Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือสำหรับผู้ปกครอง (เด็ก สมาธิสั้น)

คู่มือสำหรับผู้ปกครอง (เด็ก สมาธิสั้น)

Published by morakot panpichit, 2019-12-23 01:05:31

Description: คู่มือสำหรับผู้ปกครอง (เด็ก สมาธิสั้น)

Search

Read the Text Version

เดก็ สมาธสิ ัน้ คมู ือสาํ หรบั พอแม/ผปู กครอง

ชอ่ื หนังสือ : เดก็ สมาธิส้ัน คูมอื สาํ หรบั พอ แม/ ผูปกครอง จัดพมิ พโดย : สถาบันราชานุกูล พมิ พค รง้ั ที่ 1 : สงิ หาคม 2555 จํานวนพมิ พ : 2,000 เลม พิมพที่ : บรษิ ทั บียอนด พบั ลิสชงิ่ จาํ กดั 2 เด็กสมาธสิ ั้น คมู ือสาํ หรบั พอแม/ผปู กครอง

คาํ นํา โรคสมาธสิ น้ั นน้ั แทจ รงิ แลว ไดร บั การบรรยายไวใ นวารสารทางการแพทย อยางเปนทางการมากวา 100 ปแลว เด็กที่เปนโรคสมาธิส้ันจะมีลักษณะ อยูไมนิ่ง มีปญหาในการคงสมาธิ และมักพบวามีปญหาในการควบคุมตนเอง และเกดิ ปญ หาพฤตกิ รรมตา งๆ ใหผ คู นรอบขา งไดป วดศรี ษะไดบ อ ยๆ ในปจ จบุ นั ทง้ั ในวงการแพทยแ ละวงการการศกึ ษาไดใ หค วามสนใจโรคสมาธสิ น้ั อยา งจรงิ จงั ทําใหมีการศึกษาวิจัยและรวบรวมประสบการณที่เกี่ยวของกับเด็กสมาธิส้ัน จนเกดิ ความรเู กย่ี วกบั วธิ กี ารดแู ลรกั ษาและชว ยเหลอื เดก็ สมาธสิ น้ั อยา งมากมาย คูมือเลมนี้เปนการรวบรวมความรูทั้งจากตําราและจากขอมูลท่ีได จากการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรูประสบการณระหวางผูปกครอง ครูและ ครูการศึกษาพิเศษท่ีมีประสบการณกับเด็กสมาธิส้ัน โดยรวบรวมลักษณะ อาการทพ่ี บไดบ อ ย ปญ หาพฤตกิ รรมรวมถงึ แนวทางการดแู ลแกไ ขปญ หาตา งๆ ที่งายตอการปฏิบัติจริง คณะผูจัดทําปรารถนาวาคูมือเลมน้ีนาจะเปนตัวชวย ท่ดี ใี นการชวยคณุ พอ คุณแมในการดูแลเดก็ สมาธสิ น้ั ตอไป คณะผจู ดั ทํา เด็กสมาธิสัน้ คมู อื สําหรับพอ แม/ผูปกครอง 3

4 เด็กสมาธิส้นั คูมอื สําหรบั พอ แม/ผปู กครอง

สารบญั มาทาํ ความรจู กั กับโรคสมาธิสั้น 7 ขอสงั เกตเด็กสมาธสิ ้นั แตล ะชวงวยั 9 โรคน้ีพบไดบอยแคไหน 11 เพราะอะไรจึงเปน โรคสมาธสิ ั้น 11 แพทยตรวจอยา งไรถึงบอกไดวาเด็กเปน โรคสมาธสิ ้ัน 13 หลากหลายคําถามเก่ยี วกับโรคสมาธสิ ้ัน 14 การชวยเหลอื เด็กทเ่ี ปน โรคสมาธิสน้ั 18 คณุ พอคุณแมสามารถชว ยเหลือเดก็ สมาธิส้นั ไดอยา งไร 19 19 การทําใจยอมรบั ในสงิ่ ทีเ่ ดก็ เปน 21 การปรับเปล่ยี นพฤตกิ รรม 27 การฝก ฝนทกั ษะท่สี ําคญั 32 การสอื่ สารประสานงานกับครูและแพทย 35 เอกสารอา งองิ เด็กสมาธสิ ั้น คมู อื สําหรับพอ แม/ ผปู กครอง 5

เด็กสมาธสิ ้ัน คมู อื สําหรับพอแม/ ผูป กครอง 6 เดก็ สมาธิสน้ั คมู ือสําหรับพอ แม/ ผูปกครอง

เดก็ สมาธิสนั้ มาทาํ ความรโูจ รักคกับสมาธสิ นั้ โรคสมาธิส้นั เปน กลุมความผิดปกติของพฤติกรรม ประกอบดวย o ขาดสมาธิ o ซน อยูไมน ิ่ง o หนุ หนั พลันแลน ขาดการยบั ยั้งใจตนเอง โดยแสดงอาการอยางตอเน่ืองยาวนาน จนทําใหเกิดผลกระทบตอ การใชชีวิตประจําวันและการเรียน ซึ่งเปนพฤติกรรมที่ไมเหมาะสมกับอายุ และระดับพัฒนาการ โดยที่ความผิดปกติดังกลาวเกิดข้ึนกอนอายุ 7 ป อาการตอ งเปน มาตลอดตอเนือ่ งไมต ํ่ากวา 6 เดือน เดก็ สมาธิสนั้ คมู ือสาํ หรบั พอแม/ผูปกครอง 7

8 เด็กสมาธิส้นั คูมอื สําหรบั พอ แม/ผปู กครอง

ขอ สงั เกต เด็กสมาธิส้ันแตละชว งวยั คุณพอ คณุ พอคุณแมจะสงั เกตเด็กสมาธสิ ้ันไดอยางไรบาง วยั อนบุ าล ในขวบปแรกเด็กอาจจะมีลักษณะเลี้ยงยาก เชน กินยาก นอนยาก รอ งกวนมาก มอี ารมณห งดุ หงดิ แตเ ดก็ จะมพี ฒั นาการคอ นขา งเรว็ ไมว า จะเปน การตง้ั ไข คลาน ยนื เดิน หรือว่งิ เมอื่ เริ่มเดนิ กจ็ ะซนอยูไ มน่ิง ว่งิ หรือปน ปา ย ไมหยุด คุณพอคุณแมอาจคิดวาเปนเรื่องธรรมดาเพราะเด็กวัยน้ีตองซน แตบางคนอาจจะเหน่ือยจนทนไมไหว และเกิดความเครียดอยางมาก ในการดูแลเด็ก บอยครั้งท่ีคุณพอคุณแมเองอาจมองไมเห็นความผิดปกตินี้ เนื่องจากไมมีโอกาสเปรียบเทียบเด็กกับเด็กคนอ่ืนๆ แตเพื่อน ญาติพี่นอง หรือครู อาจมองเห็นความซนเกินปกติน้ีได เด็กสมาธิสัน้ คมู ือสําหรบั พอแม/ ผูปกครอง 9

วัยประถมศกึ ษา เมื่อเขาวัยเรียน จะสังเกตไดวาเด็กมีสมาธิสั้น วอกแวกงาย ไมส ามารถนง่ั ทาํ งานหรอื ทาํ การบา นไดจ นเสรจ็ ทาํ ใหม ปี ญ หาการเรยี นตามมา การควบคุมตนเองของเด็กไมคอยดี อาจมีพฤติกรรมกาวราว หงุดหงิดงาย ทนตอ ความคบั ขอ งใจไมค อ ยได ทาํ ใหเ กดิ ปญ หากบั เพอื่ นๆ เมอื่ อยใู นหอ งเรยี น ก็ไมสามารถใชชีวิตไดเหมือนเพ่ือนคนอื่นๆ มักจะรบกวนชั้นเรียน ไมคอยให ความรว มมอื ในการปฏบิ ตั ิตามกฎเกณฑข องหองเรยี น วยั มัธยมศึกษา เมื่อยางเขาวัยรุน อาการซนอยูไมน่ิงในเด็กบางคนอาจลดลง แต ความไมมีสมาธิและขาดความยับย้ังชั่งใจของเด็กจะยังคงอยู ปญหาการเรียน จะหนักขึ้น เพราะอาการขาดสมาธิที่ไมไดรับ การแกไขอยางถูกตอง ดวยลักษณะที่ชอบ ความต่ืนเตนทาทาย เบื่องาย ประกอบกับ ความลมเหลวต้ังแตเล็กและความรูสึกวาตนเอง ไมด ี เดก็ อาจจะเกดิ พฤตกิ รรมเกเร รวมกลมุ กบั เพอื่ นทม่ี ีพฤตกิ รรมคลา ยกนั ชกั ชวนกนั ทําเรอื่ ง ฝา ฝน กฎของโรงเรยี นจนอาจเลยเถดิ ไปถงึ การใช สารเสพตดิ ได 10 เดก็ สมาธิส้ัน คูมอื สาํ หรับพอ แม/ผูปกครอง

โรคน้ีพบได บอ ยแคไหน การสํารวจในประเทศไทย พบวามีความชุกประมาณรอยละ 5 โดย พบในกลุม เดก็ นกั เรยี นชาย มากกวา กลุมเดก็ นักเรยี นหญงิ ในหองเรียนทมี่ เี ดก็ ประมาณ 50 คน จะมเี ด็กสมาธิส้ัน 2 – 3 คน เพราะอะไรจงึ เปน โรคสมาธสิ ้นั มีหลายสาเหตดุ ว ยกนั ทีท่ าํ ใหเ ด็กเปน โรคสมาธสิ นั้ o พนั ธกุ รรม หากคณุ พอ คณุ แมเ ปน โรคน้ี ลกู กจ็ ะไดร บั ยนี ทถ่ี า ยทอด จากคณุ พอ คณุ แม o อาจเกิดตั้งแตเด็กอยูในครรภหรือหลังคลอด เชน ขาดออกซิเจน อุบัติทางสมอง โรคสมองอักเสบ การไดรับสารพิษ หรือมารดา ด่มื สรุ าขณะตงั้ ครรภ เด็กสมาธสิ ั้น คูมือสาํ หรบั พอ แม/ผปู กครอง 11

สาเหตุที่กลาวมาสงผลใหการทํางานของสมองบกพรองจากการท่ี สารเคมใี นสมองหลง่ั ผิดปกติ ไดแ ก สารโดปามนี และเซโรโทนิน ปจจุบันเชื่อวาโรคสมาธิส้ันเปนความผิดปกติของสมอง ไมไดเกิด จากความผิดหรือความบกพรองของคุณพอคุณแม หรือการเล้ียงดูเด็ก ผดิ วิธี (แตก ารเล้ียงดทู ผี่ ิดวธิ ีจะทาํ ใหอ าการของโรครนุ แรงขึ้น) 12 เดก็ สมาธิส้ัน คมู ือสาํ หรับพอแม/ ผูปกครอง

แพทยตรวจอยางไรถึงบอกไดวา เดก็ เปนโรคสมาธสิ ัน้ แพทยจ ะตรวจประเมนิ อยา งละเอยี ดเพอ่ื ใหแ นใ จวา เดก็ เปน โรคสมาธสิ น้ั ไดแ ก การซกั ประวตั ิ การตรวจรา งกาย (ตรวจหู ตรวจสายตา) ใชแ บบประเมนิ พฤตกิ รรมเดก็ การตรวจทางจติ วทิ ยา (ตรวจเชาวนป ญ ญา ตรวจวดั ความสามารถ ดา นการเรียน) และสงั เกตพฤติกรรมเดก็ ปจ จบุ นั ยงั ไมม กี ารตรวจเลอื ด เอก็ ซเรยส มอง หรอื การตรวจคลน่ื สมอง เพื่อวนิ จิ ฉัยโรคสมาธิสน้ั “แมวาแพทยจะวินิจฉัยวาเด็กเปนโรคสมาธิส้ัน แตการวินิจฉัยไมได บอกวาเด็กเปนเด็กที่ดีหรือไมดี นารักหรือไมนารัก มีจุดดอยจุดเดนอะไร บาง การวนิ ิจฉยั บอกไดแ คว า เดก็ มีปญ หาในเรื่องสมาธแิ ละการควบคุมตนเอง การชวยเหลือเด็กน้ันหมายถึงคุณตองรวมมือกับแพทยและคุณครูที่โรงเรียน อยางใกลชดิ เพ่ือทจี่ ะชวยเด็กใหดที ส่ี ดุ ” เดก็ สมาธสิ นั้ คมู อื สําหรบั พอ แม/ ผูปกครอง 13

หลากหลาย คําถามเกยี่ วกบั โรคสมาธสิ นั้ สมาธิสั้น….ส้นั อยา งไรจงึ เรยี กวาผดิ ปกติ ? สมาธสิ น้ั เปน อาการสาํ คญั ของโรค สงั เกตจากการทาํ กจิ กรรมในหลาย สถานการณแลวมาพิจารณาวาเด็กมีสมาธิหรือมีความจดจออยูกับสิ่งที่ทํา ไดน านเทา กับเด็กท่ีอยูในวัยเดียวกนั หรอื ไม นอกจากการมีสมาธิจดจอกบั สงิ่ ใดสิ่งหน่ึงไดนานแลว ความสามารถ ในการเลือกใหความสนใจกับงานที่อยูตรงหนาได แมจะมีส่ิงอื่นเขามาแทรก หรอื ดงึ ความสนใจ เดก็ ปกตอิ าจจะหนั ไปใหค วามสนใจกบั สง่ิ เรา นน้ั แลว หนั กลบั มา ทํางานท่ีทําคางอยูตอไปได แตในเด็กสมาธิสั้นจะถูกสิ่งเราดึงความสนใจ ไปไดง ายกวา และจะกลับมาทํางานทคี่ า งไวไดย าก 14 เดก็ สมาธิสัน้ คูมือสาํ หรบั พอ แม/ผูป กครอง

เด็กจะคลายไมต้ังใจทํางาน โดยเฉพาะการทํางานที่ตองใชความคิด มักทําทาเหมอลอย ไมฟงคุณพอคุณแมท่ีกําลังพูดดวย การบานไมเรียบรอย ตกๆ หลนๆ ทํางานไมเสร็จทันเวลา ข้ีลืม ทําของหายบอยๆ ทํางานเสร็จ คร่งึ ๆ กลางๆ อาการตองเปนตลอดเวลา ทุกสถานท่ี ทุกบุคคล จนทําใหเสียหาย ตอการเรียน เชน เรียนไมทันเพ่ือน ผลการเรียนตกต่ํา นอกจากน้ียังสงผล ตอ การใชช ีวิตอยรู วมกันคนอ่ืน คนใกลเคียงรูสึกรําคาญไมอยากทํางานดว ย เด็กแคเบ่ืองายเวลาทํางาน ไมเห็นซน จะเรียกวาสมาธิสั้น ไดอยางไร ? เปนไปไดคะ เพราะเด็กบางคนจะมีอาการสมาธิส้ันเพียงอยางเดียว แตไมซนหรือวูวาม ซ่ึงพบไดในเด็กผูชายและเด็กผูหญิง มักทําใหผูใหญ มองขามไป ถูกวนิ ิจฉัยไดช าและไมไ ดรบั ความชวยเหลือเทาทคี่ วร บอกวาเดก็ เปน โรคสมาธิสน้ั แลว ทําไมเด็กดทู วี ีหรอื เลน เกม นานเปนช่วั โมงๆ ? สมาธิสามารถถูกกระตุนไดจากสิ่งเราท่ีนาสนใจ เชน โทรทัศน หรือเกมคอมพิวเตอร ซึ่งมีภาพและเสียงประกอบเปนตัวเราความสนใจ ไมนาเบ่ือ ดังน้ันเด็กสมาธิส้ันจึงสามารถมีสมาธิจดจอกับโทรทัศนและ เกมคอมพวิ เตอรไ ดน านๆ โทรทศั นแ ละเกมคอมพวิ เตอรจ งึ เปน ตวั กระตนุ ความ สนใจไดเปนอยางดี การจะพิจารณาวาเด็กสามารถจดจอตอเน่ือง มีสมาธิดีหรือไมควร สังเกตเม่ือเด็กตองควบคุมตนเองใหทํางานท่ีไมชอบ หรืองานนั้นเปนงาน ทีน่ า เบอ่ื (สาํ หรบั เดก็ ) เชน การทาํ การบาน การทบทวนบทเรยี น การทํางาน ทไ่ี ดรับมอบหมาย เด็กสมาธิส้ัน คมู อื สาํ หรบั พอแม/ผปู กครอง 15

เม่ือไรควรจะพาเด็กมาพบแพทย ? ในวัยอนุบาล เม่ือเด็กมีสมาธิบกพรองอยางมาก แถมมีอาการซน อยไู มน ง่ิ มอี บุ ตั เิ หตบุ อ ย ไมค อ ยระมดั ระวงั ตนเอง ดอ้ื มาก ปราบอยา งไรกไ็ มไ ดผ ล จนคนทด่ี แู ลรูสกึ เหน่ือย หวั ปน ไปหมด ทาํ ใหเ กดิ อารมณเสียกบั เด็ก ในวัยประถมศึกษา หากเด็กมีอาการสมาธิบกพรองจนมีผลกระทบ ถึงการเรียน เชน การเรียนไมดี หรือมีพฤติกรรมท่ีเปนปญหา เชน สอนอะไร ไมฟ ง ไมทาํ ตามกฎระเบยี บ รบกวนเพ่อื นในชน้ั เรยี น เขา กับเพอื่ นไมไ ด หากคณุ พอ คณุ แมแคสงสัยวาเดก็ เปนโรคสมาธิส้ันหรือไม การพาเด็ก มาพบแพทยจะเปนการดี เพราะสาเหตุของอาการสมาธิสั้นน้ันมีปจจัยอีก หลายอยาง เชน ปจจัยดานอารมณวิตกกังวล เครียด การเลี้ยงดูท่ีทําใหเด็ก มักจะทําอะไรตามใจตนเอง หากเด็กไดรับการประเมินเด็กแลวเด็กก็จะไดรับ การชวยเหลอื อยา งถูกตอง โรคสมาธิสั้นน้ันหากไดรับการบําบัดรักษาต้ังแตอายุยังนอยจะไดผล การรักษาคอนขางดี 16 เด็กสมาธิส้ัน คูมอื สําหรบั พอ แม/ ผูปกครอง

จะเกดิ อะไรไหม…ถาไมรกั ษา ? o ในวัยประถมศึกษากลุมที่มีสมาธิสั้นอยางเดียว ไมมีปญหา พฤตกิ รรมซน หนุ หนั พลนั แลน สว นหนง่ึ จะไมเ กดิ อะไร นอกจาก ผลการเรยี นตา่ํ กวา ความสามารถ จะพบอารมณซ มึ เศรา มองตวั เอง ไมดี ขาดความมัน่ ใจในความสามารถของตนเอง o วยั ประถมศกึ ษากลมุ ทีส่ มาธิส้ัน ซน วูว าม ไมเช่ือฟงและตอ ตาน จะพบความหงุดหงิด กังวล เครียด อารมณเสียงาย เบ่ือหนาย การเรยี น ขาดแรงจงู ใจในการเรยี น มองไมเ หน็ คณุ คา ภายในตวั เอง คุณพอคุณแมก็ไมพอใจในผลการเรียน เขากับเพื่อนไดยาก พบพฤติกรรมท่ียังเปนเด็กต่ํากวาอายุ ด้ือ ตอตานคําส่ังจนทํา ความผดิ รนุ แรงได เชน โกหก ขโมย ไมยอมทําตามกฎ ทําตัวเปน นักเลง o เม่ือเขาวัยรุน เด็กมักไปรวมกลุมกับเด็กท่ีเรียนไมเกง พฤติกรรม ตอ ตา น กา วรา ว โกหก ขโมย หนเี รยี นย่งิ เหน็ ไดช ัดขน้ึ หลายราย เร่ิมใชยาเสพติด ในดานการเรียนท่ีตกตํ่าลงมาก เกิดเปน ความเบอ่ื หนา ยตอ การเรยี น และออกจากโรงเรยี นกอ นวยั อนั ควร เดก็ สมาธสิ ั้น คูมอื สาํ หรับพอ แม/ผูป กครอง 17

การชวยเหลอื เด็ก ทเี่ ปนโรคสมาธสิ ้ัน การชวยเหลือเด็กที่เปนโรคสมาธิสั้น อยางมีประสิทธิภาพนั้นตองมีการชวยเหลือ หลายดาน จากหลายฝาย ท้ังแพทย ครู และท่ีสําคัญคือคุณพอคุณแมเอง การชวยเหลือประกอบดวย • การชวยเหลอื ดา นจติ ใจ แพทยจะใหขอมูลที่ถูกตอง เพ่ือขจัดความเขาใจผิดตางๆ ของ คุณพอคุณแมโดยเฉพาะความเขาใจผิดท่ีคิดวาเด็กดื้อหรือ เกียจคราน และเพ่ือใหเด็กเขาใจวาปญหาท่ีตนเองมีนั้นไมได เกดิ จากการท่ีตนเองเปน คนไมด ี • การปรบั เปลีย่ นพฤติกรรม จะชวยใหเด็กมสี มาธิ มคี วามอดทน ควบคมุ ตนเองไดด ขี นึ้ • การชวยเหลือดา นการศึกษา คุณพอคุณแมควรมีการประสานงานอยางใกลชิดกับครู เพ่ือจัด การเรียนการสอนใหเหมาะสําหรับเดก็ • การรกั ษาดวยยา เด็กบางคนอาจตองรักษาดวยยา ซึ่งยาจะทําใหเด็กน่ิงขึ้นและ มสี มาธมิ ากขน้ึ คณุ พอ คณุ แมค วรดแู ลการกนิ ยาของเดก็ ตามคาํ สงั่ ของแพทย 18 เดก็ สมาธสิ นั้ คมู ือสําหรบั พอ แม/ผปู กครอง

คณุ พอคณุ แม สามารถชวยเหลอื เดก็ สมาธิสน้ั ไดอ ยางไร มสี ิง่ สาํ คญั 6 ประการทคี่ ณุ พอ คณุ แม สามารถชว ยเหลือเดก็ ได 1. การคนหาขอมูลเกย่ี วกับโรคสมาธิส้ัน 2. พาเดก็ ไปประเมนิ กบั แพทยกรณที ีไ่ มแ นใจ 3. การทําใจยอมรบั ในสง่ิ ท่ีเดก็ เปน 4. การปรับเปลยี่ นพฤติกรรม 5. การฝก ฝนทักษะทสี่ าํ คัญ 6. การส่ือสารประสานงานกับครแู ละแพทย การทาํ ใจยอมรบั เดก็ • ถามตวั เองวา อยากใหเ ดก็ ไดอ ะไรมากทสี่ ดุ เมอ่ื เกดิ มาอยรู ว มกนั …. ความสขุ หรอื ความทกุ ข • ทําความเขา ใจเดก็ สมาธสิ ้ัน - เปนธรรมชาตขิ องเขา - ไมไ ดแ กลง - ไมใชนิสยั ไมดี - ไมใ ชเ ดก็ ดอ้ื ไมอ ดทน - ไมใ ชสอนไมจ าํ - ไมใ ชไมม คี วามรบั ผดิ ชอบ เดก็ สมาธิสนั้ คมู ือสําหรับพอ แม/ ผูป กครอง 19

• มองเด็กหลายๆ ดาน อยามองวาเด็กเปนเพียงเด็กสมาธิส้ัน การพัฒนาเด็กนั้นยังมีอีกหลายดาน เชน การเจริญเติบโตทาง รางกาย การใชภาษาและส่ือภาษา การแสดงออกทางอารมณ ความรักใครผูกพัน การเลน การอยูรวมกับผูอื่น การชวยเหลือ ตนเองและสังคม การกีฬา ดนตรี การทํากิจกรรม การเรียนรู การสรางจริยธรรมและแนวคิดท่ดี ี “แมลูกจะซน ใจรอนไปบาง แตลูกก็ฉลาดพอที่จะจดจําส่ิงตางๆ ท่ีเห็นและที่ฟงมาจากคุณครูไดมาก เวลาเจอเพ่ือนใหมๆ ลูกก็ปรับตัวเขากับ เพื่อนไดด ี แถมยังเลนกฬี าเกง อีกตา งหาก” • ในโลกน้ีทุกอยางมี 2 ดานเสมอ เด็กสมาธิสั้นจะมีพลังอยูใน ตัวเองหากฝกฝนใหดี เด็กจะเปนคนที่สนุกสนาน กระตือรือรน มีความสนใจแนวแนกับบางส่ิงที่ชอบ มีความเปนผูนํา และ อาจสรางผลงานดใี หคณุ พอ คุณแมทึ่งได • คุณพอคุณแมควรมีวิธีผอนคลายตนเอง เชน การสูดลมหายใจ เขา ออกลกึ ๆ การนวดผอ นคลาย การสงั สรรคก บั เพอื่ นฝงู การไป ซอ้ื ของทช่ี อบ … เพราะในชวี ติ ของคณุ ไมไ ดม เี พยี งเรอ่ื งลกู เรอ่ื งเดยี ว ยงั มเี รือ่ งงาน เรอ่ื งเงิน สงั คม ฯลฯ 20 เดก็ สมาธิสนั้ คมู อื สาํ หรับพอแม/ ผปู กครอง

การปรับเปล่ยี นพฤติกรรม การปรบั เปล่ยี นพฤติกรรมน้ันมหี ลกั สาํ คัญ ดงั ตอ ไปน้ี ลด สิ่งเรา เพ่มิ สมาธิ เพ่มิ การควบคมุ ตนเอง ตอ ไปนเี้ ปน เทคนคิ การปรบั พฤตกิ รรมทท่ี าํ แลว ไดผ ลดแี ละทาํ ไดไ มย าก ลดสิ่งเรา o หาสถานท่ีเงียบๆ ใหเด็กทํางาน จัดหาสถานท่ีท่ีเด็กสามารถ ใชท ํางาน ทําการบาน อา นหนงั สือ โดยไมมใี ครรบกวน และไมม ี สิ่งท่ีทาํ ใหเ ด็กเสียสมาธิ เชน ทีวี วีดีโอเกม หรือของเลนทอี่ ยใู กลๆ o พยายามใหเด็กอยูในบรรยากาศที่มีสิ่งกระตุนนอยท่ีสุด การใช ชวี ติ ประจําวนั ควรใหเ ด็กไดอยอู ยางสงบบา ง เชน ไดมเี วลานั่งเลน เงยี บๆ ไมเปดโทรทัศนจ นหลบั ไป ใหหลบั ในหอ งท่ีเงยี บ เด็กสมาธิสน้ั คูม ือสําหรบั พอ แม/ ผปู กครอง 21

o หดั ใหเ ดก็ มกี จิ กรรมอยา งเงยี บๆ บา ง เชน ใหเ ลน ทส่ี นามหญา อยา ง เงียบๆ ไปพักผอ นในทีส่ งบ o ลดการไปเท่ียวท่ซี งึ่ ผูคนพลกุ พลาน เชน หางสรรพสินคา โรงหนัง o จํากัดการดูโทรทัศน และเลือกรายการทด่ี ี เชน สารคดี รายการ เกี่ยวกับธรรมชาติ เพ่ิมสมาธิ o กาํ กบั เดก็ แบบตวั ตอ ตวั ถา เดก็ วอกแวกงา ยมากหรอื หมดสมาธงิ า ย อาจจําเปนตองใหผูใหญนั่งประกบดวย ระหวางทํางานหรือ ทําการบาน เพ่ือใหงานเสร็จเรียบรอย เม่ือเด็กเริ่มทํางานเองได นานขึ้นอาจประกบอยูหางๆ และเมื่อเด็กทํางานไดเอง คุณพอ คุณแมก็ควรสงเสียงเพ่ือควบคุมอยูหางๆ เปนระยะ อยาลืมชม เมือ่ เด็กทําได o การหดั ใหเดก็ น่ังทาํ งานอยา งตอเนื่อง ในเด็กท่ีอายนุ อย 3-4 ขวบ หรือเด็กโตท่ีมีอาการซน อยูไมนิ่งอยางมาก อาจเร่ิมตนใหน่ัง เงยี บๆ คร้งั ละ 10 นาที แลวจึงคอยเพิม่ เปน 20 นาที 30 นาที และ 40 นาที ตามลาํ ดบั o การนั่งสมาธิ ในเด็กท่ีโตแลวการนั่งสมาธิจะไดผลดี ควรใหเด็ก หลบั ตาและนง่ั สงบประมาณ 20 นาที วนั ละ 1- 2 ครง้ั อาจกาํ หนด ใหนึกคําที่สรางกําลังใจ เชน “ฉันดีข้ึนทุกวัน” หรืออาจใหเด็ก หลับตาแลวฟงเพลงเบาๆ 22 เด็กสมาธสิ ัน้ คูม ือสาํ หรับพอแม/ ผปู กครอง

เพิม่ การควบคมุ ตนเอง o มีระเบียบวินัยท่ีแนนอน เสมอตนเสมอปลาย ในบานควรมี ระเบยี บวินัยวา อะไรควรทาํ ไมค วรทาํ ไมใชวา วันนี้คุณพอ คณุ แม อารมณดีก็ใหเด็กทําส่ิงน้ี แตพรุงนี้อารมณเสียทําส่ิงเดียวกันก็ กลายเปน ความผดิ ถาเปนแบบนี้เดก็ จะรสู กึ สับสน o ควรมกี ารจดั ตารางกจิ กรรมใหช ดั เจน กาํ หนดกจิ กรรมในแตล ะวนั ทเี่ ดก็ ตอ งทาํ มอี ะไรบา ง ตง้ั แตต น่ื นอนจนกระทงั่ เขา นอน เขยี นใส กระดาษติดไวท ่ีประตหู อง หรือทีต่ เู ย็น o ประเมินความกาวหนาของเด็ก ควรพูดถึงความกาวหนากอนพูด ถงึ สง่ิ ทต่ี อ งแกไ ข เชน “พอสังเกตวาลูกมคี วามพยายามในการทาํ การบา นมากกวา เดอื นทแ่ี ลว ลกู กาํ ลงั ดขี น้ึ เรอ่ื ยๆ แตม อี กี อยา งหนง่ึ ทลี่ กู ตอ งทาํ ใหด กี วา เดมิ นน่ั คอื ลายมอื ถา ลกู พยายามอกี นดิ มนั จะ ดีขนึ้ อยา งแนนอน” เดก็ สมาธสิ ้ัน คูมือสาํ หรับพอ แม/ผปู กครอง 23

o ใหรางวลั เมอ่ื เด็กทําดี และมีบทลงโทษเมื่อทาํ ไมด ี  ควรใหคําชม รางวัลเล็กๆ นอยๆ เวลาท่ีเด็กทําพฤติกรรม ที่พึงประสงคเพื่อเปนการสรางแรงจูงใจใหเด็กทําพฤติกรรม ทดี่ ตี อ ไป ระยะแรกของรางวลั อาจเปน สงิ่ ของเลก็ ๆ นอ ยๆ เชน ขนม ดนิ สอ ยางลบ ไมป ง ปอง เปน ตน หรอื เปน สง่ิ ของสะสมไว สาํ หรบั แลกรางวลั ใหญ เชน ตราดาว รปู สตั ว สตกิ เกอร เปน ตน ของรางวลั ภายนอกตอ งไมม ากเกนิ ไป และสดุ ทา ยของรางวลั ทางใจจะเขามาถูกแทนท่ี เชน ไดกอดแม ฟงแมเลานิทาน มีเวลาอานการตูนมากข้ึน ไดเพ่ิมเวลาเลนฟุตบอลกับเพ่ือน ไดไ ปสถานทท่ี ่ีไมเคยไป  การลงโทษควรใชวิธีตัดสิทธิตางๆ เชน งดดูทีวี หักคาขนม แตไมควรตัดสิทธิในกิจกรรมท่ีสรางสรรค เชน งดขี่จักรยาน ออกไปเลนฟตุ บอลกับเพอื่ น เปน ตน o ใหเด็กมีชองทางระบายความโกรธบาง เด็กคงไมสามารถควบคุม ตนเองไดรอยเปอรเซ็นต บางครั้งเด็กอาจอารมณเสียปดประตู เสียงดัง คุณพอคุณแมก็ควรอดทนบาง เพราะอยางนอยก็ดีกวา เด็กไปทะเลาะชกตอยกับเพ่ือน เม่ือเด็กอารมณสงบคอยให บอกวารูสึกอยางไร มีการระบายความโกรธท่ีเหมาะสมวิธีไหน อกี บา ง 24 เดก็ สมาธิสนั้ คมู ือสําหรับพอ แม/ ผูป กครอง

การออกคาํ สง่ั สาํ หรบั เดก็ สมาธสิ นั้ คาํ สั่ง ควรทาํ ไมค วรทํา งา ยและส้นั ส่งั คาํ ส่ังเดียว เมื่อทําเสร็จ สัง่ หลายคาํ ส่ัง เพราะเดก็ คอยออกคาํ ส่งั เพิม่ มักมปี ญ หาในการจาํ “เกบ็ ของใสกลอ งใหหมด” “เกบ็ ของใสกลอ งแลว มาเอาเส้ือแขวนให เรยี บรอ ย” ชัดเจน บอกสงิ่ ทเ่ี ดก็ ตอ งทาํ ใหต รงกบั บอกไมต รงตาม ท่คี ณุ ตองการ ความตอ งการ “ลูก เกบ็ ของเลน ท้ังหมด “แมเ บื่อจริงๆ เลนแลว ใสกลอง แลวมาหาแม” ไมเคยเกบ็ เลย” ไมใ ชการขอรอ ง “แมตองการใหลูกแขวนเสื้อ “ลกู นา จะแขวนเส้ือ ใหเ รยี บรอย” หนอยนะ” เพราะเดก็ จะถอื โอกาส ไมท าํ เพราะไมใชคําส่ัง ทีแ่ ทจริง เดก็ มสี มาธิ ยนื ตรงหนา จับมือ จองตา ส่งั ตอนท่เี ด็กกาํ ลังเลน ฟง คาํ สั่ง แลว สงั่ งาน ทางบวก บอกเด็กวา ควรทาํ อะไร บอกวาไมค วรทาํ อะไร “แมอยากใหหนพู ูดเบาๆ” “หยดุ ตะโกนสักที” เด็กสมาธสิ ้นั คูมือสาํ หรับพอ แม/ผปู กครอง 25

ขอ เสนอแนะอ่ืนๆ เกีย่ วกับการปรบั พฤติกรรม o คอยระวังดูแลเด็ก เน่ืองจากเด็กมักประสบอุบัติเหตุจากการ จบั ตอ งสงิ่ ทไี่ มส มควรโดยไมไ ดย ง้ั คดิ เชน ปลก๊ั ไฟ ตะปู มดี เปน ตน ฉะน้ันควรจะจดั บานใหเ รียบรอย ใหนําส่งิ ท่เี ปนอันตรายพน จาก สายตาเด็ก o ควบคมุ อารมณของคณุ ดเู ปนสิง่ ทีท่ าํ ไดยาก เพราะเด็กจะท้งั ดอ้ื ทงั้ ซน เพราะฉะนน้ั คณุ พอ คณุ แมไ มค วรปลอ ยใหเ หนอ่ื ยจนเกนิ ไป หาเวลาพักผอนบา ง o ไมค วรมีกฎระเบียบมาก มกี ฎระเบยี บเฉพาะเรอื่ งทจ่ี าํ เปนจรงิ ๆ o การเปลย่ี นกจิ กรรม หากจะใหเ ดก็ เปลยี่ นจากกจิ กรรมทส่ี นกุ สนาน มาทาํ กิจกรรมท่ไี มชอบ ควรเตือนเด็กลว งหนา ประมาณ 5 นาที เมือ่ หมดเวลากบ็ อกเด็กอยา งหนกั แนน วาหมดเวลาแลว o ใหความสนใจในพฤติกรรมที่เหมาะสม เด็กทุกคนตองการ ความสนใจจากผใู หญ ถา ไมใ หค วามสนใจเมอื่ ทาํ ดี เขากจ็ ะเปลยี่ น มาทําส่ิงท่ีไมดีเพ่ือใหผูใหญสนใจ คุณพอคุณแมควรเปลี่ยนจาก “การจับผิด” มาเปน “การจับถูก” เม่ือลูกนั่งทําการบานดวย ตนเองคุณก็ควรใหกําลังใจหรือคําชม ไมควรสนใจเมื่อเขามี พฤติกรรมเกเร o พยายามไมส นใจพฤตกิ รรมทค่ี ณุ ไมต อ งการ อาจเปน เทคนคิ ทยี่ าก ใชเวลานาน แตท ําแลวไดผลทส่ี ุด หากพฤตกิ รรมใดทเี่ ดก็ ทาํ แลว ไมสามารถเรียกรองความสนใจจากผูใหญได พฤติกรรมน้ัน จะคอยๆ นอยลง จนหายไปในท่ีสุด เชน การพูดคําหยาบคาย การรองไหเ พือ่ ใหไดส่งิ ทต่ี นเองตองการ 26 เดก็ สมาธิส้นั คูม ือสําหรบั พอ แม/ผปู กครอง

o ใหคําชมเชย เด็กสมาธิส้ันสวนใหญมักไมคอยไดรับคําชม เพราะ คุณพอคุณแมคิดวาสิ่งท่ีทําไดเปนของธรรมดา แตตองคิดไว เสมอวา กวา ทเ่ี ดก็ จะทาํ ไดต อ งใชค วามพยายามมากกวา เดก็ คนอน่ื หลายเทา หากเด็กทาํ ไดควรใหกาํ ลงั ใจอยางมากทันที การฝก ฝนทกั ษะทสี่ ําคญั ทกั ษะที่หนง่ึ …สมาธิ - ควรใชกิจกรรมที่หลากหลายในการฝก กิจกรรมที่ฝกไมควร เราอารมณมาก อาจเปนการติดกระดุม ลางจาน ลางรถ วาดรปู ระบายสี เลนหมากรกุ อานหนังสอื กจิ กรรมเหลา น้ีไมไ ด เรา ความสนใจของเด็ก แตเ ดก็ ตอ งเพง ความสนใจไปท่ีงาน - คณุ พอคุณแมค วรใหกําลังใจเด็กเสมอ - ถอยหางเม่ือเด็กควบคุมตนเองไดเพ่ิมขึ้น จากท่ีน่ังที่งานท่ีโตะ ไดนาน 5 นาที โดยมีคุณพอคุณแมชี้ชวน เพิ่มระยะเวลาเปน 10 นาทีโดยมีคุณพอคุณแมชม จนในท่ีสุดเด็กก็จะนั่งทํางานได 30 นาที โดยท่ีแมนั่งทํางานเงียบๆ อยขู างๆ ได - ถาเด็กอยูไมนิ่งมากๆ หรือแรงมากเกินจะน่ังไดนาน ก็ให ออกกําลังกายหนักๆ เชน ปนจักรยาน วิ่งรอบสนาม วายนํ้า เลนกีฬา เขาใจความรูสึกของเด็กในชวงแรกอาจมีบางครั้งที่ ทําผิดพลาดบา ง เด็กสมาธสิ น้ั คมู ือสําหรบั พอแม/ผปู กครอง 27

ทกั ษะที่สอง…การวางแผนลว งหนา - พยายามใหมีการวางแผนลวงหนา เชน พรุงนี้จะทําอะไรบาง ไลตง้ั แตเชา ถงึ เขา นอน - ตอมาอาจขยายเปนอีกสองสามวันขางหนา เสารอาทิตย สัปดาหห นา ฯลฯ - ฝกเตือนตนเอง กอนท่ีเด็กจะออกจากบานไปโรงเรียนทุกวัน ใหเด็กหยุดคิดและสํารวจตนเองหน่ึงนาที วาลืมอะไร หรือไม แตงตวั เรียบรอ ยหรอื ยัง ขาดอะไรอีก - เมอ่ื เด็กทาํ ไดใหร างวัล - บอกสง่ิ ทเ่ี ดก็ จะไดร บั เมอ่ื ไมท าํ เชน ไมไ ดอ อกไปเทย่ี วหา ง ลา งจาน ใหคณุ พอคณุ แม 2 วัน ทักษะทส่ี าม … ระเบยี บวนิ ัย - บรรยากาศในบา นควรเปน ระเบยี บเรยี บงา ย ขา วของถกู จดั ใหเ ขา ท่ี - มีเวลาชัดเจนในการทํากิจกรรม เชน กินขาว ทําการบาน เลนเปน เลน กินเปน กิน จะไมเปด ทวี ีดูไปดว ย - เวลาทํางานจะเงียบ ปดเสียงท้ังหมด คุณพอคุณแมก็ตอง ทํางานเงยี บๆ ของตนเอง - ของเลน มจี าํ นวนเหมาะสม - คุณพอคุณแมเปนตนแบบที่ดี แมแตเรื่องเล็กนอยๆ เชน การวางรองเทาใหเ ปนระเบยี บ - ฝก ใหเด็กทาํ จนเปน นิสัย 28 เด็กสมาธิสั้น คมู ือสําหรับพอ แม/ผปู กครอง

ทักษะที่ส…่ี . การแกปญหาเฉพาะหนา - ระยะแรกใหพบกับปญหาในชีวิตประจําวันผานการชวยเหลือ ตนเอง เชน การเช็ดกระจก สบู ลอ จกั รยาน - รอดูอยูหางๆ อยารีบรอนเขาไปชวยเมื่อเด็กเจอปญหา ใหเวลา เพอ่ื ใหเดก็ ไดค น หาสาเหตุดวยตนเองกอ น - เปน เพอ่ื นชวยคิดกรณที ่ีเดก็ คิดหาทางแกปญ หาไมได - ตัดสินใจเลือกวิธีการ เชน รถจักรยานยางแบน มีทางเลือก คือ จะสูบยางเอง หรือไปทร่ี าน - ลงมือทําและทบทวนแนวทาง โดยในชวงแรกคุณพอคุณแม ตองเปนเพือ่ นชว ยคิด ในกรณนี สี้ องคนพอเด็กเลอื กวธิ ีสูบลมยาง แลวปนไปซอ มทีร่ าน - คณุ พอ คณุ แมค วรเปนตน แบบท่ีดใี นการแกป ญหา ทกั ษะทห่ี า… ความรบั ผิดชอบ - งานวิจัยของไทยพบวาเด็กที่มีความรับผิดชอบตองานบาน ความรบั ผิดชอบจะไมเสียเมอ่ื เขา สวู ยั รนุ - งานทค่ี วรฝก มดี งั ตอ ไปนี้ เรอ่ื งสว นตวั เชน อาบนา้ํ กนิ ขา ว แตง ตวั จัดกระเปา ทาํ การบา น เกบ็ รองเทา เอาเส้อื ผาทใี่ ชแ ลวลงตะกรา - เรือ่ งงานบา น เชน จัดโตะอาหาร ลางจาน รดน้าํ ตน ไม เอาขยะ ไปทิง้ ใหอาหารสัตว เวรทําความสะอาดหอ ง - เรอ่ื งเวลา เชน การกะเวลาเดินทาง การตรงตอ เวลานดั พบ เวลาท่ี ตองทํางานใหเสร็จ - เรื่องเงิน เร่ิมจากการฝกใชเงินใหได 1 วัน โดยตองมีเหลือเก็บ วันละ 1 บาท จนสามารถควบคุมการใชจายไดเปนสัปดาห เดอื น จนเปน การเปด บญั ชี เด็กสมาธสิ ้ัน คมู อื สําหรับพอ แม/ ผูปกครอง 29

ทักษะท่หี ก … ควบคมุ ตนเอง ตวั อยา งการฝก การควบคมุ ตนเอง - ใหน ง่ั โตะ อาหารรอจนกวา ทกุ คนจะลกุ เดนิ ขน้ึ บนั ไดแบบไมม เี สยี ง เปด ปด ประตูเบาๆ - ฝก ใหห ยดุ พูดในชวงเวลาสาํ คญั เชน เวลาทผ่ี ใู หญพ ูด แรกๆ อาจ มกี ารกาํ หนดคะแนนไวห ากพดู จะคอ ยๆ ถูกตดั คะแนนออก และ หากคะแนนหมดจะไมไ ดไ ปเทย่ี ว หรอื เพมิ่ ทางออกในการใชเ สยี ง ที่เหมาะสม เชน ฝกใหร อ งเพลง - ฝกเร่ืองการรอคอย ฝกใหเด็กคุนเคยกับสถานการณที่เด็ก อยากไดอ ะไรแตย งั ไมไ ดท นั ที หรอื เดก็ อยากทาํ อะไรทย่ี งั ไมค วรทาํ ก็ใหฝกควบคุมตนเองใหรอเวลาที่เหมาะสม หรือฝกการรอ ผานการอดออมเงิน เชน การฝกสะสมเงิน อธิบายใหเด็กฟงวา เมอื่ ฝากไวย ่ิงนานกจ็ ะไดด อกเบ้ียเพิ่มข้ึน ยิ่งเกบ็ ไวไดนานจะเปน เงนิ กอ นใหญข น้ึ อาจเอาไปซอื้ อะไรทร่ี าคามากขน้ึ ได เปน แรงจงู ใจ อยากสะสม และ “รอ” ผลทจ่ี ะตามมา ไมใจรอ นรีบใชเ งินทนั ที - ดา นอารมณ ควรฝก ใหเ ดก็ รจู กั อารมณข องตนเอง คาํ ถามทใี่ ชบ อ ย “รสู ึกอยา งไร” - ดา นความคดิ หดั ใหค ดิ มมุ มองอนื่ คดิ โดยใชเ หตผุ ล เชน “เปน ไปได ไหมทเ่ี พ่ือนอยากเลน กับเดก็ แตไมร จู ะทําอยางไร จงึ เขา มาผลัก” 30 เดก็ สมาธิสนั้ คมู ือสาํ หรับพอ แม/ผปู กครอง

ทกั ษะทเ่ี จด็ …การเลน - ควรฝกใหไปเลนกลางสนามกับเพ่ือนต้ังแตเด็ก ไมตัดสินแพชนะ เพียงแคใหร ูจักกตกิ าเทานนั้ - บรรยากาศทส่ี นกุ จะทาํ ใหอ ยากเลน ตอ ไป เชน เลน แขง กนั โยนบอล ลงตะกรา ถาใครแพตองชว ยแมล า งจาน เด็กของคุณจะรสู กึ สนุก และยงั ไดท ักษะอื่นๆ อกี ดวย เด็กสมาธิสัน้ คมู อื สาํ หรบั พอ แม/ ผปู กครอง 31

การส่ือสารประสานงานกบั ครแู ละแพทย การสอื่ สารประสานงานกบั ครู คุณพอคุณแมควรมีการสื่อสาร แลกเปล่ียนขอมูลกับครูในประเด็น ตอ ไปนี้ o การเรยี น การบานของเด็ก ควรสอบถามเนอ้ื หาทีเ่ ดก็ เรยี น ส่ิงท่ี ตองการใหผูปกครองชวยดูแลเพ่ิมเติมเม่ืออยูท่ีบาน รวมทั้งการ เรียนพเิ ศษ สาํ หรับเด็กบางคน o การปรับพฤตกิ รรม(เพ่อื ใหเปนไปในทางเดียวกันกับทบ่ี าน) o การกินยา(ในกรณที ่เี ด็กตองกินยาม้อื เทยี่ งทโ่ี รงเรียน) การสื่อสารประสานงานกับแพทย o พาเด็กไปพบแพทยตามนดั สม่าํ เสมอ o ดูแลเรือ่ งการกินยาตามคาํ สั่งแพทยอยางเครง ครดั คุณพอ คณุ แมหลายคนคงมีขอ สงสัยมากมายในเรอ่ื งการกนิ ยา เพราะ เช่อื วา ไมมีคณุ พอคุณแมคนใดอยากใหเ ดก็ กนิ ยา ยาทีใ่ ชร ักษาโรคสมาธสิ น้ั จะชว ยเดก็ ไดอยางไร ? ยาจะชวยใหเด็กมีสมาธิดีขึ้น ซนนอยลง ดูสงบลง มีความสามารถ ในการควบคมุ ตนเองดขี ึ้น และอาจชวยใหผ ลการเรยี นดขี ้ึนดว ย ผลขางเคียงของยามอี ะไรบา ง ? ผลขางเคียงของยาในกลุมน้ีที่พบบอย ไดแก เบื่ออาหาร น้ําหนักลด นอนไมห ลบั ปวดศรี ษะ ปวดทอ ง อารมณข นึ้ ลง หงดุ หงดิ งา ย ใจนอ ย เจา นาํ้ ตา แลว อยา งนจี้ ะใหเ ดก็ กนิ ยาดีหรือไม ? อาการขางเคียงเหลาน้ีจะไมรุนแรงและหายไปเองเม่ือเด็กกินยา ติดตอกนั ไปสกั ระยะหนึ่ง 32 เดก็ สมาธิส้นั คูมือสําหรบั พอแม/ ผปู กครอง

ตองกินยาไปนานแคไหน ? เด็กบางคนท่ีอาการไมรุนแรง ไมมีโรคแทรกซอน ถาไดรับการฝก ทกั ษะตา งๆ อาจจะมโี อกาสหายจากโรคนไี้ ดแ ละไมจ าํ เปน ตอ งรบั ประทานยา ตลอดชีวิต แตถาพบวาเด็กหยุดกินยาแลวยังคงอยูไมนิ่ง มีพฤติกรรมรบกวน ผูอื่นหรือยังขาดสมาธิ แสดงวาเด็กยังไมหายตองกินยาตอไป แลวอยาใหเด็ก หยุดยาเองนะคะ ยามีผลตอรางกายและสมองของเดก็ หรอื ไม ? มงี านวจิ ยั มากมาย ทย่ี นื ยนั ความปลอดภยั ของยา โดยพบวา เดก็ สมาธสิ น้ั ที่กินยา (ตามที่แพทยสั่ง) ติดตอกันเปนระยะเวลานานๆ มีการเจริญเติบโต เทา กับเด็กปกติ และมีพฒั นาการทางสมองเปนปกติ มีคนบอกวาเดก็ กนิ ยาไปนานๆ มโี อกาสติดยา ? หากกินยาตามการดูแลของหมอ โอกาสที่เด็กจะใชยาในทางที่ผิด นอยมาก นอกจากน้ีการรักษาเด็กสมาธิส้ันดวยยาจะเปนการปองกันและ ลดความเสย่ี งของเดก็ ที่จะไปติดสารเสพตดิ ในอนาคต จะพูดกบั เด็กอยางไรใหก นิ ยา ? ลองใชคําพูดเหลานดี้ ู “หนูจําเปนตองกินยาตัวนี้ เพราะยาชวยใหหนูควบคุมตัวเองไดดีขึ้น นา รักมากข้นึ ” “เวลาหนูกินยาแลว แมสังเกตวาหนเู รียนดขี ้นึ รบั ผดิ ชอบทําการบา น ดีกวาแตก อนเยอะเลย” เดก็ สมาธิส้นั คมู อื สําหรบั พอ แม/ผปู กครอง 33

เอกสารอา งอิง ชาญวทิ ย พรนภดล. (มปพ.). มารจู กั และชว ยเดก็ สมาธสิ น้ั กนั เถอะ. กรงุ เทพฯ: บรษิ ทั เจนเซน -ลแี ลก จาํ กดั ชาญวทิ ยพรนภดล.(2545).โรคซน-สมาธสิ น้ั (Attention-Deficit/Hyperactivity Disorder-ADHD),ใน วินัดดา ปยะศิลปและพนม เกตุมาน. ตําราจิตเวชเด็กและวัยรุน. (พิมพครั้งที่ 1). กรุงเทพมหานคร : บรษิ ทั บียอนด เอ็นเทอรไ พรซ. ชาญวทิ ย พรนภดล และพนม เกตุมาน. (2550). โรคสมาธสิ ัน้ (Attention Deficit Hyperactivity Disorder). คนเม่ือวันที่ 18 เมษายน 2555 จาก, http://www.psyclin.co.th/myweb1.htm นงพนา ล้ิมสุวรรณ. (2542). โรคสมาธิสั้น Attention-Deficit/ Hyperactivity Disorders. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. ผดุง อารยะวิญู. (2544). วิธีสอนเด็กสมาธิสั้น. กรุงเทพมหานคร: บรษิ ทั ราํ ไทย เพรส จํากดั . พนม เกตุมาน. (2548). สุขใจกับเด็กสมาธิสั้น คูมือคุณพอคุณแมและครู สาํ หรบั การฝก เดก็ . กรงุ เทพมหานคร: บรษิ ทั คลั เลอร ฮารโ มน่ี จาํ กดั วินัดดา ปยะศิลป. แนวทางการชวยเหลือเด็กที่มีปญหาการเรียน ตอน โรคสมาธสิ ้ัน. พมิ พค ร้ังท่ี 4. กรุงเทพฯ: สถาบันสุขภาพเด็ก แหงชาติมหาราชนิ ี. อุมาพร ตรังคสมบัติ. (2544). สรางสมาธิใหลูกคุณ. กรุงเทพมหานคร: ซนั ตา การพมิ พ. 34 เดก็ สมาธิส้นั คูมือสําหรับพอ แม/ผปู กครอง

......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... เด็กสมาธิส้ัน คูมอื สาํ หรับพอ แม/ผปู กครอง 35

......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... ......................................................................................................................... 36 เด็กสมาธสิ ้ัน คมู อื สําหรบั พอ แม/ผปู กครอง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook