอ้ งกันไมใ่ หเ้ ราเส่ียงตอ่ การทำผดิ กฎหมายได้ กรณศี ึกษา (อา้ งอิงจาก https://sites.google.com/site/peanutt199/008) มาตรา 5, 7, 9, 14 แฮก Twitter นายกรัฐมนตรี มาตรา 6 account yahoo voice ถูกเปิดเผย 4 แสนรายช่อื มาตรา 8 ไอซที ใี ชเ้ สนอสนฟิ เฟอรแ์ ต่ไม่ผา่ น มาตรา 10 จงใจทำให้ Server ทำงานหนกั (Overload) มาตรา 11 จดหมายขยะ มาตรา 14 เผยแพรข่ ่าวเท็จปรับเวลาประเทศไทย มาตรา 15 บกุ ยดึ เซริ ฟ์ เวอรเ์ วบ็ ตลาดดอทคอม มาตรา 16 ฟ้องเอเอสทีวีตัดต่อทักษณิ (ตรงกบั กฎหมายอาญา มาตรา 328) สรุป กฎหมาย จริยธรรมและจรรยาบรรณ กฎหมายเป็นคำส่ังหรือข้อบังคับของรัฐ ผู้ใดไม่ปฏิบัติ ตามจะต้องได้รับโทษ ที่ระบุไว้ จริยธรรมเป็น สิ่งท่ีควรประพฤติควรทำ ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามก็ไม่ต้องรับ โทษทางกฎหมายบ้านเมือง แต่อาจถูกลงโทษทางสังคม จริยธรรมประกอบด้วยองค์ประกอบ 3 ส่วน ดังนี้ 1. ความรู้ (cognitive) 2. ความสำนึก (affective) 3. องค์ประกอบด้านการแสดงออก (Moral conduct) จรรยาบรรณหรือเรียกอีกอย่างว่า ประมวลจริยธรรม (Code of Conduct) หมายถึง \"ประมวลความประพฤติท่ีผู้ประกอบ อาชีพการงานแต่ละอย่างกำหนดขึ้น เพ่ือรักษาและส่งเสริม เกียรติคณุ ชื่อเสยี งและฐานะของสมาชิก อาจเขยี นเป็นลายลกั ษณ์อกั ษรหรอื ไม่ก็ได้ อาชญากรรมคอมพิวเตอร์ การใช้คอมพิวเตอร์เป็นเคร่ืองมือในการก่ออาชญากรรม 1. การ ขโมยหมายเลขบัตรเครดิต 2. การแอบอ้างตัว เป็นการแอบอ้างตัวของผู้กระทำต่อบุคคลท่ีสามว่าตน เป็นอีกคนหนึ่ง การกระทำในลักษณะน้ีจะใช้ลักษณะเฉพาะตัว 3. การสแปมทางคอมพิวเตอร์ เป็น การกระทำโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นเคร่ืองมือในการหลอกลวงผู้อื่น ลักษณะของอาชญากรรม คอมพิวเตอร์ ตัวอย่างลักษณะการกระทำที่เป็นอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ใน 3 ประเด็น คือ 1. การ เข้าถึงและการใช้คอมพิวเตอร์โดยไม่ได้รับอนุญาต 2. การก่อกวนหรือการทำลายข้อมูล 3. การขโมย ขอ้ มลู และอุปกรณค์ อมพวิ เตอร์ พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกยี่ วกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2560 ท่สี ำคัญ ดงั นี้ 1. ฐานความผิดท่ีเก่ียวข้องกับคอมพิวเตอร์ (มาตรา 5-16) 2. เขต (ประเทศ) อำนาจของศาลในการ พิจารณาคดี (มาตรา 17) 3. อำนาจของพนักงานเจ้าหน้าที่ตามกฎหมายใหม่ (มาตรา 18-21) 4. อำนาจของ รมต.ไอซีที ระงับการทำให้เผยแพร่ (มาตรา 20) 5. บทกำหนดโทษสำหรับพนักงาน เจ้าหน้าท่ี หากเปิดเผย หรือประมาท (มาตรา 22-24) 6. ข้อมูลท่ีใช้เป็นพยานหลักฐาน ต้องไม่เกิด
167 จากการจูงใจ หรือข่มขู่ (มาตรา 25) 7. การจัดเก็บข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ของผู้ให้บริการ (มาตรา 26) 8. ข้อกำหนดใหป้ ฎิบตั ิตามพ.ร.บ.น้ี (มาตรา 27 - 30) แบบฝกึ หดั ท้ายบท 1. ให้นักศึกษายกตัวอย่างอาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต หรือภัยจากการใช้งานอินเทอร์เน็ต มาคนละ 2 ตัวอย่าง และให้พิจารณาว่าภัยดังกล่าวละเมิดกฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศเรอื่ งใด (ให้ นักศกึ ษาบอกแหล่งทีม่ าของข้อมลู อาชญากรรมหรอื ภยั ทางอินเทอรเ์ นต็ ด้วย) 2. เครื่องคอมพิวเตอร์จะสามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จำเป็นต้องอาศัย องคป์ ระกอบพืน้ ฐานอะไรบา้ ง 3. ฮารด์ แวรค์ อมพิวเตอร์ หมายถงึ อะไร และมีลักษณะการทำงาน อย่างไรบา้ ง 4. ซอฟตแ์ วรร์ ะบบกบั ซอฟตแ์ วรป์ ระยกุ ต์ มีความแตกตา่ งกันอยา่ งไร 5. คอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศมีความสำคญั ตอ่ การสอ่ื สารอย่างไรบา้ ง 6. ยกตัวอย่างคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีมีความสำคัญในชีวิตประจำวันมา อยา่ งน้อย 5 ข้อ 7. จงบอกประโยชนข์ องคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยีสารสนเทศมาอยา่ งนอ้ ย 10 ข้อ 8. คอมพิวเตอรส์ ำหรบั การใชง้ านทัว่ ไป ควรเปน็ คอมพวิ เตอร์ประเภทใด เพราะอะไร 9. คณุ ไดน้ ำคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ให้เกิดประโยชน์ด้านใดบา้ ง อยา่ งไรจง อธิบายมาพอสังเขป 10. คอมพวิ เตอรก์ ับเทคโนโลยีสารสนเทศมคี วามแตกต่างกันหรอื ไม่ อยา่ งไรจงอธบิ าย เอกสารอา้ งองิ กระทรวงเทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร, “กฎหมายไอซีที”. (2553). [ออนไลน์] ได้จาก: http://www.mict.go.th/more_news.php?cid=47 [สืบค้นเมื่อ 20 กรกฎาคม 2562]. กฎหมายเทคโนโลยีสารสนเทศของประเทศไทย. (2560). [ออนไลน์] ได้จาก: http://www.lawyerthai.com/articles/it/006.php [สืบค้นเมื่อ 20 กรกฎาคม 2562]. คู่มือการปฏิบัติและแนวทางการป้องกนั เพ่ือหลีกเล่ียงการกระทำความผิดเกี่ยวกบั คอมพิวเตอร์ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร. (2550).[ออนไลน์] ได้จาก: http://www.mwit.ac.th/~cs/download/tech30102/handbook.pdf [สืบค้นเมือ่ 1 ตุลาคม 2562].
168 ทพิ วรรณ หลอ่ สวุ รรณรัตน์. (2546). ทฤษฎอี งคก์ ารสมัยใหม่. กรงุ เทพฯ : ศริ ภิ ณั ฑ์. ทักษิณา สวนานนนท์ และฐานิศรา เกียรติบารมี. (2546). พจนานุกรมศัพท์คอมพิวเตอร์และ อนิ เทอรเ์ น็ต.พมิ พ์ครงั้ ท่ี 10. กรุงเทพฯ : ว.ี ทีซี.คอมมวิ นเิ คชั่น บทเรยี นออนไลน์วิชาก้าวทันสังคมดิจิทัลด้วยไอซที .ี (2550). [ออนไลน์] ได้ จ าก : https://www.informatics.buu.ac.th/88510159/ [สื บ ค้ น เมื่ อ 14 สิงหาคม 2562]. พระราชบัญญตั ิวา่ ดว้ ยการกระทำความผดิ เกย่ี วกับคอมพิวเตอร์. (2553). [ออนไลน์] ได้จาก: http://www.nectec.or.th/index.php?option=com_content&view=articl e&id=79:- พระราชบญั ญัตวิ า่ ดว้ ยการกระทำความผดิ เกี่ยวกับคอมพวิ เตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐. (2561). [ออนไลน์] ได้ จ า ก :http://th.wikisource.org/wiki/พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ _ว่ า ด้ ว ย ก า ร ก ร ะ ท ำ ความผิดเก่ยี วกับคอมพวิ เตอร์_พ.ศ._๒๕๕๐ [สบื คน้ เม่อื 18 กรกฎาคม 2562]. พระราชบัญญัติคอมพวิ เตอร์. (2560). [ออนไลน์] ได้จาก: https://sites.google.com/site/peanutt199/008 [สืบค้นเมือ่ 18 กรกฎาคม 2562]. พจนานกุ รมฉบับราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ. 2542. [ออนไลน์] ได้จาก:http://rirs3.royin.go.th/newsearch/word-2-search.asp [สืบค้นเม่ือ8 เมษายน 2559] พรเพชร วชิ ติ ชลชยั ประธานศาลอธุ รณภ์ าค4. (2559). “คำอธิบายพระราชบญั ญตั วิ ่าดว้ ยการกระทำ ค ว า ม ผิ ด เกี่ ย ว กั บ ค อ ม พิ ว เต อ ร์ พ .ศ .2 5 5 0 ” .2 5 5 0 &catid=4 0 :technology- news&Itemid=165 [สบื คน้ เมื่อ 10 มถิ ุนายน 2562]. ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ: บริษัทนานมบี ๊คุ สพ์ บั ลิเคชั่นส์ จำกดั . ศูนยเ์ ทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกส์และคอมพวิ เตอร์ . (2554). “คำอธิบายพระราชบัญญตั ิวา่ ดว้ ยธรุ กรรม ทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544”. โอภาส เอยี่ มสริ วิ งศ์. (2549). วทิ ยาการคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยีสารสนเทศ. กรุงเทพฯ: ซเี อ็ยู เคชั่น.
169 บทท่ี 7 โครงงานพัฒนานวตั กรรมเพอ่ื การเรียนรู้ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.รวยทรพั ย์ เดชชยั ศรี การศึกษาในปัจจุบันท่ีก้าวเข้าสู่ศตวรรษท่ี 21 การเรียนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง ผู้เรียนจะรู้จัก การคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์ แยกแยะข้อมูล มีความคิดสร้างสรรค์ รวมถึงการสังเกต สิ่งต่างๆรอบตัวมากขึ้น เพราะว่าผู้เรียนได้สัมผัสกับส่ิงแวดล้อมใหม่ๆ แหล่งการเรียนรู้และเครือข่าย การเรียนรู้ใหม่ๆ ด้วยตนเองอยู่ตลอดเวลาซ่ึงลักษณะต่างๆเหล่าน้ีจะสอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ โดยใช้โครงงานเป็นฐาน เน่ืองจากโครงงาน คอื การศึกษาเพ่ือค้นหาความรู้ใหม่ ส่ิงประดิษฐ์ใหม่ และ วิธกี ารใหม่ ดว้ ยวิธีการทางวทิ ยาศาสตร์ โดยมีครูเป็นผูแ้ นะนำใหค้ ำปรกึ ษา ดงั น้นั ในเรื่องของโครงงาน นวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพ่ือการเรียนรู้ จะมีข้ันตอน วิธกี าร และกระบวนการ อย่างไรนัน้ จะกลา่ วรายละเอียดในเนอ้ื หาต่อไป ความหมายของโครงงาน นวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพอื่ การเรยี นรู้ การเรียนรู้แบบโครงงาน เป็นการจัดการเรียนรู้วิธีหน่ึงที่ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ จริง เป็นการเรียนรู้ที่ผู้เรยี นได้ศึกษา ซึ่งมีนักการศึกษาได้ให้ความหมายของการเรียนรู้แบบโครงงาน ดงั นี้ กระทรวงศึกษาธิการ. (2539, 46) ได้ให้ความหมายไว้ว่าการจัดการเรียน การสอนแบบโครงงาน คือ การเรียนการสอนที่จัดประสบการณ์ในการปฏิบัติงานให้แก่เด็ก เหมือนกับการทำงานในชีวิตจริง เพ่ือให้เด็กได้ประสบการณ์โดยตรง เด็กได้เรียนรู้วิธีการแก้ปัญหา โดยวิธีทางวิทยาศาสตร์ เด็กได้ทำการทดลอง ได้พิสูจน์ส่ิงต่างๆ ด้วยตนเอง รู้จักหาวิธีการต่างๆมา แก้ปัญหา เด็กจะทำงานอย่างเป็นระบบขั้นตอนรู้จักวางแผน ฝึกการเป็นผู้นำและผู้ตาม ฝึกการคิด วิเคราะหแ์ ละประเมินตนเอง สุชาติ วงศ์สุวรรณ. (2542, 6) กล่าวว่า โครงงาน หมายถึง การจัดการ เรีย น รู้รูป แบ บ ห น่ึ งท่ีท ำให้ ผู้ เรีย น ได้เรีย น รู้ด้ วย ตน เองจากการล งมื อป ฏิ บั ติ จ ริงใน ลักษ ณ ะของ การศึกษาสำรวจ ค้นคว้า ทดลอง ประดิษฐ์ คิดค้น โดยมีครูเป็นผู้คอยกระตุ้น แนะนำ และให้ คำปรกึ ษาอยา่ งใกล้ชิด ทิ ศ น า แ ข ม ม ณี .(2543,14) ได้ ก ล่ าว ถึ งก าร ส อ น แ บ บ โค ร งงา น (Project Design) หมายถึง เป็นรูปแบบการเรียนการสอนที่มุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ค้นหา ความสามารถ ความถนัด และความสนใจของตนเองในด้านต่างๆมาจากแนวคิดพื้นฐานของงการ เรยี นรู้โดยยึดผู้เรยี นเปน็ ศนู ยก์ ลาง (Child Center) และการเรยี นรู้ตามสภาพจรงิ โดยมีการศกึ ษา หลักการและวิธีเกี่ยวกับโครงงานท่ีเลือกศึกษา วิเคราะห์ วางแผนการทำงาน ลงมือทำงานและ ปรับปรุงเพื่อให้งานบรรลุตามวัตถุประสงค์ในกระบวนการเรียนการสอนได้ใช้ทักษะกระบวนการ
170 สอดแทรกคุณธรรมทำงานเป็นกลุ่ม ฝกึ ปฏิบตั ิจรงิ เนน้ ผ้เู รียนมีสว่ นรว่ ม มีครูเป็นผ้ชู ้ีแนะให้คำปรกึ ษา ตลอดเวลา เนน้ ฝกึ คนใหแ้ สวงหาความรดู้ ้วยตนเอง วิมลรัตน์ สุนทรโรจน.์ (2545, 213) ได้กลา่ วถงึ ความหมายของโครงงานว่า กระบวนการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนเป็นผู้ลงมือปฏิบัติอย่างเป็นระบบเพื่อสร้างองค์ความรู้ หรือแก้ปัญหาโดย การศกึ ษาคน้ ควา้ ทดลองตามข้นั ตอนและส่วนประกอบของโครงงาน อาภาภรณ์ ใจเท่ยี ง.(2553, 133) กลา่ วว่า โครงงาน คือ การจดั การเรียนรู้ วิธีหนึ่งที่ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงเป็นการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนได้ศึกษา ค้นคว้า ทดลอง นำเสนอ ผลงาน ตามความสามารถของแต่ละคน จัดเป็นกิจกรรมท่ีสอดคล้องกับเป้าหมาของการจัด การศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ ท่ีส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาตามธรรมชาติและเต็ม ศกั ยภาพ สุคนธ์ สินธพานนท์และคณะ. ( 2554, 100 ) ได้กล่าวถึงการเรียนรู้แบบ โครงงาน คือ เป็นวิธีการสอนท่ีมุ่งเน้นให้ผู้เรียน ได้ศึกษาค้นคว้า กระทำในส่ิงท่ีตนสนใจและเป็นผู้ วางแผนการทำงานไดด้ ว้ ยตนเอง โดยมีผู้สอนเป็นผู้ใหค้ ำปรึกษาหรืเสนอแนะแนวทาง ผูเ้ รียนจะตอ้ ง ฝึกกระบวนการทำงานอย่างมีข้ันตอน คือวางแผนการดำเนินงานด้วยการเขียนโครงงานเสนอ ผู้สอน เมื่อได้รับการอนุมัติก็จะดำเนินงานตามแผน เก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล สรุปแผนการ ดำเนินงานและรายงานการปฏิบัติงาน รายงานสภาพปัญหา อุปสรรคและข้อเสนอแนะแนว ทางแกไ้ ข พิ ม พั น ธ์ เด ช ะ คุ ป ต์ แ ล ะ ค ณ ะ . (2556, 25) ก ล่ า ว ว่ า ก า ร ท ำ โครงงาน หมายถึง การศึกษาเพื่อค้นพบความรู้ใหม่ ส่ิงประดิษฐ์ใหม่และวิธีการใหม่ ด้วยตัวของ นักเรียนเอง โดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์มีครูอาจารย์และผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้ให้คำปรึกษา ความรู้ ใหม่ ส่ิงประดิษฐ์ใหม่และวิธีการใหม่นั้นท้ังนักเรียนและครูไม่เคยรู้หรือมีประสบการณ์มาก่อน (unknown by all) จากความหมายของโครงงานท่ีนักการศึกษาได้ให้ความไว้ข้างต้นนั้น พอ สรุปได้ว่า การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงาน หมายถึง เป็นวิธีการสอนที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียน ได้ ศึกษาค้นคว้า กระทำในส่ิงที่ตนสนใจและเป็นผู้วางแผนการทำงานได้ด้วยตนเอง โดยมีครูเป็นผู้คอย กระตุ้น แนะนำ และให้คำปรึกษาอย่างใกล้ชิด ฝึกให้ผู้เรียนมีการวางแผนการจัดทำโครงงานเป็น ข้ันตอน เพ่ือคน้ พบความรู้ใหม่ ส่ิงประดิษฐใ์ หม่และวิธกี ารใหม่ ดว้ ยตวั ของผู้เรียนเอง นวัตกรรม มอร์ตัน เจ. (Morton, J, 1971) ให้ความหมายของนวัตกรรมว่า หมายถึงการปรับปรุงของเก่าให้ใหม่ ข้ึน และพัฒนาศักยภาพของบุคลากร ตลอดจนหนว่ ยงานหรอื องค์กรนั้น นวัตกรรมไม่ใช่การขจัดหรือ ล้มล้างสิ่งเก่าให้หมดไป แต่เป็นการปรับปรงุ เสริมแตง่ และพัฒนาเพอื่ ความอยูร่ อดของระบบ นารายานาน (Narayanan, 2001, 68) ให้ความหมายของนวตั กรรมว่า คือผลลัพธ์และกระบวนการท่ี ใช้เทคโนโลยเี พ่ือแก้ปัญหาในการทำงาน และก่อให้เกดิ ความได้เปรยี บและโอกาสในการแข่งขัน บุญเกื้อ ควรหาเวช (2542, 11-12) ระบุว่า \"นวัตกรรม\" เป็นศัพท์บัญญัติของ คณะกรรมการพิจารณาศัพท์วิชาการศึกษากระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งแต่เดิมใช้คำว่า \"นวัตกรรม\" เป็น คำที่มาจากภาษาอังกฤษว่า \"Innovation\" มีรากศัพท์มาจากภาษาละตินว่า \"Innovare\" แปลตามรูป ศัพท์ได้ว่า ทำใหม่ เปลี่ยนแปลงโดยนำส่ิงใหม่ๆ เข้ามา เมื่อพิจารณาความหมาย ศัพท์บัญญัติ วิชา
171 การศึกษาคำว่า \"นวัตกรรม\" หมายถึงการนำส่ิงใหม่ๆ เข้ามาเปล่ียนแปลงเพิ่มเติมวิธีการท่ีทำอยู่เดิม เพื่อให้ใช้ได้ผลดีย่ิงข้ึน ฉะน้ันไม่ว่าวงการหรือกิจการใดๆก็ตาม เม่ือมีการนำเอาความเปล่ียนแปลง ใหมๆ่ เขา้ มาใช้ เพือ่ ปรบั ปรุงงานให้ดีข้ึนกว่าเดิม หรือม่งุ ทีจ่ ะใหง้ านน้นั มีประสทิ ธิภาพสูงขน้ึ กเ็ รยี กได้ วา่ เปน็ นวัตกรรมของวงการน้นั ๆ กิดานันท์ มลิทอง (2540, 245) ให้ความหมายของนวัตกรรมว่า เป็นแนวความคิด การปฏิบัติหรอื สิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ ที่ยังไม่เคยมกี ารใช้มาก่อน หรอื เปน็ การพัฒนาดัดแปลงจากของเดิม ท่ีมีอยู่แล้วให้ทันสมัย และใช้ได้ผลดียิ่งข้ึน เม่ือนำนวัตกรรมมาใช้ จะช่วยให้การทำงานนั้นได้ผลดี มี ประสิทธิภาพและประสทิ ธิผลสงู กว่าเดิม ท้ังยังชว่ ยประหยัดเวลาและแรงงาน จรินทร์ อาสาทรงธรรม (2549) ให้ความหมายของนวัตกรรมว่า เป็นการเรียนรู้ การ ผลิตและการใช้ประโยชน์จากความคิดใหม่ เพื่อให้เกิดผลดีทางเศรษฐกิจและสังคม รวมถึงการกำเนิด ผลิตภัณฑ์ การบริการ กระบวนการใหม่ การปรบั ปรุงเทคโนโลยี การแพร่กระจายเทคโนโลยีและการ ใชเ้ ทคโนโลยใี หเ้ ปน็ ประโยชนแ์ ละเกิดผลพวงทางเศรษฐกจิ และสงั คม จากความหมายของนวัตกรรมที่กล่าวมา สรุปได้ว่า นวัตกรรม หมายถึงการนำส่ิง ใหมๆ่ เขา้ มาเปล่ียนแปลงเพ่ิมเตมิ วธิ ีการที่ทำอยู่เดมิ เพ่ือให้ใช้ไดผ้ ลดยี ่ิงข้ึน ไม่ว่าจะเป็นสง่ิ ที่ยงั ไม่เคยมี การใช้มาก่อน หรือเป็นการพัฒนาดัดแปลงจากของเดิมท่ีมีอยูแ่ ล้วให้ทันสมัย และใช้ได้ผลดียิ่งขึ้น ก่อ เกิดผลิตภัณฑ์ การบริการ กระบวนการใหม่ การปรับปรุงเทคโนโลยี การแพร่กระจายเทคโนโลยีและ การใช้เทคโนโลยีให้เป็นประโยชน์ ก่อให้เกิดผลพวงทางเศรษฐกิจและสังคมช่วยประหยัดเวลาและ แรงงาน เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร (Information and Communication Technologies) ใช้คำย่อว่า “ICT” หมายถึง เทคโนโลยีท่ีเกี่ยวข้องกับข่าวสารข้อมูลและการสื่อสาร นับต้ังแต่การสร้าง การนำมาวิเคราะห์หรือประมวลผล การรับและส่งข้อมูล การจัดเก็บและการ นำไปใช้งานใหม่ เทคโนโลยีเหล่าน้ีมักจะหมายถึง คอมพิวเตอร์ ซ่ึงประกอบด้วยส่วนอุปกรณ์ (hardware) ส่วนคำสั่ง (software) และส่วนข้อมูล (data) และระบบการสื่อสารต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น โทรศัพท์ ระบบส่ือสารข้อมูล ดาวเทียมหรือเครื่องมือส่ือสารใด ๆ ทั้งมีสายและไร้สาย (ความหมาย ตามท่ีให้ไว้ในแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารของประเทศไทย พ.ศ. 2545-2549) โดยอักษรยอ่ แตล่ ะตวั มคี วามหมายดงั ตอ่ ไปนี้ “I” ย่อมาจากคำว่า Information แปลว่า สารสนเทศ หมายถงึ นำข้อมูลทีเ่ ก็บรวบรวมไวม้ า ผา่ นกระบวนการประมวลผล เป็นการบวก ลบ คูณ หาร การจัดกลมุ่ การจัดจำพวก ฯลฯ สารสนเทศ ใหเ้ ป็นข้อมูลท่งี ่ายต่อการแปลความหมายทำความเข้าใจได้ง่าย ทำใหม้ ีความเข้าใจตรงกันเพ่อื ใหไ้ ดผ้ ล ลัพธ์ที่มีประโยชน์ต่อการตัดสินใจ มีภาระหน้าท่ีให้ความสำคัญกับความปลอดภัยของข่าวสารข้อมูล บนเครอื ข่าย อยู่ในศลี ธรรมอนั ดี และไม่กระทบตอ่ ความม่นั คงของประเทศ “C” ย่อมาจากคำว่า Communication แปลว่า การส่ือสาร ซึ่งในปัจจุบันระบบสื่อสารการ โทรคมนาคมได้เช่ือมโยงประเทศต่างๆ ในโลกเข้าด้วยกัน ทำให้เกิดสังคมยุคไร้พรมแดนมนุษย์ซ่ึงอยู่ คนละซีกโลกสามารถติดต่อถึงกันโดยใช้เทคโนโลยีหลายรูปแบบ เช่น อนิ เทอร์เน็ตกลายเปน็ เครื่องมือ ชนิดหน่งึ ท่ีสามารถส่งผ่านขอ้ มลู ได้เกอื บทกุ รปู แบบ
172 “T” ย่อมาจากคำว่า Technology ซึ่งเทคโนโลยีเป็นการรวมคำ 2 คำ คือ Technique หมายถึง วิธีการที่มีการพัฒนาและสามารถนำไปใช้ได้ และ Logic หมายถึงความมีเหตุผลท่ีเป็นท่ี ยอมรับ เม่ือรวมกันมีความหมาย คือ วิธีการปฏิบัติท่ีมีการจัดลำดับอย่างมีรูปแบบและข้ันตอน เพื่อ ทำให้เกิดประสิทธิภาพในเรื่องความเร็ว หรือการประยุกต์ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์มาใช้ให้เกิด ประโยชนต์ ่อการดำรงชีวิตของมนุษย์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารีฯ (2538, 4) พระราชทานคำนิยามของ เทคโนโลยีสารสนเทศว่า การจัดการกระบวนการดำเนินงานสารนิเทศ หรือสารสนเทศในขั้นตอน ต่างๆ ตั้งแต่การเสาะแสวงหา การวิเคราะห์ การจัดเก็บ การจัดการ และการเผยแพร่ เพื่อเพ่ิม ประสิทธภิ าพ ความถกู ตอ้ ง ความแม่นยำ และความรวดเร็ว ทันต่อการนำไปใชป้ ระโยชน์ ระบบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการส่งเสริมการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ พ.ศ. 2535 ข้อที่ 5 (อ้างถึงใน สำนักงานเลขานุการคณะกรรมการเทคโนโลยีแห่งชาติ ศูนย์เทคโนโลยี อิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 2543, 7) ให้ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศว่า หมายถึงความรู้ในผลิตภัณฑ์ หรือใน กระบวนการดำเนินการใดๆ ท่ีอาศัยเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ซอฟต์แวร์ คอมพิวเตอร์ฮาร์ดแวร์ การติดต่อส่ือสาร การรวบรวม และการนำข้อมูลมาใช้อย่างทันกาล เพื่อก่อให้เกิดประสิทธิภาพท้ัง ทางด้านกายภาพ การบริการ การบรหิ าร และการดำเนนิ การ รวมท้ังเพ่ือการศึกษาและการเรยี นรู้ ซ่ึง จะส่งผลต่อความได้เปรียบทางด้านเศรษฐกิจ การค้า และการพัฒนาคุณภาพชีวิตและคุณภาพของ ประชาชนในสงั คม ครรชิต มาลัยวงศ์ (2539) กล่าวว่า เทคโนโลยีสารสนเทศประกอบด้วย เทคโนโลยีสำคัญ สองสาขา คือ เทคโนโลยีคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคม โดยเทคโนโลยคี อมพิวเตอร์ จะช่วยให้เราสามารถจัดเก็บบันทึกและประมวลผลข้อมูลได้อย่างรวดเร็วและถูกต้องส่วนเทคโนโลยี ส่ือสารโทรคมนาคมช่วยให้สามารถส่งผลลัพธ์ของการใช้งานคอมพิวเตอร์ ไปให้ผู้ใช้ท่ีอยู่ห่างไกลได้ อยา่ งสะดวกและรวดเรว็ สุขุม เฉลยทรัพย์ และคณะ (2547) กล่าวว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือ เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร หมายถึง เทคโนโลยี 2 ด้านหลักๆ ซึ่งประกอบด้วย เทคโนโลยีระบบ คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสื่อสารโทรคมนาคมที่ผนวกเข้าด้วยกัน เพ่ือใช้ในกระบวนการจัดหา จัดเก็บ สรา้ ง และเผยแพร่สารสนเทศในรูปต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเสียง ภาพนิ่ง ภาพเคล่ือนไหวข้อความ หรือตัวอักษรและตัวเลข เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพ ความถูกต้อง ความแม่นยำ และความรวดเร็วให้ทัน ต่อการนำไปใช้ประโยชน์ ดังนั้นสรุปได้ว่า เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร หมายถึง เทคโนโลยีท่ีเก่ียวข้องกับ ข่าวสารข้อมูลและการสื่อสารนับต้ังแต่การสร้าง การนำมาวิเคราะห์หรือประมวลผล การรับและส่ง ข้อมูล การจัดเก็บและการนำไปใช้งานใหม่ เทคโนโลยีเหล่าน้ีมักจะหมายถึงคอมพิวเตอร์ซึ่ง
173 ประกอบด้วยส่วนอุปกรณ์ (hardware) ส่วนคำส่ัง (software) และส่วนข้อมูล (data) และระบบการ ส่ือสารต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นโทรศัพท์ ระบบส่ือสารข้อมูล ดาวเทียมหรือเครื่องมือส่ือสารใดๆ ทั้งมีสาย และไรส้ าย กล่าวโดยสรุป โครงงาน นวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพ่ือการ เรียนรู้ คือ การศึกษาเพื่อค้นหาความรู้ใหม่ สิ่งประดิษฐ์ใหม่ และวิธีการใหม่ หรือเป็นการพัฒนา ดัดแปลงจากของเดิมท่ีมีอยู่แล้วให้ทันสมัย และใช้ได้ผลดียิ่งข้ึน โดยนำ เทคโนโลยีที่เก่ียวข้องกับ ข่าวสารข้อมูลและการสื่อสารนับตั้งแต่การสร้าง การนำมาวิเคราะห์หรือประมวลผล การรับและส่ง ข้อมูล การจัดเก็บและการนำไปใช้งานใหม่ ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์โดยมีครูเป็นผู้แนะนำให้ คำปรึกษา ประเภทของโครงงาน การเรียนร้แู บบโครงงาน มนี กั การศึกษาได้แบ่งประเภทของโครงงาน ไวด้ ังน้ี อาภรณ์ ใจเท่ียง. (2554, 133 – 135) แบ่งประเภทของโครงงานออกเป็น 4 ประเภทใหญๆ่ ตามลกั ษณะการปฏบิ ัติได้ดงั นี้ 1. โครงงานท่ีเป็นการสำรวจ รวบรวมข้อมูล เพือ่ สำรวจและรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับเร่ืองใด เรื่องหน่ึง แล้วนำข้อมูลท่ีได้จากการสำรวจน้ันมาจำแนกเป็นหมวดหมู่และนำเสนอในรูปแบบต่างๆ อย่างมีระบบ ผูเ้ รยี นจะตอ้ งไปศึกษารวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการต่างๆ เช่น สอบถาม สมั ภาษณ์ สำรวจ โดยใช้เครื่องมือ เช่น แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบบันทึก ตัวอย่างโครงงาน เช่น การ สำรวจประชากร พืช สัตว์ หินแร่ ฯลฯ ในชุมชน การสำรวจพ้ืนที่เพาะปลูกในชุมชน การสำรวจ ตามความตอ้ งการเกยี่ วกับอาชีพของชุมชนและการใชภ้ าษาในหนา้ หนังสอื พมิ พ์ 2. โครงงานที่เปน็ การค้นคว้าทดลอง เพ่อื ศกึ ษาเรื่องใดเรื่องหน่งึ โดยเฉพาะ โดยการออกแบบ โครงงานในรูปของการทดลอง เพื่อศึกษาว่าตัวแปรหน่ึงที่จะมีผลต่อตัวแปรท่ีต้องการศึกษาอย่างไร บา้ ง ด้วยการควบคมุ ตวั แปรอื่นๆ ซงึ่ อาจมีผลต่อตัวแปรทต่ี ้องการศึกษาไวก้ ารทำโครงงานประเภทนี้ จะมีข้ันตอนการดำเนินงานประกอบด้วยการกำหนดปัญหาการต้ังวัตถุประสงค์หรือสมมติฐาน การ ออกแบบทดลอง การรวบรวมข้อมูล การดำเนินการทดลอง การแปรผลและสรุปผลการทดลอง เช่น การปลูกพืชสวนครัวโดยไม่ใช้ดิน การเก็บถั่วงอกให้สดและขาว ไข่เค็มสูตรใหม่และยากันยุง จากพชื สมุนไพร ฯลฯ 3. โครงงานท่ีเป็นการศึกษา ความรู้ ทฤษฎี หลักการหรือแนวคิดใหม่เพ่ือเสนอความรู้ ทฤษฎี หลักการ แนวคิดใหม่ๆ เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหน่ึงท่ียังไม่มีใครคิดมาก่อน ดังนั้น ความรู้ ทฤษฎี หลักการ แนวคิดใหม่ที่จะทำจำเป็นต้องมีการศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล มีการพิสูจน์ ทดลอง และทดสอบอย่างมรี ะบบระเบียบเพ่ือความถกู ต้องและความน่าเชือ่ ถือ ผเู้ รียนต้องมกี ารศึกษาค้นคว้า หาข้อมูลมาประกอบอย่างลึกซึ้ง และมีการดำเนินงานท่ีเป็นระบบระเบียบ เพื่อให้ได้ความรู้ทฤษฎี หลักการแนวคิดใหม่ๆ ท่ีถูกต้อง เช่น เทคนิคการแก้โจทย์ปัญหา อาหารเพื่อสุขภาพ วัฒนธรรม พืน้ บ้านและระบบนเิ วศปา่ ชายเลน ฯลฯ
174 4. โครงงานที่เป็นการประดิษฐ์ เพื่อนำความรู้ ทฤษฎี หลักการหรือแนวคิดมาประยุกต์ใช้ โดยการประดิษฐ์เป็นเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ เพ่ือประโยชน์ในการเรียนการทำงาน หรือการใช้สอย อื่นๆ การประดิษฐ์คิดค้นตามโครงงานนี้ อาจเป็นการประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่โดยท่ียังไม่มีใครทำหรืออาจ เป็นการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงหรอื ดัดแปลงของเดิมท่ีมีอยแู่ ล้ว ให้มรี ะสิทธิภาพสูงกว่าเดมิ โครงงาน ท่ีเป็นการประดิษฐ์คิดค้นน้ีจะครอบคลุมเร่ืองต่างๆ ท้ังวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภาษา สังคม อาชีพ ส่ิงแวดล้อม ฯลฯ เช่น เครื่องกรองดักไขมัน เคร่ืองสีข้าวกล้อง เคร่ืองกรองน้ำโดยวัสดุ ธรรมชาติ และการทำเว็บไซต์ เป็นตน้ สคุ นธ์ สินธพานนท์และคณะ. (2554, 101 – 102) กล่าวว่า โครงงานท่ีกำหนดให้ผู้เรียน ทำตามความถนัดและความสนใจ มีผู้แบ่งไว้หลายประเภทแต่อาจรวมเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้ 4 ประเภท ได้แก่ 1. โครงงานสำรวจ เปน็ การรวบรวมข้อมูลเรอ่ื งท่ีกำลังศึกษา เพ่ือนำมาพฒั นาหรือปรับปรุงดี ขึน้ เช่น โครงงานสำรวจ ความคิดเห็นในการพัฒนาโรงเรียน โครงงานสำรวจตัวอย่างสมุนไพรท่ีใช้ เป็นอาหาร โครงงานสำรวจแหล่งวิทยาการในชุมชน โครงงานสำรวจคุณภาพน้ำท้ิงจากแหล่งต่างๆ ในโรงเรียนโครงงานสำรวจการประหยัดพลังงานในโรงเรียน โครงงานสำรวจความสนใจในการ ประกอบอาชีพของนักเรียนท่ีเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ของโรงเรียน โครงงานสำรวจภูมิ ปญั ญาทอ้ งถ่นิ ฯลฯ 2. โครงงานประเภททฤษฎี หลักการ แนวความคิด การศึกษา และการทดลอง เป็น การศึกษาค้นคว้าโดยการแสวงหาข้อมูลจากแหล่งวิทยาการ เช่น จากห้อสมุด จากแหล่ง ประกอบการ ฯลฯ เพื่อฝึกฝนการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง แล้วนำมาเปรยี บเทียบกบั ความรู้ท่ีได้รบ โดยตรงจากตำราต่าง ๆ หรือการทดลอง เพ่ือตรวจสอบกับทฤษฎี กฎ หลักข้อเท็จจริง หรือข้อ สงสัยบางประเภทอันเหล่านี้ เช่น โครงงานศึกษาเปรียบเทียบกางอกของเมล็ดพืชอันเน่ืองมาจาก ปัจจัยต่างๆ โครงงานทดลองการดูดซึมสารปนเป้ือนในของเหลวจากสารชนิดต่างๆ โครงงานผลิต เครือ่ งสำอางจากผลไม้ชนิดตา่ งๆ โครงงานทดลองปลูกพืชผักสวนครัวโดยไมใช้ดิน โครงงานทดลอง ทำไขเ่ คม็ สตู รใหม่ โครงงานทดลองเพาะถ่วั งอกดว้ ยวธิ ีการต่างๆ เปน็ ต้น 3. โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ โครงงานประเภทนี้ มีจุดประสงค์เพ่ือการเสริมสร้าง ความคิดสร้างสรรค์จากการสังเกต การวิเคราะห์ระบบการทำงานสงิ่ ของเครอ่ื งใช้ หรืออุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น โครงงานออกแบบบรรจุภัณฑ์ โครงงานผลิตเครื่องฉีดยาฆ่าแมลง โครงงานสร้างหุ่นยนต์ช่วยทำงานบ้าน โครงงานผลิตเคร่ืองอบอาหารจากพลังงานแสงอาทิตย์ โครงงานสิ่งประดษิ ฐ์ทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ เป็นต้น 4. โครงงานพัฒนาช้ินงาน เป็นโครงงานท่ีมุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดแนวคิด หรือพัฒนา สิ่งประดิษฐ์ท่ีมีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพ ใช้ประโยชน์ได้มากยิ่งขึ้น จุดประสงค์เพ่ือเสริมสร้าง ความคิดสร้างสรรค์จากการสังเกต การคิดวิเคราะห์ระบบการทำงานสิ่งของเคร่ืองใช้ต่าง ๆ เพ่ือ พัฒนาหรือสร้างงานใหม่ จัดระบบงานใหม่ เช่น โครงงานพัฒนาเคร่ืองฉีดยาฆ่าแมลง โครงงาน พัฒนาเครื่องทำเส้นบะหม่ี เส้นนขนมจีน โครงงานพัฒนาระบบดินและน้ำ โครงงานพัฒนาอุปกรณ์ การสอยผลไม้ ฯลฯ สำหรับโครงงานประเภท 3 และ 4 นักการศึกษาบางกลุ่มก็จัดรวมเป็น ประเภทเดียวกนั
175 โครงงานประเภท การพัฒนาส่ือเพื่อการศึกษา (Educational Media) เป็นโครงงานที่ใช้ คอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อ เพื่อการศึกษา โดยการสร้างโปรแกรมบทเรียนหรือหน่วยการเรียน ซ่ึง อาจจะต้องมีภาคแบบฝึกหัด บททบทวน และคำถามคำตอบไว้พร้อม ผู้เรียนสามารถเรียนแบบ รายบุคคลหรือรายกลุ่ม การสอนโดยใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนนี้ถือว่าคอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์การ สอน ซึ่งอาจเป็นการพัฒนาบทเรียนแบบออนไลน์ ให้ผู้เรียนเข้ามาศึกษาด้วยตนเองก็ได้ โครงงาน ประเภทน้ีสามารถพัฒนาข้ึนเพื่อใช้ประกอบการสอนในวิชา ต่างๆ โดยผู้เรียนอาจคัดเลือกเน้ือหาที่ เข้าใจยาก มาเป็นหัวข้อในการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ตัวอย่างโครงงาน เช่น การเคล่ือนที่แบบโปร เจ็กไตล์ระบบสุริยจักรวาล ตัวแปรต่างๆ ท่ีมีผลต่อการชำกิ่งกุหลาบ หลกั ภาษาไทย และสถานท่ีสำคัญ ของประเทศไทย เปน็ ตน้ สรุปได้ว่า ประเภทของโครงงาน ประกอบด้วย โครงงานประเภทสำรวจ โครงงานประเภท การทดลอง โครงงานประเภทการพัฒนาหรอื การประดิษฐ์ โครงงานประเภทการสรา้ งทฤษฎหี รือการ อธิบาย และโครงงานประเภทการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ซึ่งในบทน้ีเราจะเน้นไปท่ีโครงงานประเภท การพฒั นาส่อื เพือ่ การศึกษาเปน็ หลกั ขนั้ ตอนการทำโครงงาน การดำเนินการจัดทำโครงงานมีขั้นตอนตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งวิธีการทาง วทิ ยาศาสตร์ คือ กระบวนการทำงานของนักวิทยาศาสตร์ เป็นวธิ ีการท่ีมรี ะเบียบแบบแผน นำไปใชใ้ น การค้นหาความรู้ใหม่ หรือใช้ในการทดสอบความรู้เดิมที่ได้มาแล้ว ตลอดจนนำไปใช้ในการแก้ปัญหา ให้สำเรจ็ โดยมี 5 ข้นั ตอน ดังนี้ 1. การสังเกตและการต้ังปญั หา (Observation and problem) การสังเกต (Observation) วิธีการทางวิทยาศาสตร์มักจะเร่ิมจากการสังเกต ปรากฏการณ์ต่างๆ ที่อยู่รอบๆ ตัวเรา เม่อื ได้ข้อสังเกตบางอย่างที่เราสนใจจะทำให้ได้สิ่งท่ีตามมาคือ ปัญหา (Problem) เชน่ การสังเกตต้นหญ้าใต้ต้นไม้ใหญ่ หรือ ต้นหญ้าท่ีอยู่ใต้หลังคามกั จะไมง่ อกงาม ส่วนต้นหญา้ ในบรเิ วณใกล้เคยี งกันท่ีได้รับแสงแดดเจริญงอกงามดี การต้ังปัญหา การตั้งปัญหานั้นสำคัญกว่าการแก้ปัญหา เพราะการต้ังปัญหาที่ดี และชดั เจนจะทำให้ผตู้ ้ังปัญหาเกิดความเขา้ ใจและมองเหน็ ลูท่ างของการค้นหาคำตอบเพื่อแกป้ ัญหาท่ี ตั้งข้ึน ดังน้ันจึงต้องหม่ันฝึกการสังเกต สิ่งที่สังเกตน้ัน คืออะไร? เกิดขึ้นเม่ือไร? เกิดข้ึนที่ไหน? เกิดขึ้นได้อย่างไร? ทำไมจึงเป็นเช่นน้ัน? ตัวอย่างเชน่ \"แสงแดดมสี ว่ นเกีย่ วข้องกับการเจรญิ งอกงามของตน้ หญ้าหรือไม\"่ \"แบคทีเรียในจานเพาะเชื้อ เจริญช้าไม่งอกงามถ้ามีราสเี ขียวอยู่ในจานเพาะเช้ือน้ัน\" เปน็ ตน้ 2. การตั้งสมมติฐาน (Formulation of Hypothesis) คือการคาดคะเนคำตอบที่อาจเป็นไปได้หรือคิดหาคำตอบล่วงหน้าบนฐานข้อมูล ที่ได้จากการสังเกต ปรากฏการณ์ และการศึกษาเอกสารต่างๆ โดยคำตอบของปัญหาซึ่งคิดไว้น้ีอาจ ถูกต้อง แต่ยังไม่เป็นท่ียอมรับจนกว่าจะมีการทดลองเพื่อตรวจสอบอย่างรอบคอบเสียก่อน จึงจะ
176 ทราบว่าสมมติฐานท่ีต้ังไว้นั้นถูกต้องหรือไม่ ดังนั้นควรตั้งสมมติฐานไว้หลายๆข้อ และทดลองเพื่อ ตรวจสอบสมมติฐานไปพร้อมๆ กัน การตง้ั สมมตฐิ านทด่ี ีควรมลี กั ษณะดังนี้ 1. เปน็ สมมตฐิ านท่ีเข้าใจง่าย มักนิยมใชว้ ลี \"ถา้ …ดงั น้ัน\" 2. เปน็ สมมตฐิ านทแี่ นะลทู่ างทจ่ี ะตรวจสอบได้ 3. เป็นสมมตฐิ านทตี่ รวจได้โดยการทดลอง 4. เป็นสมมติฐานท่ีสอดคล้องและอยู่ในขอบเขตข้อเท็จจริงที่ได้จากการ สงั เกตและสมั พันธ์กับปัญหาทตี่ ัง้ ไว้ สมมติฐานที่เคยยอมรับอาจล้มเลิกได้ถ้ามีข้อมูลจากการทดลองใหม่ๆ มาลบล้าง แต่ก็มี บางสมมติฐานท่ีไม่มีข้อมูลจากการทดลองมาคัดค้านทำให้สมมติฐานเหล่าน้ันเป็นท่ียอมรับว่าถูกต้อง เช่น สมมติฐานของเมนเดลเกี่ยวกับหน่วยกรรมพันธ์ุ ซึ่งเปลี่ยนกฎการแยกตัวของยีน หรือสมมติฐาน ของ อโวกาโดร ซ่งึ เปล่ียนเปน็ กฎของอโวกาโดร ตัวอยา่ ง \"ถ้าราเฟนิซิลเลียมยับย้ังการเจริญของแบคทีเรีย ดังน้ันแบคทีเรียจะไม่เจริญเมื่อมีราเฟนิซิลเลียมข้ึน รวมอยดู่ ้วย\" \"ถ้าแสงแดดมีส่วนเกยี่ วข้องกับการเจริญงอกงอมของตน้ หญา้ ดงั นั้นต้นหญ้าบรเิ วณท่ีไม่ไดร้ ับแสงแดด จะไม่งอกงามหรือตายไป\" หรอื \"ถ้าแสงแดดมีส่วนเกี่ยวข้องกับการเจริญของต้นหญ้า ดังนั้นต้นหญ้าบริเวณที่ได้รับแสงแดดจะเจริญ งอกงาม\" 3. การตรวจสอบสมมติฐาน หรอื ขนั้ รวบรวมข้อมูล (Gather Evidence) การตรวจสอบสมมติฐานจะต้องยึดข้อกำหนดสมมติฐานไว้เป็นเหลักเสมอ (เนื่องจากสมมติฐานท่ีดีได้แนะลู่ทางการตรวจสอบและออกแบบการตรวจสอบไว้แล้ว) โดยการ ตรวจสอบสมมติฐานนี้ได้จากการสังเกต และการรวบรวมข้อเท็จจริงต่างๆ ที่เกิดจากประสบการณ์ ธรรมชาติ และ การทดลอง เป็นกระบวนการปฏิบัติ หรือหาคำตอบหรือตรวจสอบสมมติฐานท่ีตั้งไว้ โดยการทดลองเพื่อทำการค้นคว้าหาข้อมูลและตรวจสอบดูว่าสมมติฐานข้อใดเป็นคำตอบท่ีถูกต้อง ทสี่ ุด ประกอบด้วย 3 กระบวนการ คอื 3.1 การออกแบบการทดลอง คือการวางแผนการทดลองก่อนท่ีจะลงมือ ปฏิบัติจริง โดยให้สอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้เสมอ และควบคุมปัจจัยหรือตัวแปรต่างๆ ท่ีมีผลต่อ การทดลอง แบ่งไดเ้ ป็น 3 ชนดิ คือ 3.1.1 ตัวแปรอิสระหรือตัวแปรต้น (Independent Variable or Manipulated Variable) คือปัจจัยท่ีเป็นสาเหตุทำให้เกิดผลการทดลองหรือตัวแปรที่ต้องศึกษาทำ การตรวจสอบดูว่าเปน็ สาเหตุ ที่ก่อให้เกดิ ผลเชน่ กัน 3.1.2 ตัวแปรตาม (Dependent Variable) คือ ผลที่เกดิ จากการ ทดลอง ซึ่งต้องใช้วิธีการสังเกตหรือวัดผลด้วยวิธีการต่างๆ เพื่อเก็บข้อมูลไว้ และจะเปล่ียนแปลงไป ตามตัวแปรอสิ ระ 3.1.3 ตัวแปรที่ต้องควบคุม (Control Variable) คือปัจจัยอื่นๆท่ี นอกเหนือจากตัวแปรต้นที่มีผลต่อการทดลอง และต้องควบคุมให้เหมือนกันทุกชุดการทดลอง เพื่อ
177 ป้องกันไม่ให้ผลการทดลองเกิดความคลาดเคลื่อนในการตรวจสอบสมมติฐาน นอกจากจะควบคุม ปจั จัยท่ีมีผลต่อการทดลองจะต้องแบ่งชุด การทดลองออกเป็น 2 ชุด ดังน้ี ชุดทดลอง หมายถึง ชุดท่ี เราใช้ศึกษาผลของตวั แปรอิสระ ชุดควบคุม หมายถงึ ชดุ ของการทดลองท่ใี ช้เป็นมาตาฐานอา้ งอิง เพ่ือ เปรียบเทียบข้อมูลท่ีได้จากการทดลอง ซึ่งชุดควบคุมนี้จะมีตัวแปรต่างๆ เหมือนชุดทดลองแต่จะ แตกต่างจากชดุ ทดลอง เพยี ง 1 ตัวแปรเทา่ นน้ั คือตวั แปรทเ่ี ราจะตรวจสอบหรือตัวแปรอสิ ระ 3.2 การปฏิบัตกิ ารทดลอง ในกิจกรรมน้ีจะลงมือปฏิบัติการทดลองจริงโดย จะดำเนินการไปตามข้ันตอนที่ได้ออกแบบไว้ และควรจะทดลองซ้ำๆ หลายๆ ครั้งเพ่ือใหแ้ น่ใจว่าไดผ้ ล เช่นนัน้ จรงิ 3.3 การบันทึกผลการทดลอง หมายถึง การจดบันทึกที่ได้จากการทดลอง ซงึ่ ข้อมูลที่ได้น้ีสามารถรวบรวมไว้ใช้สำหรบั ยนื ยันว่าสมมติฐานที่ตงั้ ไว้ถกู ต้องหรือไม่ ในบางครงั้ ขอ้ มูล อาจได้มาจากการสร้างข้อเท็จจริง เอกสาร จากการสังเกตปรากฏการณ์ หรือจากการซักถามผู้รอบรู้ แล้วนำข้อมูลที่ได้มานั้นไปแปรผลและลงข้อสรุปในต่อไป ด้ังน้ัน การรวบรวมข้อมูลเป็นสิ่งจำเป็นใน วธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ 4. ขั้นวิเคราะห์ขอ้ มลู (Analysis of Data) เป็นข้ันท่ีนำข้อมูลท่ีได้จากการสังเกต การค้นคว้า การทดลองหรือการรวบรวมหรือ ข้อเทจ็ จรงิ มาทำการวเิ คราะหผ์ ลแล้วนำไปเปรียบเทียบกบั สมมติฐานทีต่ ง้ั ไว้วา่ สอดคล้องกบั สมมติฐาน ข้อใด (เชน่ การหาค่าเฉลี่ยของความสูงของตน้ หญ้าจาก 2 สัปดาห์) 5. ข้ันสรุปผล (Conclusion of Result) การสรุปผล เป็นข้ันตอนที่นำเอาข้อมูลท่ีได้จากขั้นตอนของการรวบรวมข้อมูลแล้ว มาสรุป พิจารณาว่า ผลสรุปนั้นเหมือนกับสมมติฐานท่ีตั้งไว้หรือไม่ ถ้าเหมือนกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ สมมติฐานจะกลายเป็นทฤษฎี (Theory) และทฤษฎีนั้นก็สามารถนำไปอธิบายข้อเท็จจริงหรือ เหตกุ ารณ์ต่างๆ ได้อยา่ งกว้างขวาง ตัวอยา่ ง สรุปผลได้ว่า แสงแดดมีส่วนเกีย่ วข้องกับการเจรญิ งอกงามของต้นหญ้าและสามารถนำผลสรุปในเรื่อง น้ีไปใช้ในการปลูกพืช นั่นคือ เม่ือจะปลกู พืชควรปลูกในบริเวณท่ีแสงแดดส่องถึง จึงจะทำให้พืชเจริญ งอกงามดี กล่าวโดยสรุป ได้ว่า ขั้นตอนการทำโครงงานจะต้องใช้วิธีการทางวทิ ยาศาสตรเ์ ป็นหลักในการ ดำเนนิ งาน การบรู ณาการกลุ่มสาระวชิ าตา่ งๆในการทำโครงงาน การทำโครงงานในปัจจุบัน เราสามารถมองภาพกว้างหรือภาพรวมเก่ียวกับปัญหาของ โครงงานได้โดยท่ีสามารถนำโครงงาน 1 ช้ินงานมาบูรณาการ การแก้ปัญหาร่วมกันในกลุ่มสาระวิชา ต่างๆ ดังตัวอย่างตอ่ ไปน้ี โครงงานเก่ียวกับปัญหาโรคระบาดที่พบในปัจจุบัน เช่น โรค covid-19 ในประเทศไทย โรค covid-19 เป็นโรคที่อันตรายร้ายแรงเพราะยังไม่มีวัคซีนในการรักษา อีกท้ังยังสามารถติดต่อได้อย่าง รวดเร็วและขยายเป็นวงกวา้ ง เราสามารถบรู ณาการ ได้ดงั นี้
178 ภาพท่ี 7.1 การเชื่อมโยง 8 กลมุ่ สาระการเรียนรูเ้ ข้ากบั หัวขอ้ เร่อื ง “การระบาดของไวรัส covid-19 ในประเทศไทย” ที่มา: ผเู้ ขียน
179 การเขียนโครงการเพอ่ื เสนอขอทำโครงงาน (โครงร่าง) การเขียนโครงการเพ่ือเสนอขอทำโครงงาน (โครงร่าง) ประกอบดว้ ยหัวขอ้ ดังตอ่ ไปนี้ 1. ชอื่ โครงงาน 2. ผู้ทำหรือคณะผู้จัดทำโครงงาน 3. ชอื่ อาจารย์ทปี่ รึกษา 4. บทคัดย่อ 5. กติ ตกิ รรมประกาศ (คำขอบคุณ) 6. วัตถุประสงค์ของการทำโครงงาน 7. สมมตุ ิฐานของการทำโครงงาน (ถ้ามี) 8. ขอบเขตของการทำโครงงาน 9. วิธีดำเนินการ 10. วิธีวเิ คราะหข์ อ้ มลู 11. ผลที่คาดวา่ จะไดร้ ับ 12. แผนการกำหนดเวลาปฏบิ ัติงาน 13. เอกสารอ้างองิ 1. ชอ่ื โครงงาน ชื่อโครงงาน(โครงการ) เรื่อง “.......” เป็นสิ่งสำคัญอันดับแรก เพราะช่ือโครงงานจะช่วย เชื่อมโยงความคิดไปถึงวัตถุประสงค์ของการทำโครงงานน้ันๆ ดังน้ันควรกำหนดชื่อโครงงานให้ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์หลักที่ต้องการทำและผู้ทำโครงงานจะต้องเข้าใจปัญหาท่ีสนใจศึกษาอย่าง แท้จริง เพราะช่ือโครงงานและความเข้าใจในปัญหานั้นๆจะทำให้เข้าใจวัตถุประสงค์ท่ีต้องการศึกษา อยา่ งแท้จรงิ ดว้ ย 2. ผู้ทำหรือคณะผูจ้ ดั ทำโครงงาน การเขียนช่ือผู้รับผิดชอบโครงงาน เพื่อจะได้ทราบว่าใครเป็นผู้รับผิดชอบโครงงานนั้นๆ และ สามารถตดิ ตอ่ ได้จากช่องทางใดบา้ ง 3. ชือ่ อาจารย์ที่ปรกึ ษา การเขียนช่ือผู้ให้คำปรึกษาจนโครงงานดังกล่าวสำเร็จลุล่วง ควรเขียนอย่างให้เกียรติยกย่อง เผยแพร่ รวมทง้ั ขอบคุณที่ได้แนะนำการทำโครงงานจนบรรลุเป้าหมาย 4. บทคดั ยอ่ อธิบายถึงที่มาและความสำคัญของโครงงาน วัตถุประสงค์ วิธีดำเนินการ และผลที่ได้ ตลอดจนข้อสรุปต่างๆ อยา่ งย่อประมาณ 300-350 คำ 5. กติ ตกิ รรมประกาศ (คำขอบคณุ ) ส่วนใหญ่โครงงานมักจะเป็นกิจกรรมที่ได้รับความร่วมมือจากหลายฝ่าย ดังน้ันเพื่อเป็นการ เสรมิ สรา้ งบรรยากาศของความรว่ มมือ จึงควรได้กล่าวขอบคุณบุคลากรหรอื หน่วยงานต่าง ๆ ท่ีมีส่วน ชว่ ยให้โครงงานนส้ี ำเรจ็ ด้วย 6. ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
180 ผู้ทำโครงงานจำเป็นต้องศึกษาหลกั การ แนวคดิ ทฤษฎีทส่ี นบั สนุนเกีย่ วกับเรื่องที่สนใจศกึ ษา เพราะสิ่งเหล่านี้จะเชื่อมโยงไปสู่การตั้งสมมุติฐานของเรื่องท่ีศึกษา การออกแบบการทดลอง หรือการ รวบรวมข้อมูลตลอดจนใช้ประกอบการอภิปรายผลการศึกษาและเสนอแนะสอดคล้องร้อยเรียงกันไป ต้ังแต่ตน้ จนจบ (บทท่ี 1-5) การเขยี นทีม่ าและความสำคญั ของโครงงาน เปน็ การอธบิ ายเน้ือความใหผ้ ู้อ่านเขา้ ใจวา่ เหตใุ ด จึงต้องทำเร่ืองนี้ เกิดปัญหาอะไรขึ้นมา เม่ือทำแล้วจะได้สิ่งใด และถ้าไม่ทำจะเกิดผลเสียอย่างไรบ้าง โดยการเขียนจะเป็นลักษณะของการเขียนเรียงความ ซึ่งจะประกอบไปด้วย 3 ส่วนหลัก คือ คำนำ เนื้อเร่อื ง และสรปุ ส่วนที่ 1 คำนำ : เป็นการบรรยายถงึ นโยบาย เกณฑ์ สภาพทั่ว ๆ ไป หรือปัญหาท่ีมี สว่ นสนบั สนุนให้ริเรม่ิ ทำโครงงาน ส่วนท่ี 2 เน้ือเรื่อง : อธิบายถึงรายละเอียดเช่ือมโยงให้เห็นประโยชน์ของการทำ โครงงานโดยมี หลักการ ทฤษฎีสนับสนุนเรื่องที่ศึกษา หรือการบรรยายผลกระทบ ถ้าไม่ทำโครงงาน เรื่องนี้ ส่วนท่ี 3 สรุป : สรุปถึงความจำเป็นที่ต้องดำเนินการตามส่วนที่ 2 เพ่ือแก้ไขปัญหา คน้ ควา้ ความร้ใู หม่ ค้นหาสิ่งประดิษฐ์ใหม่ใหเ้ ป็นไปตามเหตผุ ลสว่ นที่ 1 7. คำถามโครงงาน การเขียนคำถามโครงงานมีความสำคัญ เพราะเป็นคำถามท่ีต้องการให้ผู้เรียนทำ โครงงาน เพอ่ื ตอบคำถาม ซึง่ เปน็ คำถามที่ยังไมม่ ใี ครรผู้ ลลัพธ์ 8. วัตถุประสงคข์ องการทำโครงงาน วัตถุประสงค์ คือ การกำหนดเป้าหมายปลายทางที่ต้องการให้เกิดจากการทำ โครงงาน ในการเขียนวัตถุประสงค์ต้องเขียนให้ชัดเจนอ่านเข้าใจง่ายสอดคล้องกับช่ือโครงงาน หากมี วัตถุประสงคห์ ลายประเด็น ให้ระบเุ ป็นขอ้ ๆ การเขยี นวัตถุประสงค์มีความสำคญั ต่อแนวทางการศึกษาตลอดจนข้อความรูท้ ี่ค้นพบ หรือส่งิ ประดษิ ฐ์ ที่ค้นพบนน้ั จะมคี วามสมบรู ณ์ครบถว้ น คือ ต้องสอดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงค์ทุกๆข้อ 9. สมมุตฐิ านของการทำโครงงาน สมมุติฐานของการทำโครงงาน เป็นทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หรือทักษะ การคิดท่ีผู้ทำโครงงานต้องให้ความสำคัญ เพราะจะทำให้กำหนดแนวทางในการออกแบบการทดลอง ได้ชัดเจน และรอบคอบ ซ่ึงสมมุติฐานก็คือ การคาดคะเนคำตอบของปัญหาอย่างมีหลัก และ เหตุผล ตามหลักการ ทฤษฎี รวมทงั้ ผลของการศึกษาของโครงงานทีไ่ ดท้ ำมาแลว้ 10. ขอบเขตของการทำโครงงาน ผู้ทำโครงงานต้องให้ความสำคัญต่อการกำหนดขอบเขตของการทำโครงงานเพ่ือให้ ไดผ้ ลการศึกษาทนี่ ่าเช่อื ถอื ได้แก่ การกำหนดประชากร กลุ่มตวั อย่าง ตลอดจนตัวแปรท่ศี ึกษา 1) การกำหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือ การ กำหนดประชากรที่ศึกษา อาจเป็นคน สัตว์ พืช ชื่อใด กลุ่มใด ประเภทใด อยู่ที่ใด เม่ือเวลาใด รวมทั้ง กำหนดกลมุ่ ตัวอย่างทม่ี ขี นาดเหมาะสมเป็นตวั แทนของประชากรทีส่ นใจศกึ ษา
181 2) ตัวแปรที่ศึกษา การศึกษาโครงงานส่วนมากมักเป็น การศึกษาความสัมพันธ์เชิงเหตุและผล หรือความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตั้งแต่ 2 ตัวแปรขึ้นไป การ บอกชนิดของตัวแปรอย่างถูกต้องและชัดเจน รวมทั้งการควบคุมตัวแปรท่ีไม่สนใจศึกษา เป็นทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่ผู้ทำโครงงานต้องเข้าใจ ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรใดเป็นตัวแปรต้น ตัว แปรใดเป็นตัวแปรตาม และตัวแปรใดบ้างที่เป็นตัวแปรควบคุม เพื่อเป็นแนวทางการออกแบบการ ทดลองตลอดจนมีผลตอ่ การเขียนรายงานทำโครงงานที่ถูกตอ้ ง ส่อื ความหมายให้ผู้ฟงั และผอู้ ่านเข้าใจ ตรงกนั 11. วธิ ดี ำเนินการ วิธีดำเนินการ หมายถึง วิธีการท่ีจะช่วยให้งานบรรลุตามวัตถุประสงค์ของการทำ โครงงาน ตั้งแต่เรม่ิ ต้นนำเสนอโครงงาน จนกระทั่งส้ินสดุ โครงงาน ซง่ึ ประกอบดว้ ย 1) การกำหนดประชากร กลมุ่ ตัวอยา่ งทศี่ ึกษา 2) การสร้างเครือ่ งมือเก็บรวบรวมขอ้ มลู 3) การเก็บรวบรวมขอ้ มลู 4) การวิเคราะห์ขอ้ มลู ในการเขียนวิธีดำเนินการ ให้ระบุกิจกรรมที่ต้องทำให้ชัดเจนว่า จะทำอะไรบ้างเรียงลำดับ กจิ กรรมก่อนและหลังให้ชัดเจน เพือ่ สามารถนำโครงงานไปปฏิบตั ิอยา่ งต่อเน่อื งและถูกตอ้ ง 12. วิธีวเิ คราะห์ขอ้ มลู วิธีวิเคราะห์ข้อมูล คือ การระบุการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ หรือข้อมูลเชิง คณุ ภาพ ถ้าเป็นข้อมลู เชงิ ปรมิ าณจะวเิ คราะหด์ ้วยสถิตอิ ะไรบา้ ง เช่น ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย 13. ผลท่คี าดว่าจะไดร้ บั ผลท่ีคาดว่าจะได้รับ คือ การคาดหวังถึงผลการดำเนินการตามโครงงาน การเขียน ต้องคาดคะเนเหตุการณ์ว่าเม่ือได้ทำโครงงานสิ้นสุดลง ใครเป็นผู้ได้รับประโยชน์อย่างไร หรือนำไปใช้ ไปประยุกต์ในสถานการณ์ในประเด็นใดบ้าง และได้รับมากน้อยเพียงใด ผลที่ได้รับสอดคล้องกับ วัตถปุ ระสงค์ทศ่ี กึ ษา 14. แผนการกำหนดเวลาปฏิบตั งิ าน การทำโครงงานต้องกำหนดตารางเวลาดำเนินการทุกข้ันตอน เพราะการทำ ตารางเวลาจะเป็นประโยชน์ให้ดำเนินการอย่างต่อเน่ือง เป็นประโยชน์ต่อการติดตามประเมินผลการ ดำเนินงานแต่ละข้ันตอน จนสิ้นสดุ การทำโครงงานนน้ั 15. เอกสารอ้างอิง เอกสารอ้างอิง คือ รายการเอกสารท่ีนำมาอ้างอิงเพื่อประกอบการทำโครงงาน ตลอดจนการเขยี นรายงานการทำโครงงานและควรเขยี นตามหลกั การทีน่ ิยมกัน สรุปได้ว่า การเขียนโครงการเพ่ือเสนอขอทำโครงงาน (โครงร่าง) เปรียบเหมือนแผนท่ี ที่ ผู้เขียนต้องวางแผนล่วงหน้าในการดำเนินการทุกระยะ เพ่ือเป็นแนวทางให้เห็นว่าโครงการน้ันๆจะ สามารถบรรลุวัตถุประสงคแ์ ละเปน็ ไปตามเปา้ หมายทก่ี ำหนดไว้
182 แนวทางการเขียนรปู เล่มโครงงาน บทท่ี 1 บทนำ ความเป็นมาและความสำคัญ .................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ จากความสำคัญดงั กลา่ ว และจากการศึกษาเอกสารที่เกี่ยงข้อง ผศู้ กึ ษาจึงไดพ้ ัฒนาวิดีทัศน์ เร่ืองหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง สำหรบั ........................................................................................... เพ่อื ......................................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................... วตั ถุประสงค์ 1. เพ่ือศกึ ษาและพัฒนาวดิ ที ัศน์เรือ่ ง.......................................................................... 2. เพื่อศกึ ษาความคิดเห็นของผูช้ มทีม่ ตี ่อวิดีทศั น์เร่ือง......................................................... ขอบเขตของงาน 1. ประชากรและกลุ่มตวั อย่าง ประชากร ประชากรท่ีใช้ในการศึกษาครั้งน้ี ได้แก่ นักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 2 ปีการศึกษา 2563 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา จำนวน.....สาขาวิชา จำนวน..........คน กลุ่มตวั อย่าง กลุ่มตัวอยา่ งท่ใี ชใ้ นการศกึ ษาครั้งนี้ ไดแ้ ก่ นักศึกษาระดับปรญิ ญาตรีชัน้ ปที ี่ 2 สาขาวิชา....................ปีการศกึ ษา 2563 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบา้ นสมเด็จเจา้ พระยา จำนวน..........คน โดยการสมุ่ แบบ.......... 2. ตวั แปรทใ่ี ช้ในการศึกษา 2.1 ตวั แปรอสิ ระ คอื วดิ ที ัศน์เร่ือง.......................................................................... 2.2 ตวั แปรตาม คือ ความคิดเห็นของผชู้ มที่มีตอ่ วดิ ีทศั น์เรือ่ ง....................... 3. ระยะเวลาทใี่ ชใ้ นการศกึ ษา ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษาคร้งั นี้ ใช้เวลา.....เดือน ตง้ั แตว่ ันที่ .... เดือน พ.ศ....ถงึ วนั ที่..... ประโยชน์ที่ไดร้ บั 1. ได.้ ............................................................................................................................... 2. .................................................................................................................................... 3. ....................................................................................................................................
183 นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ 1. วิดีทัศน์ หมายถงึ ................................................................................................ .......................................................................................................................................................... 2. บทวิดีทศั น์ หมายถงึ ................................................................................................ .......................................................................................................................................................... 3. ความคิดเห็นท่ีมีต่อวิดีทัศน์ หมายถึง ผลการประเมินคิดเห็นที่มีต่อวิดีทัศน์ในด้านเนื้อหา ดา้ นการนำเสนอ และขอ้ เสนอแนะทมี่ ีตอ่ วิดีทศั น์ 4. ผชู้ ม หมายถึง กลุ่มตวั อยา่ งทใ่ี ช้ในการศกึ ษาครัง้ นี้ ได้แก่ นักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้น ปีท่ี 2 สาขาวิชา....................ปีการศึกษา 2563 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จ เจา้ พระยา จำนวน..........คน โดยการสุ่มแบบ.......... 5. ........................................................................................................................................ .......................................................................................................................................................... 6. ........................................................................... ............................................................. .......................................................................................................................................................... กรอบแนวคดิ การศกึ ษา กรอบแนวคิดสำหรับการศึกษาคร้ังน้ี ผู้ศึกษาได้ศึกษาแนวคิด ทฤษฎีแล้วนำมากำหนดเป็น กรอบแนวคดิ สำหรับการศกึ ษาดงั ภาพที่ 1 บทท่ี 2 เอกสารทีเ่ กย่ี วขอ้ ง ในการศึกษาครั้งน้ไี ด้ศกึ ษาหลักการและวิธีการหาข้อมูลการศึกษาในการพฒั นา.............. ...................................................... โดยแบ่งเปน็ ส่วนๆ ดงั น้ี 1. วดิ ที ัศน์ 1.1 ความหมายของวดิ ีทศั น์ 1.2 บทวิดีทัศน์ 1.3 ลักษณะของมมุ กล้องทใี่ ชใ้ นการถ่ายทำวดิ ที ัศน์ 1.4 …………………………………….. 2. ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง………………………………………………..………….. 2.1 ความหมายของปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี ง…………………………………….. 2.2 …………………………………….. 2.3 …………………………………….. 3. โปรแกรมที่ใชใ้ นการพฒั นาวิดีทัศน์ 3.1 โปรแกรม............................. 3.2 ……………………………………..
184 1. วิดีทัศน์ 1.1 ความหมายของวิดีทศั น์ …………………………………………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………………………………………………….. 1.2 ……………………………….............................................................................................. …………………………………………………………............................................................................................. บทที่ 3 วธิ ดี ำเนินงาน ผู้ศึกษาได้พัฒนาวิดีทัศน์เรื่อง ........................................ ซ่ึงมีข้ันตอนในการดำเนินงาน ประกอบดว้ ย 1. ประชากรและกลุม่ ตัวอย่าง 2. เคร่ืองมอื ทีใ่ ช้ 3. การดำเนินการทดลองและการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล 4. การวเิ คราะห์ขอ้ มลู 1. ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง 1.1 ประชากร ประชากรท่ีใช้ในการศึกษาคร้ังน้ี ได้แก่ นักศึกษาระดับปริญญาตรีชั้นปีที่ 2 ปีการศึกษา 2563 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา จำนวน.....สาขาวิชา จำนวน..........คน 1.2 กลมุ่ ตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างท่ีใช้ในการศึกษาคร้ังนี้ ได้แก่ นักศึกษาระดับปริญญาตรีช้ันปีท่ี 2 สาขา วิชา....................ปีการศึกษา 2563 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา จำนวน..........คน โดยการส่มุ แบบ.......... 2. เครื่องมอื ทใ่ี ช้ เครอื่ งมือที่ใชใ้ นการศกึ ษาครงั้ นี้ ประกอบดว้ ย 2.1 วิดที ศั น์เร่ือง ................................................................... 2.2 แบบสอบถามความคดิ เห็นของผูช้ มทม่ี ีตอ่ วดิ ีทัศน์เร่ือง...........................
185 2.1 ข้นั ตอนการพัฒนาวดิ ที ศั น์เรื่อง.................................................. 1. .......................................................................................... 2. .......................................................................................... 3. .......................................................................................... 3. การดำเนนิ การทดลองและเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 1. ชีแ้ จง แนะนำขั้นตอนการชมวิดีทศั น์เรอื่ ง 2. กลมุ่ ตัวอยา่ งชมวิดีทศั น์เรือ่ ง.................................................................. 3. ให้กล่มุ ตัวอย่างตอบแบบสอบถามความคิดเหน็ ของผชู้ มทม่ี ตี ่อวิดีทศั น์เร่ือง........ .............................................. 4. เก็บรวบรวมข้อมลู ทง้ั หมดแลว้ นำผลการทดลอง ไปวเิ คราะหข์ ้อมูลตามวิธที างสถติ ิต่อไป 4. การวิเคราะหข์ อ้ มลู 4.1 การหาค่าเฉล่ีย ( ) และหาค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) (บุญชม ศรีสะอาด 2535: น.102-103) ใชส้ ตู รดงั นี้ สตู รหาค่าเฉลยี่ เมอ่ื กำหนดให้ หมายถึง ค่าเฉล่ยี เลขคณิต n หมายถงึ ผลรวมของขอ้ มลู ทง้ั หมด หมายถงึ จำนวนนักเรยี นเรยี น สตู รหาค่าสว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน เม่ือกำหนดให้ S.D. หมายถงึ ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน n หมายถงึ ผลรวมของคะแนนทัง้ หมด หมายถงึ จำนวนนกั เรยี น
186 บทท่ี 4 ผลการศึกษา การศึกษาการพัฒนาวิดที ัศน์เรอ่ื งหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสำหรับ.................................. โดยศกึ ษากระบวนการและข้ันตอนตา่ งๆ จนกระทั้งประเมินความคดิ เห็นที่มตี ่อวีดิทศั น์สามารถ แสดงผลการศึกษาไดด้ งั นี้ ตอนที่ 1 ผลการศึกษาการพัฒนาวิดีทัศน์เรื่องหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สำหรบั ...................................... ตอนที่ 2 ความคดิ เหน็ ท่มี ีตอ่ วีดิทศั น์ เร่ือง................................................................. ตอนที่ 1 ผลการศกึ ษาการพัฒนาวดิ ที ศั น์เรอื่ งหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสำหรับ ...................................................................... ผลการศึกษาการพัฒนาวิดีทัศน์เร่อื งหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งสำหรับ........................... มีดงั น้ี...................................................................................................................................................... ตอนที่ 2 ความคดิ เห็นทม่ี ตี ่อวดิ ีทัศน์ เร่อื ง .................................................................. การวิเคราะห์ข้อมูลความคิดเหน็ ของผชู้ มท่ีมตี ่อวีดทิ ัศน์ เรื่อง …………………………………ผลการ วิเคราะห์ปรากฏดงั ตารางท่ี 4.1 ถึง 4.4 ตารางที่ 4.1 ความคิดเหน็ ที่ต่อวีดิทศั น์ เร่อื ง ………………………………… ความคิดเห็น S.D. ระดับ 1. ดา้ นเนอ้ื หา 2. ดา้ นภาพ ภาษา และเสยี ง 3. ดา้ นการออกแบบส่ือมลั ตมิ ีเดีย รวม จากตาราง 4.1 พบว่าความคิดเห็นที่มีต่อวีดิทัศน์ เร่ือง ………………………………… จำนวน ........คน โดยรวมอยู่ในระดับ....... ( = ....., S.D. = ......) และเม่ือพิจารณาแยกย่อยเป็นรายด้าน พบว่า วีดิทัศน์ เรื่อง ………………………………… มีความคิดเห็นด้านเนื้อหา ภาพ ภาษา และเสียง การ ออกแบบส่ือมัลติมีเดยี ในระดับ......... ( = ....., S.D. = ......) ตารางท่ี 4.2 ความคิดเห็นท่ีต่อวดี ทิ ัศน์ เร่ือง ………………………………… รายการประเมิน S.D. ระดับ 1. ดา้ นเนอ้ื หา 1.1 ความถกู ต้องของเน้ือหา เรอื่ งราว 1.2 ความเหมาะสมในการลำดับเร่ือง
187 1.3 ความเหมาะสมของเนือ้ หากบั ผู้ชม 1.4 ความนา่ สนใจในการดำเนนิ เร่อื ง รวม จากตาราง 4.2 พบว่าความคิดเห็นท่ีมีต่อวีดิทัศน์ เรื่อง ………………………ด้านเนื้อหา จำนวน ....... คน โดยรวมอยู่ในระดับ..... ( = 4.65, S.D. = 0.48) และเมื่อพิจารณาแยกย่อยเป็น รายด้าน พบว่า.................................................. ตารางที่ 4.3 ความคดิ เห็นท่ีต่อวดี ิทศั น์ เร่ือง ………………………………… ดา้ นภาพ ภาษา และเสยี ง รายการประเมนิ S.D. ระดบั 2. ภาพ ภาษา และเสยี ง 2.1 ความเหมาะสมของภาพ และเสียง 2.2 ความนา่ สนใจของภาพ และเสยี ง 2.3 ความถูกตอ้ งของภาษาที่ใช้ 2.4 ความชดั เจนของเสียง รวม จากตาราง 4.3 พบว่าความคิดเห็นที่มีต่อวีดิทัศน์ เร่ือง ………………………………… ด้านภาพ ภาษา และเสียง จำนวน......คน โดยรวมอยู่ในระดับ...... ( = ……, S.D. =……) และเม่ือพิจารณา แยกยอ่ ยเปน็ รายดา้ น พบวา่ ......................................................... ตารางท่ี 4.4 ความคดิ เหน็ ทต่ี ่อวิดที ศั น์เรอื่ ง ………………………………… ดา้ นการออกแบบ สือ่ มัลติมเี ดยี รายการประเมิน S.D. ระดับ 4. ด้านการออกแบบส่อื มัลตมิ เี ดีย 3.1 การออกแบบสื่อมัลติมีเดยี โดยรวม 3.2 ความชดั เจนของภาพวีดทิ ัศน์ 3.3 ความเหมาะสมของเทคนคิ วีดิทัศน์ 3.4 ความชัดเจนของเสยี ง รวม จากตาราง 4.4 พบว่าความคิดเห็นที่มีต่อวิดีทัศน์เร่ือง ………………………………… ด้านการ ออกแบบส่ือมัลติมีเดียจำนวน.....คน โดยรวมอยู่ในระดับ........ ( = ……., S.D. = …….) และเม่ือ พจิ ารณาแยกย่อยเปน็ รายด้าน พบวา่ ..............................................
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212