Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 20200405-AGRITEC-Book-2017

20200405-AGRITEC-Book-2017

Published by morakot panpichit, 2020-04-17 12:34:33

Description: 20200405-AGRITEC-Book-2017

Search

Read the Text Version

เตบิ แกรง่จัดการความรู้ แทงยอด าบุคลากร สท. คือใคร ตัวอยา่ งผลงานในป 2560 พัฒน ถ่ายทอดเทคโนโลยี ชอ่ื มโยงตลาดและความรว่ มมอื เ



เตบิ แกรง่ แทงยอด สท. คอื ใคร ตัวอย่างผลงานในป 2560

เตบิ แกร‹ง แทงยอด: สท. คือใคร ตวั อย‹างผลงานในป‚ 2560 ISBN: 978-616-12-0518-8 พิมพคร้งั ที่ 1 จาํ นวน 300 เลม่ สงวนลขิ สทิ ธ์ิ พ.ศ. 2560 ตาม พ.ร.บ. ลขิ สทิ ธิ์ (ฉบบั เพ่ิมเติม) 2558 สา� นักงานพฒั นาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยแี ห่งชาติ ไม่อนุญาตใหค้ ดั ลอก ทา� ซ้�า และดัดแปลง ส่วนใดสว่ นหนึง่ ของหนงั สือเล่มนี้ นอกจากจะไดร้ บั อนุญาตเปน็ ลายลกั ษณอ์ ักษรจากเจา้ ของลขิ สิทธิ์เท่าน้ัน เตบิ แกรง่ แทงยอด: สท. คอื ใคร ตวั อยา่ งผลงานในป 2560/โดย สถาบนั การจดั การเทคโนโลยแี ละนวตั กรรม เกษตร ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยแี หง่ ชาติ. -- ปทุมธานี : ส�านักงานพฒั นาวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาต,ิ 2560. 43 หน้า : ภาพประกอบ ISBN: 978-616-12-0518-8 1. เทคโนโลยีการเกษตร 2. นวัตกรรมทางการเกษตร 3. เกษตรกรรม -- การถ่ายทอดเทคโนโลยี 4. เทคโนโลยชี ีวภาพการเกษตร 5. วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี I. สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร II. ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยแี หง่ ชาติ III. ชอ่ื เรื่อง S494.5 630 ผจู ัดทํา สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวตั กรรมเกษตร (สท.) สาํ นกั งานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหง ชาติ (สวทช.) 111 อทุ ยานวิทยาศาสตรป์ ระเทศไทย ถนนพหลโยธิน ตา� บลคลองหนึ่ง อ�าเภอคลองหลวง จงั หวดั ปทุมธานี โทรศัพท์ 0 2564 7000 สายด่วน สท. 096 996 4100 โทรสาร 0 2564 7004 อีเมล: [email protected]

สารจากผ้อู าํ นวยการ สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร (สท.) เป็นหน่วยงานภายใต้ ส�านักงานพัฒนาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) กระทรวงวทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยี จดั ตงั้ ขน้ึ เมอ่ื ในป 2558 มงุ่ เนน้ ปฏริ ปู ภาคเกษตรดว้ ยเทคโนโลยแี ละพฒั นาความ เขม้ แขง็ ของชมุ ชน ลดความเหลอื่ มลา้� เชอื่ มโยงสเู่ ศรษฐกจิ ชวี ภาพ โดยมแี นวทางการทา� งาน ทส่ี า� คญั 4 ดา้ น ไดแ้ ก่ การจดั การองคค์ วามรวู้ ทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรมเกษตร การถา่ ยทอดเทคโนโลยสี ูเ่ กษตรกรในวงกวา้ ง การพฒั นาทกั ษะบคุ ลากรตลอดห่วงโซ่ และ เช่ือมโยงการผลิตกับการตลาด โดยท�างานร่วมกับหน่วยงานพันธมิตรทั้งภาครัฐและภาค เอกชน เพอื่ ให้เกิดการขยายผลในวงกว้าง จากการทา� งานของ สท. ในป 2560 ไดถ้ า่ ยทอดเทคโนโลยใี หก้ บั ชมุ ชน 220 ชมุ ชน ใน 45 จงั หวดั ครอบคลมุ ทว่ั ประเทศ มเี กษตรกรไดร้ บั การถา่ ยทอดเทคโนโลยกี วา่ 6,000 คน รวมถงึ พฒั นาบคุ ลากรดา้ นการเกษตรกวา่ 500 คน กอ่ ให้เกดิ ผลกระทบทางเศรษฐกจิ และ สังคม รวมทั้งยังได้เผยแพร่ชุดความรู้เทคโนโลยีกว่า 30 เรื่อง ตลอดจนเกิดความร่วมมือ กบั หนว่ ยงานพันธมติ รเชื่อมโยงการเข้าถงึ ตลาด เงินทนุ และเทคโนโลยีใหมใ่ ห้เกษตรกร หนงั สือ “เติบแกรง แทงยอด: สท. คอื ใคร ตัวอยา งผลงานในป  2560” นา� เสนอ ผลงานสว่ นหนงึ่ จากการทา� งานของ สท. ทไี่ ดน้ า� วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรม เปน็ เครอ่ื งมอื ขบั เคล่ือนการพฒั นาภาคเกษตรให้พรอ้ มทีจ่ ะเตบิ โตอย่างเขม้ แข็งและยัง่ ยืน นางสาววริ าภรณ์ มงคลไชยสทิ ธ์ิ ผูอ้ �านวยการ สถาบนั การจดั การเทคโนโลยีและนวตั กรรมเกษตร เตบิ แกรง่ แทงยอด 5 สท. คอื ใคร ตวั อยา่ งผลงานในป 2560

สถาบันการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรมเกษตร Agricultural Technology and Innovation Management Institute

สท.ร้จู ัก เตบิ แกรง่ แทงยอด 7 สท. คอื ใคร ตวั อยา่ งผลงานในป 2560

สถาบนั การจัดการเทคโนโลยีและนวตั กรรมเกษตร (สท.) Agricultural Technology and Innovation Management Institute (AGRITEC) เปน็ หนว่ ยงานภายใต้ สวทช. จดั ตงั้ ขนึ้ ตามมตคิ ณะกรรมการพฒั นาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยแี หง่ ชาติ (กวทช.) เมอื่ วันท่ี 23 ธันวาคม 2558 มเี ป้าหมาย • เร่งรัดการถา่ ยทอดเทคโนโลยีให้เกษตรกรน�ำไปใชอ้ ย่างกวา้ งขวาง • สนับสนนุ ให้เกดิ กระบวนการเรียนรูข้ องเกษตรกรและชุมชนท่นี �ำไปสู่การสรา้ งความร้แู ละนวตั กรรม • สนบั สนนุ ใหเ้ กดิ การสรา้ งและพฒั นาบคุ ลากรที่มที กั ษะตลอดห่วงโซ่ • เช่อื มโยงผผู้ ลติ กบั ผู้ประกอบการแปรรปู พนั ธกิจ น�ำวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรมถา่ ยทอดสชู่ มุ ชน เกิดการขยายผลในวงกว้างและทว่ั ถงึ ภายใตก้ ารท�ำงาน รว่ มกบั หน่วยงานพันธมิตรท้ังภาครัฐ เอกชน และชุมชน แผนงาน จัดการความรู้ ถ่ายทอดเทคโนโลยี พัฒนาบุคลากร เชื่อมโยงตลาด ร ว บ ร ว ม แ ล ะ บ ริ ห า ร เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพการ สร้างและพัฒนาบุคลากร และความร่วมมือ จัดการความรู้ให้อยู่ใน ผลิต เพิ่มมูลค่ารายได้ ทม่ี ที กั ษะตลอดหว่ งโซก่ าร รู ป แ บ บ ที่ เ ข ้ า ใ จ ง ่ า ย ภายใต้รูปแบบการท�ำงาน ผลิต เพื่อสร้างเกษตรกร ส ร ้ า ง แ ล ะ เ ชื่ อ ม โ ย ง เป็นระบบ เผยแพร่และ กับหน่วยงานเครือข่าย รุ่นใหม่ ผู้ประกอบการ เครือข่ายความร่วมมือ กระจายออกไปในวงกวา้ ง ตลอดจนเชอ่ื มโยงการผลติ ด้านการเกษตร และ ระหว่างเกษตรกร ชุมชน และการตลาด เจา้ หนา้ ทส่ี ง่ เสรมิ การเกษตร ภาครฐั และภาคเอกชน 8 เตบิ แกรง่ แทงยอด สท. คอื ใคร ตวั อยา่ งผลงานในปี 2560

ศนู ยพ์ นั ธวุ ศิ วกรรม ศูนย์เทคโนโลยี ศนู ยเ์ ทคโนโลยี ศนู ยน์ าโน ศูนย์บริหาร สถาบนั การ และเทคโนโลยี โลหะและวัสดุ อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์และ เทคโนโลยี จัดการ จัดการ ชวี ภาพแหง่ ชาติ แหง่ ชาติ เทคโนโลยี (ศช.) แหง่ ชาติ คอมพวิ เตอรแ์ หง่ ชาติ (ศจ.) เทคโนโลยี และ (ศว.) (ศอ.) (ศน.) นวัตกรรมเกษตร (สท.)

รายการเทคโนโลยพี รอ้ มใช้ เทคโนโลยกี ารผลิต (สายพนั ธ/์ุ ผลิตเมลด็ พนั ธ์/ุ การจดั การแปลง/ผลผลติ ) • ขา้ ว มันสา� ปะหลงั ยางพารา ถวั่ เขียว พริก มะเขอื เทศ เหด็ สตรอวเ์ บอร์รี่ กาแฟ เทคโนโลยกี ารผลติ ยางธรรมชาติ เทคโนโลยกี ารจัดการดนิ และนา้ํ ท่เี ปน็ มิตรตอ่ สงิ่ แวดลอ้ ม • การผลติ ปุย อนิ ทรยี จ์ ากวัสดตุ ่างๆ • สาร TAP ทดแทนแอมโมเนีย และ GRASS • การผลติ ปยุ หมกั แบบไม่พลกิ กลบั กอง ทดแทนกรดซลั ฟวริก • การผลิตปยุ มูลไสเ้ ดอื น • การจดั การนา้� เพ่อื การเกษตร เทคโนโลยสี ารชีวภัณฑ์ เทคโนโลยีการแปรรปู ผลผลติ • บิวเวอเรยี ก�าจัดเพลยี้ • NPV ก�าจดั หนอนกระทู้ • การแปรรปู ผลติ ภัณฑ์ทางการเกษตร • สเตรปโตไมซิส ก�าจัดเชื้อราและแบคทีเรีย • มาตรฐานสขุ ลักษณะทด่ี ใี นการผลติ อาหาร ในพชื ตระกลู แตง อปุ กรณ์ เครื่องจักร อ่ืนๆ เทคโนโลยีดา้ นสตั ว์ • เครอ่ื งสขี ้าวขนาดเล็กสา� หรบั ชุมชน • สถานีตรวจวดั สภาพอากาศ (การเพาะเล้ียง/อาหารสตั ว์) • ระบบตรวจสอบยอ้ นกลับ TraceFarm • โรงเรือนพลาสติกคดั เลอื กแสง • ไรนา�้ นางฟา้ /ไรแดงสยาม อาหารสตั วน์ า้� วยั ออ่ น • โรงอบและเครอื่ งอบแหง้ ผลผลติ ทางการเกษตร • เทคโนโลยีกุ้งระบบปด • การเพาะเลีย้ งนางพญาชันโรง/ การเพ่ิมคณุ ภาพนา้� ผง้ึ • ออ้ ยอาหารสตั ว์ • อาหารหมักโคตามช่วงอายุ • ชดุ ตรวจโรคสตั ว์ • จุลินทรยี ์บ�าบดั กลิ่นฟาร์มปศุสัตว์ 10 เตบิ แกรง่ แทงยอด สท. คอื ใคร ตวั อยา่ งผลงานในป 2560

พ้ืนที่ถ่ายทอดเทคโนโลยี ป‚ 2560 อ.แมแจม จ.เชยี งใหม อ.บอเกลอื จ.นา น (ขา วไร/ ขา วสาลี) (อาหารหมกั โค) อ.นาแหว จ.เลย (สตรอเบอร/่ี มะคาเดเมีย) (อข.เา ตวา/งกอายร แจป.สรกรลปู น) คร จ.อุทยั ธานี พ(ข้นื าทวีท่/พุงกชื ลุหาลรังอ นงาไ)ห (ถ่ัวเขยี ว) อ.ผักไห  จ.อทุ ัยธานี อ.สําโรง จ.อบุ ลราชธานี (ขาว/สารชีวภัณฑ/พืชหลังนา) (โรงเรือนพลาสติกคดั กรองแสง) จ.สรุ นิ ทร  (พลังงานแสงอาทิตย/ ผกั อนิ ทรยี ) จ.พทั ลงุ และ จ.สงขลา (ขา ว) อ.แวง จ.นราธิวาส (เพาะเล้ยี งเนอื้ เย่ือ/การแปรรูป) 220 ชุมชน 45 จงั หวดั (ขอมูล ณ เดือน กันยายน 2560) เชยี งใหม่ เชยี งราย แพร่ แม่ฮอ่ งสอน กา� แพงเพชร น่าน พะเยา ล�าปาง ล�าพูน อุทยั ธานี กรุงเทพมหานคร ราชบรุ ี ลพบรุ ี สมุทรปราการ สุพรรณบุรี กาญจนบุรี อยธุ ยา สมทุ รสงคราม ตราด จนั ทบุรี ระยอง นครพนม นครราชสีมา มหาสารคาม ยโสธร ร้อยเอ็ด ศรีสะเกษ สุรินทร์ หนองบวั ลา� ภู อา� นาจเจริญ อบุ ลราชธานี สกลนคร เลย บุรีรัมย์ อุดรธานี บึงกาฬ นครศรธี รรมราช ชมุ พร ตรงั พทั ลุง สงขลา สตลู สุราษฏรธ์ านี นราธิวาส ภูเก็ต 11เตบิ แกรง่ แทงยอด สท. คอื ใคร ตวั อยา่ งผลงานในป 2560

วนิ ิจฉยั ปญ˜ หา ใหคŒ ําปรกึ ษา เสาะหา และถา‹ ยทอดเทคโนโลยที ่เี หมาะสม เพ่อื คุณภาพชวี ติ ทีด่ ีขึ้นของเกษตรกร

ถา่ ยทอด เทคโนโลยี ตวั อยา่ งความสําเรจ็ ของการถ่ายทอดเทคโนโลยี 13เตบิ แกรง่ แทงยอด สท. คอื ใคร ตวั อยา่ งผลงานในป 2560

โรงเรือนพลาสติก คัดเลอื กแสง

โรงเรือนพลาสติกคัดเลือกแสง “ให้แสงท่ีเหมำะสม ระบำยควำมร้อน เพ่ิมผลผลิต ปลูกได้ทั้งป‚ สร้ำงรำยได้หมุนเวียนเดือนละ 16,000 บำท ต่อ 1 โรงเรอื น” ด้วยคุณสมบัติเฉพาะของพลาสติกหลังคาโรงเรือนและโครงสร้างท่ีออกแบบเพ่ือการระบายความร้อน ช่วยให้ผลผลิตในโรงเรือนมีคุณภาพสูงข้ึน เกษตรกรสามารถเพาะปลูกพืชผักได้ตลอดทั้งป สร้างรายได้หมุนเวียน เดือนละ 16,000 บาท/โรงเรือน ส�าหรับการปลูกผักตระกูลสลัด มะเขือเทศพันธุ์สแน็คสลิม กระเทียมอเมริกัน หอมญป่ี ุน ขนึ้ ฉ่าย ตน้ หอม ผกั ชี ผกั คะน้า ผักกาด เบบีแ้ ครอท เป็นตน้ คณุ สมบัตพิ ิเศษ • เพม่ิ ประสทิ ธิภาพการถ่ายเทอากาศด้วยโครงสรา้ งหลงั คา 2 ช้ัน • พลาสติกโรงเรือนมีคุณสมบัติคัดเลือกแสงในช่วงที่เหมาะสมส�าหรับการเจริญเติบโตของพืช ช่วยกระจาย แสงอยา่ งสมา่� เสมอ • ให้ประสิทธภิ าพการเพาะปลกู ผักท่ีดกี ว่าโรงเรอื นทใี่ ชพ้ ลาสตกิ ทัว่ ไป การนาํ ไปใชประโยชน สวทช. ไดถ้ า่ ยทอดเทคโนโลยโี รงเรอื นสา� หรบั การปลูกผักไปแล้วจ�านวน 80 หลัง ใน 17 จังหวัด ได้แก่ นครพนม ศรีสะเกษ ยโสธร สกลนคร นครราชสีมา เลย ร้อยเอ็ด กาฬสินธุ์ สุรินทร์ หนองบัวล�าภู อุบลราชธานี พะเยา นครนายก ปราจีนบรุ ี ชยั นาท อดุ รธานี และกรุงเทพฯ นอกจาก นี้ยังได้ขยายผลเทคโนโลยีโรงเรือนพลาสติกคัดเลือก แสงส�าหรับการผลิตเมล็ดพันธุ์ การปลูกพืชสมุนไพร ช่วยเพ่ิมผลผลิตที่มีคุณภาพ สร้างรายได้เพิ่มให้ เกษตรกร 15เตบิ แกรง่ แทงยอด สท. คอื ใคร ตวั อยา่ งผลงานในป 2560

สร้างธรุ กิจ จากงานวจิ ัย เทคโนโลยเี ปลี่ยนมนษุ ยเ์ งินเดือน เปน็ ผู้ประกอบการ ด้วยความรักและใส่ใจ

“ปย‰ุ มูลไส้เดือนดินและน�้ำหมักมลู ไสเ้ ดือนดิน ‘เพ่ือนดนิ ’” และ “HT Fairy Shrimp Farm ไรน�้ำนำงฟ‡ำเพ่อื ปลำสวยงำม” สองธรุ กิจของ “คุณนจุ รี โลหะกลุ ” ที่ผันชีวิตจากมนษุ ย์เงินเดอื นสู่ ผปู้ ระกอบการธุรกจิ เกษตรเตม็ ตัว สร้างรายได้กว่าป‚ละ 700,000 บาท หลังจากท่ีได้เรยี นรู้และรบั การถ่ายทอดเทคโนโลยจี าก สวทช. “เทคโนโลยีการผลิตปุยมูลไส้เดือนดินจาก ขยะอนิ ทรยี ”์ ผลงานวจิ ยั ของ รศ.ดร.อานฐั ตนั โช มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ท่ีได้รับการสนับสนุนจาก สวทช. พบว่าไส้เดือนดินสายพนั ธ์ุไทย “ขี้ตาแร่” สามารถย่อยสลายขยะอินทรีย์ให้กลายเป็นปุย หมกั มลู ไสเ้ ดอื นดนิ ทม่ี คี ณุ ภาพดี โปรง่ รว่ น ปรมิ าณ ฮวิ มัสสูง มีจุลนิ ทรียแ์ ละธาตุอาหารในรปู ทพี่ ชื น�า ไปใช้ได้มาก นอกจากนีย้ งั ได้ “น้า� หมักมลู ไสเ้ ดอื น ดนิ ” ทม่ี สี ว่ นประกอบของธาตอุ าหารพชื ฮอรโ์ มน พืช และจลุ นิ ทรยี ์ นา� ไปใช้ปลูกพชื หรือใชด้ ับกล่ิน เหม็นได้อกี ดว้ ย “เทคโนโลยกี ารเพาะเลย้ี งไรนา้ํ นางฟา ” ผลงานวจิ ยั โดย ศ.ดร.ละออศรี เสนาะเมอื ง มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ และดร.นกุ ลู แสงพนั ธ์ุ วทิ ยาลยั เกษตรและเทคโนโลยสี พุ รรณบรุ ี ทไ่ี ดร้ บั การสนบั สนนุ จาก สวทช. คน้ พบไรนา้� นางฟา้ ชนิดใหม่ของโลก ได้แก่ ไรน�้านางฟ้าสิรินธร ไรน้�านางฟ้าไทย และไรน้�านางฟ้าสยาม ไรน�้านางฟ้ามีความส�าคัญต่อ หว่ งโซ่อาหารของสัตวน์ ้�า เป็นอาหารสัตว์นา�้ วัยอ่อน อดุ มดว้ ยโปรตีนและสารกล่มุ แคโรทีนอยด์ สร้างมูลคา่ ในวงการ ธรุ กิจปลาสวยงาม 17เตบิ แกรง่ แทงยอด สท. คอื ใคร ตวั อยา่ งผลงานในป 2560

ถา‹ ยทอดเทคโนโลยีตามความเหมาะสม ของบรบิ ทแตล‹ ะชุมชน สง‹ เสริมใหŒชุมชน มคี วามรŒู ทาํ งานร‹วมกบั นักวชิ าการ และขยายผลสูช‹ มุ ชนอื่น เพือ่ ใหเŒ กิด การพฒั นาอยา‹ งยงั่ ยืน

พน้ื ที่ ปฏบิ ตั งิ าน ตัวอย่างพืน้ ทีป่ ฏิบตั งิ าน 19เตบิ แกรง่ แทงยอด สท. คอื ใคร ตวั อยา่ งผลงานในป 2560

ขา้ วอินทรีย์ยโสธร ยกระดับขา้ วอินทรยี ด์ ว้ ยวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรม

ยโสธร ถือเป็นฐานการผลิตข้าวอินทรีย์ท่ีส�าคัญของ ประเทศ สวทช. ได้ให้การสนับสนุนองค์ความรู้และนวัตกรรม การผลิตข้าวอินทรีย์ให้เกษตรกรผู้ผลิตข้าวอินทรีย์จ�านวน 4,000 ราย จาก 7 กลมุ่ ใน 5 อา� เภอของจังหวดั ยโสธร เพอื่ ยก ระดับข้าวอินทรีย์สู่ระดับโลก โดยถ่ายทอดเทคโนโลยีและ กระบวนการเรียนรู้การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดีในระดับ ชมุ ชนเพอื่ ลดตน้ ทนุ เพมิ่ ผลผลติ การผลติ ขา้ วอนิ ทรยี แ์ บบครบ วงจร การให้ความรู้ด้านการตลาดข้าวสาร การบริหารจัดการ โรงสีข้าว และสร้างกลไกการขับเคลื่อนวิสาหกิจชุมชนข้าว อินทรยี ์ เกิดกระบวนการบรหิ ารจัดการใหม่แบบภาคีเครือขา่ ย ยกระดับการผลิตข้าวให้ได้คุณภาพและมาตรฐานข้าวอินทรีย์ สามารถผลิตข้าวอินทรีย์ส่งจ�าหน่ายต่างประเทศ จากการ ดา� เนนิ งานของ สวทช. เกษตรกรผรู้ ว่ มโครงการมรี ายไดเ้ พม่ิ ขน้ึ 60% จากป 2559 และมีการขยายผลความส�าเร็จออกสู่ 7 จงั หวดั ไดแ้ ก่ รอ้ ยเอด็ ศรสี ะเกษ สรุ นิ ทร์ บรุ รี มั ย์ มหาสารคาม สงขลา และพัทลงุ 21เตบิ แกรง่ แทงยอด สท. คอื ใคร ตวั อยา่ งผลงานในป 2560

แมแ่ จ่ม เปลี่ยนหมอกควนั เป็นรายได้

หมอกควันจากไฟปาเป็นปญหาส�าคัญของพื้นที่ภาคเหนือของไทย โดยเฉพาะในอ�าเภอแม่แจ่ม จังหวัด เชยี งใหม่ ซ่ึงปญหาไฟปาเกิดจากหลายสาเหตุ หนึ่งในนน้ั คอื การเผาท�าลายวัสดุเหลือท้งิ ทางการเกษตร “พื้นท่ีอ�าเภอแม่แจ่ม” เป็นแหล่งผลิตข้าวโพดอาหารสัตว์ถึง 1 แสนไร่ และมีเศษตอซังข้าวโพดกว่า 22,400 ตนั ตอ่ ป การเผาทา� ลายซงั ข้าวโพดเปน็ วิธีการที่นิยมใชก้ �าจดั วัสดเุ หลือท้งิ น้ี สวทช. ร่วมกับมหาวิทยาลัยพะเยา สนับสนุนความรู้และถ่ายทอดเทคโนโลยีให้ชุมชนน�าวัสดุเหลือท้ิงจาก การเกษตรมาใช้ประโยชน์เพื่อสร้างรายได้ ทดแทนการเผาท�าลาย เช่น การผลิตอาหารหมักโคจากซังข้าวโพด การ ผลติ ปยุ หมกั เตาชีวมวลจากเช้ือเพลงิ ซังข้าวโพด เปน็ ตน้ ผลจากการถา่ ยทอดความรแู้ ละเทคโนโลยใี หช้ มุ ชน ทา� ใหเ้ กษตรกรสามารถลดตน้ ทนุ อาหารหมกั โคไดม้ ากกวา่ 40% และได้อาหารหมักโคท่ีมีคุณค่าทางอาหารเพิ่มข้ึนจากเดิม ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของกรมปศุสัตว์ นอกจากน้ี ยังพบวา่ จดุ ความรอ้ น หรือ Hot spot ทีอ่ าจเป็นสาเหตุของไฟปา ลดลงจาก 300 จดุ เหลอื 30 จดุ ในชว่ งระหวา่ ง ป 2557–2560 จากความส�าเร็จของการด�าเนินงานในพื้นท่ีอ�าเภอแม่แจ่มก่อให้เกิดการขยายผลเทคโนโลยีสู่ชมชน อื่น เพ่ือแก้ไขปญหาหมอกควันในพ้ืนที่ 9 อ�าเภอ ใน 3 จังหวัด ได้แก่ อ�าเภอเมืองดอกค�าใต้ และอ�าเภอเชียงม่วน จังหวัดพะเยา อ�าเภอเด่นชัย อ�าเภอวังชิ้น และอ�าเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่ อ�าเภอสันติสุข อ�าเภอภูเพียง และ อ�าเภอเวียงสา จงั หวดั นา่ น 23เตบิ แกรง่ แทงยอด สท. คอื ใคร ตวั อยา่ งผลงานในป 2560

สรŒางและพัฒนาบคุ ลากรที่มี ทกั ษะตลอดหว‹ งโซก‹ ารผลติ เพือ่ สรŒางเกษตรกรรุน‹ ใหม‹ ผูŒประกอบการดาŒ นการเกษตร และเจาŒ หนŒาทสี่ ง‹ เสริมการเกษตร

พฒั นา บคุ ลากร ตัวอยา่ งการพัฒนาบุคลากรทางการเกษตร 25เตบิ แกรง่ แทงยอด สท. คอื ใคร ตวั อยา่ งผลงานในป 2560

โครงการพฒั นาทักษะ ผผู้ ลติ เมล็ดพันธร์ุ ่นุ ใหม่ เมือ่ บัณฑติ กลับบ้าน สรา้ งธรุ กิจเมลด็ พันธ์ุ

“โครงการพฒั นาทกั ษะผผู้ ลิตเมล็ดพันธุ์รุน่ ใหม่” โครงการพฒั นาทกั ษะผู้ผลติ เมลด็ พนั ธ์ุรนุ่ ใหม่ มุ่งสรา้ ง ผปู้ ระกอบการเมลด็ พนั ธร์ุ นุ่ ใหม่ ทผี่ า่ นการถา่ ยทอดความรแู้ ละ ประสบการณ์ในด้านธุรกิจเมล็ดพันธุ์ทุกกระบวนการจาก ภาคเอกชน นา� ไปสกู่ ารสร้างเครือข่ายผ้ผู ลติ เมล็ดพันธ์ุในชมุ ชน จากความรว่ มมอื ระหวา่ ง สวทช. มหาวทิ ยาลยั แมโ่ จ้ วทิ ยาลยั เกษตร และเทคโนโลยเี ชยี งใหม่ รวม 27 คนและบรษิ ทั ผผู้ ลติ เมลด็ พนั ธ์ุ 6 แหง่ โครงการรุ่นที่ 1 เร่ิมตน้ เมื่อป 2559 มรี ะยะเวลา 3 ป ในปแรกผู้เข้าร่วมโครงการได้ฝกฝนและเรียนรู้เทคนิคการผลิต เมล็ดพันธุ์ทุกกระบวนการจากบริษัท และเสริมความรู้ท่ี เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย เทคโนโลยีที่เก่ียวกับการผลิต การ บรหิ ารจดั การการผลติ การเงนิ /การบญั ชี กฎระเบยี บขอ้ กา� หนด ดา้ นการตลาด กอ่ นท่ีจะกลับไปผลิตเมลด็ พนั ธ์ุทบ่ี ้านเกิดตวั เอง โดยมี สวทช. ผเู้ ชย่ี วชาญ และบรษิ ทั ผผู้ ลติ เมลด็ พนั ธเ์ุ ปน็ พเี่ ลยี้ ง ให้ค�าแนะน�า ตลอดจนน�าเทคโนโลยีที่เหมาะสมเข้าไปช่วย แก้ปญหา และในปท่ีสามของโครงการคาดหวังว่าจะสามารถ ขยายผลสรา้ งเครอื ข่ายการผลิตเมล็ดพันธใุ์ นชุมชนต่อไป “เทคโนโลยโี รงเรือนชว่ ยใหส้ ามารถผลติ เมลด็ พนั ธุ์ได้ตลอดทั้งป‚ ใช้พ้นื ท่เี พยี งแค่นิดเดยี ว แตส่ ามารถสร้างผลตอบแทนได้มาก ค้มุ ทุนใน การผลติ พืชท่ปี ลกู ภายใต้โรงเรอื นมคี วาม แขง็ แรงสมบูรณ์ สง่ ผลใหค้ ณุ ภาพเมล็ดพนั ธุด์ ”ี 27เตบิ แกรง่ แทงยอด สท. คอื ใคร ตวั อยา่ งผลงานในป 2560

นกั การตลาดชุมชน คนร่นุ ใหมพ่ ฒั นาทอ้ งถนิ่ ด้วยการตลาด “เมอ่ื ผลติ ได้ แลว้ ขายไมไ่ ด้ ทส่ี ดุ กต็ อ้ งเลกิ ” เปน็ ประเดน็ ปญ หา ที่เกษตรกรไทยส่วนใหญ่ประสบเนื่องจากขาดความรู้ความเข้าใจเรื่อง “ตลาด” ที่มีความหมายมากกว่า “แหล่งซ้ือขาย” เพราะความเข้าใจ เรอื่ ง “ตลาด” หมายรวมต้งั แต่ “การรจู้ กั ตัวเอง” เพอื่ หา “สินค้าทีจ่ ะ ผลิต” และมองเห็น “ลูกค้า” ซึ่งจะท�าให้มองเห็นช่องทางและโอกาส ทางการตลาดของสินคา้ เพราะ “ไม่มีใครรู้จักชุมชนของเรา ได้ดีกว่าคนในชุมชน” สวทช. จึงได้ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิด “นกั การตลาดในชมุ ชน” ทมี่ คี วามรเู้ รอ่ื งการตลาดและนา� ไปเชอ่ื มโยงกบั ชมุ ชน เปน็ อกี หนง่ึ ชอ่ งทางทจี่ ะชว่ ยใหช้ มุ ชน สามารถผลิตสินค้าและขายได้อย่างย่ังยืน โครงการ “นักการตลาดชุมชนที่มีคุณธรรม” จึงเปดโอกาสให้คนรุ่นใหม่ ท่ีต้องการพัฒนาชุมชนของตนให้ดีขึ้น ได้เรียนรู้ “การตลาดอย่างคุณธรรม” เพื่อพัฒนาด้านการตลาดให้กับชุมชน ของตนเอง โครงการ “นกั การตลาดชมุ ชนทมี่ คี ณุ ธรรม” นา� รอ่ งในป 2560 ระยะ เวลา 1 ป โดยมผี เู้ ขา้ รว่ มโครงการ 20 คนจากทว่ั ประเทศ ซง่ึ ลว้ นเปน็ ลกู หลาน ของเกษตรกร จบการศกึ ษาขนั้ ตา�่ ระดบั ประกาศนยี บตั รวชิ าชพี ขนั้ สงู (ปวส.) และมีใจที่จะพัฒนาชุมชนของตนเองด้วยหลักความรู้ด้านการตลาดที่มี คณุ ธรรม เพอื่ ชว่ ยการตลาดสนิ คา้ ของชมุ ชน นา� ไปสกู่ ารสรา้ งรายไดใ้ นชมุ ชน อยา่ งยงั่ ยนื ตลอดระยะเวลาโครงการหน่ึงป ผู้เข้าร่วมโครงการจะได้เรียนรู้พื้น ฐานนักการตลาด การสร้างโมเดลธุรกิจท้องถิ่น และเรียนรู้การจัดท�าแผน ธุรกิจและด�าเนินการตามแผนธุรกิจ โดยนักการตลาดต้องท�าหน้าท่ีประสาน งานพ้ืนท่ีกับชุมชน วิเคราะห์บริบทชุมชนและพื้นที่ของตัวเอง สร้างโมเดล ธุรกิจท้องถ่ินในชุมชน และน�าความรู้ไปจัดท�าแผนธุรกิจและด�าเนินการตาม แผนธุรกจิ ในชมุ ชน 28 เตบิ แกรง่ แทงยอด สท. คอื ใคร ตวั อยา่ งผลงานในป 2560

ทายาทเกษตรรุ่นใหม่ ต่อยอดการทําเกษตรดว้ ยวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรม โครงการสรา้ งทายาทเกษตรกรรนุ่ ใหม่ เรม่ิ ดา� เนนิ การ ในป 2560 ระยะเวลา 18 เดือน น�ารอ่ งในพนื้ ทีจ่ ังหวดั ลา� ปาง และสกลนคร ผา่ นเครอื ขา่ ยความรว่ มมอื กบั สา� นกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จงั หวดั ลา� ปาง และจงั หวดั สกลนคร เพอ่ื สนบั สนนุ ใหค้ นรนุ่ ใหมส่ านตอ่ การทา� เกษตรโดยใช้วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เป็น เครื่องมือยกระดับสู่การท�าเกษตรสมัยใหม่ ก้าวสู่การเป็น ผู้ประกอบการเกษตร และสามารถเป็นต้นแบบถ่ายทอด เทคโนโลยีหรอื องค์ความรูใ้ ห้ชมุ ชนและเครือข่ายได้ ผู้เข้าร่วมโครงการท้ังหมด 136 คน ประกอบด้วย คนรุ่นใหม่ที่ต้องการสานต่อการท�าเกษตรของพ่อแม่ และ คนรุ่นใหม่ที่ผันตัวเป็นผู้ประกอบการเกษตร โดยมีคนรุ่นใหม่ ที่ผ่านการประเมินศักยภาพ ความพร้อม และแผนกิจกรรม ท่ีจะพัฒนาการท�าเกษตรด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ นวัตกรรม จ�านวน 92 คน โดย สวทช. และเครอื ขา่ ยสถาบัน การศึกษาจะเป็นพี่เล้ียงสนับสนุนองค์ความรู้เพื่อผลักดันให้ ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการสามารถกา้ วส่กู ารท�าเกษตรสมัยใหม่ได้ และยกระดบั คณุ ภาพชีวิตท่ดี ีขึ้นของอาชพี เกษตรกรรม นอกจากน้ีโครงการฯ ยังได้สร้างฐานการเรียนรู้การท�าเกษตรในโรงเรียนด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวตั กรรม ในพ้นื ทจ่ี งั หวัดสกลนครจา� นวน 2 แหง่ คือ โรงเรยี นบ้านบะหวา้ และโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 53 จังหวัดสกลนคร สร้างแรงบันดาลใจให้นักเรียนสร้างรายได้ระหว่างเรียน น�าไปขยายผลให้ครอบครัว และ เปน็ แนวทางเรมิ่ ตน้ วางแผนประกอบอาชพี การท�าเกษตรของผเู้ รียนได้ 29เตบิ แกรง่ แทงยอด สท. คอื ใคร ตวั อยา่ งผลงานในป 2560

สรŒางและเช่ือมโยงเครือขา‹ ยความร‹วมมอื ระหว‹างเกษตรกร/ชุมชน ภาครัฐและภาคเอกชน เพ่ือเพ่ิมมลู คา‹ ใหกŒ ับสินคาŒ เกษตร

เชอื่ มตโยลง าด ตวั อยา่ งการเชอื่ มโยงผลผลิตการเกษตร สูภ่ าคอตุ สาหกรรม 31เตบิ แกรง่ แทงยอด สท. คอื ใคร ตวั อยา่ งผลงานในป 2560

ยางชุมน้อย พรกิ เผด็ แกป้ วดเม่อื ย

พริกยอดสนเข็ม 80 เป็นหน่ึงในงานวิจัยปรับปรุงสายพันธุ์พริกท่ี สวทช. สนับสนุน ศ.ดร.สุชีลา เตชะวงศ์เสถยี ร มหาวทิ ยาลยั ขอนแกน่ ซึง่ พริกยอดสนเข็ม 80 ใหผ้ ลผลติ สงู ประมาณ 1,000 กโิ ลกรัมพรกิ แหง้ ต่อไร่ มีสารแคบไซซินสูงจากด้วยระดับความเผ็ด 70,000 SHU น�าไปสกัดเป็นผสมอาหารสัตว์ เพื่อให้สัตว์ทานอาหาร ได้มากข้ึน หรอื เป็นส่วนผสมในการทา� ยาทาแกป้ วดเมอ่ื ย บริษัท บางกอกแลปแอนด์คอสเมติก จ�ากัด ผู้ผลิตเจลทาบรรเทาอาการปวดเม่ือย ภายใต้ตราสัญลักษณ์ “แคปซิกาเจล” รับถ่ายทอดพันธพ์ุ ริกยอดสนเข็ม 80 และเทคโนโลยีการปลกู โดยไดส้ ง่ เสรมิ ให้กลุ่มวิสาหกิจชุมชน บา้ นโนนตว้ิ อา� เภอยางชมุ นอ้ ย จงั หวดั ศรสี ะเกษ ปลกู พรกิ ดงั กลา่ วโดยประกนั ราคารบั ซอ้ื ไมน่ อ้ ยกวา่ 250 – 300 บาท ตอ่ กโิ ลกรัมพรกิ แหง้ คิดเป็นรายได้ไมน่ อ้ ยกว่า 250,000 บาทตอ่ ไร่ ในป 2560 มเี กษตรกรจา� นวน 95 รายเขา้ รว่ มผลติ พริกยอดสนเข็ม 80 และรับการถ่ายทอดความรู้ในการ จดั การผลติ เกดิ การรวมกลมุ่ ทา� ปยุ หมกั ผลติ ราไตรโคเดอรม์ า บิวเวอเรีย ให้เครือข่ายใช้ควบคุมเพล้ีย ลดการใช้สารเคมี ลดตน้ ทนุ การผลติ การผลติ เมลด็ พนั ธใ์ุ ชเ้ อง ไดผ้ ลผลติ ตาม ความต้องการของบรษิ ัทฯ 5-10 ตนั ต่อป ปจจุบันบริษัทฯ มคี วามสนใจพรกิ พนั ธอ์ุ คั นพี โิ รธ ซงึ่ พฒั นาโดยการสนบั สนนุ ของ สวทช. เช่นเดียวกัน เน่ืองจากให้ความเผ็ดสูงกว่า พนั ธย์ุ อดสนเขม็ 80 ถงึ 10 เทา่ และอยรู่ ะหวา่ งการทดสอบ ผลิตโดยใช้เทคโนโลยีโรงเรือน โดยตกลงราคารับซ้ือถึง 500 บาทตอ่ กิโลกรมั พรกิ แห้ง

เมื่อ “ขา้ วไทย” เป็น ขนมญี่ป†นุ

บรษิ ทั ไทย-นจิ ิ อนิ ดสั ทรี จา� กดั บรษิ ทั รว่ มทนุ ระหวา่ งไทย-ญปี่ นุ เปน็ ทรี่ จู้ กั อย่างกว้างขวางในด้านการผลิตขนมข้าวอบกรอบหรือขนมอาราเร่ เพื่อส่งออกไป ตลาดต่างประเทศ ซ่ึงโรงงานตั้งอยู่ในพ้ืนท่ีเพาะปลูกข้าวเหนียวทางภาคเหนือของ ไทย ท�าใหม้ ีวัตถุดบิ ต้ังต้นในการผลติ ที่มคี ณุ ภาพ ประกอบกบั เทคโนโลยกี ารผลติ ข้ัน สูง สามารถน�ามาพัฒนาและสรา้ งสรรค์ผลิตภัณฑใ์ หม่ๆ ได้อยา่ งตอ่ เน่อื ง จังหวัดล�าปาง เป็นพื้นท่ีได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตพันธุ์ข้าว ดว้ ยกระบวนการผลติ แบบอนิ ทรยี ์ จาก สวทช. และ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคล ล้านนา โดยใช้พันธุ์ธัญสิริน ซึ่งพัฒนาพันธุ์โดย สวทช. น�าไปสู่การรับซื้อข้าวจาก เกษตรกรไปพัฒนาเป็นขนมอบกรอบสูตรอินทรีย์ ไขมันต่�า ภายใต้ตราสัญลักษณ์ “ธญั สิรนิ ”

การขยายผลองคความรดŒู าŒ นการเกษตร ในวงกวาŒ งและครอบคลมุ ทกุ พน้ื ที่ จําเปšน ตอŒ งทาํ งานร‹วมกบั หนว‹ ยงานเครอื ขา‹ ยพนั ธมติ ร ไดแŒ ก‹ องคกรภาครัฐ ภาคเอกชน เครือข‹าย เกษตรกร ชมุ ชน เปšนตนŒ

ความรว่ มมอื ตัวอย่างการทาํ งานรว่ มกบั หน่วยงานพนั ธมิตร 37เตบิ แกรง่ แทงยอด สท. คอื ใคร ตวั อยา่ งผลงานในป 2560

สวทช. ธ.ก.ส. และ แปรรปู มันสําปะหลัง สภาเกษตรกรแหง่ ชาติ ยกระดับชมุ ชนดว้ ย วทน. อาหารโค จากวสั ดุ เหลือท้ิง แปรรูปหมอน ยางพารา เครือขา่ ย แปรรปู ขา้ ว เกษตรอินทรยี ์ ทายาท เกษตรกร 38 เตบิ แกรง่ แทงยอด สท. คอื ใคร ตวั อยา่ งผลงานในป 2560

หมอนยางพาราบ้านแพรกหา จากตน้ ยางสหู่ ้างด้วยคุณภาพและมาตรฐานระดับสากล ชมุ ชนบ้านแพรกหา อ.ควนขนุน จ.พทั ลงุ รว่ มกลุ่มจดั ตง้ั สหกรณก์ ารเกษตรบ้านแพรกหา เพอ่ื หาทางออก ให้กับปญหาราคาน�้ายางตก ด้วยการน�าน�้ายางสดจากกลุ่มเกษตรกรมาแปรรูปเป็นหมอนยางเพ่ือเพิ่มมูลค่า แต่การ ผลติ หมอนยางในระดบั ชมุ ชนยงั ไมส่ ามารถเปลยี่ นนา้� ยางสดจากตน้ ยางไปเปน็ นา�้ ยางขน้ เพอ่ื เกบ็ ไวเ้ ปน็ วตั ถดุ บิ ไดเ้ อง สวทช. จงึ ใหค้ วามรแู้ ละวธิ กี ารผลติ นา�้ ยางขน้ อยา่ งมคี ณุ ภาพ ผา่ นความรว่ มมอื กบั ธนาคารเพอ่ื การเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร (ธ.ก.ส.) ด้วยการให้ความรู้และร่วมลงมือปฏิบัติอย่างใกล้ชิด ท�าให้สหกรณ์การเกษตรบ้านแพรกหา สามารถผลิต นา้� ยางขน้ ไดเ้ องจากนา�้ ยางสดของชมุ ชน ทา� ใหล้ ดตน้ ทนุ คา่ นา้� ยางขน้ ทเี่ ดมิ ตอ้ งซอ้ื ไดก้ วา่ เดอื นละ 7 แสนบาท สรา้ งความ ม่นั คงด้านวัตถดุ ิบ และสามารถควบคุมคณุ ภาพน�า้ ยางขน้ ไดเ้ อง โดยปจ จบุ ันหมอนยางพาราบา้ นแพรกหาได้รบั การ รับรองมาตรฐานอุตสาหกรรมการผลิตภัณฑ์ (มอก.) และเป็นสหกรณ์แห่งแรกของประเทศที่สามารถผลิต “หมอน ยางพาราท่ีได้รับเครื่องหมาย มอก.” อีกดว้ ย 39เตบิ แกรง่ แทงยอด สท. คอื ใคร ตวั อยา่ งผลงานในป 2560

กลไกการขยายผล รว่ มกบั กรมส่งเสรมิ การเกษตร ถวั่ เขยี ว ผึง้ และ ชันโรง แปรรูป บิวเวอเรยี ข้าว โรงเรือน

ถ่วั เขียวพันธุ์ใหม่: เพ่ิมผลผลติ ตา้ นทานโรค สวทช. รว่ มกบั กรมสง่ เสรมิ การเกษตร สง่ เสรมิ การปลกู ถวั่ เขยี ว สายพันธุ์ใหม่ 5 สายพันธุ์ พัฒนาโดย สวทช. และมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกา� แพงแสน ทมี่ ีเมล็ดใหญ่ ใหผ้ ลผลิตสูง และ ต้านทานโรค โดยส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกถั่วเขียวเป็นพืชหลังนา สร้างรายได้หลังการเก็บเก่ียว โดยส่งผลผลิตให้โรงงานวุ้นเส้นและ การแปรรปู เป็นขนม บิวเวอเรยี : สารชีวภณั ฑ์กาํ จดั ศตั รพู ชื สวทช. รว่ มกบั กรมสง่ เสรมิ การเกษตร ถา่ ยทอดเทคโนโลยกี าร ผลติ บวิ เวอเรยี หวั เชอ้ื สดและกอ้ นเชอื้ ระดบั มาตรฐานใหเ้ จา้ หนา้ ทศี่ นู ย์ สง่ เสรมิ เทคโนโลยกี ารเกษตรดา้ นอารกั ขาพชื (ศทอ.) 9 แหง่ ทวั่ ประเทศ ได้แก่ ชลบุรี สุพรรณบุรี ชัยนาท พิษณุโลก เชียงใหม่ ขอนแก่น นครราชสีมา สุราษฎร์ธานี และสงขลา โดย ศทอ. จะเป็นหน่วยงาน ขยายผลความรแู้ ละการใชง้ านเทคโนโลยดี งั กลา่ วสศู่ นู ยจ์ ดั การศตั รพู ชื ชุมชน (ศจช.) ทว่ั ประเทศจา� นวน 882 แห่ง ซ่งึ จะส่งตอ่ บวิ เวอเรยี และ การใช้งานท่ีถกู ต้องส่เู กษตรกร ชนั โรง ผ้ึงจิ๋ว กาํ ไรงาม สวทช. ร่วมกับกรมส่งเสริมการเกษตร ถ่ายทอดวิธีการผลิต นางพญาพรหมจรรยช์ นั โรงดว้ ยวธิ เี ลยี นแบบกง่ึ ธรรมชาติ และการแยก ขยายรังให้เจ้าหน้าที่ศูนย์ผ้ึง ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้าน แมลงเศรษฐกจิ และศนู ยส์ ง่ เสรมิ และพฒั นาอาชพี การเกษตร เกษตรกร เครือข่าย และเกษตรกรแกนน�า เพ่ือน�าไปต่อยอดสร้างอาชีพและ รายได้จากการเลย้ี งชนั โรงเพ่ือจา� หนา่ ยผลติ ภณั ฑจ์ ากชนั โรง การเลยี้ ง เพอื่ แยกรังจ�าหน่ายหรอื ใหบ้ รกิ ารเช่ารงั เพือ่ ผสมเกสร 41เตบิ แกรง่ แทงยอด สท. คอื ใคร ตวั อยา่ งผลงานในป 2560

การจดั การความรŒูตŒองอย‹ูในรปู แบบที่ เขาŒ ถงึ ไดงŒ ‹าย เขาŒ ใจงา‹ ย เหมาะกับกล‹มุ เปา‡ หมาย แตล‹ ะกล‹มุ และกระจายอย‹างท่ัวถงึ

จดั การความรู้ ส่ือส่ิงพิมพ์และคู่มือด้านเกษตรกว่า 60 เรื่อง ครอบคลุมเร่ืองพืช สัตว์ ปจ จยั การผลิต และพื้นทป่ี ฏบิ ตั กิ าร เวบ็ ไซต์ www.nstda.or.th/agritec โครงการเด่น ชดุ ความรแู้ ละเทคโนโลยี พ้นื ทด่ี �าเนินการ ส่ือ กิจกรรม FaCrmludbay สร้างเครือข่ายสังคมออนไลน์ทางการเกษตร ดว้ ยบทความ ขา่ วประชาสมั พนั ธ์ ถา่ ยทอดสด รายการใหค้ วามรดู้ า้ นการเกษตร (Facebook live: Club Farmday) 43เตบิ แกรง่ แทงยอด สท. คอื ใคร ตวั อยา่ งผลงานในป 2560





สถาบนั การจัดการเทคโนโลยีและนวตั กรรมเกษตร Agricultural Technology and Innovation Management Institute สาํ นกั งานพฒั นาวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยแี ห่งชาติ 111 อทุ ยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถนนพหลโยธนิ ตาํ บลคลองหน่งึ อาํ เภอคลองหลวง จงั หวดั ปทมุ ธานี 12120 โทรศพั ท์ 0 2564 7000 e-mail: [email protected] www.nstda.or.th/agritec www.facebook.com/nstdaagritec Call center 096 996 4100


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook