Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงงานคอมพิวเตอร์

โครงงานคอมพิวเตอร์

Published by lovelyPloy59, 2021-02-17 15:14:13

Description: โครงงานคอมพิวเตอร์

Search

Read the Text Version

ส่งเสรมิ การอ่านเรอ่ื ง Augmented Reality งานห้องสมดุ จัดทาโดย นางสาว นชุ วรา เสวตผล เลขที่ 30 ช้นั ม.4/3 เสนอ คณุ ครูณัฐวรินทร ธารบปุ ผา ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2563 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาน้อมเกลา้ นนทบุรี

Augmented Reality AR : Augmented Reality Technology เป็นเทคโนโลยีท่ีผสมผสานระหว่างความเป็นจริง และ โลกเสมือนที่สร้าง ขึ้นมาผสานเข้าด้วยกันผ่านซอฟตแ์ วรแ์ ละอปุ กรณ์เช่ือมต่อต่าง ๆ ซ่ึงถือว่าเป็นการสร้างข้อมูลอกี ข้อมูลหนึ่งท่ีเป็นส่วนประกอบบน โลกเสมือน (virtual world) เชน่ ภาพกราฟกิ วิดีโอ รูปทรงสามมติ ิ และขอ้ ความ ตวั อกั ษร ใหผ้ นวกซอ้ นทบั กับภาพในโลกจรงิ ทป่ี รากฏบนกลอ้ ง AR แบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ แบบท่ใี ชภ้ าพสัญลกั ษณ์และแบบที่ใช้ระบบพิกัดในการวเิ คราะหข์ ้อมลู เพอ่ื สร้างขอ้ มูลบน โลกเสมอื นจรงิ ซ่ึงในทางเทคนิคแลว้ ภาพสัญลักษณ์ที่ใช้ จะนิยมเรยี กว่า “Marker” หรืออาจจะเรยี กวา่ AR Code ก็ได้ โดยใช้ กล้องเว็บแคมในการรบั ภาพ เมือ่ ซอฟตแ์ วรท์ เ่ี ราใชง้ านอยูป่ ระมวลผลรปู ภาพเจอสญั ลกั ษณ์ทก่ี าหนดไวก้ ็จะแสดงข้อมูลภาพสาม มิตทิ ถี่ กู ระบไุ วใ้ นโปรแกรมให้เห็น เราสามารถทจ่ี ะหมนุ ดภู าพที่ปรากฏได้ทกุ ทศิ ทางหรอื เรียกว่าหมุนได้ 360 องศา ข้ันตอนการทาเทคโนโลยเี สมอื นจรงิ ประกอบดว้ ย 3 ข้นั ตอน คือ 1. การวิเคราะห์ภาพ (Image Analysis) เป็นข้ันตอนการค้นหา Marker จากภาพที่ได้จากกล้องแล้วสืบค้นจาก ฐานข้อมูล (Marker Database) ท่ีมีการเก็บข้อมูลขนาดและรูปแบบของ Marker เพ่ือนามาวิเคราะห์รูปแบบของ Marker การ วิเคราะห์ภาพ สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่ การวิเคราะห์ภาพโดยอาศัย Marker เป็นหลักในการทางาน (Marker based AR) และการวเิ คราะห์ภาพโดยใช้ลักษณะต่างๆ ที่อยใู่ น ภาพมาวเิ คราะห์ (Marker-less based AR) 2. การคานวณค่าตาแหนง่ เชิง 3 มติ ิ (Pose Estimation) ของ Marker เทยี บกับกล้อง 3. กระบวนการสร้างภาพสองมิติ จากโมเดลสามมิติ (3D Rendering) เป็นการเพ่ิมข้อมูลเข้าไปในภาพ โดยใช้ค่า ตาแหน่ง เชิง 3 มติ ิ ท่คี านวณไดจ้ นไดภ้ าพเสมอื นจรงิ

อุตสาหกรรมโทรศัพท์มอื ถือ หรือสมารท์ โฟน ได้เปน็ ตัวผลักดันในการเตบิ โตของ AR เปน็ อย่างมากเมื่อช่วงระยะเวลา 10 ปี ท่ีผ่าน มาน้ี สมาร์ทโฟน ไดถ้ ูกบรรจุความสามารถลงไปอยา่ งมากมาย ซงึ่ เพรยี บพร้อมดว้ยระบบตดิ ตามดว้ ยพกิ ดั ดาวเทยี ม (GPS tracking เปน็ ระบบติดตามและคน้ หาตาแหนง่ ด้วยการระบบพกิ ดั จากดาวเทยี ม) กลอ้ งถา่ ยรูป และเขม็ ทศิ สามารถคานวณหา ตาแหน่งที่เราอยแู่ ละทิศทางทเี่ ราหนั หนา้ ไปได้อย่างแมน่ ยา หน้าท่ีขอ้ มลู จะไดร้ ับการปรบั แตง่ ตลอดเวลา ใหเ้ ข้ากบั ตาแหนง่ ท่เี ราอยู่ และทที่ างที่เรากาลังหันหน้า หรอื มงุ่ หน้าไป ท้งั หมดที่ต้องทากค็ ือ การมองโลกใบใหม่ลงบนหน้าจอสมารท์ โฟน การเปลย่ี นแปลงความเป็นจริงธรรมดา ให้เปน็ ความจรงิ เสมือน คือเทคนคิ เพมิ่ ความเสมอื นจริงของ Augmented Reality ที่ทาให้ กราฟกิ ธรรมดานนั้ มคี วามพเิ ศษเพมิ่ เติมจากของจริง โดยเน้นลกั ษณะเฉพาะและยกระดับขยายความเขา้ ใจไดม้ ากขน้ึ (lsdale, 2001) Azuma 1999 อธบิ ายวา่ “เทคนคิ เพ่มิ ความเสมือนจริงคือ การเพ่มิ ความเข้าใจของมนุษยส์ นบั สนุนขอ้ มูลข่าวสารท่ีไมป่ กติท่ี พบเหน็ จากความรสู้ กึ ของมนุษย์”1 (Behringer, Mizell และ Klinker (2001)) อธิบายวา่ “เทคโนโลยี AR จัดเตรยี มวิธกี าร นาเสนอข้อมลู โดยเพ่ิมสถานการณเ์ พ่ิมความรคู้ วามเข้าใจของโลกจริง สิ่งนี้ถกู ยอมรับการแทนวตั ถุเสมอื นหรอื สอดแทรกขอ้ มูล ข่าวสารเขา้ ไปในโลกทเ่ี ปน็ จรงิ ผใู้ ช้จะเปน็ ผมู้ องเหน็ ” สอดคลอ้ งกบั (lsdale, 2001) หน้าจัดแบง่ ชนดิ ของเทคนิคเพ่มิ ความสวา่ งจริง (AR) ออกเปน็ 4 ชนิด สง่ิ นั้นสามารถแยกชนิดไดด้ ังน้ี 1. Optical See-Through AR ชนดิ นเี้ ปน็ การแสดง AR บอกพผ่ี ู้ใชจ้ ะมองเหน็ ได้ดว้ ย Head-mounted display (ผูใ้ ช้ จะตอ้ งสวมหมวกทมี่ จี อภาพไว้บนศรี ษะ) เพอื่ แสดงสิ่งแวดล้อมเสมือนไดโ้ ดยตรงมากกวา่ โลกจรงิ 2. Projector Based AR ชนดิ น้เี ปน็ รูปแบบ AR ท่ีใชเ้ ครื่องฉายแสงหรอื โปรเจก็ เตอร์ เพอ่ื จาลองสิ่งต่างๆ ให้ดเู สมอื น จริงเชน่ ต้องลองชนั้ ดินของเปลือกโลกใหเ้ ด็กไดเ้ รยี นรแู้ ละสัมผสั เพอ่ื ที่จะได้เขา้ ใจและจดจาไดง้ า่ ยมากยง่ิ ขน้ึ มากไปจากน้ี Projector Based AR กย็ ังถกู นาไปใช้ในงานด้านอืน่ ๆ อีกหลายประเภท ทงั้ ทางด้านวทิ ยาศาสตร์ วศิ วกรรมศาสตร์ การศกึ ษา การตลาด ฯลฯ 3. Video See-Through AR ชนิดน้ีเปน็ AR แบบทผ่ี สมผสานระหวา่ งภาพนิ่ง หรือวตั ถุทึบแสง ภาพเคลือ่ นไหว และ วีดิโอ เพื่อขอข้อมูลเพม่ิ เติมทน่ี อกเหนือไปจากขอ้ มูลทป่ี รากฏอยใู่ นส่ิงพมิ พ์ และยงั ช่วยแสดงรายละเอยี ดขอ้ มูลได้เยอะข้นึ ด้วย เคร่ืองจะตอ้ งมอี ุปกรณ์ในการมองและส่งเพอื่ ทจ่ี ะดขู ้อมูล เชน่ กลอ้ ง สมาร์ทโฟน หรอื แทบ็ เลต็ 4. Monitor-Based AR ชนิดนเี้ ป็นการนาเอาเทคโนโลยที จ่ี บั การเคลอื่ นไหว แมวผสมผสานเขา้ กับวดี โี อ และกราฟิกเพอ่ื สรา้ งความน่าสนใจให้กบั ช้ินงาน โดยใชก้ ารผสมผสานกับ Video Stream เพื่อทาใหก้ จิ กรรมตา่ งๆนน้ั นา่ ตดิ ตามมากกว่าปกตหิ รอื ทาใหด้ ูเหมือนกบั วา่ สามารถจับ หรือแตะตอ้ งส่ิงแสดงใหเ้ หน็ บนจอได้ มี Application ทใ่ี ชป้ ระโยชนจ์ าก AR อย่หู ลายตัวบน iPhone ของ Apple มือถือ Android ของ Google และมอื ถอื ระบบปฏิบตั กิ าร Windows ใหมล่ ่าสุดแอพพลเิ คช่นั AR บนสมารท์ โฟนแบบแรกสุดเลยคือ Wiki Tude ซึ่งเปน็ วกิ พิ ีเดียเวอร์ชัน่ AR นน้ั มีให้ใช้ได้ในมือถือ Google Android ตง้ั แต่ปลายปี ค.ศ. 2008 และใน iPhone ตัง้ แต่เดือนตุลาคม ค.ศ.2009 แล้วตอนน้ี ได้รับการดาวน์โหลดไฟลจ์ านวนมากดว้ ยการใช้หนา้ จอแบบ Google Map ผู้ใช้ Wikitude สามารถ geotag หรือระบุคา่ พิกัดจาก ดาวเทียมของสถานทท่ี ีพ่ วกเขาไปเยือนไดแ้ ละเม่อื ไดแ้ ทก็ (tag) ไปแลว้ ผใู้ ช้วกิ ฤตทบุ คนอน่ื ท้งั หมดก็จะสามารถเข้าถงึ ขอ้ มูล เหล่านั้นได้เมอื่ พวกเขาอยใู่ นสถานท่ีเดียวกันนนั้ และมีมือถือพร้อมใช้งาน

การเชอ่ื มต่ออนิ เทอร์เน็ตไร้สาย ในขั้นแรก Augmented Reality หรอื การนาเอาโลกเสมือนมาผสานกับโลกแห่งความเป็นจรงิ น้นั เปน็ วธิ ีใหมใ่ นการเขา้ ถึง ขอ้ มลู แปลผลกระทบตอ่ สงั คมท่ีเกดิ ข้ึนจาก Augmented Reality นัน้ มแี รงกระทบอยา่ งมากมายกล่าวได้วา่ แรงสะทอ้ นและการ กระเพ่ือมนนั้ เป็นวงกวา้ งมากและกระทบกบั หลากหลายวงการเป็นผลกระทบเช่นเดียวกับการท่อี ินเตอรเ์ น็ตเข้ามาแทนท่งี านส่ิงพมิ พ์ ในอดตี สงิ่ พมิ พ์ถือได้วา่ เป็นเทคโนโลยีท่ีทันสมยั ที่สดุ แตเ่ มือ่ ยคุ หน่ึงเทคโนโลยีไดถ้ ูกพฒั นามากข้ึน จนได้สร้างระบบโครงขา่ ยท่ี สาคัญขน้ึ มาทเี่ รยี กว่าอินเตอร์เนต็ การปฏวิ ัติอินเทอร์เนต็ ทาให้ขอ้ มูลมคี วามเฉพาะเจาะจงตอ่ บรบิ ทมากขน้ึ ของทจ่ี ะต้องค้นหาขอ้ มลู จากระบบทศนิยมดวิ อี้ (Dewey Decimal System ระบบการจดั หมวดหมหู่ นงั สอื ในห้องสมุดทีเ่ ปน็ ท่นี ิยมระบบหนึง่ ) ของห้องสมดุ ในทต่ี ่างๆและต้อง เสียเวลาพลิกไปยังขอ้ มลู ท่ีถกู ต้องหรอื ข้อมูลทตี่ อ้ งการต้องเสียเวลาในการค้นหาข้อมูลต่างๆ เปน็ วนั เปน็ เดอื น ข้อมลู จากข้ามทวปี ข้ามประเทศ ตอ้ งสง่ หากนั โดยใชเ้ วลานาน กเ็ ปลี่ยนเปน็ สามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ไดท้ นั ที คน้ หาได้ง่าย ดว้ ยความรวดเรว็ Augmented Reality ไดน้ าความก้าวหนา้ ของระบบอินเทอรเ์ น็ตให้ก้าวไปอีกหนึ่งกา้ วกระโดดใหญ่ ซ่งึ จะทาให้การเข้าถงึ ข้อมลู ง่ายและมี ประสทิ ธภิ าพมากขึ้น ข้อมลู ตา่ งๆ จะถกู รวบรวมจากอินเทอร์เนต็ และถกู นาไปใสไ่ ว้ในส่ิงของต่างๆ ท่ีอยรู่ อบตัวของทกุ คน เพอื่ ทจี่ ะ ทาให้ชีวติ ของทุกคนงา่ ยยง่ิ ข้ึนเพยี งแค่ใชอ้ ุปกรณท์ เ่ี หมาะสมหันไปทางวตั ถตุ า่ งๆกจ็ ะมขี อ้ มลู ขึ้นมาตามทตี่ อ้ งการ ไมต่ อ้ งไป search ในอนิ เตอรเ์ นต็ เพ่ือจะหาขอ้ มูล Augmented Reality จะช่วยทาให้ข้อมลู ต่างๆปรากฏข้ึนมาท่ีหนา้ ของทุกคนได้ เช่นกนั หา รา้ นอาหารดๆี ท่ีมคี นแนะนากันไว้อยูบ่ รเิ วณใกลๆ้ ตวั หรอื ไมแ่ ละมรี ้านไหน เสน้ ทางไปทางไหนบ้างทตี่ ้งั ของร้านอาหารเหล่าน้นั จะ แสดงเอาไวต้ รงหนา้ พรอ้ มกบั บทวจิ ารณ์ล่าสดุ จากลกู ค้ามกี ระดานแจ้งวา่ สัปดาห์นี้มีอะไรพเิ ศษและข้อมลู วา่ รา้ นอาหารเหลา่ น้ีมี WiFi ใหล้ กู ค้าใช้ฟรหี รือไม่ มไี ฮเปอรล์ ิงค์ เพือ่ ใหส้ ามารถเข้าไปดขู อ้ มลู เพ่มิ เตมิ ที่มากขึน้ ได้ (ไฮเปอรล์ งิ ค์ คือการเชอ่ื มโยงของ เอกสารบนอินเตอรเ์ นต็ จากจุดหนงึ่ ไปยังอกี จดุ หน่ึง) ดังที่ Rolf Hainich ผเู้ ขยี น The End of Hardware อธิบายไว้ว่า Augmented Reality มศี กั ยภาพทจ่ี ะทาใหท้ ุกคนใชช้ ีวิตได้ง่ายขึ้น Head-mounted display (HMD) เป็นเครอ่ื งมือที่ยังมีข้อจากัด ในการใช้งานอยู่ เนือ่ งจากไฟลง์ านทีจ่ ะตอ้ งนามาใช้น้ันมีขนาดคอ่ นขา้ งใหญจ่ ึงทาให้ยังอยใู่ นระหว่างการพัฒนาอยู่ อนาคตเช่ือได้ ว่าอุปกรณต์ ่างๆเหล่าน้ี ถ้ามกี ารพฒั นาท่ีสงู ขนึ้ จนสามารถสรา้ งและพฒั นางานไดห้ ลากหลายมากย่งิ ขนึ้ งานท่ปี จั จุบันท่ีเกยี่ วขอ้ ง ไดท้ าการขน้ึ มาแล้ว เช่น การจาลองเลยี นแบบสถานการณเ์ ล่นกอลฟ์ จรงิ “Mixed Reality Lab ในโยโกฮามา ไดพ้ ฒั นาเพ่ิม ความเสมอื นจรงิ ใหก้ บั เกมกฬี าฮอกก้ี ผเู้ ลน่ สามารถที่จะแบ่งปนั ไฟล์เกมทางกายภาพ ไมต้ ี และเกมฮอกก้เี ส้ือเหมอื นจะเล่นใน อากาศ” ศลิ ปะอยา่ งหนึง่ และการประยกุ ตข์ อ้ มลู สารสนเทศ และเทคนคิ การเพ่ิมความเสมอื นจริง คือระบบสารสนเทศในระบบ อินเทอรเ์ น็ตสาหรับสารวจสภาพแวดลอ้ มภายในเมอื ง รวมทั้งส่ิงแวดลอ้ มเกีย่ วกบั การเคลือ่ นทใี่ นทว่ี ่าง โดยเฉพาะงานวจิ ัยที่ เกยี่ วกบั เทคนิคเพ่มิ ความเสมือนจรงิ แบบเคลอื่ นที่ ชายพกพาและสวมใส่ ระบบที่คานวณเอาไวแ้ ล้วเดนิ ไปรอบๆ

การประยกุ ต์เทคนิคการเพม่ิ ความเสมือนจรงิ อยใู่ นโรงงานอุตสาหกรรมน้นั เปน็ สง่ิ สาคัญทจ่ี ะชว่ ยเน้นการควบคมุ ให้ความสามารถ เด่นชดั เป็นตน้ ว่า ควบคุมความตอ้ งการทั้งทางพนื้ ดนิ และทางเคร่ืองบนิ กลุ่ม beoing กาลังสารวจชนิดการประยุกตน์ ี้ Behringer, Mizell, amd Klinker (2001) รายงานว่า David Mizell เป็นคนนาไปประยกุ ตใ์ ช้ AR กบั อตุ สาหกรรมการสร้างเครอ่ื งบิน พบวา่ คนงานท่ไี มไ่ ด้รบั การฝกึ อบรม (no trained) สามารถประกอบ wire bundle เรว็ กว่าคนงานทไี่ ม่ไดเ้ รียนรรู้ ะบบนี้ มกี าร ประยกุ ตใ์ ช้ทางดา้ นการแพทย์อยภู่ ายใตก้ ารพัฒนาของเทคนคิ การเพม่ิ ความเสมือนจริง เม่อื ไม่นานมาน้ี ศัลยแพทยไ์ ด้ทาการ ศลั ยกรรมไปสกู่ ารย้ายเนอ้ื งอกออกจากสมองโดยใชเ้ ทคนคิ เพ่ิมความเสมือนจริง โดยใชภ้ าพวดิ โี อเพ่ิมเขา้ ไปในกราฟิก 3D ช่วยให้ แพทย์ดตู าแหน่งของชิ้นส่วนในร่างกาย จากการคานวณทีม่ ีประสทิ ธภิ าพมากกว่า คลา้ ยกับท่ี Azuma อธบิ ายไว้ การประยกุ ตใ์ ช้เทคโนโลยีวตั ถเุ สมอื นจะช่วยใหเ้ ขา้ ใจ เก่ียวกับสภาพแวดล้อมของเขา เปน็ ตน้ วา่ กลมุ่ ท่ี UNC ตรวจลกั ษณะของทารกในมดลกู กบั เคร่อื งจบั สญั ญาณเหนอื เสยี ง ต่อมา ซอ้ นทับจาลองทบั ภาพ 3 มิติลกั ษณะของทารกในมดลกู ไว้บนสดุ ของมดลูกของแม่ ความสาเรจ็ อยา่ งหนงึ่ ของหมอคือภาพ x-ray ท่ี ทาใหส้ ามารถมองเข้าไปถึงมดลกู ขา้ งใน เทคโนโลยีภาพเสมอื นจริงไดม้ ีการนามาใช้ในทางการแพทย์ นับตั้งแตม่ ีการวางแผน ผ่าตัดเสมอื นจรงิ เม่อื ตน้ ปี 1996 ได้มีการประยกุ ต์ใชก้ ารสร้างภาพเสมือนจริงในการการแพทย์ เมื่อปี 1997 อาทเิ ช่น การส่อง กลอ้ งดูลาไสใ้ หญ่แบบปฏสิ ัมพันธ์ ต้งั แตป่ ี 1999 แต่การพฒั นาเทคโนโลยสี ร้างเสมอื นจริง โดยเพมิ่ ตวั ตอ่ ประสานระบบสมั ผสั ภาพ 3 มิตเิ พื่อเพิม่ ความสมจรงิ ในการรกั ษา โดยอาศัยการสร้างแรงปฏิกริ ยิ าท่ีสะทอ้ นกลับ ไปหาเครอื่ งมือทใี่ ช้ เมอื่ เครือ่ งมือทใ่ี ชส้ มั ผัส กบั พน้ื ทเี่ ปา้ หมาย เมอื่ ปี 2007 เป็นการอานวยความสะดวก ให้นักศึกษาแพทยไ์ ดใ้ ชเ้ ครือ่ งมอื รกั ษา หรอื ผา่ ตัดผปู้ ่วยไดโ้ ดยไม่ จาเปน็ ตอ้ งทดลองกบั คนไข้จริง จดุ เส่ียงต่อความผดิ พลาดทม่ี อี นั ตรายถงึ ชวี ิตตอ่ ผู้ป่วยได้ ลา่ สุดได้มีนาไปใช้ในการวดั ความยาว คลองปราสาทรากฟนั แบบ 3 มติ ิ ซง่ึ ปกตจิ ะวัดระยะเช่นน้นั ให้แมน่ ยาให้ครบท้งั 3 แนว เมอ่ื ปี 2008 ในปจั จบุ ันได้มกี ารนา เทคโนโลยีภาพเสมอื นจริงจาลองการผา่ ตัดไดส้ มจริงคือ Computer Aided Surgery เพอ่ื การผ่าตดั เสมอื นจรงิ ซง่ึ ทาง มหาวิทยาลัยแพทย์ศาสตร์ Ganz ไดแ้ ปลงใหเ้ ปน็ ระบบจาลองการผา่ ตดั ตับเสมือนจริง เนอ่ื งจากการผา่ ตดั ตับเปน็ งานผา่ ตดั ท่ียาก มาก ต้องมีความชานาญเฉพาะทางจึงจะสาเรจ็

องคป์ ระกอบของเทคโนโลยีเสมือนจริง ประกอบด้วย 1. AR Code หรอื ตัว Marker ใชใ้ นการกาหนดตาแหน่งของวตั ถุ 2. Eye หรือ กล้องวิดีโอ กล้องเว็บแคม กล้องโทรศัพท์มือถือ หรือ ตัวจับ Sensor อื่นๆ ใช้มองตาแหน่งของ AR Code แลว้ ส่งขอ้ มูลเข้า AR Engine 3AR Engine เปน็ ตัวสง่ ขอ้ มูลทีอ่ า่ นไดผ้ า่ นเขา้ ซอฟตแ์ วร์หรือสว่ นประมวลผล เพอ่ื แสดงเป็นภาพตอ่ ไป 4. Display หรอื จอแสดงผล เพ่ือใหเ้ หน็ ผลขอ้ มูลท่ี AR Engine สง่ มาใหใ้ นรปู แบบของภาพ หรอื วดี โี อ หรืออีกวิธีหนึ่ง เราสามารถรวมกล้อง AR Engine และจอภาพ เข้าด้วยกันในอุปกรณ์เดียว เช่น โทรศัพท์มือถือ หรือ อ่ืนๆ ประโยชน์ของ เทคโนโลยี AR (Augmented Reality) ดา้ นธุรกิจและการขาย เร่มิ หันมาใช้ Augmented Reality เพือ่ นาเสนอสนิ ค้าเพ่อื สร้างความน่าสนใจให้กับลูกค้า โดย มีการประยุกต์เข้ากับ Smart phone เพื่อให้ลูกค้าสามารถสแกนรูปถ่ายของสินค้าและแสดงข้อมูลของสินค้าเพ่ิมเติมในรูปแบบ วดิ โี อ และส่ือ 3 มติ ิ หรอื ใช้เพื่อจาลองการใช้งานสนิ ค้านน้ั ๆ เชน่ จาลองการสวมใสเ่ สอ้ื ผา้ หรือเครื่องประดับ เปน็ ต้น

ดา้ นการแพทยม์ กี ารนาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการผ่าตดั เพ่ือแสดงข้อมูลอวัยวะของคนไขแ้ บบ Real-time เชน่ การจาลองภาพ เอกซเรย์ท่ไี ดจ้ ากการทา Ultrasound เพอื่ จาลองตาแหนง่ ของเนือ้ งอกภายในร่างกายของคนไข้ ด้านการศึกษาครูผู้สอนมีการนามาประยุกต์ใช้ในหอ้ งเรียน เพื่อสร้างบรรยากาศในการเรียนให้น่าตื่นเต้น และแปลก ใหม่ ทาให้ผ้เู รียนเกิดการสนใจเรยี นรู้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook