Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore nursing_of_anemia_disorder

nursing_of_anemia_disorder

Published by morakot panpichit, 2020-01-06 00:08:01

Description: nursing_of_anemia_disorder

Search

Read the Text Version

1 การพยาบาลผสู้ งู อายทุ ี่มีภาวะซีด พรทิพย์ สารโี ส พย.ม. (การพยาบาลผใู้ หญ)่ สํานักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั แมฟ่ า้ หลวง วตั ถุประสงคก์ ารเรยี นรู้ เมอ่ื ศึกษาบทความนี้แล้ว จะสามารถ 1. ระบุสาเหตุ อาการ อาการแสดง การวนิ ิจฉยั และการรักษาผ้สู งู อายทุ มี่ ีภาวะซีดได้ 2. อธิบายพยาธสิ รีรภาพของการเกิดภาวะภาวะซดี ในผ้สู งู อายไุ ดถ้ กู ตอ้ ง 3. ระบุผลกระทบของภาวะซีดท่ีเกดิ ขึ้นในผ้สู ูงอายุได้ถกู ต้อง 4. วางแผนการพยาบาลเพื่อใหก้ ารพยาบาลแบบองค์รวมแก่ผ้สู ูงอายทุ ่มี ีภาวะซดี ได้ถกู ตอ้ ง บทนาํ ภาวะซีดเป็นภาวะท่ีพบได้บ่อยในผู้สูงอายุท้ังในโรงพยาบาลและชุมชน อีกท้ังยังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ตามประชากรผู้สูงอายุของประเทศ ผลที่ตามมาจากภาวะซีดมีได้ตั้งแต่อาการอ่อนเพลีย ไม่มีแรง ความสามารถในการทาํ กิจวัตรประจาํ วนั ลดลง พลดั ตกหกลม้ กระดกู หัก กอ่ ใหเ้ กดิ โรคหัวใจและหลอดเลือดใน ผู้สูงอายุ ความบกพร่องในการรู้คิด โรคสมองเสื่อมและภาวะซึมเศร้า ระยะเวลานอนโรงพยาบาลนานขึ้นและ อัตราการเสยี ชวี ิตสงู ข้ึน ดังนั้น จึงจําเป็นอย่างยิ่งท่ีภาวะซีดในผู้สูงอายุจะต้องได้รับการแก้ไขอย่างเร่งด่วน เพื่อ ลดอุบัติการณ์ของการเกิดภาวะซีด ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุสามารถใช้ชีวิตได้อย่างปกติสุข ทําให้คุณภาพชีวิตของ ผู้สูงอายุดีขึ้น อีกทั้งยังช่วยลดความเส่ียงต่อการเสียชีวิตจากโรคซ่ึงเป็นผลตามมา พยาบาลเป็นบุคลากรที่ ใกล้ชิดกับผู้ป่วยมากที่สุด จึงควรมีบทบาทในการป้องกันภาวะซีดและการรักษาพยาบาลเพ่ือป้องกัน ภาวะแทรกซอ้ นท่ีอาจจะเกิดตามมาได้ คําจาํ กัดความของภาวะซดี ภาวะซีดหรือโลหิตจาง (Anemia) หมายถึง ภาวะที่มีจํานวนเม็ดเลือดแดงท่ีสมบูรณ์หรือระดับ ฮีโมโกลบิน (Hb) ในเลือดตํ่ากว่าปกติ ทําให้การขนส่งออกซิเจนไปสู่เนื้อเย่ือไม่เพียงพอ องค์การอนามัยโลก (World Health Organization; WHO) ได้กําหนดเกณฑ์ในการวินิจฉัยภาวะซีดในผู้ใหญ่เพศชายมีระดับ Hb น้อยกว่า 13 g/dl และในเพศหญงิ ที่ไม่ไดต้ ง้ั ครรภน์ อ้ ยกว่า 12 g/dl (De Benoist, et al., 2008) อุบตั ิการณข์ องภาวะซดี ในผสู้ ูงอายุ อุบัติการณ์ของภาวะซีดในผู้สูงอายุในต่างประเทศ มีความแตกต่างกันในแต่ละงานวิจัยซึ่งพบว่า อยู่ ระหว่างรอ้ ยละ 5.5-37.8 โดยเฉพาะผู้สูงอายุท่มี โี รคเร้ือรงั ประเทศไทยพบผสู้ ูงอายุท่มี ีภาวะซีดอยู่ระหว่างร้อย ละ 16.5-62.6 (สุรีย์พันธ์ุ บุญวิสุทธิ์ พิมพร วัชรางค์กุล สมศรี ภู่ศรีม่วง ศิริพร จันทร์ฉาย และแสงโสม สี นะวฒั น์, 2541; กันยา แผนกุลม 2545; ภูวดล พลศรีประดิษฐ์, 2547; งามเนตร ทองฉิม, 2551) จากรายงาน การสํารวจสุขภาพประชากรไทยโดยการตรวจร่างกายคร้ังที่ 4 ระหว่างปี พ.ศ.2551-2552 โดยสํานักงาน สํารวจสุขภาพประชาชนไทย (สสท.) พบภาวะซีดเพ่ิมข้ึนตามอายุท่ีมากขึ้น จนสูงสุดร้อยละ 60.7 ในกลุ่มอายุ ต้งั แต่ 80 ปขี น้ึ ไป ความชุกของภาวะซีดในเพศหญิงสูงกว่าเพศชายทุกกลุ่มอายุ แต่มีความใกล้เคียงกันเมื่ออายุ มากกวา่ 80 ปขี น้ึ ไป (วชิ ยั เอกพลากร, 2552)

2 สาเหตุของภาวะซดี ในผูส้ งู อายุ ภาวะซีดโดยท่ัวไปมีสาเหตุหลักๆ 3 ประการคือ 1) การสร้างเม็ดเลือดแดงลดลง 2) การทําลายเม็ด เลือดแดงมากขึ้นและ 3) เสียเลือด สําหรับภาวะซีดที่พบในผู้สูงอายุสาเหตุส่วนใหญ่มักเกิดจากการสร้างเม็ด เลือดแดงลดลงหรือมีการเสียเลือดอย่างเร้ือรัง สามารถแบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ (Balducci, 2003; Guralnik, Eisentstaedt, Ferrucci, Klein, & Woodman, 2004; Petrosyan, Blaison, Andres, & Federici, 2012; Shavelle, MacKenzie, & Paculdo, 2012) ไดแ้ ก่ 1. ขาดสารอาหาร เปน็ สาเหตุทพี่ บไดม้ ากท่ีสุดในผ้สู ูงอายุ โดยเฉพาะการขาดธาตเุ หลก็ โฟเลตและ วิตามินบี 12 (Woodman, Ferrucci, & Guralnik, 2005; De Benoist, et al., 2008) ธาตุเหล็กเป็น สารอาหารท่ีมีความจําเป็นต่อการสังเคราะห์ฮีโมโกลบิน (Hb synthesis) ส่วนโฟเลตและวิตามินบี 12 มี ประโยชน์ตอ่ การสังเคราะห์ดีเอน็ เอ (DNA synthesis) เมื่อรา่ งกายขาดสารอาหารที่จําเป็นเหล่านี้จะมีผลทําให้ เม็ดเลือดแดงมีการเจริญเติบโตผิดปกติและผิดรูปร่างได้ (Palazuolli, Gallotta, Iovine, & Silverberg, 2008) สารอาหารประเภทโฟเลต วิตามินบี 12 และวิตามินซี ยังช่วยในการดูดซึมธาตุเหล็ก ดังนั้น เม่ือขาด สารอาหารดังกล่าวจึงส่งผลให้ระดับความรุนแรงของภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็กเพิ่มข้ึนด้วย ภาวะซีดจาก การขาดสารอาหารในผู้สูงอายุ ยังเกิดจากการทํางานของระบบย่อยอาหารลดลง กล่าวคือ ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ ต้องใช้ฟันปลอมในการบดเคี้ยวอาหาร มีปัญหาเกี่ยวกับโรคเหงือก ทําให้รับประทานอาหารไม่สะดวก รับประทานอาหารได้น้อยลง อีกท้ังการทํางานของต่อมรับรส การหลั่งเอ็นไซม์ท้ังในกระเพาะอาหารและลําไส้ เลก็ ลดลง การบีบตวั ของลําไส้และพื้นท่ีในการดูดซึมสารอาหารลดลง รวมถึงระบบการไหลเวียนเลือดในระบบ ทางเดินอาหาร (splanchnic circulation) ก็ลดลงด้วย (Caruso, & Silliman, 2008) ทําให้อาหารค้างอยู่ใน กระเพาะอาหารนานขนึ้ การเปลยี่ นแปลงดังกล่าวส่งผลต่อกระบวนการย่อยและการดูดซึมอาหารของผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุรู้สึกรับประทานอาหารไม่อร่อย ไม่อยากรับประทาน ส่งผลให้รับประทานอาหารไม่เพียงพอ (ภูวดล พลศรปี ระดษิ ฐ,์ 2547; ณัฐตยิ า เตียวตระกลู , 2554; Palazuolli, Gallotta, Iovine, & Silverberg, 2008) 2. โรคเรื้อรังหรือการอักเสบเรื้อรัง เช่ือว่าเม่ือมีการติดเชื้อจะทําให้มีการปล่อยไซโตไคน์เข้าไปใน กระแสเลือด ทําให้ยับยั้งการดูดซึมธาตุเหล็ก ส่งผลให้ร่างกายเกิดภาวะขาดธาตุเหล็กและทําให้เกิดภาวะซีด ตามมาได้ นอกจากน้ัน สารไซโตไคน์ที่หล่ังมาจากกระบวนการอักเสบจะไปกดการสร้างฮอร์โมนอิริโทรโพอิติน (erythropoietin) และทําให้ช่วงชีวิต (life span) ของฮอร์โมนอิริโทรโพอิตินส้ันลง จึงเป็นสาเหตุให้ผู้ท่ีมีการ ติดเชอ้ื เกดิ ภาวะซีด นอกจากนใ้ี นผปู้ ว่ ยโรคไตเรอ้ื รังจะมกี ารสร้างฮอร์โมนอิริโทรโพอิตนิ ลดลง จงึ ทาํ ให้ผู้สูงอายุ ทเี่ ป็นโรคไตเรือ้ รังเกดิ ภาวะซดี ข้นึ ได้ ซงึ่ โรคไตเรื้อรังในผู้สูงอายุส่วนใหญ่มักเกิดขึ้นตามหลังโรคเร้ือรังอ่ืนๆ เช่น โรคหลอดเลือดแดงแข็ง (atherosclerosis) โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง (Woodman, Ferrucci, & Guralnik, 2005). 3. กระบวนการเสื่อมตามอายุ (Aging process) เม่ืออายุมากข้ึนส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลง ภายในเซลล์ไขกระดูก มีการสร้างเซลล์เม็ดเลือดแดงทดแทนเซลล์เก่าช้าลง ทําให้จํานวนเม็ดเลือดแดงและ ระดับ Hb ลดลง รวมถึงการทําหน้าท่ีของไตลดลงจึงอาจส่งผลให้การสร้างฮอร์โมนอิริโทรโพอิตินลดลง ซ่ึง ฮอร์โมนชนิดน้ีมีผลต่อการสร้างเม็ดเลือดแดง พบว่าอายุท่ีเพ่ิมข้ึนสัมพันธ์กับการสร้างฮอร์โมนอิริโทรโพอิตินที่ ลดลง โดยที่ไม่จําเปน็ ตอ้ งมีโรคไตร่วม (ณัฐติยา เตียวตระกูล, 2554; วิไลวรรณ ทองเจริญ, 2554) จึงทําให้เกิด ภาวะซีดตามมาได้

3 4. ไม่ทราบสาเหตุ พบถึงร้อยละ 34-39 ของผู้ท่ีมีอายุเท่ากับหรือมากกว่า 65 ปี ส่วนใหญ่จะมี ลักษณะซีดในระดับเพียงเล็กน้อย ทําให้ไม่ได้รับการวินิจฉัย (Guralnik, Eisentstaedt, Ferrucci, Klein, & Woodman, 2004; Shavelle, MacKenzie, & Paculdo, 2012) พยาธสิ รรี ภาพของการเกดิ ภาวะซีดในผูส้ งู อายุ ภาวะซีดส่งผลให้มีการลดลงของ Hb ซึ่งเป็นโปรตีนที่พบในเม็ดเลือดแดง ประกอบด้วย 4 หน่วยย่อย ในแต่ละหน่วยย่อยมีธาตุเหล็กเป็นองค์ประกอบและในแต่ละหน่วยของ Hb มีความสามารถในการจับกับ ออกซิเจนได้ 1 หน่วยโมเลกุล ดังนั้นถ้าจํานวนของ Hb ลดลง ส่งผลให้การขนส่งออกซิเจนลดลง ร่างกายจะมี การปรับตัวโดยหัวใจทํางานมากขึ้น บีบตัวและเต้นเร็วข้ึนเพ่ือให้ปริมาณเลือดท่ีออกจากหัวใจในหนึ่งนาที (cardiac output; CO) เพ่ิมข้ึน ส่งผลให้เลือดไปสู่เน้ือเย่ือต่างๆ ได้มากข้ึน ผลท่ีตามมาจากการบีบตัวมากข้ึน ของหัวใจทําให้ปริมาณเลือดในระบบไหลเวียนเพ่ิมข้ึน ผนังภายในหัวใจห้องล่างซ้ายหนาตัวข้ึนจากการทํางาน ทหี่ นกั สง่ ผลให้ CO ลดลงและการกาํ ซาบของออกซิเจนสูเ่ น้ือเยอื่ กล็ ดลงด้วย อาการและอาการแสดง ภาวะซดี ที่พบในผู้สงู อายุส่วนใหญอ่ ย่ใู นระดับน้อยเท่านั้น จึงมักไม่มีอาการและอาการแสดง อย่างไรก็ ตาม ภาวะซีดระดับรุนแรงส่งผลต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด ทําให้เกิดภาวะหัวใจวายเลือดคั่ง จนกระท่ัง อาจทําให้เสียชีวิตได้ ซึ่งอาการและอาการแสดงนั้นขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายอย่าง เช่น ระดับความรุนแรงของ ภาวะซีด ความเร็วในการสูญเสียเลือด ระยะเวลาของการเกิดภาวะซีด อายุ อาการและอาการแสดงของโรค ร่วมอ่ืนๆ ตัวกําหนดความรนุ แรงของภาวะซดี คือระดบั ของ Hb ในเลอื ด ดงั แสดงในตารางท่ี 1 ตารางที่ 1 ระดับความรนุ แรงของภาวะซดี และอาการแสดงทางคลินกิ (Corbett & Buchsel, 2005) Hb level degree อาการแสดงทางคลนิ กิ (clinical manifestations) 10-12 g/dl mild 6-10 g/dl moderate โดยปกตจิ ะไม่แสดงอาการ (asymptomatic) อาจมเี พียงอาการเหนือ่ ย เวลาออกแรง (dyspnea on exertion; DOE) < 6 g/dl severe หายใจลาํ บาก (short of breath) ใจสนั่ (palpitation) เหง่ืออก มากกวา่ ปกติเมอื่ ทาํ กจิ กรรมทีต่ ้องใช้แรง และมอี าการอ่อนเพลยี หรือ ออ่ นลา้ อยา่ งเรื้อรัง ผู้ป่วยจะมีอาการในหลายๆ ระบบในร่างกาย (multiple body system) โดยอาการแสดงจะข้นึ อย่กู ับสาเหตุของภาวะซดี (ตารางท่ี 2) แตใ่ นผ้ปู ่วยที่เปน็ (chronic renal failure) อาจไมม่ อี าการเน่อื งจาก ภาวะซดี เกดิ ข้ึนอยา่ งชา้ และเป็นเรื้อรัง

4 ตารางที่ 2 อาการและอาการแสดงในผูส้ งู อายทุ ม่ี ีภาวะซีดรุนแรง (ระดับของ Hb < 6 g/dl) (Corbett & Buchsel, 2005) ระบบ/ อวยั วะที่ตรวจพบ อาการแสดงทางคลินิก อาการท่ัวไป ซีด (pallor) ออ่ นเพลยี (fatigue) มคี วามรูส้ กึ ไม่สบาย (malaise) ออ่ นแรง (weakness) ไข้ (fever) เหนือ่ ยหรอื หายใจลําบากเมอื่ มีการออกแรงหรอื ทาํ ผวิ หนงั กจิ กรรมท่ีต้องใช้แรง ปวดศรี ษะ (headache) เวยี นศรี ษะ (vertigo) ไวต่อ การกระต้นุ จากอากาศเยน็ น้าํ หนกั ลด ตา ซีด เยน็ ชนื้ เหลอื ง (พบในผู้ปว่ ยท่เี ปน็ hemolytic anemia) เห็นได้ชัด ปาก บรเิ วณริมฝปี าก เยือ่ บุตา ฝ่ามือ เหงือก ใบหู ผิวแห้ง เล็บเปราะ หรือมี ระบบหายใจ spoon nail ระบบหวั ใจและหลอดเลือด ตาพรา่ มัว มองเห็นไมช่ ัด ตาเหลอื งและอาจมเี ลอื ดออกใน retina (พบใน ผปู้ ่วยทีเ่ ป็น hemolytic anemia) ระบบทางเดนิ อาหาร เยอ่ื บุกระพงุ้ แก้มเรียบ ลิน้ เลี่ยนมัน (glossy tongue) ล้ินเป็นแผล หายใจลําบาก (dyspnea) นอนราบไมไ่ ด้ (orthopnea) ระบบทางเดนิ ปัสสาวะและ หัวใจเต้นเรว็ (tachycardia) ใจสน่ั (palpitation) พบเสียง murmur เจบ็ ระบบสืบพนั ธ์ุ หนา้ อก (angina pain) หวั ใจโต (cardiomegaly) อาการปวดขาเป็นระยะ ระบบกระดกู และกล้ามเนอ้ื เหตจุ ากการขาดเลอื ด (intermittent claudication) หวั ใจวาย (heart ระบบประสาท failure) กล้ามเน้ือหวั ใจขาดเลือด (myocardial infarction) เบอ่ื อาหาร (anorexia) การกลืนลําบาก (dysphagia) อาเจยี นเป็นเลือด (hematemesis) อุจจาระเป็นมนั (tarry stool) ตับโต (hepatomegaly) ม้ามโต (splenomegaly) ภาวะขาดระดู (amenorrhea) ปัสสาวะมีเลอื ดปน (hematuria) ปวดหลัง ปวดกระดูกและกลา้ มเนื้อ ปวดศรี ษะ เวียนศรี ษะ หนา้ มดื เปน็ ลม (fainting) สบั สน เฉือ่ ยชา คิดช้า สมาธิสน้ั ซึมเศร้า การรบั ความรูส้ กึ ที่ส่วนปลายผดิ ปกติ (paresthesia) การตรวจวนิ ิจฉัยภาวะซดี ในผู้สูงอายุ การวินิจฉัยภาวะซีดในผู้สูงอายุนั้น ประกอบด้วย การซักประวัติ การตรวจร่างกาย และการตรวจทาง ห้องปฏิบัติการเพ่ือช่วยคัดกรองภาวะซีด โดยเฉพาะการตรวจนับเม็ดเลือดอย่างสมบูรณ์ (complete blood count; CBC) ร่วมกบั การย้อมสเี ม็ดเลือดและการตรวจด้วยกลอ้ งจลุ ทรรศน์ (peripheral blood smear) โดย ดูจากค่าความเข้มข้นของเลือดหรือฮีมาโตคริต (Hct) หรือ Hb นอกจากนี้อาจดูได้จาก mean corpuscular volume (MCV) หรือ red cell distribution width (RDW) หรือ red cell morphology index (RCMI) เม่ือพบว่าค่าต่ํากว่าปกติถือว่ามีภาวะซีด (ปราณี ทู้ไพเราะและพิจิตรา เล็กดํารงกุล, 2554) อย่างไรก็ตาม การ ตรวจ CBC เป็นเพียงคัดกรองผู้สูงอายุท่ีมีภาวะซีดเบื้องต้นเท่าน้ัน การค้นหาสาเหตุเป็นสิ่งจําเป็นท่ีจะช่วยให้ ผู้สูงอายุได้รับการรักษาที่เหมาะสม ซ่ึงจะลดอัตราการตายและความรุนแรงของโรคเร้ือรังของผู้สูงอายุได้ WHO กาํ หนดคา่ ปกตคิ วามเขม้ ข้นของเลอื ด ดงั ตารางท่ี 3 ถ้าผลการตรวจมี ค่าทตี่ ํ่ากวา่ ปกติถอื ว่ามีภาวะซีด

5 ตารางท่ี 3 เกณฑก์ ารวินิจฉยั ภาวะซดี (Corbett & Buchsel, 2005) Hb (g/dl) Hct (mg%) Adult Male 13.0 40 Female 12.0 36 Pregnant 11.0 33 1st &3rd trimester 10.5 2nd trimester Child 6-14 years 12.0 36 6 months-6 years 11.0 33 ผลกระทบของภาวะซดี ในผสู้ งู อายุ ผลกระทบของภาวะซีดในผู้สูงอายุขึ้นกับระยะเวลาและระดับความรุนแรงของภาวะซีด ถ้าภาวะซีด ไม่ได้รับการจัดการที่ถูกต้อง อาจส่งผลรุนแรงจนกระทั่งทําให้ผู้สูงอายุเสียชีวิตได้ จากการทบทวนวรรณกรรม พบภาวะซีดมีผลตอ่ ภาวะสขุ ภาพ ดังนี้ 1. อัตราตายและการนอนโรงพยาบาล (mortality and hospitalization) ภาวะซีดทําให้อัตรา ตายในผู้สงู อายุสูงข้นึ และทาํ ให้ระยะเวลานอนโรงพยาบาลนานขนึ้ อีกด้วย ในผู้สูงอายุเพศชายและหญิงท่ีมีอายุ ตงั้ แต่ 85 ปีข้ึนไปมคี วามเสย่ี งตอ่ การเสียชีวิตเพิ่มเปน็ 2 เท่า (p<0.001) เม่ือเปรียบเทียบกับกลุ่มท่ีมีระดับ Hb อยู่ในเกณฑ์ปกติ (Izaks, Westendrop, & Knook, 1999) นอกจากน้ี ผู้สูงอายุท่ีมีอายุตั้งแต่ 65 ปีขึ้นไปที่ ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคกล้ามเน้ือหัวใจขาดเลือดแบบเฉียบพลันที่มีระดับของ Hb ตํ่า มีความสัมพันธ์กับ อัตราการตายท่ีสูงข้ึน และทําให้มีความเสี่ยงต่อการเข้ารับการรักษาเพิ่มขึ้นด้วย (Wu, Rathore, Wang, Radford, & Krumholz, 2001) 2. การทําหน้าที่ของร่างกาย (physical functioning) ผู้ท่ีมีภาวะซีดในระดับน้อยมักจะทํา กิจกรรมต่างๆ ได้ลดลง มอี าการอ่อนลา้ อ่อนเพลีย เหนอ่ื ยง่าย ไมค่ ่อยมแี รง ทาํ กิจวัตรประจําวันได้ลดลง หน้า มืด ตาลาย วิงเวียนศีรษะเวลาออกแรง เน่ืองจากออกซิเจนไปเลี้ยงสมองน้อย ผู้สูงอายุจะมีความสามารถใน การปฏิบัติกิจวัตรประจําวันต่างๆ ได้น้อยลง รวมถึงประสิทธิภาพการทํางานของร่างกายลดลงด้วย เช่น การ ทรงตัว ความเร็วในการเดิน การลุกจากเก้าอี้ เป็นต้น ซ่ึงส่งผลให้มีคุณภาพชีวิตลดลง โดยผู้สูงอายุที่มีระดับ ของ Hb > 12 กรัมต่อเดซิลิตร จะมีความแข็งแรงของกล้ามเน้ือ แรงในการบีบมือ แรงของการเหยียดข้อเข่า ความสามารถในการลกุ จากเก้าอ้ี การทรงตัวและความเร็วในการเดินดีกวา่ ผ้สู ูงอายุที่มีระดับ Hb < 12 กรัมต่อ เดซิลิตร (กันยา แผนกุล, 2545; Chaves, Ashar, Guralnik, & Fried, 2002; Dharmarajan, & Dharmarajan, 2007; Sabol, et al., 2010) 3. การเกดิ ภาวะหกลม้ เนอ่ื งจากภาวะซีดทาํ ให้ความแขง็ แรงและมวลความหนาแน่นของกล้ามเนอื้ ลดลง จึงส่งผลให้ผสู้ ูงอายมุ ีความเสีย่ งตอ่ เกิดการพลัดตกหกลม้ และกระดูกหกั ไดง้ า่ ย 4. ระบบหวั ใจและหลอดเลอื ด ภาวะซดี กอ่ ใหเ้ กิดโรคทางระบบหวั ใจและหลอดเลือด โดยท่ผี ้สู ูงอายุ ไม่เคยมีประวตั ิโรคหัวใจและหลอดเลอื ดมาก่อน เป็นเหตุให้ผ้สู งู อายุ มีอาการหัวใจเต้นเรว็ เต้นผิดปกติ เหนื่อย งา่ ย (Dharmarajan, & Dharmarajan, 2007) ด้วยเหตุท่ี CO เพิ่มขึน้ สง่ ผลใหป้ ริมาณเลอื ดในระบบไหลเวยี น สูงข้ึน ทาํ ใหผ้ นงั ภายในกล้ามเน้ือหวั ใจหอ้ งล่างซ้ายหนาตัวขน้ึ ประสทิ ธภิ าพในการบีบตัวลดลง สง่ ผลใหเ้ กิด

6 ภาวะกลา้ มเน้ือหวั ใจขาดเลือดและภาวะหวั ใจวายเลือดค่ังซงึ่ มีความสมั พนั ธก์ บั ความเส่ียงตอ่ การเสยี ชีวติ ตามมาได้ (Andres, Federici, Serraj, & Kaltenbach, 2008) 5. ระบบประสาท ผู้สูงอายุท่ีภาวะซีดจะเกิดความบกพร่องในการรู้คิด ได้แก่ ความสามารถในการ บริหารความคิด เช่น การวางแผน การตรวจตราและการแก้ปัญหา ทําให้ไม่สามารถจัดการกับกิจกรรมใน ชีวิตประจาํ วนั ได้และในระยะยาวอาจทาํ ให้เกดิ โรคสมองเสอื่ ม (Malouf, & Evans, 2009) 6. ด้านจิตใจ เนื่องจากภาวะซีดส่งผลให้ผู้สูงอายุทํากิจวัตรประจําวันได้ลดลง อีกทั้งยังเสี่ยงต่อภาวะ หกล้ม กระดูกหัก ซ่ึงอาจทําให้ผู้สูงอายุต้องกลายเป็นบุคคลพึ่งพาบุคคลอื่น จึงอาจส่งผลกระทบทางด้านจิตใจ ตามมาได้ ย่ิงกว่านั้น ในระยะยาวยังส่งผลให้ผู้สูงอายุเพศหญิงมีภาวะซึมเศร้าได้อีกด้วย (Umegaki, Yanagawa, & Endo, 2011) การรักษาภาวะซีด การรักษาผู้ป่วยภาวะซีดที่สําคัญท่ีสุดคือ การค้นหาสาเหตุและรักษาตามสาเหตุ โดยมีแนวทางการ รกั ษา ดงั นี้ (ปราณี ทู้ไพเราะและพจิ ติ รา เลก็ ดํารงกุล, 2554) 1. การรักษาทั่วไป เป็นการบาํ บัดอาการของภาวะซดี ในระหวา่ งการรกั ษาโรคท่เี ปน็ สาเหตุ เช่น - การใหอ้ อกซิเจน ในผปู้ ว่ ยภาวะซดี รนุ แรง เพ่ือชว่ ยปอ้ งกนั ภาวะเนอ้ื เยอื่ ขาดออกซิเจน (tissue hypoxia) และชว่ ยลดการทํางานของหวั ใจ - การให้ยากระตุ้นการสรา้ งเม็ดเลอื ดแดง - การให้ธาตุเหล็กทดแทน มักจะให้ในผู้ป่วยที่มีภาวะซีดในระดับน้อย (mild anemia) ซึ่งอาจให้ ในรูปแบบยารับประทาน สําหรับผู้ป่วยท่ีมีภาวะขาดสารอาหาร (malnutrition syndrome) หรือไม่สามารถ รับประทานทางปากได้ หรอื มีการเสียเลอื ดอยา่ งเรอ้ื รงั แพทย์อาจพิจารณาใหธ้ าตเุ หล็กทางหลอดเลอื ดดํา - การใหเ้ ลอื ดทดแทน (blood transfusion) เปน็ การรกั ษาท่จี ําเป็น โดยเฉพาะผูป้ ว่ ยทีม่ ภี าวะซดี จากการเสียเลือดแบบเฉียบพลนั จาการผา่ ตัดหรอื อบุ ัตเิ หตหุ รอื ผปู้ ว่ ยทมี่ ีภาวะซีดรุนแรง 2. การรกั ษาเฉพาะ เปน็ การรกั ษาท่ีสาเหตุ โดยเน้นการให้ยาหรือสารอาหารทดแทน เช่น ผู้ท่ีมีภาวะ ซีดจากการขาดวิตามินบี 12 หรือโฟเลต จะรักษาโดยให้วิตามินบี 12 ร่วมกับการให้กรดโฟลิกทดแทน ซึ่งจะมี ผลชว่ ยลดความเข้มข้นของสารโฮโมซีสเตอีนในเลือด (serum homocysteine) ซึ่งเป็นสารก่อให้เกิดโรคหัวใจ ขาดเลือด อีกทั้งกรดโฟลิกยังสามารถลดความเสี่ยงของการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดได้และยังช่วยป้องกัน การเกิดโรคหลอดเลือดสมองอีกด้วย (Malouf, & Sastre, 2009; Sabol, et al. 2010) ถ้าภาวะซีดเกิดจาก การขาดธาตเุ หลก็ จะรกั ษาโดยการให้ธาตุเหลก็ ทดแทน เปน็ ตน้ 3. ป้องกันภาวะแทรกซ้อนหรือผลกระทบท่ีเกิดจากภาวะซีด ที่พบมากในผู้สูงอายุได้แก่ ภาวะ กลา้ มเนือ้ หัวใจขาดเลือด ภาวะหวั ใจวายเลือดคัง่ รวมถงึ ภาวะหกล้ม กระดูกหกั การพยาบาลผสู้ ูงอายุที่มีภาวะซดี การพยาบาลผ้สู งู อายุทม่ี ีภาวะซดี แบง่ ออกเปน็ 2 ประเด็นใหญๆ่ คือ 1. ผสู้ งู อายุท่ีไมแ่ สดงอาการ ผู้สงู อายุถงึ แมจ้ ะมีภาวะซดี แต่สว่ นใหญจ่ ะไม่มีอาการแสดง เนอ่ื งจาก ภาวะซีดอยู่ระดับน้อย ดังนั้น พยาบาลต้องตระหนักอยู่เสมอว่า “ผู้สูงอายุทุกรายมีภาวะซีด” ดังนั้นการ พยาบาลทส่ี าํ คญั จึงมุง่ เน้นการป้องกันการเกดิ โรคอืน่ ๆ จากภาวะซีด โดยการคน้ หาผ้สู ูงอายทุ ่ีมีภาวะซีด การให้ ความรู้ คําแนะนําเพ่ือป้องกันผลกระทบและลดอุบัติการณ์ของการเกิดภาวะซีด รวมถึงการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ สามารถดําเนินชีวติ ไดอ้ ย่างปกตสิ ุข

7 แนวทางป้องกนั ผลกระทบจากภาวะซดี สาํ หรับผู้สงู อายทุ ่ยี งั ไม่แสดงอาการ มดี งั นี้ 1) ผู้สูงอายุโรคเรื้อรังท่ีเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล พยาบาลควรติดตามผลการตรวจทาง ห้องปฏิบตั กิ ารในผสู้ ูงอายุทุกราย เน่อื งจากภาวะซีดในระดับนอ้ ย จะไมแ่ สดงอาการ การดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะ ซีดควรเน้นการทํางานแบบสหสาขาวิชาชีพ มกี ารประสานงานกบั แพทย์เพ่ือค้นหาสาเหตุที่แท้จริงของภาวะซีด รวมถึงการให้สารอาหารหรือยาทดแทน นอกจากน้ีในแต่ละโรงพยาบาลควรมีแนวทางในการดูแลรักษาภาวะ ซีดในผู้สูงอายุท่ีครอบคลุม เริ่มต้ังแต่การคัดกรอง การดูแลรักษา การป้องกันภาวะแทรกซ้อน รวมถึงการ สง่ เสริมพฤตกิ รรมสุขภาพ 2) ผู้สูงอายุในชุมชน ควรได้รับการคัดกรองภาวะซีด โดยการซักประวัติเพ่ือค้นหาอาการท่ีอาจ เกดิ จากภาวะซดี รวมถึงพฤติกรรมสุขภาพทอี่ าจทาํ ใหเ้ กิดภาวะซดี อันจะช่วยลดโอกาสการเจ็บป่วยจนต้องเข้า รับการรักษาในโรงพยาบาล นอกจากนี้ภาวะซีดในระดับน้อย อาจส่งผลต่อการทํากิจวัตรประจําวันของ ผู้สูงอายุ เช่น มีอาการหน้ามืด เวียนศีรษะ ปวดศีรษะ เหนื่อยง่าย ซ่ึงอาจส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุให้ ลดลงได้ อีกทั้งควรเน้นการทํางานแบบสหสาขาวิชาชีพ เนื่องจากปัญหาในผู้สูงอายุเป็นปัญหาท่ีซับซ้อน เช่น ทนั ตแพทย์ เข้ามาดูแลปัญหาสุขภาพในช่องปาก นักโภชนาการเข้ามาให้คําแนะนําเรื่องอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง หรืออาหารที่ช่วยดดู ซมึ ธาตุเหลก็ เป็นตน้ นอกจากนี้ ควรนํา อ.ส.ม.เขา้ มามีส่วนร่วม และใช้แหล่งประโยชน์ใน ชุมชน โดยเฉพาะ ครอบครัว กลุ่มเพื่อน สถานีอนามัยและโรงพยาบาลเครือข่าย ร้านค้าและตลาดนัดใน หมบู่ ้าน ใหเ้ กิดประโยชน์มากท่สี ุด (งามเนตร ทองฉิม, 2551) 2. ผูส้ งู อายุทม่ี ีภาวะซีด การพยาบาลจะมุ่งเน้นการลดปัจจยั เสย่ี งตอ่ การเสียชีวิตจากอาการของ ภาวะแทรกซอ้ นที่เกิดจากภาวะซีด เชน่ อาการอ่อนเพลีย เวียนศรี ษะ กระดูกหกั จากการหกล้ม โรคทางหัวใจ และหลอดเลอื ด เปน็ ตน้ การบรรเทาอาการท่ีเกดิ จากภาวะซีด เปา้ หมายของการพยาบาล เพื่อเพมิ่ พลงั งาน หรือออกซิเจนใหก้ ับผปู้ ่วย ลดหรอื สงวนการใช้พลงั งานหรอื การใชอ้ อกซิเจนและเฝ้าระวังอาการและอาการ แสดงของภาวะเนื้อเยอ่ื ขาดออกซเิ จน แนวทางการพยาบาลผสู้ ูงอายุทม่ี ีภาวะซีด โดยใช้กระบวนการพยาบาล มดี งั นี้ 1) การประเมนิ ภาวะสขุ ภาพของผสู้ งู อายทุ มี่ ภี าวะซีด 1.1 การซักประวัติ - ปัญหาสขุ ภาพในอดีตท่มี ผี ลทําให้เกิดภาวะซีดได้ เชน่ พยาธิลาํ ไส้ อุจจาระร่วงเรอื้ รงั ประวตั กิ ารเลียเลอื ดบอ่ ย เช่น เลือดกาํ เดาออกเสมอๆ มเี ลอื ดอกตามไรฟัน อุจจาระสดี าํ หรอื มีเลอื ดปน อุจจาระมีพยาธิ โรคเร้ือรงั อื่นๆ รดิ สีดวงทวาร โรคตดิ เชื้อ โรคตับ โรคไต เป็นต้น - ประวัตอิ าการท่อี าจเกิดจากภาวะซดี เชน่ อาการออ่ นเพลยี ไม่มแี รง เหนอ่ื ยง่ายเวลา ทาํ งาน อาการหนา้ มดื เวยี นศีรษะ เป็นต้น - ประวัตกิ ารรับประทานยาเป็นประจาํ โดยเฉพาะยากลุม่ NSAID เนื่องจากอาจมกี ารเสยี เลอื ดเรื้อรงั ได้ - พฤติกรรมสุขภาพทีอ่ าจทาํ ใหเ้ กิดภาวะซดี เชน่ การรับประทานอาหารท่ียบั ยัง้ การดดู ซมึ ธาตเุ หลก็ การดมื่ เครอื่ งด่ืมทม่ี คี าเฟอีนเปน็ ประจาํ เปน็ ตน้ - ประวตั ิภาวะโลหิตจางในครอบครวั เช่น thalassemia G6PD เปน็ ต้น - ประเมนิ แบบแผนสุขภาพ โดยเนน้ แบบแผนทีม่ ีโอกาสเกดิ ปญั หา เชน่ ความทนในการทํา กิจกรรม ภาวะโภชนาการ ภาวะติดเช้ือ ภาวะหวั ใจวาย เป็นตน้

8 1.2 การตรวจรา่ งกาย โดยเฉพาะระบบผิวหนัง เน้นบรเิ วณเนือ้ เยอื่ บางๆ เช่น เปลอื กตา ฝ่า มือ ริมฝีปาก เป็นตน้ อย่างไรกต็ าม ควรตรวจรา่ งกายให้ครบทุกระบบ เนื่องจากภาวะซดี ที่รนุ แรงจะทาํ ให้ ผปู้ ว่ ยเกดิ อาการและอาการแสดงไดใ้ นทกุ ระบบของรา่ งกายดงั กลา่ วแล้วขา้ งต้น 1.3 ผลการตรวจทางห้องปฏบิ ัตกิ าร โดยประเมนิ จาก CBC ซ่ึงต้องประเมนิ ทกุ ตวั ทก่ี ลา่ วมา ข้างต้น โดยเฉพาะ Hb และ Hct เม่อื พบความผดิ ปกติเกดิ ขน้ึ ควรรบี ปรึกษาแพทย์เพ่อื คน้ หาสาเหตุของภาวะ ซีดและวางแผนการพยาบาลตอ่ ไป

2) การวินิจฉยั ทางการพยาบาล ขอ้ วนิ จิ ฉยั ทางการ เปา้ หมายทางการ 1. วางแผนในการทาํ กจิ กรรมสําหรับ พยาบาล พยาบาล หยุดทํากิจกรรมเม่อื รสู้ กึ เหนอ่ื ย 1. ความทนตอ่ การทาํ ผปู้ ว่ ยมคี วามทน 2. ช่วยเหลอื ผสู้ ูงอายใุ นการทาํ กจิ วัต กิจกรรมลดลง ตอ่ การทํากจิ กรรม ออกแรงนอ้ ย เน่อื งจากเนื้อเยื่อ เพ่ิมข้นึ ได้รับออกซเิ จนไม่ 3. วางอปุ กรณ์ของใช้ไว้ใกล้ตัวผสู้ งู อ เพียงพอ 4. จาํ กัดคนเย่ยี ม ถา้ เป็นไปได้ เพ่อื ใ 2. ได้รับอาหารไม่ ได้รบั อาหาร ในการวางแผนการทํากิจกรรม เพยี งพอกบั ความ เพยี งพอต่อความ 5. ให้ยาที่จาํ เปน็ ต่อการสรา้ งหรอื กร ต้องการของร่างกาย ตอ้ งการของ เนื่องจากขาด รา่ งกาย กรดโฟลกิ เปน็ ต้น ความรู้/เบ่ืออาหาร/ 6. ถ้าจาํ เปน็ ควรปรึกษาแพทยเ์ พอื่ ให การยอ่ ยการดูดซมึ ลดลง 1. ใหค้ วามรเู้ กยี่ วกบั สารอาหารที่จาํ 2. ให้ความรเู้ ก่ยี วกับการรับประทาน - ในผสู้ ูงอายทุ ขี่ าดเหลก็ แนะนาํ อ อุดมด้วยวติ ามนิ ซเี พ่อื ช่วยในกา กระถนิ ใบชะพลู ขเ้ี หล็ก เป รบั ประทานอาหารทีม่ วี ติ ามินซ - ผู้สงู อายุที่ขาดโฟเลตแนะนําอา สกุ จนเกินไป 3. ในกรณีทผี่ ู้สูงอายุตอ้ งรับประทาน - หลีกเลีย่ งการด่ืมชา กาแฟ นม

9 กิจกรรมการพยาบาล บผู้สูงอายโุ ดย แบง่ เวลาที่จะให้ผปู้ ่วยพกั และกาํ หนดกจิ กรรมโดยให้พกั เปน็ ระยะๆ ตรประจาํ วนั เทา่ ทีจ่ ําเปน็ และสง่ เสรมิ ใหผ้ ้ปู ว่ ยทํากิจกรรมเองโดยเน้นกิจกรรมที่ อายุ เพอื่ สงวนพลังงาน ให้ผู้สูงอายไุ ด้พักผ่อนและเฝ้าติดตามสญั ญาณชีพ Hct และ Hb เพื่อเปน็ แนวทาง ระตุน้ ให้เกดิ การสร้างเม็ดเลือดแดง เชน่ ยาทม่ี สี ว่ นประกอบของธาตุเหลก็ หรอื ห้ packed RBCs เพอื่ เพม่ิ ระดับ Hct ในเลอื ด าเปน็ โดยใหร้ บั ประทานอาหารใหค้ รบทง้ั 5 หมใู่ น 1 วนั นตามสาเหตุ ดังน้ี อาหารท่ีมีเหลก็ สงู เช่น เลือดหมู เลอื ดไก่ ตับ เครอ่ื งใน เนือ้ สัตว์ เพิม่ อาหารที่ ารดดู ซึมเหลก็ ผกั พ้นื บา้ น เช่น ผกั กดู ผักโขม ขม้นิ ขาว ดอกโสน ยอดมะกอก ปน็ ตน้ แนะนําใหห้ ลีกเลย่ี งการดืม่ ชา กาแฟ เพราะขัดขวางการดูดซมึ เหล็ก ให้ ซสี ูงเพราะจะชว่ ยดูดซมึ ธาตุเหล็กได้ดขี ้นึ าหารท่มี ี โฟเลตสูง ได้แก่ ผกั ใบเขยี ว ถัว่ เนื้อสตั ว์ นม ไข่ และไม่ประกอบอาหาร นยาธาตุเหลก็ เสรมิ ควรให้แนะนาํ ดงั นี้ พร้อมอาหารหรือยาเพราะขัดขวางการดดู ซึมเหลก็

ข้อวินจิ ฉยั ทางการ เป้าหมายทางการ - แนะนําใหร้ ับประทานยาพร้อม พยาบาล พยาบาล อาการคลื่นไสอ้ าเจียนได้ 3. มโี อกาสเกิด ไมเ่ กดิ อบุ ัติเหตุ - ในระหว่างรบั ประทานยาที่มีส่ว อุบัติเหตใุ นขณะท่ี รบั ประทานอาการทีม่ กี ากใยสูง เปลยี่ นทา่ เนอ่ื งจาก ออ่ นเพลีย/ - ควรรับประทานยาธาตเุ หล็กรว่ ออกซเิ จนไปเลยี้ ง - อาการขา้ งเคยี งทอ่ี าจเกิดขึน้ จา สมองไมเ่ พียงพอ จากเม็ดเลอื ดแดง อุจจาระสดี ํา น้อย 4. แนะนําให้รับประทานครัง้ ละน้อย 5. ชัง่ น้าํ หนักทกุ วันเพ่อื ประเมนิ ภาว 6. สง่ เสรมิ ใหผ้ ู้สงู อายบุ นั ทกึ รายการ 7. ส่งเสรมิ ใหผ้ ู้สงู อายดุ ูแลสขุ อนามัย 1. แนะนาํ ให้ผู้สงู อายเุ ปล่ียนท่าอยา่ 2. ช่วยเหลือผู้สงู อายุขณะลงจากเตยี 3. แนะนําการใช้กรง่ิ ขอความช่วยเห 4. ยกขา้ งเตียงให้สงู ทกุ ครัง้ ทไ่ี มม่ คี น 5. จัดสงิ่ ของต่างๆใหอ้ ยใู่ กล้ผสู้ งู อาย

10 กิจกรรมการพยาบาล มอาหารทันทเี นอ่ื งจากยาอาจระคายเคืองต่อกระเพาะอาหารและอาจทาํ ใหเ้ กิด วนประกอบของธาตุเหลก็ ผสู้ งู อายุอาจมีอาการทอ้ งผกู จงึ ควรแนะนาํ ให้ ง วมกับวติ ามินซีหรือนํา้ ส้มเพอ่ื ชว่ ยในการดูดซมึ ากการใหธ้ าตเุ หล็กไดแ้ ก่ อาการคลืน่ ไส้ อาเจียน ท้องผกู หรอื ท้องเสยี และถ่าย ยๆแตบ่ ่อยครั้งในแต่ละวนั วะโภชนาการ รอาหารประจําวัน (food daily) เพื่อประเมนิ อาหารทไี่ ดร้ ับในแตล่ ะวนั ยในช่องปากทีด่ ี างช้าๆ และพกั เปน็ ระยะๆ ยง หรอื ขณะเดิน หลือ นอยู่กบั ผู้สงู อายุ ยุ หยบิ ใช้ง่าย

11 สรุป การดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะซีด เร่ิมตั้งแต่การเฝ้าระวังภาวะซีดในผู้สูงอายุทุกราย การค้นหาสาเหตุท่ีทํา ให้เกิดภาวะซีดเพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการรักษาที่เหมาะสม การให้การพยาบาลเพ่ือลดการใช้ออกซิเจนและ ปอ้ งกนั ภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกดิ ตามมาจากภาวะซีด การปอ้ งกนั ภาวะซีดในผสู้ ูงอายุควรเนน้ การให้คําแนะนํา เก่ียวกับการรับประทานอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง เพิ่มการรับประทานอาหารท่ีช่วยในการดูดซึมธาตุเหล็กและ หลีกเล่ียงการรับประทานอาหารที่ยับย้ังการดูดซึมธาตุเหล็ก นอกจากน้ีการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะซีดควร เนน้ สหสาขาวชิ าชพี เพือ่ เพ่มิ ประสิทธภิ าพในการรกั ษาพยาบาลใหด้ ยี ง่ิ ขน้ึ เอกสารอา้ งอิง กนั ยา แผนกลุ . (2545). ภาวะโลหิตจางและปัจจัยทนี่ าํ ไปสูภาวะโลหิตจางจากการธาตุเหล็กในผสู้ ูงอายุ ตําบล แมแ่ ฝกใหม่ อาํ เภอสันทราย จังหวดั เชียงใหม.่ วิทยานพิ นธ์ศึกษาศาสตร์มหาบณั ฑิต สาขาวิชาการ ส่งเสรมิ สุขภาพ บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวิทยาลัยเชียงใหม.่ งามเนตร ทองฉมิ . (2551). โครงการของพยาบาลเวชปฏิบัตเิ พ่อื การจัดการภาวะซดี สําหรบั ผู้สูงอายุในชนบท. วิทยานพิ นธพ์ ยาบาลมหาบณั ฑติ สาขาการพยาบาลเวชปฏิบัติชมุ ชน มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ.์ ณฐั ติยา เตียวตระกลู . (2554). Anemia in Older Adults. โลหิตวทิ ยาและเวชศาสตรบ์ รกิ ารโลหิต. 21(4), 267-272 ปราณี ทไู้ พเราะและพิจติ รา เล็กดาํ รงกุล. (2554). การพยาบาลผ้ปู ว่ ยทม่ี ภี าวะซีด ใน ปราณี ทู้ไพเราะและ คณะ (บรรณาธิการ), การพยาบาลอายรุ ศาสตร์ 2 (หนา้ 60-96). เอ็นพเี พรส: กรงุ เทพฯ. ภวู ดล พลศรีประดิษฐ.์ (2547). ความชกุ และปจั จยั เสี่ยงของการเกิดภาวะโลหติ จางในผสู้ ูงอายบุ ้านสุขัง ตําบล ตะคุ อาํ เภอปักธงชัย จังหวดั นครราชสมี า. วิทยานิพนธส์ าธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวชิ า โภชนาการชมุ ชน บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ . วิชัย เอกพลากร. (2552). การสาํ รวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครงั้ ที่ 4 พ.ศ. 2551-2. นนทบรุ ี : เดอะกราฟิโก ซสิ เตม็ ส์ จํากดั . วไิ ลวรรณ ทองเจริญ. (2554). ศาสตรแ์ ละศลิ ป์การพยาบาลผูส้ งู อายุ. โครงการตํารา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล สุรียพ์ นั ธุ์ บญุ วสิ ทุ ธิ์ พิมพร วชั รางค์กลุ สมศรี ภศู่ รีม่วง ศริ พิ ร จันทรฉ์ าย และแสงโสม สีนะวัฒน.์ (2541). ภาวะโภชนาการในผูส้ งู อายุไทย. Retrieved November 11, 2012, From http://advisor.anamai.moph.go.th /213/21308.html Andres, E., Federici, L., Serraj, K & Kaltenbach, G. (2008). Update of nutrient-deficiency anemia in elderly patients. European Journal of Internal Medicine. 19(2008),488-493. Balducci, L. (2003). Epidemiology of Anemia in the elderly: Information on diagnostic evaluation. Journal of the American Geriatrics Society. 51(3),52-59. Balducci, L., Ershler, W. B. & Krantz, S. (2006). Anemia in the elderly-clinical findings and impact on health. Oncology/Hematology. 58,156-165. Caruso, L. B., & Silliman, R. A. (2008). Geriatric medicine. In D. L. Kasper, E. Braunwald, A. S. Fauci, S. L. Hauser, D. L. Longo, & J. L. Jameson (Eds.), Harrisons’ Principles of Internal Medicine (17th ed., pp. 53–62). New York: McGraw-Hill Medical Publishing.

12 Chaves, P. H., Ashar, B., Guralnik, J. M., & Fried, L. P. (2002). Look at the relationship between hemoglobin concentration and prevalent mobility difficulty in older women. should the criteria currently used to define anemia in older people be reevaluated. Journal of the American Geriatric Society, 50, 1257–1264. Corbett, T. C., & Buchsel, P. C. (2005). Management of clients with hematologic disorders. In Black, J. W., & Hawks, J. H. (eds.) Medical-Surgical Nursing: Clinical Management for Positive outcomes (7th ed.) (vol.2). 2271-2285. Elsevier Sauders: St. Louis. De Benoist, B., McLean, E., Egli, I. & Cogswell, M. (2008). Worldwide Prevalence of Anaemia 1993-2005. WHO Global Database on Anaemia. WHO, Geneva. Retrieved November 10, 2012, From htt://tinyurl.com/n6pgoc Dharmarajan, T. S. & Dharmarajan, L. (2007). Anemia in older adults: An indicator requiring evaluation. Family Practice Recertification. 29(6), 16-26. Duh, M. S., et al. (2008). Anemia and the risk of Injurious fall in a Community-Dwelling Elder population. Drugs Aging. 25(4), 325-334. Guralnik, J. M., Eisentstaedt, R. S., Ferrucci, L. M., Klein, H. G., & Woodman, R. C. (2004). Prevalence of anemia in persons 65 years and older in the United States: Evidence for a high rate of unexplained anemia. Blood,104(8), 2263–2268. Izaks, G, J., Westendrop, R, G, J., & Knook, D, L. (1999). The definition of anemia in older persons. JAMA; 281(18):1714-7. Malouf, R & Evans, J. G. (2009). Folic acid with or without vitamin B12 for the prevention and treatment of healthy elderly and demented people. Retrieved November 10, 2012, From http://www.thecochranelibrary.com Malouf, R. & Sastre, A. A. (2009). Vitamin B12 for cognition. Retrieved November 10, 2012, From http://www.thecochranelibrary.com Palazuolli, A., Gallotta, M., Iovine, F., & Silverberg, D. S. (2008). Anaemia in heart failure : a common interaction with renal insuffiency called the cardio-renal anaemia syndrome. International Journal of Clinical Practice, 62, 281-286. Petrosyan, I., Blaison, G., Andres, E. & Federici, L. (2012). Anemia in the elderly: An aetiologc profile of prospective cohort of 95 hospitalised patients. European Journal of Internal Medicine. 23(6), 524-528. Shavelle, R. M., MacKenzie, R. & Paculdo, D. R. (2012). Anemia and mortality in older person: does the type of anemia affect survival?. International Journal of Hematology. 95, 248-256. Sabol et al. (2010). Anemia and it impact on function in nursing home residents: What do we know. Journal of the American Academy of Nurse Practitioners. 22, 3-16. Umegaki, H., Yanagawa, M. & Endo, H. (2011). Association of lower hemoglobin level with depressive mood in elderly women at high risk of requiring care. Japan Geriatrics Society. 11, 262-266.

13 Woodman, R., Ferrucci, L. & Guralnik, J. (2005). Anemia in older adults. Current Opinion in Hematology. 12(2), 123-128. Wu, W., Rathore, S., Wang, Y., Radford, M. & Krumholz, H. (2001). Blood transfusion in elderly patients with acute myocardial infarction. The New England Journal of Medicine.345,230-6.

14 คําถามทา้ ยบทความ 1. เกณฑท์ ี่ใชใ้ นการวนิ ิจฉัยภาวะซีดคือข้อใด 1. เพศชายมรี ะดับ Hb = 15 g/dl, Hct = 40 mg% 2. เพศหญงิ มรี ะดบั Hb <15 g/dl,Hct < 36 mg% 3. เพศชายมีระดับ Hb <13 g/dl, Hct < 40 mg% 4. เพศหญงิ มรี ะดับ Hb=13 g/dl, Hct =36 mg% 2. ข้อใดอธบิ ายการเกดิ ภาวะซีดในผสู้ งู อายุได้ถูกต้อง 1. กระบวนการสูงอายสุ ่งผลใหก้ ารทาํ ลายเมด็ เลือดแดงเพ่ิมขึ้น 2. กระบวนการอักเสบเรื้อรังสง่ ผลให้การสร้างเม็ดเลือดแดงลดลง 3. การทาํ งานของไตลดลงทําให้การสร้างฮอร์โมนอริ โิ ทรโพอิตนิ ลดลง 4. เลือดไปเล้ียงระบบทางเดนิ อาหารเพม่ิ ขน้ึ ทาํ ใหก้ ารดดู ซมึ ธาตุเหลก็ เพม่ิ ขน้ึ 3. ผลกระทบระยะยาวของภาวะซีดในผูส้ ูงอายุทีส่ ําคัญทส่ี ดุ คือขอ้ ใด 1. หกล้ม 2. สมองเสอ่ื ม 3. กล้ามเนอื้ ออ่ นแรง 4. การทาํ กิจวัตรประจาํ วนั ลดลง 4. พฤตกิ รรมสขุ ภาพของผ้สู งู อายรุ ายใดมคี วามเสี่ยงต่อการเกดิ ภาวะซดี มากทีส่ ุด 1. เบ่อื อาหาร รบั ประทานอาหารไดน้ ้อย 2. รับประทานผักสด ผลไม้ทง้ั เปลอื กเปน็ ประจํา 3. ดมื่ น้ําน้อย ท้องผกู ถ่ายลําบาก มีเลือดปนบางคร้ัง 4. ซอื้ ยาแก้ปวดกลุ่ม NSID รบั ประทานเมื่อมีอาการปวด 5. ข้อใด ไมใ่ ช่ คาํ แนะนําในการปอ้ งกันภาวะซดี ทเ่ี กดิ จากการขาดธาตเุ หล็กในผู้สูงอายุ 1. หลีกเล่ยี งการดืม่ ชา กาแฟ 2. รับประทานอาหารน้อยๆ แตบ่ อ่ ยครงั้ 3. ควรรับประทานอาหารที่มรี สเปรี้ยวบอ่ ยครั้ง 4. ควรดื่มนมพรอ้ มกับการรับประทานยาธาตุเหลก็ 6. ผู้สูงอายุมาปรึกษาพยาบาลว่า มักมอี าการหนา้ มืด เวียนศีรษะเวลาเปล่ยี นท่าบอ่ ยครง้ั กลวั วา่ จะเกดิ อุบตั ิเหตุ ท่านจะใหค้ าํ แนะนาํ ผู้สูงอายุรายนอี้ ย่างไร 1. ใหเ้ ปลย่ี นท่าอย่างชา้ ๆ 2. ใหไ้ ปตรวจวดั ความดันโลหติ 3. ออกกําลังกายตอนเช้าทกุ วนั 4. หลับตาก่อนเปลีย่ นทา่ ทางทุกคร้ัง

15 สถานการณ์ใชต้ อบคาํ ถามขอ้ 7-9 ผสู้ ูงอายุ ไม่มโี รคประจาํ ตัว มาโรงพยาบาลดว้ ยอาการอ่อนเพลีย หายใจเหนื่อยและใจเตน้ เร็วเวลาออกแรง มีอาการเวียนศรี ษะบ่อยครงั้ โดยเฉพาะเวลาลกุ จากท่นี อน ตรวจร่างกายพบเปลือกตาวซีด ปลายมอื ปลายเท้า เยน็ ชืน้ 7. ขอ้ มูลท่ไี ดจ้ ากการซกั ประวตั ิ ขอ้ ใด ไมจ่ ําเปน็ ในการคน้ หาสาเหตขุ องภาวะซดี 1. ถ่ายอุจจาระเป็นเลอื ด 2. รบั ประทานอาหารตม้ เปื่อย 3. รับประทานยาแก้ปวดเป็นประจํา 4. รบั ประทานเครอื่ งในสตั ว์เป็นประจํา 8. ผลตรวจเลือดพบ Hb = 4.5 mg/dl ภาวะแทรกซอ้ นทพ่ี ยาบาลควรเฝ้าระวังมากทีส่ ุดในผ้ปู ่วยรายนคี้ อื ข้อ ใด 1. อุบตั ิเหตุ 2. หัวใจวายเลอื ดค่งั 3. กล้ามเนอ้ื หัวใจขาดเลือด 4. การทาํ หนา้ ทีข่ องรา่ งกายลดลง 9. แพทยม์ แี ผนการรกั ษาให้ O2 cannular 3 LPM, จอง PRC 2 unit , FBC 1x3  pc, Folic acid 1x1  pc การพยาบาล อนั ดบั แรก เพือ่ ลดการใช้ออกซิเจนคือข้อใด 1. ให้ PRC 2. ใหไ้ ด้รบั ยา 3. ใหอ้ อกซิเจน 4. ให้พกั บนเตยี ง 10. ผู้สงู อายุ โรคไตเรือ้ รัง บ่นเหนอื่ ยง่ายเวลาทํากจิ กรรม รสู้ ึกใจสั่นเวลาออกแรง ตรวจรา่ งกายพบเปลือกตา ซดี Hb = 7 mg/dl การพยาบาลท่ีสําคญั ท่สี ดุ สําหรบั ผู้สงู อายุรายน้คี ือขอ้ ใด 1. ปรึกษาแพทยใ์ นการใหเ้ ลือด 2. ตดิ ตามอาการ เหนอ่ื ย หายใจลาํ บาก 3. วางแผนการทาํ กิจกรรมสาํ หรบั ผปู้ ว่ ย 4. ดแู ลใหร้ ับประทานอาหารออ่ นย่อยงา่ ย UUUUUUUUUUUUUUU


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook