Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ

นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ

Published by educat tion, 2021-04-25 05:10:02

Description: 12นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ

Search

Read the Text Version

188 บทที่ 5 ผลการศกึ ษา การศึกษาการพัฒนาวิดีทัศน์เร่ืองหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สำหรับ....................(หัวข้อ ทศ่ี กึ ษา) โดยศกึ ษากระบวนการและข้นั ตอนต่างๆ จนกระทัง่ ประเมนิ ความคิดเห็นท่ีมตี ่อวีดิทัศน์ โดย สามารถสรปุ สาระสำคัญและผลการศกึ ษาได้ดงั นี้ 1. เคร่ืองมอื ท่ีใชใ้ นการศึกษา เคร่อื งมอื ทใี่ ชใ้ นการศกึ ษาในครงั้ นี้ ประกอบด้วย 1. วีดทิ ัศน์ เรื่อง ................................................... 2. แบบสอบถามความคดิ เห็นของผชู้ มทมี่ ีต่อวดี ิทัศน์ เรอื่ ง .............................. 2. สรุปผลการศึกษา จากการศึกษาการพัฒนาวิดีทัศน์เรื่องหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สำหรับ.................... (หัวข้อที่ศึกษา)ปรากฏผลเปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงค์ที่ตงั้ ไว้ ดงั น้ี 1. วีดิทัศน์ เร่ือง ....................................................... ซึ่งจากการทำวีดิทัศน์ น้ีสามารถทำให้ ผู้ชมมีความพึงพอใจได้ในระดับดีข้ึนไป อีกท้ังยังทำให้ผู้ผลิตวีดิทัศน์ ได้รับข้อเสนอแนะ ดังน้ี ................................................................................................................................................................ 2. ผู้ชมมีความคิดเห็นต่อวดี ิทัศน์ เรื่อง ................................................... ด้านเน้ือหาอยู่ใน ระดบั ดีมาก ( = 4.6, S.D. = 0.51) ดา้ นภาพ ภาษา และเสียงอย่ใู นระดับดมี าก ( = 4.57, S.D. = 0.49) และด้านการออกสื่อมัลติมีเดียในระดับดีมาก ( = 4.58, S.D. = 0.55) โดยรวมแล้วอยู่ใน ระดบั ดมี าก (ข้อมูลนีเ้ ปน็ การสมมุติข้นึ ใหน้ ักศึกษาเห็นภาพรวมของการสรุปผล) 3. อภิปรายผล จากการศึกษาการพัฒนาวิดีทัศน์เร่ืองหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สำหรับ.................... (หัวขอ้ ที่ศกึ ษา) ซึ่งสามารถอภปิ รายผลไดด้ งั ต่อไปนี้ 1. จากการศกึ ษาขั้นตอนการทำวดี ิทัศน์ น้นั .................................................................. ................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................... ................................. 2. วดี ิทศั น์ เรอื่ ง ................................................................ ที่จัดทำขึ้นนนั้ ...................... .................................................................................................................................... ............................ ................................................................................................................................ ................................ จากการประเมินความคิดเห็นของผู้ชมที่มีต่อวีดิทัศน์ เร่ือง .....................พบว่าผู้ชมมีความ คิดเห็นต่อวีดิทัศน์ เร่ือง ......................................... โดยรวมอยู่ในระดับดีมาก เน่ืองมาจาก ..........................วดี ทิ ัศน์.......................................................................................................................... ................................................................................................................................................................

189 4. ขอ้ เสนอแนะ 1. ............................................... 2. ............................................... 3. ............................................... 4. ............................................... บรรณานุกรม ภาคผนวก ประวตั ิผูจ้ ดั ทำ สรปุ การทำโครงงานพัฒนานวัตกรรมเพ่ือการเรียนรู้นั้น สิ่งที่ผู้เรียนควรต้องทำความเข้าใจและ เรยี นรพู้ ื้นฐานในเร่ืองของความหมาย คือ การศึกษาเพื่อค้นหาความร้ใู หม่ ส่ิงประดษิ ฐ์ใหม่ และวิธกี าร ใหม่ หรือเป็นการพัฒนาดัดแปลงจากของเดิมที่มีอยู่แล้วให้ทันสมัย และใช้ได้ผลดีย่ิงข้ึน โดยนำ เทคโนโลยีท่ีเกี่ยวข้องกับข่าวสารข้อมูลและการสื่อสารนับต้ังแต่การสร้าง การนำมาวิเคราะห์หรือ ประมวลผล การรบั และส่งขอ้ มูล การจัดเกบ็ และการนำไปใชง้ านใหม่ ดว้ ยวธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์โดย มีครูเปน็ ผูแ้ นะนำให้คำปรึกษา ประเภทของโครงงาน ประกอบดว้ ย โครงงานประเภทสำรวจ โครงงาน ประเภทการทดลอง โครงงานประเภทการพัฒนาหรอื การประดิษฐ์ โครงงานประเภทการสร้างทฤษฎี หรือการอธิบาย และโครงงานประเภทการพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา การดำเนินการจัดทำโครงงานมี ขั้นตอนตามวธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ ประกอบดว้ ย การสังเกตและการตั้งปญั หา การตัง้ สมมติฐาน การ ตรวจสอบสมมติฐานหรือข้ันรวบรวมข้อมูล ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล และข้ันสรุปผล โครงงานสามารถ เชื่อมโยงบูรณาการกับกลุ่มสาระวิชาต่างๆได้ รวมถึงวิธีการเขียนโครงการเพื่อเสนอขอทำโครงงาน (โครงรา่ ง) และแนวทางการเขยี นรปู เล่มโครงงาน แบบฝึกหดั ท้ายบท 1. นวัตกรรม หมายถงึ อะไร 2. เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร ใช้คำยอ่ ว่าอย่างไร และหมายถึงอะไร จงอธบิ าย 3. โครงงาน หมายถงึ อะไร 4. ประเภทของโครงงาน มีท้งั หมดกปี่ ระเภท อะไรบ้าง จงอธิบาย 5. การทำโครงงานมกี ่ีข้ันตอน อยา่ งไรบา้ ง จงอธบิ ายมาพอสงั เขป 6. ตัวแปรอิสระหรอื ตัวแปรตน้ คืออะไร 7. ตวั แปรตาม คอื อะไร 8. ตวั แปรที่ตอ้ งควบคมุ คอื อะไร 9. ใหน้ ักศกึ ษา ลองยกตัวอยา่ ง หัวข้อโครงงานที่สนใจ และอธิบายว่าเหตใุ ดจึงสนใจศึกษาเรื่องนี้ 10. ให้นักศึกษาเขียนโครงการเสนอขอทำโครงงาน โดยคิดบนพ้ืนฐานความสนใจและสอดคล้องกับ สาขาวิชาที่กำลังศกึ ษา

190 เอกสารอา้ งอิง กดิ านันท์ มลิทอง. (2540). เทคโนโลยกี ารศกึ ษาและนวตั กรรม. กรงุ เทพฯ: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ครรชิต มาลยั วงศ์. (2539). กา้ วไกลไปกบั คอมพิวเตอร์ : สาระคอมพวิ เตอร์ที่ขา้ ราชการตอ้ งร.ู้ กรุงเทพฯ: ศูนยเ์ ทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสแ์ ละคอมพวิ เตอร์แห่งชาต.ิ ทศั นีย์ แซล่ ม้ิ . (2561). “การรู้ดิจิทลั กับทักษะไอทเี พอื่ การสร้างสรรค์และนวตั กรรม”. [ออนไลน์] ได้จาก: https://is.gd/UJcTZv [สบื ค้นเมอ่ื 23 กรกฎาคม 2562]. เนาวนติ ย์ สงคราม. (2556). การสร้างนวัตกรรมเปลี่ยนผเู้ รยี นให้เปน็ ผูส้ รา้ งนวัตกรรม. พมิ พค์ รัง้ ท่ี 1. กรงุ เทพฯ: สำนกั พิมพแ์ ห่งจฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บญุ เกื้อ ควรหาเวช. (2542). นวตั กรรมการศึกษา. พิมพค์ รั้งท่ี 4 : กรุงเทพฯ: ศนู ย์หนงั สือ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ปนัดดา ตสู้ ระกาศ, วริสรา จินพละ, วาสนิ ี สายหอม และนวพล พวงศรี. (2556). การพัฒนาบทเรยี น สอ่ื อิเล็กทรอนกิ ส์แบบปฏิสมั พันธ์วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศบรู ณาการ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6. คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลัยราชภฏั บา้ นสมเดจ็ เจ้าพระยา. พรรณี สวนเพลง. (2552). เทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตกรรมสำหรบั การจัดการความรู้. กรุงเทพฯ: ซีเอด็ ยูเคช่ัน. พมิ พันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดสี ขุ . (2559). สอนเด็กทำโครงงานสอนอาจารย์ทำวจิ ยั ปฏิบัติการในช้ันเรยี น. พมิ พ์ครง้ั ท่ี 1 : กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์แหง่ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย. ____________________________. (2562). สรา้ งนวัตกรรมบนฐานการวจิ ยั PLC & Logbook. พมิ พค์ ร้งั ท่ี 1. กรงุ เทพฯ: สำนกั พมิ พจ์ ฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั . วิโรจน์ ชัยมูล และสุพรรษา ยวงทอง. (2558). ความร้เู บ้อื งตน้ เก่ยี วกับคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยี สารสนเทศ. พมิ พค์ รัง้ ที่ 2 : กรงุ เทพฯ: โปรวชิ ่นั . สุขมุ เฉลยทรัพย์ และคณะ. (2547). เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือชีวติ . พมิ พค์ รงั้ ท่ี 4. กรงุ เทพฯ: สถาบนั ราชภฎั สวนดุสติ . Morton, J.A. (1971). Organization for Innovation: A Systems Approach to Technical Management. :New York: McGraw--Hill. Narayanan, V.K. (2001). Manage technology and innovation for competitive advantage. Prentice Hall :Upper Saddle River, New Jersey.

191 บรรณานุกรม กดิ านันท์ มลทิ อง. (2548). เทคโนโลยกี ารศกึ ษาร่วมสมยั . กรงุ เทพฯ: เอดิสนั เพรส โพรดักส์ จำกัด. _____________. (2548). เทคโนโลยีและการส่อื สารเพือ่ การศกึ ษา. กรุงเทพฯ: ห้างหนุ้ ส่วนจำกัด อรุณการพิมพ์. _____________. (2548). เทคโนโลยกี ารศกึ ษาและนวัตกรรม. พมิ พค์ ร้งั ที่ 2. กรงุ เทพมหานคร: จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย. _____________. (2540) เทคโนโลยีการศกึ ษาและนวัตกรรม. กรุงเทพฯ: โรงพมิ พช์ วนชม. กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่อื สาร, “กฎหมายไอซีที”. (2553). [ออนไลน์] ไดจ้ าก: http://www.mict.go.th/more_news.php?cid=47 [สืบค้นเม่ือ 20 กรกฎาคม 2562]. กฎหมายเทคโนโลยสี ารสนเทศของประเทศไทย. (2560). [ออนไลน์] ได้จาก: http://www.lawyerthai.com/articles/it/006.php [สบื คน้ เมื่อ 20 กรกฎาคม 2562]. ขณั ธช์ ัย อธเิ กยี รติ และธนารักษ์ สารเถ่ือนแกว้ . (ม.ป.ป.). การสอนแบบทันสมยั และเทคนคิ วิธสี อน แนวใหม่อะไร. [ออนไลน]์ . ได้จาก https://bit.ly/2Yreqw5 สืบคน้ เม่ือวันท่ี 14 กรฎาคม 2562. คณะศึกษาศาสตร์. (ม.ป.ป.). ส่ือการสอนและเทคโนโลยีสำหรับเด็กทม่ี คี วามต้องการ พิเศษ. สงขลา: มหาวิทยาลยั ราชภัฏสงขลา. ครรชิต มาลัยวงศ์. (2562). ดจิ ทิ ัลคอื อะไร. [ออนไลน์]. ได้จาก https://bit.ly/2XWHRtN สืบคน้ เมื่อวันท่ี 14 กรกฎาคม 2562 _____________. (2539). ก้าวไกลไปกบั คอมพิวเตอร์ : สาระคอมพิวเตอรท์ ่ีข้าราชการตอ้ งรู้. กรุงเทพฯ: ศูนย์เทคโนโลยอี ิเล็กทรอนิกสแ์ ละคอมพวิ เตอรแ์ ห่งชาติ. ค่มู ือการปฏิบตั ิและแนวทางการปอ้ งกันเพ่ือหลีกเลีย่ งการกระทำความผดิ เกย่ี วกับคอมพิวเตอร์ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2550).[ออนไลน์] ได้จาก: http://www.mwit.ac.th/~cs/download/tech30102/handbook.pdf [สืบคน้ เม่อื 1 ตุลาคม 2562]. จนิ ตวีร์ คลา้ ยสงั ข.์ (2560). การผลติ และใชส้ ื่ออยา่ งเป็นระบบเพอื่ การเรียนรูใ้ นศตวรรษท่ี 21. กรงุ เทพมหานคร: จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย. จิรวัฒน์ เพชรรตั น์ และ อมั พร ทองใบ. (2555). ภาษาไทยเพื่อการส่ือสาร. กรุงเทพฯ: โอเดยี นสโตร์. เฉลิม ฟักอ่อน (2552). การออกแบบการจัดการเรยี นรู้อิงมาตรฐาน ตามหลักสตู รแกนกลาง การศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน พ.ศ.2551. [ออนไลน์]. ได้จาก http://www.kruchote.com/plan1.doc สบื ค้นเม่ือวันท่ี 16 กกรฎาคม 2562 ชม ภูมภิ าค. (2535) เทคโนโลยีทางการสอนและการศึกษา. กรุงเทพฯ: ประสานมิตร _________. (2516). จติ วิทยาการเรยี นการสอน. กรุงเทพฯ : สำนกั พมิ พ์ไทยวัฒนาพานิช.

192 ชยั ยงค์ พรหมวงศ์. (2543). “กระบวนการสื่อสารการเรียนการสอน” ใน เอกสารการสอนชดุ วิชา เทคโนโลยีและสือ่ สารการศกึ ษา. หน้า 81-115. นนทบรุ ี: โรงพมิ พ์ชวนพิมพ์. ชัยอนนั ทร์ นวลสวุ รรณ์. (ม.ป.ป.). เอกสารประกอบคำบรรยาย วิชาสอื่ การสอนจรยิ ธรรม. คณะ พุทธศาสตร์ ปีท่ี 4. สุรินทร์: มหาวทิ ยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวทิ ยาลัย. ถนอมพร เลาหจรสั แสง. (2563). เอกสารการเรยี น Module 1: นวัตกรรมเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพอ่ื การศกึ ษากระบวนวิชา ไอทเี พ่อื การศึกษา. ไดจ้ าก https://lms.thaimooc.org/courses/course-v1:CMU+CMU020+2019/course/ [สืบค้นเมื่อ 8 พฤษภาคม 2563] ทกั ษิณา สวนานนนท์ และฐานศิ รา เกยี รติบารม.ี (2546). พจนานุกรมศัพท์คอมพวิ เตอรแ์ ละ อนิ เทอรเ์ น็ต. พิมพ์ครัง้ ท่ี 10. กรงุ เทพฯ : ว.ี ทซี .ี คอมมวิ นิเคชนั่ . ทศั นยี ์ แซล่ ้ิม. (2561). “การรู้ดิจทิ ลั กบั ทักษะไอทีเพอื่ การสร้างสรรคแ์ ละนวัตกรรม”. [ออนไลน์] ไดจ้ าก: https://is.gd/UJcTZv [สืบคน้ เม่อื 23 กรกฎาคม 2562]. ทพิ วรรณ หล่อสวุ รรณรตั น์. (2546). ทฤษฎอี งค์การสมยั ใหม่. กรงุ เทพฯ : ศริ ิภณั ฑ์. ทิศนา แขมมณ.ี (2544). “ลักษณะการคดิ ” ใน วิทยาการด้านการคิด. กรุงเทพฯ: สถาบันพฒั นา คุณภาพวชิ าการ. เนาวนิตย์ สงคราม. (2557). การสรา้ งนวัตกรรม เปลี่ยนผู้เรยี นใหเ้ ปน็ ผู้สรา้ งนวตั กรรม. พมิ พค์ รง้ั ท่ี 2. กรุงเทพฯ: สำนักพมิ พแ์ ห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. _________. (2556). การสรา้ งนวัตกรรมเปล่ียนผเู้ รยี นให้เป็นผู้สรา้ งนวตั กรรม. พิมพค์ รัง้ ที่ 1. กรุงเทพฯ: สำนกั พิมพ์แหง่ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลัย. บทเรียนออนไลน์วชิ ากา้ วทันสังคมดจิ ทิ ลั ด้วยไอซที ี. (2550). [ออนไลน์] ได้จาก: https://www.informatics.buu.ac.th/88510159/ [สบื คน้ เม่ือ 14 สงิ หาคม 2562]. บทเรยี นออนไลน์ Canvas. (2562). [ออนไลน์] ไดจ้ าก: https://www.canvas.net/ [สบื ค้นเมอ่ื 1 มนี าคม 2563]. บทเรียนออนไลน์ Coursera. (2563). [ออนไลน์] ไดจ้ าก: https://www.coursera.org/ [สบื คน้ เม่อื 1 มีนาคม 2563]. บทเรียนออนไลน์ EdX. (2563). [ออนไลน์] ไดจ้ าก: https://www.edx.org/ [สืบค้นเมื่อ 1 มีนาคม 2563]. บทเรียนออนไลน์ FutureLearn. (2563). [ออนไลน์] ได้จาก: https://www.futurelearn.com/ [สืบคน้ เมื่อ 1 มีนาคม 2563]. บทเรียนออนไลน์ Khan Academy. (2563). [ออนไลน์] ได้จาก: https://www.khanacademy.org/ [สืบคน้ เมื่อ 1 มีนาคม 2563].

193 บทเรยี นออนไลน์ Open Education Europa. (2562). [ออนไลน์] ได้จาก: https://ec.europa.eu/jrc/en/open-education/mooc [สบื คน้ เมื่อ 1 มนี าคม 2563]. บทเรียนออนไลน์ The Open University. (2542-2020). [ออนไลน์] ได้จาก: https://www.open.edu/openlearn/free-courses [สบื คน้ เม่ือ 1 มีนาคม 2563]. บทเรียนออนไลน์ Udemy. (2563). [ออนไลน์] ไดจ้ าก: https://www.udemy.com/ [สืบค้นเม่อื 1 มนี าคม 2563]. บทเรียนออนไลน์ Udacity. (2554-2562). [ออนไลน์] ไดจ้ าก: https://www.udacity.com/ [สืบค้นเม่อื 1 มนี าคม 2563]. บรรจง พลไชย. (2554). การสื่อสารเพื่อบรกิ ารสารสนเทศ Communication for Information Services. วารสารบรรณศาสตร์ มศว. 4 (1), 63-70. บุญเก้ือ ควรหาเวช. (2542). นวัตกรรมการศกึ ษา. พิมพ์ครัง้ ที่ 4 : กรุงเทพฯ: ศูนยห์ นงั สือ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. เบญจา ชลธารนนท์ (2538). รวมบทความวิชาการทางการศกึ ษาพิเศษ. กรุงเทพฯ: สหธรรมิก. ปนัดดา ต้สู ระกาศ, วรสิ รา จนิ พละ, วาสินี สายหอม และนวพล พวงศรี. (2556). การพัฒนาบทเรยี น สอื่ อิเล็กทรอนิกสแ์ บบปฏิสัมพนั ธ์วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศบรู ณาการ ชัน้ มธั ยมศึกษา ปีท่ี 6. คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั บ้านสมเด็จเจ้าพระยา ปรดี า ยงั สขุ สถาพร. (2561). นวัตกร 4 แบบ. [ออนไลน์]. ได้จาก http://www.nia.or.th/innolinks/200806/innovsystem.htm สบื คน้ เม่ือวันท่ี 14 กรฎาคม 2562. เปรื่อง กุมุท. (2518). เทคโนโลยแี ละนวกรรมการศึกษา. เอกสารโรเนียว, มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ ประสานมิตร. ผดุง อารยะวญิ ญ.ู (2542). การศึกษาสำหรับเดก็ ทม่ี ีความตอ้ งการพิเศษ. (พิมพ์ครงั้ ที่ 3). กรุงเทพฯ: พีเออารด์ แอนด์ ปริ้นติ้ง. พจนานุกรมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. [ออนไลน์] ไดจ้ าก:http://rirs3.royin.go.th/newsearch/word-2-search.asp [สบื ค้นเมื่อ8 เมษายน 2559] พมิ พนั ธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดสี ุข. (2559). สอนเด็กทำโครงงานสอนอาจารยท์ ำวิจัย ปฏบิ ตั กิ ารในช้ันเรยี น.พิมพ์คร้งั ที่ 1 : กรงุ เทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย. ____________________________. (2562). สร้างนวตั กรรมบนฐานการวจิ ัย PLC & Logbook. พมิ พค์ รัง้ ที่ 1. กรงุ เทพฯ: สำนกั พิมพจ์ ฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

194 พยัต วุฒริ งค.์ (2557). การจดั การนวัตกรรม : ทรพั ยากร องคก์ รแห่งการเรียนรู้ และนวัตกรรม. กรงุ เทพฯ : สำนักพมิ พจ์ ุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. พรรณี สวนเพลง. (2552). เทคโนโลยสี ารสนเทศและนวัตกรรมสำหรับการจัดการความรู้. กรุงเทพฯ: ซเี อ็ดยูเคช่ัน. พรเพชร วชิ ิตชลชัย ประธานศาลอธุ รณภ์ าค4. (2559). “คำอธบิ ายพระราชบัญญัติว่าดว้ ยการกระทำ ความผิดเกี่ยวกบั คอมพวิ เตอร์พ.ศ.2550”.2550&catid=40:technology- news&Itemid=165 [สืบคน้ เมอื่ 10 มิถนุ ายน 2562]. พระราชบัญญัติวา่ ดว้ ยการกระทำความผดิ เกย่ี วกบั คอมพิวเตอร์. (2553). [ออนไลน์] ไดจ้ าก: http://www.nectec.or.th/index.php?option=com_content&view=article&id=79: พระราชบัญญตั ิวา่ ดว้ ยการกระทำความผิดเกย่ี วกบั คอมพิวเตอร์ พ.ศ. ๒๕๕๐. (2561). [ออนไลน์] ไดจ้ าก:http://th.wikisource.org/wiki/พระราชบัญญัติ_วา่ ด้วยการกระทำความผิด เกีย่ วกบั คอมพวิ เตอร์_พ.ศ._๒๕๕๐ [สืบคน้ เมอ่ื 18 กรกฎาคม 2562]. พลู ศรี เวศย์อุฬาร. (2553) . m-learning (เอม็ เลิร์นน่ิง) and u-learning (ยูเลิรน์ นงิ่ บทความวิชาการ เพือ่ สงั คมแหง่ การเรยี นรู้ ได้จาก http://thaimlearning.blogspot.com/2007/02/mobile-learning-mlearning.html [สืบค้นเม่ือพฤษภาคม 2563]. [ออนไลน์] มหาวิทยาลยั สุโขทยั ธรรมาธริ าช. (2546). สารสนเทศและการวิจัยการบริหารการศกึ ษา. นนทบรุ ี : มหาวิทยาลัยสโุ ขทยั ธรรมาธริ าช. มานิตย์ อาษานอก. (2561). “การพฒั นาและหาประสิทธภิ าพ ประสทิ ธผิ ลนวตั กรรม สำหรับการ เรียนรู้ด้วยตนเอง.” วารสาร เทคโนโลยีและส่ือสารการศึกษา. คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม. 1(2) 9-18. ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ: บรษิ ทั นานมีบุ๊คสพ์ ับลิเคช่ันส์ จำกัด. วรวทิ ย์ นิเทศศิลป์. (2551). สอ่ื และนวัตกรรมแห่งการเรยี นรู้. ปทุมธานี: สกายป๊กุ ส.์ วโิ รจน์ ชยั มูล และสพุ รรษา ยวงทอง. (2558). ความรเู้ บ้ืองต้นเก่ียวกบั คอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยี สารสนเทศ. พมิ พ์ครั้งที่ 2 : กรุงเทพฯ: โปรวชิ ่ัน. ศศลกั ษณ์ ทองขาว และคณะ. (2559). คอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยสี ารสนเทศสมัยใหม่. กรงุ เทพฯ: แมคกรอ-ฮิล อนิ เตอร์เนช่นั เนล เอ็นเตอร์ไพรส์ แอลแอลซี ศกั ดิ์คเรศ ประกอบผล. (2553). เอกสารคำสอนรายวิชาหลักการทางเทคโนโลยสี ่อื สารการศึกษา. กรุงเทพฯ : สาขาวชิ าเทคโนโลยีสื่อสารการศึกษา, คณะครุศาสตร,์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ บ้านสมเดจ็ เจา้ พระยา. ศนู ยเ์ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร. ความหมายเทคโนโลยสี ารสนเทศ. [ออนไลน์].

195 ไดจ้ าก: http://ops.go.th/ictc/index.php/icic-km/it-library/48-it-articles/89- informationtechnology?showall=&start=1 [สบื คน้ เมอ่ื 8 เมษายน 2559] ศูนย์เทคโนโลยอี เิ ล็กทรอนิกสแ์ ละคอมพวิ เตอร์ . (2554). “คำอธิบายพระราชบญั ญัตวิ า่ ดว้ ยธุรกรรม ทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544”. สถาบนั การพลศึกษา วทิ ยาเขตสุพรรณบรุ .ี (2554). เทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ การเรียนร.ู้ [ออนไลน]์ . สบื คน้ เมื่อ 1 พฤษภาคม 2561, ได้จาก :http://www.ipesp.ac.th/learning/071001/- chapter3/UN3_3.htm สมติ า บุญวาศ. (2546). เทคโนโลยกี ารศึกษา. กรุงเทพฯ: คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภัฏ ธนบรุ .ี สาโรช โศภีรกั ข.์ (2551). รากฐานจติ วิทยาทางเทคโนโลยกี ารศึกษา. กรงุ เทพฯ : ภาควิชาเทคโนโลยี การศกึ ษา,คณะศกึ ษาศาสตร์, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สำนกั งานคณะกรรมการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน. (2551). พระราชบญั ญตั ิการจัดการศึกษาสำหรบั คน พิการ พ.ศ. 2551. กรุงเทพฯ : สำนกั งานเลขาธกิ ารสภาการศกึ ษา. สขุ มุ เฉลยทรพั ย์ และคณะ. (2547). เทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อชวี ิต. พิมพ์คร้ังท่ี 4. กรุงเทพฯ: สถาบันราชภฎั สวนดุสิต. สุจิตรา เทียนสวัสดิ.์ การสอนเพื่อพฒั นาทักษะการคิด. [ออนไลน]์ . ได้จาก https://bit.ly/2XV6jMj สืบค้นเม่ือวนั ที่ 14 กรกฎาคม 2562 สุรางค์ โคต้ ระกลู . (2545). จิตวิทยาการศึกษา. พิมพ์คร้ังท่ี 5. กรุงเทพฯ: สำนกั พิมพ์แห่งจฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. หรพิ ล ธรรมนารกั ษ.์ (2558). นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศทางการศึกษา : ยคุ ดิจิทลั . กรงุ เทพฯ: ทรปิ เพล้ิ กรุป๊ จำกดั . อนชุ า โสมาบตุ ร. (2555). การพฒั นาโมเดลการแพรน่ วัตกรรมการเรยี นรู้ : กรณศี กึ ษา นวตั กรรมการเรียนร้ตู ามแนวคอนสตรัคติวิสต.์ ขอนแก่น : วิทยานพิ นธ์ ปรญิ ญาปรัชญาดุษฎบี ัณฑิต, สาขาวชิ าเทคโนโลยีการศกึ ษา, บณั ฑติ วทิ ยาลยั , มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น. __________. (2561). “ทฤษฎีคอนสตรัคตวิ สิ ต์ (Constructivist Theory).” ได้จาก http://www.finding.co.th/it-solutions/human-resources-hr/14-it- solutions/human-resources-hr/85-constructivist-theory.html# [สบื คน้ เมอื่ 1 เมษายน 2563] อรพนั ธุ์ ประสทิ ธิรัตน์. (2526). พนื้ ฐานทางเทคโนโลยใี นการศกึ ษา. กรงุ เทพฯ : ภาควชิ าเทคโนโลยี ทางการศึกษา, คณะศึกษาศาสตร์, มหาวทิ ยาลัยศรีนครินทรวโิ รฒ บางเขน. เอกวิทย์ แก้วประดิษฐ์. (2545). เทคโนโลยีการศกึ ษา : หลกั การและแนวคดิ ส่ปู ฏบิ ัติ. กรุงเทพฯ :

196 ภาควชิ าเทคโนโลยแี ละสื่อสารการศกึ ษา, คณะศึกษาศาสตร์, มหาวทิ ยาลัยทกั ษณิ . เอกสารประกอบการสอน วิชา GE 125 การสือ่ สารและมนษุ ยสัมพนั ธ์. [ออนไลน์]. ไดจ้ าก: http://ge.kbu.ac.th/media_learning/doc/main_media_learning/GE125/01.pdf [สืบคน้ เมื่อ 28 เมษายน 2559] โอภาส เอ่ียมสริ ิวงศ์. (2549). วิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศ. กรงุ เทพฯ: ซเี อ็ด ยเู คชั่น. Arvanitis, T.N.(1997). Web site structure : SIMQ tutorial (Issue 2). Retrieved 21 June 2012.From: http://www.cogs.susx.ac.uk/users/theoa/simq/tutorial_issue2 Billings,D. and others. (2004). “teaching Tips: Using WebQuests to Promote Active Learning,” The Journal of Continuing Education in Nursing 35(September-October), 200-201 Brown, James W., Lewis, Richard B., and Harceleroad, Fred F. AV Instruction : Technology, Media and Methods. 6 th ed. New York : McGraw-Hill Book Company, 1985. Carman, J. M. (2005). Blended learning design: five Key Ingredients. Retrieved 5 December 2012.From http://www.agilantlearning.com/Blended Learning. Clark, G. (1996). Glossary of CBT/WBT Terms.Retrieved 30 May 2011. From http://www.clark.net/pub/nractive/alt5.html. Colleen, J. (1999). Designing Web-Based Instruction: Research and Rationale.Retrieved 27 November 2012.From http://ccwf.cc.utexas.edu/~jonesc/research/empaper.html. Curtis J. Bonk, Charles R. Graham. (2006) The Handbook of Blended Learning, John Wiley & Sons, Inc., USA. Dale,Edgar. Audio – visual Methodds in Teaching 3rd ed. New York : The Dryden Press, 1969. Dirksen. J. (2016). Design for How People Learn. Julie Dirksen. 2016. Design for How People Learn. second edition. CA: New Riders. Dodge, B. (2001). “Focus : Five Rules for Writing a Great WebQuests.” Learning and Leading with Technology. 28(8), 6 – 9, 58 Driscoll, M. (1997, April). Defining Internet-Based and Web-BasedTraining.Performance Improvement, 36(4),5-9.

197 Egger, M. R. (2000) “Web-based Course in Higher Education : Creating Active learning Environment.” Dissert Abstracts International, (60); 4301. Ely, Donald P.,ed. “The Field of Educational Technology : A Statement of Definition.” Audiovisual Instruction. (October 1972), 36-43. Gagne, Robert.M. (1970). The Condition of Learning. New York : Holt, Rinehart and Winston. Gagne, Robert M. and Leslie J. Briggs. (1979). Principles of Instruction Design. 2 nd ed. New York : Holt, Rinehart and Winston. Gagne, Robert M. and Leslie J. Briggs and Walter W. Wagner. (1998). Principle of Instructional Design. 3 rd ed. New York : Holt, Rinehart and Winston. Good, Carter V. (1973). Dictionary of Education. 3 rd ed. New York : Mc Graw – Hill. Hancock, Alan. (1977). Planning for Educational Mass Media. London : Longman. Heinich, R. and Others. Instructional Media and Technologies for Learning. 6th ed. New Jersey : Prentice-Hall Inc, 1999. Hiebert, Ray Eldon, Donald F. Ungurait and Thomas W. Bohn. (1975). Mass Media : An Introduction to Modem Communication. New York: David Mckay Company. Molenda, Michael. ADDIE Model. In Education and technology : an encyclopedia. Kovalchick, Ann, and Dawson, Kara (editor). California : ABC-CLIO, 2004. Morton, J.A. (1971). Organization for Innovation: A Systems Approach to Technical Management. :New York: McGraw--Hill. Narayanan, V.K. (2001). Manage technology and innovation for competitive advantage. Prentice Hall :Upper Saddle River, New Jersey. Rogers, Everett M. (2003). Diffusion of Innovations. New York : The Free Press. Schramm, Wilbur. (1973). Messages and Media : A Look at Human Communication. New York: Harper and Row, Seels,B.B. and Richey,R.C. (1994). Instruction Technology : The Definition and Domains of the Field. Washington D.C.: Association for Educational Communications and Technology. Smith, P. L., & Ragan, T. J. (1999). Instructional Design. New York: John Wiley & Sons Inc. Support Thai Mooc (2561). [ออนไลน์] ได้จาก: https://support.thaimooc.org/help-center/categories/9/course-online [สบื คน้ เมอ่ื 7 มกราคม 2563].

198 Switzerland. 1976. [Online] . Retrieved from http://www.dpa.org.sg/DPA/definition_disability. htm on May 18, 2016. Tomas Hughes.(1971 ). “กระบวนการเกดิ นวัตกรรม.” ไดจ้ าก http://edtech.edu.ku.ac.th/edtech/wbi/index.php?module=learn&chapter=4 &view=1 [สืบค้นเมอ่ื 27 มิถุนายน 2562] World Health Organization.(1976). a disability is any restriction or lack (resulting from an impairment) of ability to perform an activity in the manner or within the range considered normal for a human being. Document A29/INFDOCI/1Geneva


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook